การอา่ นเพ่ือการเรียนรตู้ ลอดชีวติ | ๘๙ การคน้ หาเว็บไซตโ์ ดยใชค้ าํ ค้น “ผเี ส้อื ” ตวั อย่างการคน้ หาเว็บไซต์ โดยใช้คาํ คน้ ภาษาอังกฤษ คาํ วา่ butterfly
การอา่ นเพอ่ื การเรยี นรตู้ ลอดชีวติ | ๙๐ ๒. ค้นหาตามหมวดหมู่ วิธีนี้ใช้ได้เฉพาะบริการค้นหาที่ได้จัดหมวดหมู่เว็บไซต์ประเภทต่าง ๆ ไว้เท่าน้ัน การจัดหมวดหมู่น้ี แต่ละแห่งอาจจัดไม่เหมือนกัน บางแห่งก็แบ่งหมวดหมู่ไว้กว้าง ๆ เพียงไม่กี่หมวดหมู่ เช่น พืช สัตว์ สิ่งประดิษฐ์ เศรษฐกิจสังคม การเมือง ภาษา วัฒนธรรม การศึกษา ประวัติศาสตร์ เป็นต้น แต่บางแห่งก็จัดแบ่งอย่างละเอียดซอยออกไปมากมาย โดยมักเขียนตาม ตัวอกั ษร เพือ่ ให้ผูใ้ ชค้ ้นหาไดร้ วดเร็ว ตวั อย่างเว็บไซตท์ ใ่ี หบ้ ริการค้นหาตามหมวดหม่อู ย่างละเอียด
การอา่ นเพ่ือการเรียนรตู้ ลอดชีวิต | ๙๑ ๒. หอ้ งสมุดอเิ ลก็ ทรอนิกส์ ห้องสมุดอิเล็กทรอนิกส์ ห้องสมุดประเภทน้ีจะแตกต่างจากห้องสมุดท่ัวไป เพราะสามารถใช้ บริการผ่านทางอินเตอร์เน็ต การค้นหาข้อมูลสะดวก รวดเร็ว โดยสามารถค้นคว้าได้จากช่ือเร่ือง หัวเรื่อง ชื่อหนังสือ ชื่อผู้แต่ง เลขมาตรฐานสากลประจําหนังสือ (ISBN) เลขมาตรฐานสากลประจํา วารสาร (ISBN) สํานักพิมพ์ ปีที่พิมพ์ เป็นต้น ซึ่งการค้นคว้าในห้องสมุดอิเล็กทรอนิกส์สามารถระบุ ข้อมลู หรือเงื่อนไขเฉพาะไดช้ ดั เจน เช่น ต้องการทราบผลงานของเจ้าพระยาคลัง (หน) เฉพาะเกี่ยวกับ สามก๊ก ราชาธิราช ก็สามารถระบุเง่ือนไขท่ีเก่ียวกับช่ือผู้แต่ง คือ เจ้าพระยาคลัง(หน) และระบุหัวข้อ เร่ืองคือ สามก๊ก ราชาธิราช ระบบสามารถประมวลผลงานของเจ้าพระยาคลัง(หน) เฉพาะเรื่องท่ีเป็น สามก๊กราชาธริ าช เท่านน้ั ภาพหนา้ จอขณะคน้ หาเอกสารส่ิงพมิ พจ์ ากห้องสมุดอิเลก็ ทรอนกิ ส์
การอา่ นเพื่อการเรยี นรู้ตลอดชวี ติ | ๙๒ ผลการคน้ หาเอกสารส่งิ พิมพ์จากหอ้ งสมดุ อิเล็กทรอนิกส์
การอ่านเพื่อการเรียนรตู้ ลอดชีวติ | ๙๓ ๓. ฐานข้อมูลออนไลน์ ฐานข้อมูลออนไลน์ ฐานข้อมูล คือ แหล่งจัดเก็บข้อมูลหัวข้อใดหัวข้อหน่ึง หรือหลายหัวข้อ ท่ีรวบรวมมาจากแหล่งข้อมูลหลาย ๆ แหล่ง จํานวนข้อมูลในฐานข้อมูลมีมากมายนับหมื่น แสนหรือ ลา้ นรายการ ออนไลน์ (online) หมายถงึ การเช่อื มโยงผ่านเครือขา่ ยอนิ เตอรเ์ นต็ การสืบคน้ ขอ้ มลู จากฐานขอ้ มลู ออนไลน์ใหไ้ ด้ตรงตามความตอ้ งการ อาจใชเ้ ทคนิคง่าย ๆ ดงั นี้ ๓.๑ ทําความเขา้ ใจความหมายของคาํ เชอ่ื มทส่ี ําคญั ๓ คํา คือ “และ”...... ระบวุ ่า “สุนทรภู่” และ “นิราศภูเขทอง”ขอ้ มลู ท่ีไดจ้ ะเนน้ ขอ้ มูลของสนุ ทรภู่ เฉพาะท่ีเกย่ี วกบั “นิราศภเู ขาทอง” จะไปปรากฏเรือ่ งราวด้านอ่ืน ๆ เลย “หรอื ” ใช้เพ่ือเพม่ิ ขอบเขตของข้อมูลให้กวา้ งขึน้ ตัวอยา่ ง ระบุว่า “ไมตรี ลิมปิชาติ” หรอื “พนมเทียน” ข้อมลู ทไี่ ด้จะเนน้ ข้อมูลทีเ่ กี่ยวกบั “ไมตรี ลมิ ปิชาต”ิ หรอื “พนมเทยี น” ทั้งหมดทมี่ ีอย่ใู นฐานขอ้ มลู น้นั “ไม”่ ใช้เพอื่ ลดขอบเขตของขอ้ มลู ตวั อย่าง ระบุวา่ “พนมเทยี น” ไม่ “ประวัติ” ขอ้ มลู ที่ได้จะเน้นเรอื่ งราวของพนมเทยี นทุกด้านจะ ไมม่ เี รอื่ งเกี่ยวกบั ประวัตขิ องพนมเทียนเลย ๓.๒ ใชส้ ญั ลักษณห์ ากไม่ทราบวิธีสะกดคาํ ทถ่ี กู ตอ้ ง เครอื่ งหมายคําถาม ? ใช้แทนอกั ษร ๑ ตัว เครอ่ื งหมาย * ใชแ้ ทนอกั ษรหลายตัว ตัวอย่าง ต้องการคน้ เรื่องวญิ ญาณ แตไ่ มแ่ นใ่ จตัวการันตใ์ หพ้ ิมพ์ “วิญญา?” ตอ้ งการคน้ เรือ่ ง “ปญั จวัคคยี ์” แต่ไมแ่ น่ใจหรือไมท่ ราบวา่ ตัวสะกด ให้พมิ พ์ ปญั จวัคคี* ๓.๓ ฐานขอ้ มลู อีริก (ERIC database) ซ่งึ เป็นฐานขอ้ มลู ดา้ นการศกึ ษาให้ใชค้ ําว่า NEAR สําหรับการคน้ ควา้ ที่รวมคาํ ที่ต้องการด้วย การคน้ หาขอ้ มลู จากฐานขอ้ มลู ออนไลนท์ ี่มขี อ้ มลู อยูเ่ ป็นจาํ นวนมาก จาํ เปน็ ต้องระบขุ อบเขต ของข้อมลู ที่ต้องการอย่างชดั เจน โดยวธิ เี ชอื่ มคาํ หลกั หลาย ๆ คาํ เพ่อื กรองให้ได้เฉพาะข้อมลู ทีต่ รงกบั ความต้องการ
การอา่ นเพื่อการเรยี นรตู้ ลอดชีวติ | ๙๔ ภาพหนา้ จอแสดงการคน้ หาขอ้ มลู จากฐานขอ้ มลู ออนไลนโ์ ดยใช้คาํ เช่ือม
การอา่ นเพ่อื การเรียนร้ตู ลอดชีวติ | ๙๕ ภาพหนา้ จอแสดงการคน้ ขอ้ มลู จากฐานขอ้ มลู ออนไลน์โดยใชค้ าํ เชอื่ ม
การอ่านเพื่อการเรียนรูต้ ลอดชีวติ | ๙๖ ประโยชนจ์ ากการสบื ค้นขอ้ มูล ผทู้ ีม่ ขี อ้ มลู มากหรอื มีระบบการสืบค้นขอ้ มลู ทดี่ ี ยอ้ มมโี อกาสทจี่ ะเขา้ ถึงข้อมูลท่เี ป็นประโยชน์ และนําไปใช้ประโยชนไ์ ด้ การสืบคน้ ขอ้ มูลมปี ระโยชน์ ดงั ต่อไปนี้ ๑. ใช้ในการดาํ เนนิ ชีวิตประจาํ วัน ๒. การพัฒนาตนเอง ๓. การประกอบอาชีพ ๔. การพฒั นาอาชีพ ๕. การธํารงสังคมใหเ้ จริญกา้ วหนา้ ๖. การพฒั นาสังคมใหเ้ จรญิ ก้าวหน้า ๗. เรยี นรู้เพ่ือการศกึ ษาและบันเทิงใจ จะเห็นได้ว่าข้อมูลข่าวสารมีความสําคัญทั้งต่อตนเองและส่วนรวม มีการพัฒนาอาชีพและ สังคม ผู้ที่รู้จักนําข้อมูลไปใช้อย่างเหมาะสม ย่อมได้รับประโยชน์จากข้อมูลมากกว่าผู้อ่ืน ในโลกยุค ขอ้ มูลขา่ วสารในปจั จบุ ันนน้ั มีข้อมลู ข่าวสารจาํ นวนมากที่แพร่หลายท่ัวถึงกันท้ังที่มีประโยชน์และไม่มี ประโยชน์ มีแหล่งข้อมูลข่าวสารท่ีกว้างขวางทันสมัย รวดเร็วแต่ในขณะเดียวกันก็ไม่มีขอบเขตจํากัด จึงควรเลือกข้อมูลท่ีเป็นประโยชน์ ใช้วิจารณญาณในการกลั่นกรองข้อมูล เพ่ือให้ได้ข้อมูลท่ีถูกต้อง เหมาะสม และมปี ระโยชนม์ ากทส่ี ุดทัง้ ตอ่ ตนเองและสงั คม
คาํ ฃแ้ี จง การอา่ นเพ่อื การเรียนรู้ตลอดชีวิต | ๙๗ แบบฝึกหดั ทบทวนบทที่ ๙ จงเตมิ คําและอธบิ ายคําถามตอ่ ไปนี้ใหไ้ ด้ใจความสมบรู ณ์ ๑. เว็บไซต์ หมายถงึ ..................................................................................................................................................... ............................................................................................................................................................. ............................................................................................................................................................. ๒. ห้องสมุดอเิ ล็คโทรนิกส์ คืออะไร จงอธบิ าย ..................................................................................................................................................... ............................................................................................................................................................. ............................................................................................................................................................. ............................................................................................................................................................. ............................................................................................................................................................. ............................................................................................................................................................. ๓. ฐานขอ้ มลู ออนไลน์ หมายถงึ ..................................................................................................................................................... ............................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................
การอา่ นเพ่อื การเรียนรูต้ ลอดชวี ิต | ๙๘ แบบทดสอบบทที่ ๙ การอา่ นและคน้ คว้าหาขอ้ มูลทางอินเตอรเ์ น็ต คาํ ชีแ้ จง เลอื กคาํ ตอบที่ถูกตอ้ งทส่ี ุด ๑. “อนิ เตอรเ์ น็ต” มีขอ้ เปรยี บเทียบไดต้ ามข้อใด ก. เครอื่ งสมองกล ข. การศึกษาตลอดชีวิต ค. ขมุ ทรพั ย์ข้อมูลขา่ วสาร ง. ขุมทรัพยส์ ดุ ขอบฟา้ ๒. “Web browser” มีความสาํ คญั อยา่ งไร ก. โปรแกรมสบื ค้นข้อมลู ข. โปรแกรมหาขอ้ มูลภายในประเทศ ค. โปรแกรมหาข้อมลู สว่ นบุคคล ง. โปรแกรมหาขอ้ มลู บรษิ ัท ๓. ที่ตงั้ เครือขา่ ยข้อมลู ทเี่ ช่ือมโยงตดิ ต่อถึงกันไดท้ ุกหนแหง่ ทวั่ โลก เรยี กว่าอะไร ก. หอ้ งสมดุ อเิ ลก็ ทรอนกิ ส์ ข. ฐานขอ้ มูลออนไลน์ ค. เว็บไซต์ ง. โฮมเพจ ๔. ถา้ ต้องการฐานขอ้ มูลเรอ่ื ง “วงจรชีวิตของผเี สอ้ื ” คาํ หลกั คอื ออะไร ก. วงจร ข. ผีเส้อื ค. ชีวิต ง. ถกู ทุกขอ้ ๕. หอ้ งสมุดอเิ ล็กทรอนิกส์ต่างจากหอ้ งสมดุ ทัว่ ไปอยา่ งไร ก. มสี ํานักงานอย่ใู นชุมชน ข. มบี รรณารกั ษ์คอยให้บริการ ค. ยืม – คืนหนงั สือทีห่ อ้ งสมดุ ได้ ง. ใชบ้ ริการผ่านอินเตอรเ์ น็ต
การอ่านเพอ่ื การเรียนร้ตู ลอดชีวิต | ๙๙ ๖. ถา้ นักศกึ ษาตอ้ งการศึกษา e-learning online หลกั สตู ร กศน. ควรเปิดคาํ หลักตามข้อใด ก. กศน. ข. กรม กศน. ค. สถาบนั กศน. ง. สํานักงาน กศน. ๗. ฐานขอ้ มลู ออนไลน์ หมายถงึ อะไร ก. การเกบ็ ขอ้ มลู ในเครื่องคอมพวิ เตอร์ ข. แหลง่ จดั เกบ็ ขอ้ มูลโดยเช่อื มโยงผ่านเครอื ข่ายอินเตอรเ์ น็ต ค. แหล่งจดั เก็บข้อมูลทางเวบ็ ไซต์ตา่ ง ๆ มารวมกัน ง. การเกบ็ ข้อมลู ต่าง ๆ เพ่ือสํารองไว้ใช้ในยามจาํ เปน็ ๘. การสบื คน้ ข้อมลู จากฐานข้อมูลออนไลน์ มคี าํ เช่ือมทสี่ าํ คญั ๓ คํา คอื อะไร ก. และ – หรอื – ไม่ ข. เป็น – อยู่ – คอื ค. ไม่ – คอื – ถ้า ง. หรอื – ถา้ – เปน็ ๙. ถา้ เราต้องการคน้ คว้าเรื่องวิญญาณ แตไ่ มแ่ นใ่ จตวั สะกด-การนั ต์ ใหพ้ มิ พค์ าํ วา่ อะไร ก. พิมพว์ ิญ........... ข. พิมพ์ “วิญญาณ” ค. พมิ พ์ ? “วิญญา” ง. พมิ พ์ “วิญญา?” ๑๐. ประโยชนข์ องการสืบค้นข้อมูล หมายถงึ ข้อใด ก. ใชพ้ ฒั นาตนเองและดําเนนิ ชีวิต ข. ใชใ้ นการสอบไล่ปลายภาค ค. การค้นหาบคุ คลตอ้ งสงสยั ง. ใช้ในการกล่นั แกลง้ คูต่ ่อสู้
การอา่ นเพอื่ การเรยี นรตู้ ลอดชีวิต | ๑๐๐ บทท่ี ๑๐ แหลง่ คน้ คว้าหาขอ้ มูลห้องสมุดประชาชน/หอ้ งสมุดเฉพาะ การศึกษาค้นคว้าหาข้อมูลเพื่อการศึกษาเป็นสิ่งจําเป็นท่ีผู้เรียนจะต้องมีความรู้เก่ียวกับ แหล่งข้อมูล โดยเฉพาะห้องสมุดประชาชนและห้องสมุดเฉพาะเป็นส่ิงที่จําเป็นที่ผู้เรียนต้องทราบ แหล่งข้อมูลท่ีมีอยู่เป็นจํานวนมาก ซ่ึงแต่ละแห่งจะให้ความรู้ในเร่ืองต่าง ๆ กัน ดังนั้น เพื่อความ สะดวกในการคน้ คว้าและรวบรวมขอ้ มูล แหลง่ ขอ้ มูลตา่ ง ๆ ทสี่ าํ คัญ คือ ๑. หอ้ งสมดุ ประชาชนและเวบ็ ไซตห์ ้องสมดุ ๒. อุทยานการเรยี นรู้ ๓. หอสมุดแห่งชาตแิ ละหอ้ งสมดุ เฉพาะ ๑. ห้องสมุดประชาชนและเว็ปไซตห์ อ้ งสมุด เป็นสถานที่รวบรวมความรู้ต่าง ๆ เกือบครบถ้วน เช่น หนังสือ ตํารา เอกสาร สิ่งพิมพ์ ส่ืออิเลก็ ทรอนกิ ส์ รวมทง้ั โสตทัศนวสั ดุทุกประเภท ห้องสมุดมีอยู่ท่ัวไป ทั้งห้องสมุดแห่งชาติ ห้องสมุด ประชาชนของกรุงเทพมหานคร หอ้ งสมดุ ของสาํ นักงาน กศน. ตลอดจนหอ้ งสมุดสถานศึกษาแตล่ ะแห่ง เว็บไซต์ห้องสมดุ ห้องสมุดในปัจจุบันที่ทันสมัย จะต้องมีเว็บไซต์ (web site) และโปรแกรมจัดระบบงาน หอ้ งสมดุ ลกั ษณะสาํ คญั ๑. มีเนือ้ หาความรู้ทเี่ ป็นประโยชนต์ ่อผใู้ ช้ ๒. มีเคร่ืองมือสืบค้นหาข้อมูลในลักษณะ Library Catalog หรือ Online Public Access Catalog ๓. มีข้อมูลทผี่ ู้ใช้ต้องการ ๔. สบื ค้นออนไลน์ได้ ๒๔ ชว่ั โมง ปัจจุบันการสร้างเว็บไซต์และเว็บบล็อก (Blog หรือ Weblog) เป็นเรื่องง่ายเน่ืองจาก มีโปรแกรมสําเร็จรูปช่วย ทําให้ง่ายต่อการสร้างเองโดยผู้ใช้ทั่วไป เป็นการประชาสัมพันธ์ ผา่ นอินเตอร์เนต็ ทส่ี ะดวกท่ีสุด เชน่ การพฒั นาเวบ็ บลอ็ กและการสร้างเวบ็ ไซต์ดว้ ยตนเอง นอกจากนี้ยังมี rss feed ท่ีสร้างบริการข้อมูลข่าวสารผ่านเว็บไซต์ห้องสมุดได้โดยง่าย ดูตวั อยา่ งการบริการดงั กล่าวได้ท่ี http://Library.spy.ac.th http://www.dekkid.com/dekkid.htm
การอ่านเพื่อการเรยี นร้ตู ลอดชีวิต | ๑๐๑ และเทคโนโลยีอนิ เตอรเ์ นต็ ท่มี ีการบรกิ ารสอ่ื ดจิ ติ ัลออนไลน์ ทําใหม้ กี ารพัฒนามาตรฐาน DOI ( Digital Object Identifier) ซ่ึงเป็นการใช้รหัสเอกลักษณ์แก่ส่ือดิจิทัล ซึ่งใช้หลักการเดียวกับรหัส ISBN ซง่ึ เปน็ รหสั เอกลักษณป์ ระจาํ หนงั สอื แตม่ กี ารขยายขีดความสามารถของการใช้งานได้มากกว่า ตัวอย่าง เวบ็ ไซต์ห้องสมดุ ประชาชนและอนื่ ๆ ๑. หอ้ งสมดุ ประชาชนกรุงเทพมหานคร www.bfybook.com http://www.th.tripadvisor.com ๒. ห้องสมุดประชาชนจงั หวดั http://www.dnfe๕.nfe.go.th ๓. หอ้ งสมดุ ประชาชนเทศบาลนครอุดรธานี http://www.udonlibrary.freehostia.com ๔. ห้องสมุดมหาวิทยาลยั - สาํ นักหอสมุดมหาวทิ ยาลยั เกษตรศาสตร์ http://www.lib.ku.ac.th/ - สาํ นกั หอสมดุ มหาวทิ ยาลัยเชียงใหม่ http://www.libraru.cmu.ac.th/ - สํานกั หอสมุดกลาง มศว. http://www.lib.swu.ac.th/ - หอสมุดกลางมหาวิทยาลยั มหดิ ล http://www.li.mahhidol.ac.th/ เว็บไซต์ของสํานักงาน กศน. ห้องสมุดประชาชนของสํานักงาน กศน. มีอยู่ทั่วประเทศ ทุกจังหวัดและทุกอําเภอ การหา ขอ้ มูลทางเว็บไซต์ของสาํ นกั งาน กศน. มดี ังนี้ ๑. เวบ็ ไซต์ สาํ นักงาน กศน. www.nfe.go.th ๒. สถาบนั กศน. ภาคตะวนั ออกเฉยี งเหนอื http://www.esan.nfe.go.th ๓. สถาบัน กศน. ภาคเหนือ http://www.northeducation.ac.th ๔. สถาบัน กศน. ภาคกลาง http://www.๒๐๒.๑๔๓.๑๔๘.๘๓/lg๓/Index.php ๔. สถาบนั กศน. ภาคตะวันออก http://eastern.nfe.go.th/etraining/
การอ่านเพอ่ื การเรยี นรตู้ ลอดชวี ติ | ๑๐๒ ๕. สถาบนั กศน. ภาคใต้ http://south.nfe.go.th/etraining/ ๒. สาํ นักงานอุทยานการเรียนรู้ สํานักงานอุทยานการเรียนรู้ สังกัดสํานักงานบริหารและพัฒนาองค์ความรู้ (องค์กรมหาชน) ส่วนบริการชั้น ๘ Dazzie Zone ศูนย์การค้าเซ็นทรัลเวิลด์ เปิดวันอังคาร – วันอาทิตย์ เวลา ๑๑.๐๐ – ๒๐.๐๐ น. (ปิดวันจันทร์) โทร. ๐๒-๒๕๗-๔๓๐๐ / www.tkpark.or.th มีกิจกรรมการเรียนรู้ที่ สนใจ ยกตวั อยา่ ง กิจกรรมเดือนมนี าคม ๒๕๕๔ เช่น ๑. กิจกรรมส่งเสริมการเรียนรู้ IT เช่น มีการอบรม IT Workshop เร่ือง การใช้งาน อินเตอร์เน็ตเบื้องต้นสําหรับผู้พิการ อบรมการใช้คอมพิวเตอร์เบื้องต้น การใช้โปรแกรม เรียนรู้การใช้ โปรแกรม Dreamweaver เปน็ ตน้ ๒. นิตยสารออนไลน์ Read Me Egazine บนเวบ็ ไซต์ www.tkpark.or.th ๓. ติดตามข่าวสารกิจกรรม Tk park ได้ท่ี www.facebook.com/tkparkclub ๔. ตารางการฉายภาพยนตร์ ณ ห้องมนิ เิ ธยี เตอร์ โครงการความร่วมมือระหว่างสํานักอุทยาน การเรยี นรู้และหอภาพยนตร์ (องค์การมหาชน) ๕. ห้องสมุดมีชีวิตเคล่ือนที่ Tk Mobile Library สนใจกิจกรรมติดต่อสอบถามข้อมูลเพ่ิมเติม ท่ี ๐๒-๒๕๗-๔๓๐๐ ตอ่ ๔๐๘ ๓. หอสมุดแหง่ ชาตแิ ละหอ้ งสมดุ เฉพาะ หอสมุดแห่งชาติ สังกัดกรมศิลปากร กระทรวงวัฒนธรรม ตั้งอยู่ท่ี ถนนสามเสน เขตดุสิต กรุงเทพฯ ๑๐๓๐๐ Website www.nlt E-mail nlt.go.th โทรศัพท์ ๐๒-๒๘๑-๕๒๑๐ , ๐๒-๒๘๑- ๕๓๑๓ , ๐๒-๒๘๑-๗๕๔๓ มอี ะไร อยู่ทไ่ี หนในหอสมดุ แหง่ ชาติ เวลาเปิดบรกิ าร วนั จนั ทร์ – วนั ศุกร์ ๐๙.๐๐ – ๑๘.๓๐ น. วนั เสาร์ – วันอาทติ ย์ ๐๙.๐๐ – ๑๗.๐๐ น. หยดุ วันนักขัตฤกษ์ วนั หยุดชดเชย และวันหยุดพิเศษอ่ืน ๆ
การอา่ นเพื่อการเรยี นรู้ตลอดชีวติ | ๑๐๓ ชัน้ ที่ ๑ ๑. บรกิ ารรับฝากของ ๒. บรกิ ารตอบคาํ ถาม และประชาสมั พันธ์ ๓. บรกิ ารสืบคน้ สารสนเทศ ฐานข้อมูลหอ้ งสมดุ - IPAC - INTERNET - CD-ROM - (หอ้ ง ๑๐๔) ๔. ห้องจดั นทิ รรศการ ๕. ห้องบริการวารสารและหนงั สอื พิมพ์ กฤตภาค จุลสาร (ห้อง ๑๐๓) ๖. หอ้ งดอกไมส้ ด (ห้อง ๑๓๑) ชนั้ ที่ ๒ ๑. บรกิ ารหนงั สือสงั คมศาสตร์และภาษาศาสตร์ (หอ้ ง ๒๐๔) ๒. บริการหนังสือวิทยาศาสตรแ์ ละวทิ ยาศาสตรป์ ระยกุ ต์ (ห้อง ๒๐๕) ๓. บริการหนังสอื เบ็ดเตลด็ ปรัชญา และศาสนา (หอ้ ง ๒๑๓) ๔. บรกิ ารหนงั สอื แบบเรียน มมุ มสธ. มมุ รามคําแหง เกาหลี (หอ้ ง ๒๑๔) ชนั้ ท่ี ๓ ๑. บริการหนงั สือศิลปะ วรรณคดี ภูมศิ าสตร์ และประวัตศิ าสตร์ (หอ้ ง ๓๐๒) ๒. บริการหนังสือเก่ียวกับประเทศไทย หนังสืออนุสรณ์ และงานนิพนธ์ของหลวงวิจิตร วาทการ (หอ้ ง ๓๐๓) มุมสารสนเทศภาษาจนี ๓. บรกิ ารหนังสือส่วนตัวและงานนิพนธ์ของพระยาอนมุ านราชธน (ห้อง ๓๐๔) ๔. บรกิ ารหนังสอื หายาก (หอ้ ง ๓๑๓) ๕. บรกิ ารผลติ โสตทศั นวัสดุ ถ่ายไมโครฟลิ ์ม ไมโครฟชิ อัดขยายภาพ (ห้อง ๓๐๘) ช้นั ที่ ๔ ๑. บรกิ ารหนังสือตวั เขยี นและจารกึ (หอ้ ง ๔๐๒) ๒. บรกิ ารวารสารและหนงั สอื พิมพ์ฉบับยอ้ นหลัง ๓. บริการมมุ เอกสาร วารสารและหนงั สือภาษาจนี (ห้อง ๔๐๓) ช้นั ที่ ๕ ๑. บริการวทิ ยานิพนธ์ ๒. บรกิ ารรายงานการวจิ ยั ๓. บริการศกึ ษา ค้นคว้าตู้ไทยโบราณ
การอา่ นเพ่อื การเรยี นร้ตู ลอดชีวติ | ๑๐๔ ห้องสมุดเฉพาะ ห้องวชิราวุธานุสรณ์ ๑. บริการพระราชนพิ นธ์ รชั กาลที่ ๖ ๒. ห้องนิทรรศการถาวร ๓. หอ้ งทดลองประชาธปิ ไตย (ดุสติ ธานี) ๔. ห้องสมุดกล้วยไม้ ระพี สาคริก ห้องสมุดดนตรี ทลู กระหมอ่ มสริ ินธร ๑. บริการหนงั สอื วารสารเกย่ี วกับดนตรี ๒. โน้ต เพลง ๓. โสตทศั นศึกษาด้านดนตรที ุกประเภท หอสมดุ ดนตรี พระบาทสมเดจ็ พระเจ้าอยูห่ ัว รัชกาลที่ ๙ บรกิ ารโน้ตเพลงและเพลงพระราชนิพนธ์ หอเฉลมิ พระเกยี รติ พระบาทสมเดจ็ พระเจ้าอยูห่ ัวภูมิพลอดลุ ยเดช ๑. บรกิ ารหนังสอื เกยี่ วกบั พระบาทสมเดจ็ พระเจา้ อยหู่ ัวภมู พิ ลอดุลยเดชและพระบรมวงศานุวงศ์ ๒. เอกสารประชามติถวายพระราชสมัญญานาม “ภูมิพลมหาราช” ๓. บรกิ ารข้อมลู และเอกสารรัฐสภา
คําฃี้แจง การอา่ นเพอื่ การเรยี นรู้ตลอดชีวติ | ๑๐๕ แบบฝกึ หดั ทบทวนบทที่ ๑๐ จงเตมิ คาํ และอธิบายคาํ ถามตอ่ ไปนใ้ี ห้ได้ใจความสมบรู ณ์ ๑. หอ้ งสมดุ ประชาชน คอื อะไร ..................................................................................................................................................... ............................................................................................................................................................. ............................................................................................................................................................. ............................................................................................................................................................. ............................................................................................................................................................. ............................................................................................................................................................. ๒. สํานกั อุทยานการเรียนรู้ มกี จิ กรรมอะไรบ้าง ..................................................................................................................................................... ............................................................................................................................................................. ............................................................................................................................................................. ............................................................................................................................................................. ............................................................................................................................................................. ............................................................................................................................................................. …………………………………………………………………………………………………………………………………………… ๓. หอสมุดแห่งชาตมิ ีกจิ กรรมอะไรบ้าง ..................................................................................................................................................... ............................................................................................................................................................. ............................................................................................................................................................. ............................................................................................................................................................. ............................................................................................................................................................. ............................................................................................................................................................. ............................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................
การอา่ นเพื่อการเรยี นรตู้ ลอดชีวิต | ๑๐๖ แบบทดสอบบทท่ี ๑๐ แหลง่ คน้ ควา้ หาข้อมลู หอ้ งสมดุ ประชาชน/หอ้ งสมุดเฉพาะ คาํ ชแ้ี จง จงเลอื กคําตอบทถี่ กู ต้องทีส่ ดุ ๑. สง่ิ ทส่ี ําคญั ท่สี ดุ ในการคน้ คว้าหาความรทู้ ี่ห้องสมดุ ประชาชนคอื อะไร ก. ไปศกึ ษากับเจา้ หน้าทีห่ อ้ งสมดุ ข. ระยะทางเดนิ ทางไปหอ้ งสมดุ ค. จะต้องมีความร้เู ร่ืองแหลง่ ข้อมลู ง. จํานวนหนงั สอื ของหอ้ งสมุด ๒. ห้องสมุดประชาชน คอื อะไร ก. สถานทร่ี วบรวมความรดู้ า้ นตา่ ง ๆ ข. สถานทเี่ ก็บรวบรวมหนงั สือเรียน ค. สถานทท่ี ํางานของเจ้าหน้าท่หี อ้ งสมดุ ง. สงั กดั สาํ นักงาน กศน. ๓. หอ้ งสมุดทที่ นั สมยั ในปัจจบุ ัน จะตอ้ งมีอะไรเปน็ สําคัญ ก. มสี ถานท่เี ปน็ ของตัวเอง ข. เจา้ หน้าทห่ี อ้ งสมดุ ค. ผใู้ ชบ้ ริการ ง. เว็บไซต์ ๔. เครอ่ื งมือสบื ค้นหาขอ้ มูลในลกั ษณะ Library Catalog คอื อะไร ก. A-Net ข. OPAC ค. APAC ง. O-Net ๕. ข้อใดเปน็ เวบ็ ไซตห์ ้องสมดุ ประชาชนกรงุ เทพมหานคร ก. www.bfybook.com ข. www.dnfe๕.nfe.go.th ค. www.lib.ku.ac.th ง. www.library.cmu.ac.th
การอา่ นเพื่อการเรียนรูต้ ลอดชวี ิต | ๑๐๗ ๖. ถา้ เราตอ้ งการหาข้อมูลเว็บไซต์ของมหาวิทยาลยั มหดิ ล ควรเขา้ ไปท่ี ก. www.li.mdol.ac.th ข. www.li.usmd.ac.th ค. www.library.mahi.ac.th ง. www.li.mahhidol.ac.th ๗. สาํ นกั อทุ ยานการเรียนรู้ เปดิ บรกิ ารอะไรบ้าง ก. ห้องสมดุ ประชาชนส่มี ุมเมือง ข. กจิ กรรมการเรยี นรู้ IT ค. หนังสอื รายวันออนไลน์ ง. TV ออนไลน์ ๒๔ ชัว่ โมง ๘. หอสมดุ แหง่ ชาติ บริการประชาชนอะไรบา้ ง ก. CD-ROM ข. อบรม IT ค. นิทรรศการเคลอ่ื นที่ ง. ห้องสมดุ เคลื่อนที่ ๙. ขอ้ ใดไมใ่ ชห่ อ้ งสมดุ เฉพาะของหอสมุดแหง่ ชาติ ก. หอ้ งดอกไมส้ ด ข. ห้องระพสี าคริก ค. หอ้ งพระยาอนมุ านราชธน ง. หอ้ ง ดร.ประเสรฐิ ณ นคร ๑๐. ขอ้ ใดเป็นหอ้ งสมดุ เฉพาะ ก. ห้องสมดุ ประชาชนอําเภอปากเกรด็ ข. ห้องสมดุ ประชาชนเขตประเวศ ค. หอสมดุ แห่งชาติ ง. หอวชริ าวุธานุสรณ์
การอ่านเพ่อื การเรียนรตู้ ลอดชีวติ | ๑๐๘ บทท่ี ๑๑ การอา่ นเพ่อื การประกอบอาชพี ๑. การอ่านเพอ่ื นําไปใชก้ ารประกอบอาชพี ช่างตา่ ง ๆ ปัจจุบันประเทศไทยมีการประกอบอาชีพด้านช่างต่าง ๆ เป็นจํานวนมาก เช่น ช่างไฟฟ้า ช่างเคร่ืองปรับอากาศ ช่างเคร่ืองยนต์ ช่างเช่ือม เป็นต้น ดังน้ัน การอ่านเพ่ือการประกอบอาชีพช่างนั้น มีมากมาย จะขอยกตวั อย่าง ชา่ งเชื่อม ช่างกอ่ สรา้ งและช่างเคร่ืองปรบั อากาศ เชน่ ช่างเช่ือม ถ้าหากเราจะประกอบอาชีพด้านการเชื่อม ควรทําความรู้จักศัพท์เทคนิคต่าง ๆ ท่ีใช้ในการ ประกอบอาชีพ ดังนั้นการอ่านเร่ืองศัพท์การเช่ือม ฉบับราชบัณฑิตยสถาน จึงเป็นสิ่งที่ควรทํา ยกตัวอย่าง ศพั ท์ชา่ งเชือ่ ม ยกตัวอยา่ ง เชน่ - เครือ่ งกาํ เนิดไฟฟ้า เชอ่ื มกระแสสลบั - แรงดันเขา้ - การเชื่อมข้ัวสลบั - หวั ตัดวงแหวน - เวลาพลั ส์ ศัพท์การเชื่อม (ฉบบั ราชบัณฑติ ยสถาน) - เวลาอารก์ (arcing eime) - การเช่ือมจดุ อาร์ก (arc spot welding) - เขตรอยเชือ่ ม (weld junction) ชา่ งกอ่ สรา้ ง เอกสารที่ควรศึกษา เช่น คู่มือช่างก่อสร้าง ซ่ึงมีอยู่ท่ีห้องสมุดกลางของมหาวิทยาลัยต่าง ๆ หรือ ห้องสมุดประชาชนต่าง ๆคู่มือช่างก่อสร้าง ซึ่งกองบรรณาธิการทําเนียบช่างเป็นผู้รวบรวม เป็นหนังสือที่ควรจะศึกษา หาความรู้ก่อนการประกอบอาชีพช่างก่อสร้าง เพราะได้รวบรวมการ ปฏิบัติงานก่อสร้าง หลักการ เทคนิค และรูปแบบของการทํางาน หลักการและวิธีการสําหรับงานนั้น ๆ ข้อมูลในเล่มประกอบด้วยข้อมูลท่ัวไป งานดิน งานไม้ งานปูน งานคอนกรีต งานเหล็ก งานไฟฟ้า งานประปา งานสี (หนงั สอื เลม่ นีเ้ ปน็ หนงั สืออ้างอิง อยู่ทหี่ อสมดุ กลางมหาวทิ ยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ)
การอ่านเพอื่ การเรียนร้ตู ลอดชีวิต | ๑๐๙ ช่างเคร่ืองปรบั อากาศ เอกสารที่ควรศึกษาสําหรับการอ่านเพ่ือการประกอบอาชีพช่างเครื่องปรับอากาศ ก่อนอ่ืน ขอแนะนําให้รู้จักพจนานุกรม ศัพท์เครื่องปรับอากาศ อังกฤษ-ไทย ฉบับราชบัณฑิตยสถาน พิมพ์ครั้งท่ี ๑ พ.ศ.๒๕๔๑ ให้ผู้สนใจทราบ เช่น เคร่ืองปรับอากาศ, เครื่องเป่าลม, จานใบพัด, ชุดควบแน่น, เร่อื งอากาศ เปน็ ตน้ ศัพทเ์ ครื่องดม่ื - เปน็ ภาษาอิตาเลียน หมายถงึ กาแฟ คาปูชิโน - คอื ไวนท์ ี่มีการหมกั ๒ ครั้ง จนเกิดมฟี อง มกี ลิ่นและรสชาตทิ ี่ เคร่ืองดมื่ แชมเปญ นุ่มล้ิน มีฟองทีล่ ะเอียดอ่อน คือ การนําสมุนไพรและสว่ นผสมตา่ ง ๆ มาตม้ ใหข้ ้ึนฟองแล้ว ไวน์อุ่น (Mulled Wine) - หรไ่ี ฟอ่อน ๆ อ่นุ ตอ่ อกี ๕-๑๐ นาที แล้วนําเอาสมนุ ไพรออก, เทไวน์ใส่ลงไป นาํ มาด่ืมในขณะทย่ี งั อ่นุ ๒. การอ่านเพื่อนําไปประกอบอาชพี ค้าขาย การอ่านเพ่ือนําไปใช้การประกอบอาชีพค้าขาย ในยุคปัจจุบันนับว่ามีมาก อย่างกว้างขวาง ท้ังส่ือเอกสาร วารสาร หนังสือ ประมวลศัพท์ธุรกิจ อินเตอร์เน็ต ฯลฯ ในที่น้ี จะขอยกตัวอย่างสื่อ เอกสารท่ีเปน็ แหลง่ เรยี นรู้ ค้นคว้า สําหรบั ผู้ทจ่ี ะประกอบอาชีพคา้ ขาย ขอแนะนาํ ใหอ้ ่าน ดังต่อไปนี้ ๑. หนังสือคําอธิบายประมวลศัพท์ธุรกิจที่ใช้ทั่วไปในภาษาอังกฤษ โดย ม.ร.ว. สฤษดิคุณ กิติยากร โดยสํานักพิมพ์จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย เป็นหนังสืออ้างอิง ในห้องสมุดต่าง ๆ มีเนื้อหา เก่ียวกับศัพท์ทางธุรกิจที่ใช้ทั่วไป เช่น การโฆษณา การประกันภัย การจัดการงานบุคคล การบริหาร เปน็ ต้น ขอยกตัวอยา่ งคําศัพท์ที่เกี่ยวกับการค้าขาย มีดังนี้ การบริหารเวลา การศึกษาเวลาปฏิบัติงาน ค่า (คา่ ซง่ึ คิดเป็นเงนิ ) เงนิ สดเกบ็ ในธนาคาร คา่ จ้าง เงินทุนหมุนเวียน สมุดบญั ชีเงนิ สด เปน็ ต้น ๒. หนังสือรู้เฟ่ืองเร่ืองศัพท์ การบริหารธุรกิจ การบริหารรัฐกิจ โดย ศิริวรรณ เสรีรัตน์และ คณะ เป็นหนังสือที่น่าอ่านเล่มหนึ่ง สําหรับผู้ท่ีจะประกอบอาชีพการค้าขาย เพราะมีข้อมูลครบถ้วน เกี่ยวกับบัญชี โฆษณา การเงิน การพัฒนาบุคคล บริหาร การตลาด พฤติกรรมคนในองค์กร การผลิต การปฏิบัติตน รวมถึงการวิจัย ถ้าหากผู้สนใจจะประกอบอาชีพค้าขาย ควรศึกษาเป็นอย่างยิ่ง จะเป็น ข้อมูลประกอบการพจิ ารณาการประกอบอาชีพและตดั สนิ ใจ ค้าขายได้ ๓. การอา่ นเพ่ือนาํ ความร้ไู ปประกอบอาชพี การเกษตร ศพั ทเ์ กษตร สาขาเครื่องจักรกลทางการเกษตรเป็นหนังสือพจนานุกรมศัพท์เกษตรอังกฤษ – ไทย ท่ีน่าสนใจมาก จัดทําโดยสถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง เป็นศัพท์
การอา่ นเพื่อการเรยี นรู้ตลอดชีวิต | ๑๑๐ ทางด้านช่างกลเกษตร จํานวน ๑๕๒ หน้า มีคําศัพท์ท่ีน่าสนใจมากมาย เช่น fail/เฟล/vt นวดธัญพืช ๑) ท่อนไม้ หรือท่อนวัสดุผูกต่อกันด้วยเชือกหรือหมุด ทําให้หมุนได้อิสระใช้ตีนวดให้เมล็ดธัญพืชหลุด ออกจากลวงหรอื ต้น หนังสือร้อยพรรณพฤกษา ไม้กระถาง เป็นหนังสือเก่ียวกับพรรณไม้ ปลูกแล้วเป็นมงคลต่อ ชวี ติ วิธีการดูแลรักษาตน้ ไม้กระถาง อ่านแล้วสามารถนําไปประกอบอาชีพได้ เพราะไม้กระถางเป็นไม้ ยอดนิยมสําหรับผู้รักต้นไม้ รายละเอียดของเน้ือหาภายในเล่ม เช่น ไม้กระถาง กระถางแพต่าง ๆ วิธี ปลูก การดูแลไม้กระถาง ปญั หาโรค และแมลง การเลอื กพรรณไม้ ฯลฯ หนังสือแคลตัส ไม้ดอกไม้ประดับ ของ วชิรพงศ์ หวลบุตตา สํานักพิมพ์บ้านและสวน เป็น หนังสอื ทอี่ ่านแลว้ สามารถไดค้ วามรูท้ าํ การเกษตรไมด้ อกไมป้ ระดบั มีภาพสี่สีสวยงาม หนังสือข้อมูลจํานวนปศุสัตว์ในประเทศไทย ประจําปี ๒๕๕๒ ของกรมปศุสัตว์ กระทรวง เกษตรและสหกรณ์ ก็เป็นหนังสือที่น่าอ่านสําหรับผู้ท่ีจะประกอบอาชีพปศุสัตว์ เพราะมีข้อมูลและ นําเสนอข้อมูลปศุสัตว์ในประเทศไทย ข้อมูลนี้จะเป็นประโยชน์และสามารถใช้ประกอบการตัดสินใจ วางแผนทางดา้ นการประกอบอาชพี ปศสุ ัตว์ ตอ่ ไป การประกอบอาชพี ทางการเกษตรผสู้ นใจควรอ่านหนังสือวารสารและสิ่งพิมพ์ต่าง ๆ เกี่ยวกับ การประกอบอาชีพเกษตร โดยเฉพาะรายงานผลการวิจัยโดยการนําร่องเพื่อพัฒนา การเกษตรกรรม ย่ังยืนของเกษตรรายย่อย ประจําปีงบประมาณ (๒๕๔๔-๒๕๔๕) ได้รายงานถึงผลการวิจัยในด้านต่าง ๆ เช่น การปรับปรุงบํารุงดิน สารเคมีการเกษตร และการใช้สมุนไพรแทนสารเคมี พันธุกรรมพื้นหินใน ระบบเกษตรยง่ั ยนื เกษตรกรรมย่ังยนื ทเี่ หมาะสม การเลยี้ งสัตว์ในระบบเกษตรย่ังยืน เป็นต้น ต่อไปน้ีเป็นตัวอย่าง หนังสือหรือเอกสาร การประกอบอาชีพการเกษตรท่ีมีขายในท้องตลาด ปจั จบุ นั เช่น ๑. หนังสือไม่ดอก ไมป้ ระดบั เชน่ การปลกู ลีล่วดี, กหุ ลาบ เปน็ ตน้ ๒. หนงั สอื การปลูกยางพาราหรือพืชเศรษฐกิจตา่ ง ๆ ๓. หนังสือเกษตรอนิ ทรีย์หรือการปลูกพชื ไม่ใช้สารเคมี นอกจากน้ัน ยังมีวารสารเกี่ยวกับการเกษตรที่น่าสนใจ ของกรมวิชาการเกษตร คือ หนังสือพิมพ์กสิกร ออกราย ๒ เดือน มีเนื้อหาท่ีน่าสนใจมาก ยกตัวอย่างปีท่ี ๘๔ ฉบับที่ ๑ มกราคม – กุมภาพนั ธ์ ๒๕๕๔ มีเน้อื หา เกี่ยวกับกาแฟสด ผ้าไหมยกลําพูน การดูแลสวนยางพาราหลังนํ้าท่วม อาหารปลอดภัย : สวนสละสุมาลีเจ๊ตุ่ม การใช้ประโยชน์จากสมุนไพรมหัศจรรย์ นํ้ามันมะพร้าว ฯลฯ นอกจากนั้นยังมี จดหมายข่าวผลิใบของกรมวิชาการเกษตร เกี่ยวกับก้าวใหม่การวิจัยและพัฒนาการ เกษตร เช่น จดหมายข่าว “ผลิใบ” ฉบับปีที่ ๑๔ ฉบับที่ ๓ เดือนเมษายน พ.ศ. ๒๕๕๔ มีเรื่องที่ น่าสนใจ เช่น ศูนย์ต้นแบบการวิจัยและพัฒนาเมล็ดพันธุ์พืช : ความหวังของชาวนา กรมวิชาการ เกษตรจัดกิจกรรมเฉลิมพระเกียรติฯ ๘๔ พรรษา เป็นต้น ส่วนวารสารธุรกิจอาหารสัตว์ของสมาคม ผู้ผลติ อาหารสัตวไ์ ทย ก็มีเนอื้ หาเก่ียวกบั การเลย้ี งสัตวท์ ี่น่าศกึ ษาและอ่านประดับความรู้
การอา่ นเพอ่ื การเรยี นรตู้ ลอดชวี ิต | ๑๑๑ แบบฝกึ หดั ทบทวนบทที่ ๑๑ คาํ ฃีแ้ จง จงเติมคําและอธบิ ายคาํ ถามตอ่ ไปน้ีใหไ้ ดใ้ จความสมบรู ณ์ ๑. จงยกตัวอย่างศัพทท์ างช่างมา ๑๐ คํา ..................................................................................................................................................... ............................................................................................................................................................. ............................................................................................................................................................. ............................................................................................................................................................. ............................................................................................................................................................. ............................................................................................................................................................. ............................................................................................................................................................. ............................................................................................................................................................. ............................................................................................................................................................. ............................................................................................................................................................. ............................................................................................................................................................. ๒. ถา้ หากนกั ศกึ ษาค้นคว้าความร้ทู างด้านการเกษตรควรอา่ นหนงั สืออะไรบา้ ง ..................................................................................................................................................... ............................................................................................................................................................. ............................................................................................................................................................. ............................................................................................................................................................. ............................................................................................................................................................. ............................................................................................................................................................. ............................................................................................................................................................. ............................................................................................................................................................. ............................................................................................................................................................. ............................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................
การอา่ นเพือ่ การเรยี นรตู้ ลอดชีวติ | ๑๑๒ แบบทดสอบบทท่ี ๑๑ การอ่านเพ่อื การประกอบอาชีพ คําชี้แจง จงเลอื กคาํ ตอบท่ีถูกตอ้ งท่ีสดุ ๑. ศัพท์ช่างเชื่อมคอื ข้อใด ก. แรงดนั เร่ง ข. งานประปา ค. เครื่องเปา่ ลม ง. ชดุ ควบแน่น ๒. “........งานปนู งานไม้ งานคอนกรตี ......” หมายถึงชา่ งใด ก. งานบา้ น ข. งานก่อสร้าง ค. งานโยธา ง. งานทางหลวง ๓. ข้อใดไมใ่ ชศ่ ัพทช์ ่างเช่อื ม ก. เวลาอาร์ก ข. การเช่ือมจดุ อารก์ ค. เขตรอยเช่ือม ง. จุดเช่ือมตอ่ กนั ๔. การทเ่ี ราจะประกอบอาชีพช่างหรอื ค้าขาย ส่ิงแรกทต่ี อ้ งทํากอ่ นคอื ข้อใด ก. ศกึ ษาเอกสารที่เก่ียวขอ้ ง ข. ปรกึ ษาเพื่อน ค. จ้างนกั ออกแบบ ง. สัง่ สินคา้ มาขาย ๕. อาชพี ใดจะตอ้ งมีประสบการณ์ การเงิน- บญั ชี ประกอบด้วย ก. ช่างฝีมอื ข. ค้าขาย ค. การเกษตร ง. เล่นกฬี า
การอ่านเพือ่ การเรยี นร้ตู ลอดชวี ติ | ๑๑๓ ๖. ความรูใ้ ดไมเ่ กีย่ วข้องกบั การค้าขาย ก. การตลาด ข. การเงนิ ค. บัญชี – พสั ดุ ง. วิทยาศาสตร์ – เทคโนโลยี ๗. ศพั ทเ์ กษตร สาขาเครือ่ งจกั รกลทางการเกษตร หนว่ ยงานใดเป็นผจู้ ัดทําขึน้ ก. สถาบนั เทคโนโลยแี หง่ เอเชีย ข. สถาบนั ราชภัฏจนั ทรเกษม ค. สถาบันเทคโนโลยีราชมงคล ง. สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจา้ คณุ ทหาร ๘. หนังสืออะไรควรอ่านประกอบอาชีพ ขายไมด้ อกไม้ประดับ ก. หนังสอื คูส่ ร้างค่สู ม ข. หนงั สือ ค.ฅน ค. หนังสือแคลตัส ง. หนงั สอื เทย่ี วรอบโลก ๙. ถา้ เราจะประกอบอาชพี ปศสุ ตั ว์ ควรศกึ ษาข้อใดจากหนงั สือใด ก. หนงั สอื ข้อมลู จํานวนปศสุ ตั วใ์ นประเทศไทย ข. รายงานผลการทาํ งานของกรมปศุสตั ว์ ค. แผนปฏบิ ตั กิ ารประจําปี ๒๕๕๐ ของกรมปศุสตั ว์ ง. แผนของงบประมาณ กรมปศุสัตว์ ปี ๒๕๕๓ ๑๐. ถ้าเราจะประกอบอาชีพการเกษตร ควรแนะนาํ หนงั สอื อ่านประเภทใด ก. หนงั สือรายปี ข. หนงั สือราย ๒ ปี ค. หนงั สือแผนปฏบิ ัติ ๕ ปี ง. หนงั สอื รายเดือน
การอา่ นเพือ่ การเรียนรตู้ ลอดชวี ติ | ๑๑๔ แบบทดสอบหลงั เรยี น คาํ ช้ีแจง ให้นกั ศึกษาเลอื กคําตอบท่ถี ูกตอ้ งท่สี ุดเพยี งขอ้ เดยี ว ๑. การอ่านแบบใดอ่านทีละ ๒-๓ บรรทัด ก. การอ่านอย่างตงั้ ใจ ข. การอา่ นแบบกวาดสายตา ค. การอา่ นแบบคร่าว ๆ ง. การอ่านอย่างละเอียด ๒. หลักเกณฑก์ ารอ่านตีความ ประการแรกจะตอ้ งทําตามขอ้ ใด ก. อ่านเร่ืองนั้นให้ละเอียด ข. จดบันทกึ การอา่ นอยา่ งละเอยี ด ค. อา่ นเฉพาะตอนสําคญั ของเรื่องเท่าน้ัน ง. อา่ นเที่ยวเดียวและจดบนั ทกึ ความจาํ ๓. สาระสาํ คญั การเสนอขา่ วมี ๕ ประเภท ยกเวน้ ข้อใด ก. เหตกุ ารณ์สาํ คัญ ข. ส่งิ ที่ผคู้ นติดตาม ค. ขอ้ เท็จจรงิ ง. การคาดการณ์ ๔. ขอ้ ใดไม่ใชป่ ระเภทของบทความ ก. บรรยาย ข. แสดงความเหน็ ค. การทอ่ งเทยี่ ว ง. วิเคราะห์ ๕. หนังสือสารานุกรม พจนานกุ รม จดั อยู่ประเภทใด ก. วชิ าการ ข. วจิ ยั ค. ภาษาศาสตร์ ง. หนังสอื อ้างอิง
การอา่ นเพื่อการเรยี นร้ตู ลอดชีวติ | ๑๑๕ ๖. “สายหยดุ สายกล่ินสิน้ หอมสลาย สายเสนห่ ามาหาย ห่างรา้ ง สายแลว้ ช่ัวจนตาย เป็นถา่ น หยดุ อยู่คอยค่สู รา้ ง ชา่ งอา้ งว้างแสน” จากบทประพนั ธน์ ี้มีจดุ เด่นตามขอ้ ใด ก. คิดถงึ อดตี ข. จนิ ตนาการ ค. มกี ารเลน่ คาํ ง. เอาจรงิ เอาจัง ๗. เพลงกลอ่ มเดก็ มีประโยชน์ตามขอ้ ใด ก. สง่ เสรมิ การศึกษาต่อ ข. สรา้ งเสรมิ การมีงานทํา ค. ส่งเสรมิ ดา้ นอาชีพ ง. เสริมสรา้ งพัฒนาการด้านอารมณ์ ๘. การอ่านหนงั สอื ตําราเชิงวิชาการ เหมาะสําหรบั วยั ใด ก. วัยอนบุ าล ข. วยั เดก็ ค. วัยเรยี น ง. วัยชรา ๙. “Web browser” มคี วามสาํ คญั อยา่ งไร ก. โปรแกรมสบื ค้นข้อมลู ข. โปรแกรมหาข้อมูลภายในประเทศ ค. โปรแกรมหาข้อมูลส่วนบคุ คล ง. โปรแกรมหาขอ้ มลู บรษิ ัท ๑๐. ห้องสมดุ ประชาชน คอื อะไร ก. สถานทรี่ วบรวมความรดู้ า้ นต่าง ๆ ข. สถานที่เกบ็ รวบรวมหนังสอื เรยี น ค. สถานทที่ าํ งานของเจ้าหน้าท่ีห้องสมดุ ง. สังกัดสํานักงาน กศน.
การอา่ นเพอ่ื การเรียนรูต้ ลอดชีวติ | ๑๑๖ เฉลยแบบทดสอบก่อนเรียน-หลังเรียน ก่อนเรียน หลังเรียน ขอ้ เฉลย ข้อ เฉลย ๑ค ๑ข ๒ค ๒ก ๓ข ๓ง ๔ง ๔ค ๕ข ๕ง ๖ค ๖ค ๗ก ๗ง ๘ค ๘ง ๙ค ๙ก ๑๐ ค ๑๐ ก
การอา่ นเพ่อื การเรยี นรูต้ ลอดชวี ิต | ๑๑๗ เฉลยแบบฝกึ หัดทบทวนบทที่ ๑ – บทท่ี ๑๑ เฉลยแบบฝึกหดั บทที่ ๑ ขอ้ ๑ เฉลยอยบู่ ทที่ ๑ หน้า ๓ ข้อ ๒ เฉลยอยบู่ ทท่ี ๑ หน้า ๓ ขอ้ ๓ เฉลยอยบู่ ทท่ี ๑ หนา้ ๔ เฉลยแบบฝกึ หดั บทที่ ๒ ข้อ ๑ เฉลยอยบู่ ทท่ี ๒ หน้า ๘ ขอ้ ๒ เฉลยอยบู่ ทที่ ๒ หนา้ ๙ ข้อ ๓ เฉลยอยบู่ ทที่ ๒ หน้า ๑๐ เฉลยแบบฝึกหดั บทท่ี ๓ ข้อ ๑ เฉลยอยบู่ ทท่ี ๓ หน้า ๒๐ ข้อ ๒ เฉลยอยบู่ ทที่ ๓ หนา้ ๒๐ ข้อ ๓ เฉลยอยบู่ ทที่ ๓ หนา้ ๒๓-๒๗ เฉลยแบบฝึกหดั บทที่ ๔ ข้อ ๑ เฉลยอยบู่ ทที่ ๔ หนา้ ๓๑ ข้อ ๒ เฉลยอยบู่ ทที่ ๔ หน้า ๓๑-๓๒ ข้อ ๓ เฉลยอยบู่ ทท่ี ๔ หน้า ๓๔-๔๑ เฉลยแบบฝึกหัดบทท่ี ๕ ข้อ ๑ เฉลยอยบู่ ทท่ี ๕ หน้า ๔๕ ข้อ ๒ เฉลยอยบู่ ทที่ ๕ หน้า ๔๖-๕๒ เฉลยแบบฝึกหัดบทที่ ๖ ขอ้ ๑ เฉลยอยบู่ ทที่ ๖ หน้า ๕๖-๕๗ ขอ้ ๒ เฉลยอยบู่ ทท่ี ๖ หนา้ ๕๗-๖๐ ขอ้ ๓ เฉลยอยบู่ ทที่ ๖ หนา้ ๕๗-๖๐
การอา่ นเพ่อื การเรยี นร้ตู ลอดชวี ติ | ๑๑๘ เฉลยแบบฝึกหัดบทที่ ๗ ข้อ ๑ เฉลยอยบู่ ทที่ ๗ หน้า ๗๒ ขอ้ ๒ เฉลยอยบู่ ทที่ ๗ หน้า ๗๕ ข้อ ๓ เฉลยอยบู่ ทท่ี ๗ หน้า ๗๖-๗๗ เฉลยแบบฝกึ หดั บทท่ี ๘ ข้อ ๑ เฉลยอยบู่ ทที่ ๘ หน้า ๘๑-๘๒ ขอ้ ๒ เฉลยอยบู่ ทท่ี ๘ หน้า ๘๓ เฉลยแบบฝึกหัดบทที่ ๙ ข้อ ๑ เฉลยอยบู่ ทท่ี ๙ หน้า ๘๘ ข้อ ๒ เฉลยอยบู่ ทที่ ๙ หนา้ ๙๑ ข้อ ๓ เฉลยอยบู่ ทที่ ๙ หนา้ ๙๓ เฉลยแบบฝึกหัดบทท่ี ๑๐ ข้อ ๑ เฉลยอยบู่ ทท่ี ๑๐ หนา้ ๑๐๐ ขอ้ ๒ เฉลยอยบู่ ทที่ ๑๐ หนา้ ๑๐๒ ข้อ ๓ เฉลยอยบู่ ทท่ี ๑๐ หนา้ ๑๐๒ เฉลยแบบฝึกหัดบทที่ ๑๑ ขอ้ ๑ เฉลยอยบู่ ทท่ี ๑๑ หน้า ๑๐๘-๑๐๙ ขอ้ ๒ เฉลยอยบู่ ทท่ี ๑๑ หนา้ ๑๐๙-๑๑๐
การอา่ นเพื่อการเรยี นรู้ตลอดชีวิต | ๑๑๙ เฉลยแบบทดสอบ บทที่ ๑- บทท่ี ๑๑ ขอ้ บทท่ี บทที่ บทท่ี บทที่ บทท่ี บทท่ี บทท่ี บทที่ บทที่ บทที่ บทท่ี ๑ ๒ ๓ ๔ ๕ ๖ ๗ ๘ ๙ ๑๐ ๑๑ ๑ค ค ข ง ข ค ก ค ค ค ก ๒ข ก ง ค ง ค ง ค ก ก ข ๓ง ก ก ง ก ก ข ก ค ง ง ๔ก ง ข ก ก ค ง ง ข ข ก ๕ง ก ก ข ข ข ก ค ง ก ข ๖ก ง ง ง ง ข ข ข ง ง ง ๗ค ข ค ค ข ค ข ค ข ข ง ๘ข ง ก ก ก ก ง ง ก ก ค ๙ง ก ค ข ค ข ก ก ง ง ก ๑๐ ข ข ก ข ง ค ค ข ก ง ง
การอา่ นเพื่อการเรียนรู้ตลอดชีวิต | ๑๒๐ บรรณานุกรม (การอ่าน) กอง บ.ก. ทําเนียบชา่ ง คมู่ อื ช่างกอ่ สร้าง ม.ป.ป. กองเทพ เคลือบพณิยกลุ การใช้ภาษาไทย. กรุงเทพฯ : โอเดยี นสโตร์ ๒๕๕๒. ดนยา วงศ์ธนะชัย การอ่านเพอื่ ชีวิต โปรแกรมวชิ าภาษาไทย คณะมนษุ ย์ศาสตร์และสงั คมศาสตร์ สถาบันราชภฎั พบิ ลู สงคราม, (ม.ป.ป.) ธนู ทดแทนคณุ ภาษาไทย๑ พิมพค์ รัง้ ที่ ๒ กรุงเทพฯ : โอเดยี นสโตร์, ๒๕๔๙ นพพร สุวรรณพาณชิ พจนานกุ รมเคร่ืองดืม่ กรุงเทพฯ : แสงแดด, ๒๕๔๒ นววรรณ พันธเ์ มธา พนิ ิจภาษา เล่ม ๓ กรุงเทพฯ : กรมวชิ าการ กระทรวงศึกษาธกิ าร, ๒๕๓๙ นักบญั ชีและผสู้ อบบัญชี,สมาคม ศพั ทบ์ ญั ชี พิมพค์ รัง้ ที่ ๖ กรุงเทพฯ : พี.เอ.ลฟิ วงิ่ , ๒๕๓๘ นิภาพรรณ ศรพี งษ์ ทกั ษะการใชภ้ าษา มหาวทิ ยาลัยเทศโนโลยรี าชมงคลอีสานนครราชสมี า, (ม.ป.ป.) บญุ ศริ ิ ภญิ ยาธนิ ันท์ การอ่าน พมิ พค์ รั้งที่ ๔ กรุงงเทพฯ : โครงการตาํ รามาตรฐาน มหาวทิ ยาลยั หอการค้าไทย, ๒๕๔๙ บุญเหลือ เทพยสุวรรณ, ม.ล. ภาษาไทยวิชาที่ถกู ลมื กรุงเทพฯ : โรงพิมพ์คุรสุ ภาลาดพร้าว, ๒๕๔๖ ปศุสตั ว์,กรม,ขอ้ มลู จาํ นวนปศุศตั วใ์ นประเทศไทย ประจาํ ปี ๒๕๕๒ กรงุ เทพฯ : กระทรวงเกษตรและสหกรณ,์ ม.ป.ป. ปานมนสั ศริ สิ มบูรณแ์ ละชวนทิศ ผลวฒั นะ พจนานุกรมศพั ทเ์ กษตรองั กฤษ-ไทย กรุงเทพฯ : โอเดียนสโตร,์ ๒๕๓๗ พจนานกุ รมฉบบั ราชบัณฑิตยสถาน พจนานกุ รมศพั ท์ปรบั อากาศ อังกฤษไทย กรงุ เทพฯ : อรณุ การพมิ พ์ ๒๕๔๑ มลู นธิ ิเกษตรกรรมยง่ั ยืน (ประเทศไทย) สานสรรคค์ วามรู้ สเู่ กษตรยง่ั ยนื กรุงเทพฯ : ศรีเมอื งการพิมพ์, ๒๕๔๖ ราชบัณฑิตยสถาน ศพั ท์การเชือ่ ม กรงุ เทพฯ : อรณุ การพมิ พ์, นธิ ยิ า รตั นาปนนทแ์ ละวิบลู ย์ ๒๕๔๒ รัตนปนนท์ รื่นฤดี สจั จาพันธ์ สารคดี กรงุ เทพฯ : สํานักพมิ พม์ หาวทิ ยาลยั รามคาํ แหง, ๒๕๕๓ วฒั นี ภวู ทศิ การสอ่ื ขา่ วและการเขยี นขา่ ว พมิ พค์ ร้ังท่ี ๖ กรุงเทพฯ : สํานักพิมพม์ หาวทิ ยาลัย กรงุ เทพฯ ๒๕๕๓ วชิ าการ,กรม หนงั สอื ค่มู ือภมู พิ ลังแหง่ ปัญญา กรงุ เทพฯ : โรงพมิ พค์ ุรุสภาลาดพร้าว, ๒๕๔๒
การอ่านเพื่อการเรยี นรู้ตลอดชีวติ | ๑๒๑ ศริ ิวรรณ เสรรี ตั น์และคณะ รู้เฟอ่ื งเรื่องศพั ทก์ ารเงนิ บรหิ ารธรุ กิจ การบริหารรัฐกิจ (ฉบบั ปรับปรงุ ใหม่) กรงุ เทพฯ : ธนรชั การพมิ พ์, ๒๕๓๘ ศึกษาธิการ, กระทรวง ภาษาเพอ่ื พฒั นาการเรยี นรู.้ กรุงเทพฯ : โรงพมิ พ์คุรุสภาลาดพร้าวฯ ๒๕๕๐ เศรษฐมันตร์ กาญจนกุล ร้อยพรรณพฤกษา “ไมก้ ระถางแสนสวย” กรงุ เทพฯ : เศรษฐศลิ ป์, ๒๕๕๑ สฤษดิคณุ กติ ยิ ากร , ม.ร.ว. คําอธบิ ายศพั ทธ์ ุรจิ ทใ่ี ช้ทั่วไปในภาษาอังกฤษ กรุงเทพฯ : สาํ นกั พมิ พ์จุฬาลงกรณ์มหาวทิ ยาลยั , ๒๕๓๘ สามารภ จนั ทร์สูรยฺ ภมู ปิ ญั ญาไทยในเพลงลกู ทงุ่ ไทย กรงุ เทพฯ : โรงพมิ พ์การศาสนา, ๒๕๔๒. สุวรรณา ตง้ั ทฆี ะรักษ์ การอา่ น พิมพค์ ร้งั ที่ ๔ กรงุ เทพฯ : มหาวทิ ยาลัยกรุงเทพ, ๒๕๔๓ หอการคา้ ไทย, มหาวทิ ยาลัย. ภาษาไทยเพอ่ื การสือ่ สาร. กรุงเทพฯ โรงพพิ มส์ ามัคคสี าร (ดอกหญา้ ), ๒๕๔๑. อดุ มลกั ษณ์ ระพีแสง ศึกษาเชงิ วิเคราะหก์ ารใชภ้ าษาในบทเพลงสนุ ทราภรณ์ ระหวา่ งปี พ.ศ. ๒๕๑๒-๒๕๒๔ สารภาษาไทยและวัฒนธรรมไทย ปีที่ ๑ ฉบบั ท่ี ๑ มิถุนายน – พฤศจิกายน พ.ศ.๒๕๕๐ เอกรตั น์ อดุ มพร พจนานุกรม คําสมาส-สนธ.ิ กรงุ เทพฯ : พฒั นาการศึกษา, ม.ป.ป.
ที่ปรกึ ษา การอา่ นเพ่ือการเรียนรตู้ ลอดชวี ติ | ๑๒๒ นายประเสรฐิ บญุ เรอื ง คณะผู้จัดทาํ นายวชั รินทร์ จาํ ปี นางมาริสา โกเศยะโยธิน เลขาธิการ กศน. รองเลขาธกิ าร กศน. ผเู้ ขียน ผ้อู าํ นวยการศนู ย์การศึกษานอกระบบและ การศึกษาตามอธั ยาศัยกลมุ่ เป้าหมายพิเศษ นายสุพจน์ เช่ยี วชลวิชญ์ ครูเชีย่ วชาญ ศูนยก์ ารศึกษานอกระบบและการศึกษา ตามอัธยาศยั เขตประเวศ คณะบรรณาธกิ าร ครชู ํานาญการพิเศษ ศูนย์การศึกษานอกระบบ และการศกึ ษาตามอัธยาศยั กล่มุ เป้าหมายพิเศษ นางศริ ิกาญจน์ ธนวฒั นเ์ ดชากุล ครชู าํ นาญการ ศูนยก์ ารศกึ ษานอกระบบและ นางสาวสภุ ัสสร โห้ยขุ ัน การศึกษาตามอัธยาศยั เขตประเวศ นายบญุ ชนะ ลอ้ มสริ อิ ุดม ครชู ํานาญการพิเศษ ศนู ย์การศกึ ษานอกระบบและ นางสาวฐิตาพร จินตะเกษกรณ์ การศกึ ษาตามอธั ยาศยั กลุ่มเป้าหมายพเิ ศษ นายสพุ จน์ เชยี่ วชลวชิ ญ์ ครชู าํ นาญการพิเศษ ศนู ย์การศกึ ษานอกระบบและ นางสาวอัญชิษฐา สขุ กาย การศึกษาตามอธั ยาศยั กล่มุ เป้าหมายพิเศษ ครเู ช่ียวชาญ ศูนย์การศึกษานอกระบบและ การศึกษาตามอธั ยาศัยกล่มุ เป้าหมายพิเศษ พนกั งานราชการ ศนู ยก์ ารศกึ ษานอกระบบและ การศึกษาตามอัธยาศัยเขตตลิง่ ชัน ผพู้ มิ พ์ตน้ ฉบับ เจา้ หน้าท่ี ศูนยก์ ารศกึ ษานอกระบบและ การศึกษาตามอธั ยาศยั กลมุ่ เปา้ หมายพิเศษ นางสาวนนทพรรณ์ วงษ์อัครสกลุ
Search
Read the Text Version
- 1
- 2
- 3
- 4
- 5
- 6
- 7
- 8
- 9
- 10
- 11
- 12
- 13
- 14
- 15
- 16
- 17
- 18
- 19
- 20
- 21
- 22
- 23
- 24
- 25
- 26
- 27
- 28
- 29
- 30
- 31
- 32
- 33
- 34
- 35
- 36
- 37
- 38
- 39
- 40
- 41
- 42
- 43
- 44
- 45
- 46
- 47
- 48
- 49
- 50
- 51
- 52
- 53
- 54
- 55
- 56
- 57
- 58
- 59
- 60
- 61
- 62
- 63
- 64
- 65
- 66
- 67
- 68
- 69
- 70
- 71
- 72
- 73
- 74
- 75
- 76
- 77
- 78
- 79
- 80
- 81
- 82
- 83
- 84
- 85
- 86
- 87
- 88
- 89
- 90
- 91
- 92
- 93
- 94
- 95
- 96
- 97
- 98
- 99
- 100
- 101
- 102
- 103
- 104
- 105
- 106
- 107
- 108
- 109
- 110
- 111
- 112
- 113
- 114
- 115
- 116
- 117
- 118
- 119
- 120
- 121
- 122
- 123
- 124
- 125
- 126
- 127
- 128
- 129
- 130
- 131
- 132
- 133
- 134