Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore ภาษาPython นันภัทร056

ภาษาPython นันภัทร056

Published by อัจฉรา คําสะใบ, 2020-01-10 03:34:16

Description: ภาษาPython นันภัทร056

Search

Read the Text Version

ภาษาPython วชิ า โปรแกรมตารางคาํ นวณ รหสั วชิ า 2204-2103 นางสาว นนั ภทั ร หงษศ์ าลา 056 นางสาว นุชาดา ใบศิลา 061 นางสาว อจั ฉรา คาํ สะใบ 079 นางสาว ชฎาพร นอ้ ยหุ่น 094 ปวช. 1/2 คอมพวิ เตอร์ธุรกิจ

คํานํา รายงานฉบบั น้ีจดั ทําข้นึ เพ่ือประกอบการเรยี นวิชาหลกั โปรแกรมตารางงานโดยมีจดุ ประสงคเพื่อใหผ จู ดั ทําได ฝกการศึกษาคน ควาและนาํ สิ่งทไ่ี ดศึกษาคนความาสรา งเปนช้ินงานเก็บไวเ ปนประโยชนตอการเรียนการสอนของตน เองและครูตอ ไป ทง้ั น้ี เนื้อหาไดร วบรวมมาจากอนิ เตอรเ นต็ และจากหนงั สอื คมู ือการเรียนอกี หลายเลม ขอขอบพระคุณอาจารย วลิ าวัลย วชั โรทัยอยา งสูงทีก่ รุณาตรวจ ใหค าํ แนะนําเพอื่ แกไข ใหขอ เสนอแนะตลอดการทาํ งาน ผูจดั ทําหวงั วา รายงานฉบับนี้คงมปี ระโยชนตอ ผูท ีน่ ําไปใชใ หเ กิดผลตามความคาดหวัง

สารบญั คาํ นาํ 2 โครงสรา งของภาษาPython 4 คําสงวนในภาษาPython 18 การตัง้ ช่อื ตัวแปรในภาษาPython 19 การแสดงผลออกทางหนา จอ 20 สรุป 26 ผูจ ัดทํา 27 เสนอ 32

โครงสรา งของภาษาPython ในบทนี้คณุ จะไดเ รียนรูและทาํ ความเขา ใจในโครงของภาษาPythonในภาษาคอมพิวเตอรน นั้ กม็ ี โครงสรา งของภาษาเชน เดียวกกับภาษามนษุ ยซึ่งส่งิ เหลาน้ถี กู กําหนดเพือ่ เปนรูปแบบและวธิ ีในการ เขยี นโปรแกรมในภาษาPythonมันใชส ําหรบั ควบคุมวิธีทค่ี ณุ จะเขยี นโคด ของคณุ เพอื่ ใหเ ขา ใจโดยตวั แปร ภาษาหรอื คอมไพเลอร Simple Python program เพ่อื เรม่ิ ตนการเรยี นรูใ นภาษา Python มาดตู ัวอยา งของโปรแกรมอยางงาย โดยเปน โปรแกรมทถี่ ามชือ่ ผู ใชแ ละแสดงขอ ความทักทายทางหนา จอ มาเร่มิ เขยี นโปรแกรมแรกในภาษา Python ของคุณ ใหคดั ลอก โปรแกรมขา งลา งแลวนําไปรันใน IDE # My first Python program name = input('What is your name?\\n') print ('Hi, %s.' % name) print ('Welcome to Python.')

(ตอ) ในตวั อยา งเปนโปรแกรมในการรับชอื่ และแสดงขอ ความทกั ทายออกทางหนาจอ ในการรนั โปรแกรมคณุ สามารถรนั ไดหลายวิธี แตทีแ่ นะนาํ คอื การใช Python shell ใหค ณุ เปด Python shell ข้ึนมาแลว กดสรา ง ไฟลใหมโดยไปท่ี File -> New File จะปรากฏกลอง Text editor ของภาษา Python ข้ึนมา เพอ่ื รนั โปรแกรม Run -> Run Module หรือกด F5 โปรแกรมจะเปล่ยี นกลบั ไปยงั Python shell และเรมิ่ ตนทํางาน นเี่ ปน ผลลัพธการทาํ งานในการรนั โปรแกรมfirst.pyจากPythonshellในตัวอยา งเราไดกรอกช่อื เปน\"Mateo\" และหลังจากน้นั โปรแกรมไดแสดงขอ ความทักทายและจบการทาํ งานในตอนนีค้ ณุ ยงั ไมตองกงั วลวาโปรแกรมในแตล ะ บรรทดั น้ันทาํ งานยังไง ซ่งึ เราจะอธบิ ายในตอไป

Module ในตวั อยางโปรแกรมรับชื่อของเราเปน โปรแกรมแรกของเราในบทเรยี นPythonนี้และเราไดบนั ทกึ เปนไฟลท่ชี ื่อวา first.py ซ่ึงไฟลของภาษา Python นนั้ จะเรียกวา Module ซ่งึ Module จะประกอบไปดว ยคลาส ฟงกช นั และ ตวั แปรตางๆ และนอกจากนี้เรายงั สามารถ import โมดลู อืนเขามาในโปรแกรมได ซ่ึงโมดูลอาจจะอยูภ ายใน package ซึง่ เปนเหมือน directory ของ Module ในตวั อยาง first.py จึงเปน โมดลู ของโปรแกรมแรกของเรา

Comment คอมเมนตในภาษาPythonน้นั เร่มิ ตน ดว ยเครอ่ื งหมาย#คอมเมนตส ามารถเรมิ่ ตน ทต่ี ําแหนง แรกของ บรรทดั และหลงั จากน้ันจะประกอบไปดวย Whilespace หรอื โคดของโปรแกรม หรือคําอธิบาย ซึ่งโดยท่วั ไป แลวคอมเมนตมักจะใชสําหรับอธบิ ายซอสโคด ทเี่ ราเขยี นขนึ้ และมนั ไมมผี ลตอการทํางานของโปรแกรม นี่เปน ตัวอยา งการคอมเมนตในภาษา Python # My first Python program ''' This is a multiline comment ''' print ('Hello Python.') # Inline comment ในตวั อยา ง เราไดคอมมเมนตสามแบบดว ยกัน แบบแรกเปน การคอมเมนตแ บบ single line แบบทสี่ อง เปน การคอมเมนตแบบ multiline line และแบบสุดทา ยเปน การคอมมเมนตแ บบ inline หรือการคอมเมน ตภ ายในบรรทัดเดียวกัน

Statement Statementคือคาํ สง่ั การทํางานของโปรแกรมแตละคาํ สง่ั ในภาษาPythonน้ันจะแบง แยกดวยการขึน้ บรรทัดใหมซง่ึ จะแตกตางจากภาษkCและJavaซึ่งใชเครือ่ งหมายเซมโิ คลอนสําหรับการจบคาํ สงั่ การทาํ งาน แต อยา งไรก็ตาม ในภาษา Pythonน้นั คณุ สามารถมหี ลายคําส่งั ในบรรทัดเดยี วกันไดโ ดยการ ใชเ ครือ่ งหมายเซมโิ คลอน ; name = input('What is your name?\\n') print ('Hi, %s.' % name); print ('Welcome to Python.'); print ('Do you love it?') ในตัวอยาง เรามี 4 คาํ ส่งั ในโปรแกรม สองบรรทดั แรกเปนคาํ สง่ั ทีใ่ ชบรรทดั ใหมใ นการจบคําสง่ั ซ่งึ เปน แบบปกตใิ นภาษา Python และบรรทัดสุดทา ยเรามีสองคําสงั่ ในบรรทัดเดยี วที่ค่ันดวยเครอื งหมาย ; สาํ หรบั การ จบคาํ ส่ัง

Indentation and while space ในภาษา Python นน้ั ใช Whilespace และ Tab สาํ หรับกําหนดบลอ็ คของโปรแกรม เชน คาํ ส่งั If Else For หรอื การประกาศฟง กชัน ซงึ่ คาํ สง่ั เหลา นน้ี ้นั เปนคาํ สง่ั แบบบลอ็ ค โดยจํานวนชองวางทใี่ ชน น้ั ตอ งเทากนั มาดูตวั อยา งของบล็อคคําส่ังในภาษา Python n = int(input ('Input an integer: ')) if (n > 0): print ('x is positive number') print ('Show number from 0 to %d' % (n - 1)) else: print ('x isn\\'t positive number') for i in range(n):

(ตอ) ในตวั อยาง เปน บล็อคของโปรแกรมจากท 3 คาํ สงั่ ในคาํ สัง่ แรกคอื If ในบล็อคนม้ี สี องคําส่ังยอยอยภู ายใน ท่ี หัวของบลอ็ คนัน้ จะตองมเี คร่อื งหมาย : กําหนดหลังคําส่งั ในการเริ่มตนบล็อคเสมอ อีกสองบลอ็ คสดุ ทายนั้นเปนคาํ สง่ั Else และ For ซง่ึ มีหนึ่งคาํ สั่งยอยอยภู ายใน ในภาษา Python นี้เขมงวดกับชอ งวางภายในบล็อคมาก น้นั หมายความวาทกุ คาํ สัง่ ยอ ยภายในบลอ็ คนัน้ ตอ งมจี าํ นวนชองวา งเทา กันเสมอ n = int(input ('Input an integer: ')) # Invalid indent if (n > 0): print ('x is positive number') print ('Show number from 0 to %d' % (n - 1))

(ตอ ) # Valid indent else: print ('x isn\\'t positive number') # Valid indent for i in range(n): print(i) น่ีเปน ตวั อยางการใชง านชองวางที่ถกู ตองและไมถกู ตอ งภานในบลอ็ ค ใสคําสั่ง If น้นั ไมถูกเพราะทง้ั สองคาํ สง่ั มีจาํ นวนชอ งวางท่ไี มเทา กัน สําหรบั ในคาํ สั่ง Else และ For นัน้ ถกู ตอ ง

Literals ในการเขียนโปรแกรม Literal คอื เคร่อื งหมายทใี่ ชแ สดงคาของคา คงท่ใี นโปรแกรม ในภาษา Python นัน้ มี Literal ของขอ มลู ประเภทตา งๆ เชน Integer Floating-point number และ String หรอื แมกระทงั่ ตัวอักษรและ boolean น่ี เปนตวั อยา งของการกําหนด Literal ใหก ับตวั แปรในภาษา Python a=1 b = -1.64E3 c = True d = \"marcuscode.com\" e = 'A' ในตัวอยาง เปน การกาํ หนด Literal ประเภทตางๆ ใหก บั ตัวแปร ในคาทเี่ ปนแบบตัวเลขน้นั สามารถกาํ หนดคา ลงไปโดย ตรงไดท ันทีและสามารถกาํ หนดในรปู แบบสนั้ ไดอ ยา งในตวั แปร b และสําหรบั boolean นั้นจะเปน True สวน String หรือ Character น้นั จะตองอยภู ายในเคร่อื งหมาย double quote หรือ single quote เสมอ

Expressions Expressionคอื การทาํ งานรวมกนั ระหวางคาตง้ั แตหนึง่ ไปจนถงึ หลายคาโดยคาเหลานีจ้ ะมตี วั ดําเนนิ การสําหรับ ควบคุมการทํางาน ในภาษา Python นั้น Expression จะมสี องแบบคือ Boolean expression เปนการกระทาํ กันของ ตัวแปรและตัวดาํ เนินการและจะไดผลลัพธเปนคา Boolean โดยท่วั ไปแลว มกั จะเปนตวั ดําเนินการเปรยี บเทยี บคา และตัว ดาํ เนินการตรรกศาสตร และ Expression ทางคณิตศาสตร คือการกระทาํ กันกบั ตัวดาํ เนินการและไดค าใหมท ี่ไมใช Boolean น่เี ปน ตวั อยา งของ Expressions ในภาษา Python a=4 b=5 # Boolean expressions print(a == 4) print(a == 5) print(a == 4 and b == 5)

(ตอ) print(a == 4 and b == 8) # Non-boolean expressions print(a + b) print(a + 2) print(a * b) print(((a * a) + (b * b)) / 2) print(\"Python \" + \"Language\") ในตวั อยา ง เรามตี ัวแปร aและbและกาํ หนดคา ใหกับตัวแปรเหลาน้แี ละทาํ งานกับตวั ดาํ เนนิ การประเภทตา งๆ ทีแ่ สดง Expression ในรปู แบบของ Boolean expression ทจี่ ะไดผลลัพธส ุดทายเปน เพียงคา True และ False เทานน้ั สว น Non-Boolean expression นั้นสามารถเปนคาใดๆ ท่ไี มใ ช Boolean

(ตอ) True False True False 9 6 20 20.5 Python Language นเี่ ปนผลลัพธการทาํ งานของโปรแกรมในการทํางานของ Expression ในภาษา Python

Keywords False None True and as assert break class continue def del elif else except finally for from global import in if nonlocal not is lambda raise return or with yield try pass while

Keywordเปนคาํ ท่ีถกู สงวนไวในการเขยี นโปรแกรมภาษาPythonเราไมส ามารถใชค าํ สง่ั เหลานีใ้ นการตั้ง ช่อื ตวั แปรชื่อฟงกช นั คลาส หรือ identifier ใดๆ ท่กี ําหนดขึน้ โดยโปรแกรมเมอร น่ีเปน รายการของ Keyword ในภาษา Pythonในบทน้ี คุณไดเ รยี นรเู กี่ยวกบั โครงสรางของภาษา Python สง่ิ เหลา นี้ เปน ขอ กําหนดหรอื กฎเกณฑท ่จี าํ เปนตองใชใ นการเขยี นโปรแกรม ซง่ึ มันจะปรากฏในทกุ ๆ โปรแกรมท่คี ณุ เขียน ในบท ตอไป เราจะเร่มิ ตน เขา สูการเขียนโปรแกรมในภาษา Python

คําสงวนในภาษาPython คอื คาํ ทห่ี า มตง้ั ช่อื ตัวแปรซา้ํ กบั คําสงวนภาษาไพธอนก็เปน ภาษาหนง่ึ ที่มคี ําสงวนที่สงวนไว สําหรับตัวแปลภาษาไพธอนเหมือนกนั ซ่ึงเราก็ตองรวู า ไพธอนมคี ําใดบา งที่เปนคาํ สงวน ดงั แสดงตามตารางดา นลางนี้

การตั้งชอื่ ตวั แปรในภาษาPython -ขน้ึ ตนดว ยอกั ษรภาษาองั กฤษหรือตามดว ยตัวเลขใดๆกไ็ ด อยางนอย1ตวั -หามเวน ชองวาง -หามใชส ญั ลกั ษณพิเศษนอกจาก underscore (_) เทา น้ัน -ชือ่ ตัวอักษรจะคาํ นงึ ถึงความแตกตางระหวา งอกั ษรตัวพิมพใหญก บั ตัวพมิ พเล็ก -การตงั้ ชื่อจะตอ งไม้ซาํ้ กับคาํ สงวน -ควรจะตงั้ ชอื่ ทมี่ ีความหมายสอดคลอ งกับขอมลู ใหผ อู านสามารถเขาใจไดง า ย -หา มใชเ คร่อื งหมายเหลานีใ้ นการตัง้ ชอ่ื ตวั แปร !,@, #, $, %, ^, &, *, (, ), -, =, \\, |, +, ~ -ถา ชอื่ ตวั แปลทีม่ ชี อื่ เหมอื นกันแตต ัวอกั ษรพิมพใหญกับพมิ พเ ลก็ ตา งกันกจ็ ะไมใชต ัวแปลตัวเดยี วกนั

การแสดงผลออกทางหนาจอ การทาํ งานพ้นื ฐานที่สดุ หรอื เรยี กไดวา เปน สว นหนึง่ ในการทํางานของทกุ โปรแกรมคือ การแสดงผลขอ มูลออกทาง จอภาพ โดยในภาษา C น้นั การแสดงผลขอ มลู ออกทางจอสามารถทําไดดงั นี้ คําสง่ั printf คําส่งั printfถอื ไดวา เปน คําส่ังพืน้ ฐานท่ีสดุ ในการแสดงผลขอ มลู ทกุ ชนดิ ออกทางหนาจอไมว า จะเปนจาํ นวนเตม็ int ทศนยิ ม float ขอ ความ string หรืออักขระ นอกจากนคี้ าํ สงั่ ยังมคี วามยืดหยุนสูง โดยเราสามารถกาํ หนดหรือจัดรปู แบบ การแสดงผลใหม ีระเบียบหรอื เหมาะสมตามความตอ งการไดอกี ดวย รูปแบบคําส่ัง prinft() printf (“format”,variable);

(ตอ) format ขอ มูลที่ตอ งการแสดงผลออกทางหนา จอ โดยขอ มูลนี้ตอ งเขยี นไวใ นเคร่ืองหมาย” ” variable ขอมูลที่สามารถแสดงผลไดม ีอยู 2 ประเภท คอื ขอ ความธรรมดา และคา ทเ่ี กบ็ ไว ในตวั แปร ซง่ึ ถา เปน คาที่เกบ็ ไวใ นตวั แปรตองใสรหัสควบคมุ รปู แบบใหตรงกบั ชนิด ของ ขอมูลที่เก็บไวใ นตัวแปรนน้ั ดวย ตัวแปรหรอื นพิ จนทีต่ อ งการนําคาไปแสดงผลใหต รงกับรหสั ควบคมุ รูปแบบทก่ี ําหนดไว

รหสั ควบคมุ รปู แบบการแสดงผลคาของตวั แปรออกทางหนาจอ แสดงไดด ังน้ี รหัสควบคมุ รูปแบบ การนําไปใชง าน %d แสดงผลคา ของตวั แปรชนิดจํานวนเต็ม %u แสดงผลคา ของตัวแปรชนิดจาํ นวนเต็มบวก %f แสดงผลคาของตัวแปรชนดิ จาํ นวนทศนยิ ม %c แสดงผลอกั ขระ 1 ตัว %s แสดงผลขอ ความ หรืออักขระมากกวา 1 ตวั

การนาํ อกั ขระควบคมุ การแสดงผลมาใช เราตองเขียนอักขระควบคมุ การแสดงผลไวภ ายในเคร่อื งหมาย ” ” printf(“Hello … \\n”); แสดงขอความ Hello … แลว ขนึ้ บรรทัดใหม แสดงขอความ Hello …แลวขึน้ บรรทัดใหมพ รอ มกับแสดงขอ ความ printf(“Hello…\\nPhichit\\n”); Phichit จากน้ันข้นึ บรรทดั ใหมอ ีกคร้ัง ถา Num1 = 45 , Num2 = 20.153 printf(“Num1 = %d\\tNum2 =%f\\n”,x,z); แสดงขอ ความ Num1 = 45 ตามดวยการเวนชอ ง วา ง 1 แทบ็ แลวตอ ดวย ขอ ความ Num2 = 20.153

ตวั อยางการใชค าํ ส่งั printf แสดงผลขอความธรรมดาออกทางหนาจอ ดงั น้ี printf(“Hello Program C”); แสดงขอความ Hello Program C printf(“Phichit Pittayakom school”); ออกทางขอภาพ printf(“Phichit Thailand”); แสดงขอความ Phichit Pittayakom school ออกทางจอภาพ แสดงขอ ความ Phichit Thailand ออกทางจอภาพ #include <stdio.h> int main() { prinft(“Phichit Pittayakom School\\n”); printf(“Program C\\n”); getch(); return 0 ; } ผลลัพธโปรแกรม Phichit Pittayakom School Program C

แสดงผลใหเปน ระเบียบดว ยอักขระควบคมุ การแสดงผล นอกจากนเ้ี รายงั สามารถจัดรปู แบบการแสดงผลใหด เู ปนระเบยี บมากข้ึน อยา งเชนขน้ึ บรรทัดใหม หลงั แสดงขอความ หรือเวนระยะแทบ็ ระหวางขอ ความ โดยใชอกั ขระควบคุมการแสดงผลรว มกบั คาํ สัง่ printf อกั ขระควบคมุ การแสดงผล ความหมาย \\n ขึ้นบรรทัดใหม \\t เวน ชอ งวางเปน ระยะ 1 แท็บ (6 ตัวอักษร) \\r กาํ หนดใหเ คอรเซอรไ ปอยูตน บรรทดั \\f เวน ชอ งวางเปน ระยะ 1 หนา จอ \\b ลบอักขระสดุ ทายออก 1 ตวั

สรุป ในบทน้ีไดศ กึ ษาเก่ยี วกบั ภาษาPython ท่ีครอบคลมุ เนอ้ื หาทกุ ๆ เรื่องท่ีเกีย่ วของ ไดแกโครงสรางของภาษาPython คํา สงวนในภาษาPythonการต้งั ชอื่ ตวั แปรในภาษาPythonการแสดงผลออกทางหนาจอเปน ตน นอกจากน้ียังไดน ําเอาการ จัดการบีบอดั ขอ มลู หรอื การรวมแฟมทง้ั ในรูปแบบ tar และ zip และการขยายแฟม ท้งั สองรปู แบบกลับมาใหเ หมอื นเดมิ จะ เห็นวาภาษาไพธอนมีมอดลู ท่ีสําคญั ๆรองรบั การทํางานทกุ ดา นมอดูลทม่ี ใี หใชสามารถเขยี นคําสง่ั ตา งๆ ไดสั้นกวาภาษา อืน่ ๆดงั นัน้ จึงเหมาะสาํ หรบั ผูที่จะพฒั นาโปรแกรมทีม่ ขี นาดใหญแ ละซับซอนมาก ซ่ึงจะทาํ ใหการเขียนโปรแกรมสําเรจ็ ได อยางรวดเรว็ ยงิ่ ขึ้น

ผจู้ ดั ทาํ

นางสาว นนั ภทั ร หงษศ์ าลา รหสั นกั ศึกษา : 065 ช้นั : ปวช. 1/2 แผนก : คอมพวิ เตอร์ธุรกิจ เกิดวนั ที่ : 18/08/2546 อายุ : 16 ปี

นางสาว นุชาดา ใบศิลา รหสั นกั ศึกษา : 061 ช้นั : ปวช. 1/2 แผนก : คอมพิวเตอร์ธุรกิจ เกิดวนั ที่ : 17/08/2546 อายุ : 16 ปี

นางสาว อจั ฉรา คาํ สะใบ รหสั นกั ศึกษา 079 ช้นั ปวช. 1/2 แผนก คอมพิวเตอร์ธุรกิจ เกิดวนั ท่ี 28/12/2546 อายุ 16 ปี

นาวสาว ชฎาพร นอ้ ยหุ่น รหสั นกั ศึกษา094 ช้นั ปวช 1/2 เเผนก คอมพิวเตอร์ธุรกิจ เกิดวนั ที่ 12/06/2546 อายุ 16

เสนอ คณุ ครู วลิ าวัลย วชั โรทยั

79 หมู่ 5 ต.บา้ นกลาง อ.เมือง จ.ปทุมธานี 12000 วทิ ยาลยั เทคนิคปทุมธานี Pathumthani Technical College คอมพวิ เตอร์ธุรกิจ Business Computer


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook