Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore เนื้อหา2

เนื้อหา2

Published by namwhan_bbb, 2018-03-13 22:10:55

Description: เนื้อหา2

Search

Read the Text Version

หน่วยที่ 2 การเพ่มิ ประสิทธิภาพในองค์การ ความหมายของการเพ่ิมประสิทธิภาพในองค์การ (Organization Efficiency) ซ่ึงหมายถึง การเพิ่มประสิทธิภาพขององค์การ โดยการเปรียบเทียบทรัพยากรที่ใช้ไปกับผลที่ได้จากการทางานว่าดีขึ้นอย่างไรแคไ่ หน ในขณะที่กาลังทางานตามเปา้ หมายขององคก์ าร โดยหลักการแล้วองค์การควรมีทั้งประสิทธิผลและประสทิ ธิภาพควบคู่กันไป แตก่ ป็ รากฏว่าได้เห็นบ่อยครั้งว่า มีองค์การจานวนมากท่ีสามารถทาได้เพียงอย่างใดอย่างหนึ่ง กล่าวคือ องค์การบางแห่งอาจทาให้มีประสิทธิผลบรรลุเป้าหมายได้ แต่กลับมีการใช้จ่ายทรพั ยากรสน้ิ เปลอื ง ซึ่งอาจปรากฏในรูปแบบต่างๆ กนั เช่น การต้องใช้วัตถุดิบหรือวัสดุอุปกรณ์มากเกินไปหรอื เกนิ ความจาเปน็ และรวมถึงการใชแ้ รงงานคนอย่างสนิ้ เปลอื ง ขอ้ แตกต่างของคาวา่ ประสทิ ธิผลกับประสทิ ธภิ าพ - ประสิทธิผล (Effectiveness) หมายถึง ความสาเร็จในการท่ีสามารถดาเนินกิจการก้าวหน้าไปและสามารถบรรลุเปา้ หมายตา่ งๆ ทอ่ี งค์การตง้ั ไวไ้ ด้ - ประสิทธิภาพ (Efficiency) หมายถึง การเปรียบเทียบทรัพยากรที่ใช้ไปกับผลที่ได้จากการทางานว่าดีข้ึนอย่างไร แค่ไหน ในขณะทกี่ าลงั ทางานตามเปา้ หมายขององค์การปรัชญาและอดุ มการณก์ ารเพิ่มประสิทธิภาพในองคก์ ารสาหรับตัวเกณฑ์ที่ใช้ศึกษาความมีประสิทธิภาพขององค์การท่ีได้นามาใช้ John P. Campbell ได้สรปุ ไว้ โดยประกอบดว้ ยตัวเกณฑ์ตา่ งๆ 30 ตวั เกณฑ์ ดังนี้1). ประสทิ ธผิ ลรวม 16). การวางแผนและการกาหนดเป้าหมาย2). ผลผลติ 17). ความเหน็ ท่ีสอดคลอ้ งกันของสมาชกิ ตอ่ เปา้ หมาย3). ประสทิ ธภิ าพ 18). การยอมรับในเปา้ หมายขององค์การ4). กาไร 19). การเข้ากันไดข้ องบทบาทของสมาชิก5). คณุ ภาพ 20). ความสามารถในทางมนุษยสมั พนั ธ์ของผบู้ ริหาร6). อบุ ัติเหตุท่ีเกดิ 21). ความสามารถในส่วนงาน7). การเติบโต 22). การบรกิ ารขอ้ มลู และการติดต่อสอื่ สาร8). การขาดงาน 23). ความพร้อมในดา้ นตา่ งทมี่ อี ยู่9). การลาออกจากงาน 24). ความสามารถทาประโยชนจ์ ากสภาพแวดลอ้ ม10). ความพอใจในงาน 25). ทศั นะและการสนบั สนนุ จากกลมุ่ ต่างๆ ภายนอก11). แรงจูงใจ 26). ความม่นั คง12). ขวัญและกาลังใจ 27). คณุ คา่ ของทรพั ยากรด้านบุคคล ขององค์การ13). การควบคมุ 28). การมีสว่ นรว่ มและการรว่ มแรงร่วมใจ

14). ความขัดแย้งและความสามคั คบี ุคคล 29). ความตง้ั ใจและทุ่มเทในดา้ นการอบรมและพัฒนา 15). ความคลอ่ งตวั และการปรบั ตวั 30). การมงุ่ ความสาเร็จ วิธีการใชต้ ัวเกณฑ์วดั ประสทิ ธภิ าพขององค์การ สามารถนามาสรปุ เป็นแนวทางใหญๆ่ สาคัญๆ ดงั นี้ 1). เกณฑ์วัดผลสาเรจ็ ตามเปา้ หมาย (The Goal-Attainment Approach) 2). เกณฑ์การบรหิ ารประสิทธภิ าพเชงิ ระบบ (The Systems Approach) 3). เกณฑก์ ารบรหิ ารประสิทธิภาพโดยอาศยั กลยุทธต์ ามสภาพแวดลอ้ มเฉพาะส่วน 4). การใช้วิธีการแข่งขันคุณค่า (The Competing-Values Approach) วิธีการบริหาร องค์การให้มีประสิทธิภาพสูงวิธีหน่ึง ท่ีถือได้ว่าเป็นวิธีของการประเมินประสิทธิภาพเป็นเชิงรวม ซึ่งจะอาศัยชุดการแขง่ ขัน 3 ชดุ ด้วยกนั คือ 4.1 ชุดท่เี ก่ียวกับโครงสร้างองค์การ แนวทางทเ่ี น้นโครงสรา้ งองค์การทคี่ ลอ่ งตวั 4.2 ชุดที่เกี่ยวข้องกับที่องค์การมุ่งเน้น แนวทางที่มุ่งเน้นถึงชีวิตความเป็นอยู่ท่ีดี และพัฒนาคนทีอ่ ยใู่ นองคก์ าร 4.3 ชุดท่ีเกี่ยวกับหนทางและผลสุดท้าย เป็นแนวทางพิจารณาให้น้าหนักกับหนทาง หรือกระบวนการทางานต่างๆ ควบคู่กับพิจารณาให้น้าหนักผลสาเร็จ ซ่ึงเป็น ผลสุดท้าย โดยท้ัง 3 ชุด จะแสดงออกมาให้เหน็ ตามภาพขา้ งล่างน้ี การท่อี งค์การจะไปสู่คุณภาพนัน้ จาเป็นจะต้องปรบั องค์การ โดยทว่ั ไปนิยมใช้ 3 วธิ ี คือ 1). การลดตน้ ทุน (Cost Reduction) 2). การเพมิ่ ผลผลติ อย่างตอ่ เนอ่ื ง (Continuous Productivity Improvement) 3). การปรับปรงุ คุณภาพอยา่ งตอ่ เนอ่ื ง (Continuous Quality Improvement)

นิสยั แหง่ คณุ ภาพ มี 7 ประการ ซึง่ มีดงั นี้ ประการที่ 1 : ความเปน็ ระเบียบเรยี บร้อย ประการที่ 2 : การทางานเปน็ ทีม ประการท่ี 3 : การปรบั ปรงุ อยา่ งตอ่ เนือ่ ง ประการท่ี 4 : การม่งุ ที่กระบวนการ ประการท่ี 5 : การศึกษาและฝึกอบรม ประการที่ 6 : ประกนั คณุ ภาพ ประการท่ี 7 : การส่งเสริมให้พนักงานมสี ่วนรว่ ม กลยทุ ธ์การบรหิ ารเชิงคณุ ภาพ ซ่ึงมีดังน้ี 1). วงจร PDCA หรือวงล้อ PDCA คือ วิธีการปฏิบัติงานที่เป็นขั้นตอน เพ่ือทาให้งานเสร็จสมบูรณอ์ ยา่ ง ถูกต้อง มีประสทิ ธิภาพ และเชื่อถอื ไวใ้ จได้ วงจร PDCA จะประกอบดว้ ย การเขยี นแผนงาน (Plan) การนาแผนงานไปปฏบิ ัติ (Do) การตรวจสอบการปฏบิ ตั ิงาน (Check) การแกไ้ ขขอ้ บกพรอ่ ง (Act)โดยแสดงออกเปน็ ภาพได้ดังนี้ หากกระบวนการดาเนินงานทั้ง 4 ขั้นตอนเป็นไปในลักษณะต่อเนื่อง และมีประสิทธิภาพ ย่อมทาให้การปฏบิ ัตงิ านต่างๆ ขององค์การมีคุณภาพ และบรรลุเป้าหมายที่กาหนดไว้ทุกประการ เช่น เมื่อฝ่ายบริหารกาหนดนโยบายและเป้าหมายการดาเนินการ ฝ่ายปฏิบัติตอบสนองด้วยการใช้วงจร PDCA ในการปฏบิ ตั งิ าน โดยจะแสดงออกมาเปน็ ภาพไดด้ งั น้ี

2). ระบบ 5 ส หรือ 5 S เป็นระบบการบริหารงานท่ีมีแนวทางปฏิบัติ 5 อย่าง โดยเน้นให้พนักงานกระทาด้วยตนเองอย่างต่อเน่ือง จนกลายเป็นส่วนหนึ่งของการทางาน และชีวิตประจาวัน ซ่ึงเป็นพื้นฐานในการสร้างวินยั ของคนได้เป็นอยา่ งดี ระบบ 5 ส มาจากภาษาญีป่ ุน่ คือ 2.1. SEIRI (เซร)ิ สะสาง SORT 2.2. SEITON (เซตง) สะดวก SYSTEMISE 2.3. SEISO (เซโซ) สะอาด SWEEP 2.4. SEIKETSU (เซเคทซุ) สุขลกั ษณะ SUSTAIN 2.5. SHITSUKE (ชิทซุเกะ) สรา้ งนิสยั SELF DISCIPLINEโดยสามารถแสดงออกมาเป็นภาพได้ดังนี้

3). กลมุ่ ระบบ QCC (Quality Control Circle : QCC) หลกั การของกลมุ่ กิจกรรม QCC 3.1. ทกุ คนในกล่มุ มสี ว่ นร่วมในการแกไ้ ขปญั หาและปรบั ปรงุ งาน 3.2. การปฏบิ ตั ิกิจกรรมเป็นไปตามอิสระ โดยนาเครอ่ื งมอื การแกป้ ัญหามาใช้ 3.3. มีการควบคุมและติดตาม ตลอดจนดาเนินการปรับปรุงอย่างต่อเนื่อง ข้ันตอนการจัดทากลมุ่ กิจกรรม QCC

4). ระบบการปรับร้ือ (Re-engineering) เปน็ เทคนคิ ท่เี น้นการปรับเปล่ียนวิธีการทางานใหม่ แทนวธิ ีการทางานเก่า ให้สอดคล้องกับสภาพความเปล่ียนแปลงที่เกิดขึ้น เพ่ือวัตถุประสงค์ คือ ลดค่าใช้จ่าย เพ่ิมประสิทธิภาพของงาน และบริการรวดเร็วทันความต้องการของลูกค้า ด้วยการใช้เทคนิคหรือเทคโนโลยีใหม่ๆ และการมีวิสัยทัศน์ที่กว้างไกล นิยมใช้ในธุรกิจที่มีการผลิตหรือการบริการมากๆ และต้องการความรวดเรว็ และประหยดั เวลา 5). ระบบ TQM (Total Quality Management) เป็นระบบการบริหารคุณภาพท่ัวท้ังองค์การ ได้วิวัฒนาการขึ้นในประเทศสหรัฐอเมริกา เม่ือปี ค.ศ. 1980 เพื่อให้ทุกคนมีส่วนร่วมกันบริหารองค์การ และสามารถแกป้ ัญหาการทางานทเ่ี กย่ี วขอ้ งกบั ปจั จยั สาคัญ 5 ประการ คือ คณุ ภาพ (Quality) ต้นทุน (Cost) การส่งมอบ (Delivery) ความปลอดภยั (Safety) ขวัญกาลงั ใจ (Morale) ระบบ TQM มีคุณลกั ษณะที่สาคัญ 7 ประการ คือ 5.1. ทุกคนมสี ว่ นรว่ ม ตั้งแตป่ ระธานบรษิ ัทลงมาจนถงึ พนักงานระดบั ลา่ ง 5.2. มกี ารปฏิบตั ิในทุกแผนกงาน ไม่เฉพาะแตใ่ นสายงานการผลิตเพียงอย่างเดียวเทา่ นน้ั 5.3. มีการปฏิบัตใิ นทุกๆ ข้ันตอนของการทาธุรกจิ 5.4. ส่งเสริมให้มีความใส่ใจปรับปรุงมาตรฐานการทางานในส่วนอ่ืนๆ ทั่วท้ังบริษัทเพ่ือให้วงลอ้ PDCA หมุนได้ไม่หยุดในกจิ กรรมการทางาน 5.5. ควบคุมและปรบั ปรงุ QCDSM คือ Quality, Cost, Delivery, Safety และ Morale 5.6. ใหค้ วามสาคัญต่อปรชั ญา และวธิ ีการแก้ไขปญั หาแบบควบคุมคณุ ภาพ 5.7. ใช้ประโยชน์จากเครือ่ งมอื และวิธีปฏิบัตแิ บบควบคมุ คณุ ภาพ ความสาเร็จขององค์การในยคุ โลกาภิวัตน์


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook