การอา่ นเพื่อการเรียนรตู้ ลอดชวี ติ | ๓๙ การวิจารณ์บทความ วิธีการวิจารณ์บทความคล้ายกับการวิจารณ์วรรณกรรม ต่างกันท่ีบทความสั้นกว่า และมี ข้อเสนอแนะมากกวา่ งานเขียนอย่างอ่ืน ๆ วธิ ใี ชบ้ ทความจะต้องพิจารณาดงั น้ี ๑. อ่านบทความน้ัน ๆ แล้วเก็บใจความสําคัญให้ได้ว่าผู้เขียนกล่าวถึงเร่ืองใดมีวัตถุประสงค์ อย่างไรในบทความน้นั ท่ีตอ้ งการใหผ้ ูอ้ า่ นทราบ ๒. วเิ คราะห์บทความ แยกขอ้ เท็จจรงิ และข้อคิดเห็นในบทความน้นั ๆ ออกมา ๓. วิเคราะหข์ อ้ เท็จจรงิ ท่ีมอี ยใู่ นบทความ เช่น เขามีสถิติตัวเลขถูกต้องหรือไม่ มีการบิดเบือน ขอ้ เท็จจริงหรือไม่ มผี ู้เชีย่ วชาญไดก้ ลา่ วถงึ ขอ้ เท็จจรงิ เหลา่ นีอ้ ย่างไร ๔. วิจารณ์ข้อคิดเห็น หรือข้อเสนอแนะของผู้เขียนว่าเห็นด้วยหรือไม่เห็นด้วยอย่างไร ข้อเสนอแนะ เสนอมาแล้วทําไดม้ ากนอ้ ยเพยี งใด มหี ลักการเหตุผลนา่ เช่ือถอื หรือไม่ ตัวอย่างการอ่านและวิเคราะห์บทความ เร่ือง “โรงเรียนกาสรกสิวิทย์ เช่ือมโยงชีวิต “คน” กับ “ควาย” ใต้รม่ พระบารมี” จากการอ่านบทความเรื่อง โรงเรียนกาสรกสิวิทย์เชื่อมโยงชีวิต “คน” กับ “ควาย” ใต้ร่ม พระบารมี ซึ่งเป็นบทความสารคดี สามารถวิเคราะห์บทความนี้เป็น โดยใช้หลักการวิเคราะห์ บทความตามหัวขอ้ ดังนี้ ๑. คาํ นาํ ๒. เนื้อเรอ่ื ง ๓. ข้อมลู ๔. จุดมงุ่ หมาย ๕. ปญั หาและข้อขดั แย้ง ๖. การใชภ้ าษา ๗. บทลงทา้ ย จากหัวข้อหลักการวิเคราะห์บทความท้ัง ๗ ขอ้ จะขอยกตัวอยา่ งรายละเอียด ดังต่อไปนี้ ๑. คํานํา ผู้เขียนได้เสนอนําเร่ืองแก่ผู้อ่าน อย่างน่าสนใจโดยเสนอพฤติกรรมของควายมาให้ ผู้อ่านทราบว่า “ควายถอนสายบัว” ทําให้ผู้อ่านคิดว่าเป็นเร่ืองดูขํา ๆ การที่ผู้เขียนยกภาพของควาย ถอนสายบัว ทําให้ผู้อ่านอยากอ่านให้จบเพราะเป็นเร่ืองน่าสนใจและติดตามมาก เพราะบางคนก็ยัง ไม่ทราบมาก่อนวา่ ควายสามารถถอนสายบวั ได้
การอ่านเพอ่ื การเรยี นร้ตู ลอดชีวติ | ๔๐ ๒. เนื้อเร่ือง ผู้เขียน ได้เล่าเรื่องนี้อย่างน่าสนใจและครอบคลุมสาระสําคัญที่จะนําเสนอให้ ผู้อ่านรับทราบความว่า การจัดต้ังโรงเรียนกาสากสิวิทย์ ซึ่งสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี มีพระราชดําริให้จัดตั้งข้ึนท่ีอําเภอเมือง จังหวัดสระแก้ว เนื้อท่ี ๑๒๐ ไร่ ซึ่งนายสมจิตต์ และ นางมณี อิ่มเอิบ ได้น้อมเกล้าฯถวายแด่ สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯสยามบรมราชกุมารี เม่ือปี พ.ศ. ๒๕๔๔ และโปรดเกล้าฯ ให้มูลนิธิชัยพัฒนาดําเนินการจัดต้ังโรงเรียนให้เป็นสถานที่จะ “ตดิ ปญั ญา” ใหแ้ กค่ วาย รวมทั้งให้ความรู้แก่ “คน” ในการใช้ประโยชน์จากควายเพ่ือการประกอบ อาชพี เพราะจากสภาพปญั หา คือ ในปจั จบุ ันคนที่เลี้ยงกระบือเพื่อใช้งานน้อยลงเรื่อย ๆ คนรุ่นหลัง จึงไม่รู้จักภูมิปัญญาน้ี ดังนั้นวัตถุประสงค์ของโรงเรียนกาสรกสิวิทย์ เพื่อต้องการฝึกกระบือให้มี ความรู้พอที่จะส่ังงานได้ ฝึกคนท่ีจะใช้กระบือให้สามารถใช้งานได้ ฝึกคนให้ฝึกกระบือได้ ตอนนี้ กําลังดําเนินการก่อสร้างโรงเรียนให้สามารถใช้ประโยชน์ได้ เพ่ือวันหน่ึงในอนาคต ลูกหลานของเรา จะได้เห็นและรูจ้ กั กระบอื ในฐานะ “ทรพั ย์สนิ ลํา้ ค่าของแผน่ ดิน” กล่าวโดยสรุป การเขียนเนื้อเรื่องมีความน่าสนใจ ชวนให้น่าติดตาม ตั้งแต่ต้นจนจบ ผู้อ่าน ได้ความรู้และความบันเทงิ ดว้ ย ๓. ข้อมูล เรื่องน้ีผู้เขียนมีข้อมูลยืนยันเพื่อให้ผู้อ่านสามารถแยกแยะได้ว่าส่วนใดเป็นข้อมูล อ้างอิงได้ ซ่ึงไม่ได้คิดเอาเองโดยตรงของผู้เขียน แต่เป็นส่ิงท่ีผู้เขียนนํามาจากที่อื่น โดยนําข้อมูลจาก การสัมภาษณ์จากผู้รู้ หรือผู้ที่มีหน้าที่โดยตรง เช่น ข้อมูลจาก อาจารย์ทองทวี ดีมะการ นายก สมาคมอนุรักษ์และพัฒนาควายไทยและที่ปรึกษากรมปศุสัตว์ ให้ความรู้เร่ือง ประวัติความเป็นมา ของธนาคาร โค-กระบือ คุณลีลิต ถนอมสิงห์ ผู้ช่วยเลขาธิการสํานักงานมูลนิธิชัยพัฒนา กล่าวถึง ความเป็นมาของโรงเรียนกาสรกสิวิทย์ อาจารย์ทองทวี ดีมะการ มีส่วนร่วมร่างหลักสูตรของ โรงเรียน ใหค้ วามรู้เกยี่ วกับการสอนกระบอื และขนั้ ตอนการฝกึ กระบอื จะเห็นได้ว่าผู้เขียนเร่ืองนี้ ได้อ้างอิงแหล่งที่มาข้อมูลโดยการสัมภาษณ์บุคคลที่เกี่ยวข้องกับ การกอ่ ตั้งโรงเรียนนี้ ทําใหผ้ ้อู ่านได้รับความรู้และเชอื่ ถือขอ้ มูล ๔. จุดมุ่งหมาย บทความนี้เป็นประเภทบทความสารคดีที่มีเนื้อหาสาระมุ่งเน้นให้ผู้อ่านมี ความรู้ โครงการพระราชดําริ ดังนั้น จุดมุ่งหมายของบทความนี้ต้องการให้ผู้อ่านมีความรู้เรื่อง โรงเรียนกาสรกสิวิทย์เป็นประโยชน์ของควายไทย การส่งเสริมการเลี้ยงควายไทยให้แพร่หลายและ ไดแ้ ทรกอารมณ์ขัน เพ่อื ความเพลดิ เพลนิ แกผ่ ู้อ่านด้วย ที่สําคัญคือโครงการน้ีเป็นโครงการที่สมเด็จ พระเทพรัตนราชสดุ าฯ สยามบรมราชกมุ ารี มพี ระราชดํารใิ ห้กอ่ ตง้ั ขนึ้ เป็นครัง้ แรก ๕. ปัญหาและข้อขัดแย้ง เม่ือได้อ่านเร่ืองนี้จนจบแล้ว คือว่าผู้อ่านคงไม่มีปัญหา และ ข้อขัดแย้งในเชงิ เน้อื หาสาระเพราะวา่ ผูเ้ ขยี นมีข้อมูลอา้ งองิ บคุ คลมาพรอ้ มแล้ว ๖. การใช้ภาษา ผู้เขียนต้องการให้ผู้อ่านไม่รู้สึกว่าเป็นบทความวิชาการมากไป จึงสอดแทรกอารมณ์ขัน ข้อคิดอย่างน่าสนใจ ตลอดจนการใช้ภาษาที่เรียบง่ายชวนให้ผู้อ่านติดตาม ตง้ั แต่ต้นจนจบอย่างรวดเร็ว เพราะการใชภ้ าษาท่ีน่าสนใจ ยกตัวอยา่ ง เช่น
การอ่านเพ่อื การเรยี นรตู้ ลอดชวี ิต | ๔๑ “ควายถอนสายบัว” การตง้ั ช่อื กระบอื นา่ สนใจ เชน่ “คณุ แรมเดือน” “......เป็นควายทีม่ ีวิชาความรู้ในระดบั ปริญญาตวั หนง่ึ ทีเดียว” นอกจากน้ัน ยังเขียนอารมณ์ขันของสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี ตอนหน่ึงน่าสนใจมาก “รับสงั่ ว่า เสดจ็ เมืองนอกเมืองนามา ข่ีอูฐมาแลว้ ขับแทรกเตอร์ไถนาก็เคยแล้ว แต่ยังไม่เคย ทรงไถนาดว้ ยควายเลย ลองดูซิ มีควายไถนาไดไ้ หม…” “ปศุสัตว์เขาข้ึนทะเบียนใหค้ วายเปน็ ครุภณั ฑเ์ หมอื นโต๊ะ เกา้ อ้ี แต่ผมเรยี กว่า ครภุ ัณฑเ์ ดนิ ได้..” “....จากประสบการณข์ องผม ผมขอยนื ยนั ว่าควายฟังภาษาคนรู้เรือ่ ง รบั รองพันเปอร์เซ็นต.์ ..” ๗. บทลงท้าย ผู้เขียนใช้วิธีเขียนบทลงท้ายโดยสรุปความสําคัญของเร่ืองว่า อีกไม่ช้าเมื่อ โรงเรียนกาสรกสิวิทย์ก่อสร้างแล้วเสร็จสมบูรณ์ ครอบครัวเล็ก ๆ ของคุณกุ๊ก คุณแรมเดือน สร้อยทองและเทพพร จะได้ย้ายมาอยู่ในบ้านหลังใหม่ในเนื้อที่กว้างขวาง และได้กล่าวปิดท้ายอย่าง นา่ สนใจ และยกความสําคญั ของควายไทยวา่ “เพ่ือที่ว่าวันหนึ่งลูกหลานของเราจะได้เห็นและรู้จักควายไทยในท้องทุ่งนาในฐานะ ทรพั ยส์ ินลํา้ คา่ ของแผน่ ดินไทย ไมใ่ ชร่ ู้จักควายจากหนังสือหรือพิพิธภัณฑ์เท่านั้น” ทั้งนี้ทําให้ผู้อ่านมี ความประทับใจบทความน้เี ปน็ อยา่ งมาก เพราะเปน็ บทความท่ีแปลกใหม่ น่าสนใจมาก
คําชี้แจง การอา่ นเพ่ือการเรยี นรู้ตลอดชวี ิต | ๔๒ แบบฝกึ หัดทบทวนบทที่ ๔ จงเตมิ คาํ ลงในช่องว่างให้ไดใ้ จความสมบรู ณแ์ ละอธบิ ายการใช้บทความ จาํ นวน ๑ บทความ ๑. บทความมีสว่ นประกอบ ๓ สว่ น คอื ๑.๑……………………………………………………………………………………………………………………………… ............................................................................................................................................................ ๑.๒……………………………………………………………………………………………………………………………… ............................................................................................................................................................ ๑.๓……………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………… ๒. ประเภทของบทความมี ๖ ประเภท อะไรบ้าง ๒.๑……………………………………………………………………………………………………………………………… ๒.๒……………………………………………………………………………………………………………………………… ๒.๓……………………………………………………………………………………………………………………………… ๒.๔……………………………………………………………………………………………………………………………… ๒.๕……………………………………………………………………………………………………………………………… ๒.๖............................................................................................................................................. ๓. จงเลือกบทความ จาํ นวน ๑ เรอ่ื ง และวิเคราะหต์ ามแนวทางที่ได้เรยี นมาแลว้ (๑ หนา้ กระดาษ) ๔. จากการอ่านบทความ “โรงเรียนกาสรกสิวิทย์ เชื่อมโยงชีวิตระหว่างคนกับควาย ใต้ร่ม พระบารม”ี นกั ศึกษามีความประทับใจ เนื้อหาตรงไหนบ้าง (อธิบาย) ............................................................................................................................................................. ............................................................................................................................................................. ............................................................................................................................................................. ............................................................................................................................................................. ............................................................................................................................................................. ............................................................................................................................................................. ............................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................
การอ่านเพ่ือการเรียนรตู้ ลอดชวี ติ | ๔๓ แบบทดสอบบทท่ี ๔ เรอ่ื ง การอ่านบทความ คําช้ีแจง จงเลอื กคาํ ตอบทถี่ กู ต้องท่สี ุด ๑. ส่วนประกอบของบทความมี ๓ ประเภท คอื ก. สารคด-ี บทความ-หนงั สอื พิมพ์ ข. เน้ือเรือ่ ง-สรปุ -บรรณานุกรม ค. คํานํา-สารบญั -เนื้อเร่อื ง ง. ส่วนนาํ -เนือ้ เร่ือง-สรปุ ๒. ข้อใดไม่ใชป่ ระเภทของบทความ ก. บรรยาย ข. แสดงความเหน็ ค. การทอ่ งเทย่ี ว ง. วิเคราะห์ ๓. การเขยี นบทความประเภทใด ทผ่ี ้เู ขยี นเสนอความคดิ โตแ้ ยง้ คดั คา้ น ก. บทความบันเทิง ข. บทความสารคดี ค. บทความวเิ คราะห์ ง. บทความแสดงความคดิ เห็น ๔. บทความทม่ี ีเนือ้ หาสาระมงุ่ เนน้ การให้ทัง้ ความรูแ้ ละความเพลดิ เพลนิ แก่ผู้อ่านคอื ข้อใด ก. บทความสารคดี ข. บทความวิเคราะห์ ค. บทความวิจารณ์ ง. บทความวชิ าการ ๕. การวิเคราะหบ์ ทความ ควรศกึ ษาประเดน็ ใดกอ่ น ก. พจิ ารณาบทสรปุ ข. พจิ ารณาประสงค์ของผู้แตง่ ค. บรรณานุกรม หนังสอื อ้างองิ ง. สาํ รวจผู้อา่ นวา่ สนใจหรอื ไม่
การอ่านเพอ่ื การเรียนรู้ตลอดชีวิต | ๔๔ ๖. จากการอ่านตวั อยา่ งการวเิ คราะห์บทความ เรื่อง วัดใหญ่สุวรรณาราม ขอ้ ใดเป็นความคดิ เห็น ก. ฝาประกอบข้างนอกเขียนลายทอง ข. พรอ้ มปดิ ประตลู ่นั ดานแน่นหนา ค. วดั สว่ นใหญท่ ม่ี บี ริเวณกวา้ งขวางมาก ง. ไปเยือนเพชรบุรแี ลว้ ไมไ่ ปชมวัดนก้ี ็เหมอื นไปไมถ่ งึ เพชรบรุ ี ๗. การเขียนบทความ เรอ่ื ง โรงเรียนกาสรกสิวิทย์ จัดเปน็ บทความประเภทใด ก. บทความวิจารณ์ ข. บทความวิเคราะห์ ค. บทความสารคดี ง. บทความวชิ าการ ๘. “คาํ นาํ ” ของบทความ เรือ่ ง โรงเรยี นกาสรกสิวิทย์ ผู้เขยี นใช้แนวการเขียนแบบใด ก. พฤตกิ รรมของกระบือ ข. ประโยชนข์ องกระบือ ค. ข้อดขี องกระบอื ง. คนชอบเลย้ี งกระบอื ๙. ผเู้ ขียนใช้ขอ้ มลู แบบใดในการเขียน เรอื่ ง โรงเรียนกาสรกสิวทิ ย์ ก. จากประสบการณก์ ารทาํ งานในพ้ืนที่เป็นเวลานาน ข. จากการสมั ภาษณ์ผู้เก่ยี วขอ้ ง ค. จากงานวจิ ยั ง. จากวทิ ยานพิ นธ์ ๑๐. การใช้ภาษาบทความสารคดีเขียนอย่างไรใหผ้ ้อู า่ นไมร่ สู้ กึ วา่ เป็นบทความวชิ าการ ก. ใสอ่ ารมณส์ ะเทือนใจ ข. สอดแทรกอารมณ์ขนั ค. เขยี นตลกโปกฮา ง. เขยี นจินตนาการ
การอา่ นเพือ่ การเรยี นรู้ตลอดชีวติ | ๔๕ บทท่ี ๕ การอา่ นสารคดี พจนานกุ รมฉบบั ราชบณั ฑิตยสถาน พ.ศ. ๒๕๔๒ ให้ความหมายของสารคดีไว้ว่า “สารคดี น. เร่ืองทเ่ี รียบเรยี งขนึ้ จากความจรงิ ไม่ใชจ่ ติ นาการ เช่น สารคดที อ่ งเทีย่ ว สารคดีชวี ประวตั ”ิ สารคดีเป็นหนังสือท่ีมีเนื้อหาสาระที่เรียบเรียงข้อเท็จจริงและมีจุดมุ่งหมายต้องการให้ ผู้อ่าน ได้รับข้อมูลความรู้ ความจริงและความถูกต้อง ซึ่งก่อให้เกิดความคิดและสาระประโยชน์เป็นเบ้ืองต้น นอกจากน้ันสารคดียงั ใหค้ วามเพลดิ เพลนิ และความรื่นรมย์ ประเภทของสารคดี ๑. บทความ ซง่ึ มีอย่ใู นนิตยสาร วารสาร และหนงั สือพมิ พ์ ๒. สารคดีวชิ าการ เชน่ วารสารทางวชิ าการของหน่วยงานราชการและเอกชน ๓. สารคดที อ่ งเท่ยี ว เช่น วารสาร อ.ส.ท. ๔. สารคดีชีวประวัติ/อัตชีวประวัติ เช่น เกิดวังปารุสก์ ของ พระองค์เจ้าจุลจักรพงศ์ ฟื้นความหลังของพระยาอนมุ านราชธน เปน็ ตน้ ๕. จดหมาย จดหมายเหตุ บันทึกความทรงจํา เชน่ หกรอบแหง่ ชวี ิต ของท่านผหู้ ญิงดฐิ การภักดี (ส. บณุ ยรัตพนั ธุ์) ๖. หนังสืออ้างอิง ได้แก่ สารานุกรม นามานุกรม พจนานุกรม เช่น พจนานุกรมฉบับ ราชบัณฑติ ยสถาน พ.ศ.๒๕๔๒ เปน็ ต้น แนวทางการพิจารณาคุณค่าของสารคดี สารคดีเป็นงานเขียนที่กล่าวถึงเหตุการณ์ สถานท่ีชีวิตผู้คนหรือความรู้แนวต่าง ๆ สารคดีเป็น เร่ืองเล่าอย่างหนึ่งท่ีผู้เขียนอาจวางโครงเรื่องอย่างมีเอกภาพ มีบุคคลดําเนินเหตุการณ์ต่าง ๆ มีฉาก สถานที่ มีภูมิหลังทางสังคมหรือประวัติศาสตร์ เป็นต้น การพิจารณาคุณค่าของสารคดี อาจพิจารณา ใน ๕ ประการ ดังน้ี ๑. ความถูกตอ้ ง ความน่าเชอ่ื ถือของขอ้ มูล ความรู้ ข้อเทจ็ จริง ทนี่ าํ เสนอ ๒. ความสนกุ เพลิดเพลนิ ชวนอ่าน ๓. ทัศนะของผ้แู ตง่ ๔. ข้อคิดคณุ ประโยชนท์ ผี่ ู้อา่ นจะได้รับ ๕. ศิลปะของการเขียนและลีลาภาษาที่ใช้
การอ่านเพ่อื การเรยี นร้ตู ลอดชวี ติ | ๔๖ ตัวอยา่ งสารคดี เรอ่ื ง“ปายในความเปลย่ี นแปลง” บนเนื้อท่ี ๓๓ ไร่ นอกเหนือจากบ้านพักสถาปัตยกรรมแปลกตา รูปทรงคล้ายกระโจมของชน เผา่ แอฟรกิ ันอนั เรยี งราย แวดล้อมประดับประดาไปด้วยสวนหย่อมที่จําลองเอาบรรยากาศของท้องทุ่ง สะวันนา สะดวกสบายด้วยรถกอล์ฟไฟฟ้าชั้นดีที่ว่ิงรับส่ง ที่พักสุดหรูหราระดับห้าดาวแห่งใหม่น้ียัง พร้อมไปด้วยกิจกรรมน่าสนใจสําหรับผู้มาพักไม่ว่าจะเป็นสนามกีฬา ยิงธนูสําหรับทดสอบความ แม่นยํา สระว่ายนํ้ากลางแจ้งท่ีมีระบบปรับอุณหภูมินํ้าให้อุ่นตลอดเวลา รวมไปถึงสนามกอล์ฟในร่ม ขนาด ๑๘ หลุม ระบบซิมูเลเตอร์ ที่ใช้เทคโนโลยีในการสร้างภาพทัศนคติให้ผู้เล่นมีความรู้สึกเสมือน กับได้เล่นในสนามกอล์ฟจริง (แบบเดียวกันที่ใช้ในการฝึกบิน แต่นี่เป็นการประยุกต์มาใช้ในการเล่น กอลฟ์ ) ทันสมยั ไฮเทคสดุ ๆ อย่ใู นรสี อร์ทแบบนีแ้ ลว้ บางทีผมยงั เผลอลมื ไปเลยครบั ว่ากาํ ลังอยู่ทปี่ าย กาลเวลาทาํ ให้อะไรตอ่ มิอะไรเปล่ยี นแปลงไปได้ขนาดนี้ ปายในความทรงจาํ อาจเป็นเพราะว่าผมอายุมากข้ึนหรือไรก็ไม่รู้ละครับ เมื่อก่อนยังอายุน้อย เดินทางไปไหน ความรสู้ กึ ท่ีได้มกั จะเป็นความต่ืนตาต่นื ใจกบั การได้พบได้เห็นอะไรใหม่ๆ แทบทุกครั้ง แต่หลายปีผ่าน ไป หลังจากเดินทางบ่อยเข้า ไม่ว่าจะไปท่ีไหน โดยเฉพาะในประเทศไทย ส่วนใหญ่จะรู้สึกว่าเป็นการ เดินทางเพ่อื ไปพบเหน็ กบั ความเปลีย่ นแปลงซะมากกว่า จะว่าไปแล้วก็อารมณ์คล้าย ๆ กับการไปงานเลี้ยงรุ่นอยู่เหมือนกัน พักหลังน่ีผมก็ไปงานเล้ียง รุ่นบอ่ ย ซ่งึ นา่ จะเปน็ อานิสงส์จากเครือข่ายสังคมออนไลน์ท่ีกําลังได้รับความนิยมทั้งเลี้ยงรุ่นเพ่ือนสมัย มัธยมฯ เพ่อื นสมยั เรยี นมหาวิทยาลยั แต่ไม่วา่ จะนัดบอ่ ยแค่ไหน ถา้ ไม่ตดิ ภารกจิ สําคญั อะไรผมก็ไปทกุ ครั้ง ไม่รู้เบื่อ เพราะได้เจอเพื่อนเก่า ๆ ที่ห่างหายกันไปนาน หน้าตาเปลี่ยนไป อ้วนขึ้นบ้าง ผอมข้ึน บ้าง สวยขึ้นบ้าง ข้ีเหร่ลงบ้าง ฯลฯ ความเปลี่ยนแปลงของคนที่คุ้นเคยที่ได้เห็นกลายเป็นความ สนุกสนาน เมืองปาย จงั หวดั แม่ฮอ่ งสอน กเ็ หมอื นกบั เพื่อนเกา่ คนหน่งึ ของผม หวนไปถึงความทรงจําในวันวาน เม่ือสิบกว่าปีก่อน ตอนที่ได้มาเยือนอําเภอเล็ก ๆ ของ จังหวัดแม่ฮ่องสอนแห่งนี้เป็นครั้งแรก จําได้ว่าภาพประทับใจซี่งปรากฏต่อสายตา หลังจากน่ังรถเลี้ยว เลาะผ่านโค้งคดเค้ียวนับร้อยบนถนนท่ีตัดผ่านเทือกดอยซับซ้อนจากเชียงใหม่มาถึง ก็คือทิวทัศน์ของ เมืองเล็ก ๆ กับท้องทุ่งนาอันเขียวขจีกว้างใหญ่ใจกลางอ้อมกอดของขุนเขาที่รายรอบ หล่อเล้ียงด้วย สายนํ้าสวยของแมน่ ํา้ ปายท่ไี หลผ่าน ดูสวยงามราวกับภาพวาด
การอ่านเพื่อการเรียนรูต้ ลอดชวี ติ | ๔๗ นอกจากสายลมหนาวซึ่งพัดโบกโบยอยู่ท่ามกลางแดดจ้าและสีฟ้าครามใส ความสงบเงียบ เป็นอีกอยา่ งหน่ึงท่สี ัมผสั ได้ เข้ามาในตัวเมืองซึ่งอาณาเขตไม่กว้างใหญ่ ผู้คนน้อย ดูโหรงเหรง ยังไม่มีวี่แววของร้าน สะดวกซื้อ ไม่ว่ายี่ห้อไหน ค่ายใหญ่ค่ายเล็ก หยิบโทรศัพท์มือถือออกมาดู ก็ไม่มีสัญญาณ ท้ังระบบ ๘๐๐ หรือ ๙๐๐ ซึ่งตอนน้ันกําลังแข่งขันในยุคแรก ยังไม่เข้าสู่ระบบดิจิตอล แต่ยังดี เห็นมีตู้โทรศัพท์ สาธารณะอยู่ทั่วไป ถอื วา่ ไมต่ ดั ขาดจากโลกภายนอกเสียทีเดียว ตอนนั้นนักท่องเที่ยวชาวไทยยังไม่มีมาเท่ียวกันเท่าไหร่ อาจเป็นเพราะสายตาคนไทย เมือง ปายไม่ค่อยมแี หลง่ ท่องเทยี่ วอะไร วดั อารามกม็ แี ต่วดั เลก็ ๆ อยไู่ มก่ ีแ่ หง่ ชนิดนับจํานวนได้ แต่ในความเล็ก ๆ นั้น ความจริงที่เรื่องราวและความงดงามน่าสนใจ อย่างวัดน้ําฮู้ ที่อยู่นอก เมืองไปทางตะวนั ตก ภายในวหิ ารประดิษฐานพระเจ้าอุ่นเมือง พระพุทธรูปสัมฤทธิ์ขนาดย่อม ๆ สร้าง โดยสมเด็จพระนเรศวรมหาราช ซึ่งมีลักษณะพเิ ศษคือภายในพระเศียรกลวงมีนํ้าซึมออกมาตลอดเวลา เชื่อกันว่าเป็นนํ้าศักดิ์สิทธ์ิ หลังวิหารยังมีเจดีย์บรรจุพระเกศาของพระสุพรรณกัลยา พระพี่นางของ สมเดจ็ พระนเรศวร นอกจากนั้นก็พอมีสถาปัตยกรรมแบบไทยใหญ่และแบบพม่าให้ชมอยู่ไม่น้อยที่วัดหัวนา วัด หลวง วัดป่าขาม และวัดกลาง กับอีกแห่งท่ีเป็นจุดชมทิวทัศน์ของเมืองได้เป็นอย่างดีก็คือวัดพระธาตุ แม่เยน็ ซึ่งตง้ั อย่บู นยอดเขานอกเมือง ความจริงแล้วรอบนอกเมืองยังมีแหล่งท่องเท่ียวเล็ก ๆ แต่หลากหลายอยู่อีกหลายแห่ง อย่าง บ้านสันติชล ชุมชนจีนฮ่อที่ถ้าหิว ๆ ก็แวะเวียนไปกินอาหารจีนยูนานแกล้มนํ้าชากันได้ หรือใครอยาก เล่นนํ้าคลายร้อนก็มีธารน้ําขนาดไม่ใหญ่ไม่โต แต่งดงามด้วยลีลาการท้ิงสายขาวสะอาดลงมาตามหน้า ผาหินกว้างใหญ่ท่ีลาดเท ทําเลเหมาะกับการเล่นนํ้าอย่างนํ้าตกหมอแปง หรือหากไม่ชอบเพราะหนาว อยากอาบนา้ํ แร่แช่นา้ํ ร้อน กย็ งั มบี ่อนาํ้ พรุ ้อนท่าปาย แหล่งนาํ้ พุร้อนธรรมชาติที่กรุ่นกลิ่นอายน้ําร้อนท่ี พวยพุ่งออกมาจากใต้พิภพเป็นไอขาว อีกแห่งหน่ึงคือกองแลน หรือท่ีรู้จักกันในสมญานาม “แกรนด์ แคนยอนเมืองปาย” หรือ “ปายแคนยอน” ประติมากรรมธรรมชาติท่ีเกิดจากการกัดเซาะของลมฝน เกิดเป็นภูมิทศั นท์ ี่แปลกประหลาดตา นอกจากที่ว่ามาแล้ว ปายยังมีแต่กิจกรรมท่องเท่ียวประเภทข่ีช้าง ล่องแพแม่นํ้าปาย ซ่ึงคน ไทยไม่ค่อยสนใจกันอีกนั่นแหละ ส่วนใหญ่ผ่านมาแล้วก็จะเลยไปแม่ฮ่องสอนเสียมากกว่า จึงไม่น่า แปลกใจท่ีในเมืองจะมีแต่นักท่องเที่ยวฝรั่งประเภทแบกเป้ที่เข้ามาพักอาศัยอยู่ตามเกสต์เฮาส์ พวกนี้ ถ้าไม่ออกไปท่องเท่ียวพจญภัยข่ีช้างล่องแพ ก็จะเห็นเดินเตร็ดเตร่ไปมา บ้างก็น่ังอาบแดดอ่านหนังสือ ทอดอารมณ์อยู่ตามหนา้ รา้ นกาแฟ นัน่ คือภาพของเมอื งปายท่ผี มไดร้ จู้ ักในครั้งแรก
การอ่านเพ่ือการเรยี นรู้ตลอดชวี ติ | ๔๘ ปายในวนั เปลี่ยนแปลง มาช่วงหลายปีท่ีผ่านมานี่แหละครับ ชื่อเสียงของปายเริ่มฮิตมากข้ึนมาติดลมบน จะเรียกว่า อยู่ในระดับ “ท็อปเทน” ของประเทศไทยก็คงจะพูดได้เต็มปาก เพราะอนุสาร อ.ส.ท. เราเคยโหวต ๑๐ สุดยอด แหล่งท่องเที่ยวไทยในดวงใจจากผู้อ่านทั่วประเทศ เม่ือไม่นานนี้ปายก็มีรายชื่อติดอันดับ ๑๐ พอดิบพอดี ความฮติ ของปายนั้นเปน็ ที่ถกเถียงกันมากในบรรดาผู้สันทัดกรณี (และไม่สันทัดกรณีแต่อยาก มีส่วนร่วม) บ้างก็ว่ามาจากช่ือเสียงในความสงบงามของปายเอง บ้างก็ว่าเกิดจากบรรดาศิลปินที่ติด อกตดิ ใจในบรรยากาศมาตั้งรกรากสร้างงานศลิ ปะประเภทต่าง ๆ บา้ งกว็ า่ จากการทีม่ นี ายทุนใหญ่เข้า มาลงทนุ บ้างกว็ า่ จากการท่ปี ายไดเ้ ป็นโลเกช่ันถ่ายภาพยนตรด์ ังหลายเรื่อง ไมว่ า่ จะเปน็ “รักจัง” หรือ ลา่ สดุ “ปายอินเลฟิ ” แต่ไม่ว่าจะมีสาเหตุมาจากอะไร ปายในวันน้ีก้าวเข้าสู่ความเป็นเมืองท่องเท่ียวยอดนิยมที่ คึกคกั ไปด้วยนักท่องเที่ยวที่เพิ่มมากข้ึน โดยเฉพาะอย่างย่ิงคนไทยละครับและนับจากนั้นปายก็เริ่มต้น การเปลี่ยนแปลงอย่างเปน็ ลาํ่ เปน็ สนั มาอย่างตอ่ เนื่อง ดังสุดขีดก็เม่ือตอนที่เกิดปรากฏการณ์ “ปายแตก” ในช่วงเทศกาลหยุดยาวปีใหม่ ปี ๒๕๕๓ ท่ีผ่านมา เป็นข่าวใหญ่เลยท่ีเดียว เน่ืองจากนักท่องเที่ยวหล่ังไหลไปรับลมหนาวที่เมืองปายจนแออัด ยัดเยยี ด ลน้ ทะลกั แยง่ กันอยู่แย่งกนั กิน ถงึ ขนาดป๊ัมนา้ํ มันไม่มนี าํ้ มนั ให้เติม เป็นที่เข็ดขยาดของทั้งผู้ที่ ได้รว่ มอยใู่ นเหตุการณ์ และผู้ที่ได้รบั รขู้ า่ วสารผา่ นสื่อหลายคนถงึ ขนาดประกาศไม่ยอมมาเท่ียวปายอีก เลยก็ยงั มี แต่สําหรับผม ลมหนาวพัดมาเม่ือไหร่ ผมก็ยังคงนึกถึงภาพของปายที่อยู่ในความทรงจําทุกที น่ันแหละครับ และท้งั มโี อกาสแวะเวยี นมาเร่อื ย ๆ ไมห่ ่างหายในครงั้ น้ีดว้ ย มาทไี รกไ็ ด้เห็นความเปลี่ยนแปลงอยทู่ กุ ทไี ป รวมท้ังในครงั้ น้ีด้วย บนเส้นทางเข้าสู่เมือง สะพานเหล็กประวัติศาสตร์ปาย ท่ีเคยท้ิงร้าง พื้นโหว่สนิมเขรอะ ใช้การไม่ได้ มาคราวนี้เห็นการซ่อมแซมทาสีใหม่เอ่ียม เขียวเข้มอย่างกับสะพานพุทธที่ กรุงเทพ เลย ครับ พ้ืนสะพานก็ปูไม้อย่างดี เสียอย่างเดียวดันสร้างศาลาอะไรก็ไม่รู้ข้ึนมาตั้งขวางหน้าสะพานอยู่ ดู เกะกะชอบกล รอบข้างก็ไม่เงียบเหงารกร้างเหมืองเมื่อก่อน เพราะร้านรวงตั้งขายของกันเป็นที่ ครกึ คร้นื อกี ฟากหนง่ึ ของสะพานเห็นนักท่องเที่ยวมุงกันถ่ายรูปเป็นกลุ่มใหญ่ เพ่งมองไปปรากฏว่าเป็น ปา้ ยบอกวา่ สะพานน้ีเคยเป็นสถานท่ีถ่ายทําภาพยนตร์ เร่ืองปายอินเลิฟแสดงให้เห็นว่าหนังไทยเราก็มี อทิ ธิพลในเรื่องท่องเที่ยวไม่เบา ไม่แพห้ นงั เกาหลีเหมอื นกนั ...แฮ่ม มาทางกองแลนหรือปายแคนยอน จากท่ีเคยเป็นป่ารกร้างข้างทาง มีแค่ป้ายบอกไว้เฉย ๆ ตอนนี้ก็กําลังมีการสร้างศาลาขายของสไตล์ไทยใหญ่พร้อมลานจอดรถอย่างดีข้ึนตรงหน้าทางเข้า ลอง ปีนป่ายข้ึนด้านบนก็กําลังมีการสร้างจุดชมวิวไว้ด้านบนอีกด้วย และท่ีขาดไม่ได้ ก็คือป้ายบอกว่าเป็น สถานที่ถ่ายทําภาพยนตร์เรื่องปายอินเลิฟ (อีกแล้ว) เจาะช่องเป็นกรอบเอาไว้ให้เห็นวิวภูเขาด้านหลัง นกั ทอ่ งเท่ียวถ่ายรปู กันใหญ่อีกตามเคย ไมน่ า่ เช่ือวา่ ป้ายธรรมดาๆ แผน่ เดียวจะมอี านุภาพขนาดนี้
การอ่านเพือ่ การเรียนรตู้ ลอดชีวติ | ๔๙ ท่ีเพิ่มขึ้นหนาตาเห็นจะเป็นร้านรวง โดยเฉพาะร้านขายอาหารเครื่องดื่มดูจะเป็นร้านท่ีมี เพ่ิมขึ้นมากที่สุด บางร้านทั้งที่เพ่ิงตั้งไม่นาน แต่กลายเป็นแหล่งท่องเที่ยวสําคัญแห่งใหม่ของปายไป แล้วก็มีครับ นั่นก็คือคอฟฟ่ีอินเลิฟ ร้านกาแฟที่ตกแต่งอย่างเก๋ ผสานกับบรรยากาศรอบข้างอย่าง ลงตัว บนเนินเขาก่อนถึงตัวเมืองปาย ใครมาใครไปต้องแวะน่ังจิบเคร่ืองด่ืม ชมทิวทัศน์เทือกเขาและ ท้องทุ่งเหนือริมผาสูงในร้าน ถ่ายภาพกับป้ายชื่อที่ร้านสะดุดตาด้วยรูปแบบ ขนาด และสีสันย่ิงได้หลักกิโลฯ ขนาดใหญ่ของร้านมาเป็นท่ีหมายตาด้วยแล้ว นักท่องเท่ียวแวะมาถ่ายภาพกันชนิดหัวกระไดไม่แห้ง เชยี วละครบั เทา่ ท่ตี ระเวนเตรด็ เตร่ดูอยู่หลายวันจนท่ัวเมืองปาย ก็เห็นว่ามีร้านกาแฟ ร้านเครื่องด่ืมเจ้าอื่น ๆ พยายามทําร้านลักษณะคล้าย ๆ กันแบบนี้หลายร้านอยู่เหมือนกัน แต่ก็ยังไม่ได้รับความนิยมเท่าส่วน หน่ึงก็คงเพราะทําเลที่ต้ังยังไม่ดีเหมือนต้นตํารับ ที่ตอนน้ีขนาดเพิ่มซุ้มโลหะทรงแปลกตา รวมท้ังเพิ่ม ระเบยี งทน่ี ่ังใหล้ ูกคา้ ก็ยงั แนน่ เอยี ดแทบตลอดเวลา แวะเวียนเข้าไปไหว้พระธาตุแม่เย็น ซ่ึงเป็นจุดชมวิวเมืองปาย ย่ิงเห็นความเปล่ียนแปลงได้ ชัดเจน องค์พระธาตุที่คร่ําคร่าสีทองอร่าม พ้ืนท่ีเคยเป็นดินเทปูนตอนนี้ปูกระเบื้องอย่างดี ศาลาชมวิว ท่ีเคยมงุ สังกะสีผุ ๆ กเ็ ปล่ียนเป็นกระเบ้ืองลอนใหมเ่ อ่ยี ม ตามถนนหนทางยังเห็นมีป้ายประชาสัมพันธ์วัดอีกหลายวัดของปาย ที่เปิดตัวออกมาใหม่ ลองตามไปดูก็ประทับใจครับ ไม่ไกลจากวัดพระธาตุแม่เย็นมีวัดทุ่งโป่ง ประดิษฐานพระเจ้าพาราละ แข่งเมืองปาย งดงามอลังการละม้ายองค์ท่ีวัดหัวเวียง ในแม่ฮ่องสอน เหมือนกัน อีกวัดอยู่เลยเข้าไป ทางบ้านเวียงเหนือ คือวัดศรีดอนไชย วัดน้ีเขาเป็นวัดแรกของอําเภอปายเสียด้วย มาตั้งหาบท่ีไม่รู้ข้ามผ่าน ไปได้ยังไงสิครับ แต่ส่วนหน่ึงคงเป็นเพราะวัดอยู่ค่อนข้างลึกลับลดเล้ียวเข้าในซอย ภายในวัดนอกจาก พระธาตุแบบพืน้ เมืองมีวิหารล้านนาใหมป่ ระดษิ ฐาน “พระสิงห์ปาย” หรือพระพุทธสิหิงค์งดงามอร่าม ตามน่าแวะเวียนมาชมครับ ส่วนของวัดวาอารามในตัวเมืองปาย ไม่ว่าจะเป็นวัดหลวง วัดป่าขาม และวัดกลาง พัฒนาไป จากแต่เดิมเยอะครับ จากที่เคยมีสภาพวัดสงบเงียบสมถะแบบวัดในชนบท ปัจจุบันแต่ละวัดปรับปรุง ซ่อมแซมทาสีใหม่ไฉไลกว่าเก่า ทว่า ยังคงเสน่ห์ของความเป็นพื้นบ้าน กระนั้นยังเห็นบางวัดเปิดเป็น ลานจอดรถเกบ็ คา่ บรกิ ารเสียด้วย เรียกวา่ เปิดบรกิ ารท่องเทีย่ วเต็มพิกดั โดยเฉพาะในยามค่ําคืน ถนนรังสิยานนท์เชื่อมต่อกับถนนชัยสงคราม ถนนสองสายหลัก ใจกลางเมืองปายแปรสภาพเป็นแหล่งท่องเที่ยวถนนคนเดินเมืองปาย อันเป็นเอกลักษณ์ของเมือง ชนิดท่ีเรียกว่าไม่มาเดินเที่ยวถือว่ามาไม่ถึงเมืองปาย ขนาดน้ันเลยทีเดียว สองฟากฝ่ังถนนสว่างไสว ด้วยแสงไฟ เรียงรายไปด้วยร้านค้าขายของที่ระลึก ร้านอาหาร เคร่ืองด่ืม หรือแม้กระทั้งผับบาร์ แตง่ เตมิ สีสันยามราตรีใหก้ บั เมอื งปาย
การอา่ นเพ่ือการเรียนรู้ตลอดชีวติ | ๕๐ เท่าท่ีเดินดู ข้าวของที่มาขายก็เปล่ียนแปลงไปมากครับ จําได้ว่าสมัยแรกถนนในปายกลางคืน จะเงยี บ ๆ มแี ตช่ าวบา้ น ชาวไทยภเู ขาเอาของหัตถกรรมพ้ืนเมืองมาวางขายแบบแผงลอยแบกะดินอยู่ ตามเสาไฟ แต่ตอนนี้มีร้านรวงเรียงรายแน่นขนัดสองฟากถนน ทั้งที่เป็นแผงลอย รถคลาสสิกดัดแปลง เป็นร้าน วางกันเต็มสูบ ติดไฟส่องประดับประดาดึงดูดใจด้วยไอเดียกันเต็มท่ี แม้แต่ข้าวของส่วนใหญ่ ท่ีมาวางขาย ก็เป็นของมีดีไซน์ ดูเป็นของท่ีระลึกจริง ๆ ทั้งเสื้อผ่า เคร่ืองประดับ ของกระจุกกระจิก นา่ ชื้อไปทั้งนั้น ทําเป็นเล่นไปนะครับ ผมเดินเตร็ดเตร่มา หมดเงินเป็นพันและไม่รู้ตัวทีเดียว พวกที่พัก เองก็มากข้ึนตามจํานวนคนท่ีมาเที่ยว ท้ังยังมีหลากหลายระดับ ตั้งแต่เกสต์เฮาส์ราคาถูกปลูกง่าย ๆ ที่อยู่ตามซอกซอยเล็ก ๆ หาได้ไม่ยากไปจนถึงรีสอร์ทเก๋ไก๋สไตล์บูติก และในวันนี้แม่แต่รีสอร์ทระดับ ห้าดาวก็มีให้เลือกแล้วสําหรับนักเดินทางกระเป๋าหนักที่อยากจะมาสัมผัสกับบรรยากาศของเมืองปาย ดูบ้าง “ปายยังขาดท่ีพักในส่วนตลาดไฮแอนด์ เราก็พยายามเข้ามาทําในส่วนน้ี โดยยึดหลักการให้ กลมกลืนกับสภาพแวดล้อมมากท่ีสุด ไม่ให้เกิดความแปลกแยก ไม่ขัดกับธรรมชาติ ไม่ขัดกับท้องถิ่น มอนทิสน่ีก็เป็นภาษาลาติน หมายถึง ภูเขา ปายนี่มันล้อมรอบด้วยภูเขา เราก็ไม่สร้างอาคารสูงข้ึนมา พยายามสร้างในแนวราบ ไม่ให้รบกวนทัศนียภาพ” คุณพิสิษฐ์ ตระการศิริ เจ้าของมอนทิส รีสอร์ท บอกกับผมถึงแนวทางในการสร้างสรรค์รีสอร์ท ซึ่งก็ถือเป็นอีกก้าวหน่ึงในความเปล่ียนแปลงของ เมอื งปาย จากสารพดั ความเปล่ยี นแปลงทัง้ หลายที่เกดิ ข้ึน หลายคนคาดการณ์วันพรุ่งน้ีของเมืองปายไป ต่าง ๆ นานา ท่ีมองในแง่ร้ายก็ว่าปายจะหมดสภาพ เสียบรรยากาศ ในขณะที่คนมองในแง่ดีก็ว่าปาย จะพัฒนากา้ วหนา้ เปน็ เมืองท่องเทีย่ วในระดับนานาชาตติ อ่ ไป ผมเองก็ไม่ใช่หมอดูครับ ก็เลยไม่สามารถท่ีจะฟันธงหรือคอนเฟิร์มว่าปายจะเป็นไปในแนว ไหน ที่แน่ ๆ ก็คือไม่ว่าจะยังไง ปายยังคงต้องเปลี่ยนแปลงไปอีกตามกาลเวลาและผมเองก็ยังคง จะต้องกลบั มาเยือนปายอกี คร้งั อยา่ งแนน่ อน มาดูความเปล่ียนแปลงไงล่ะครับ ก็อย่างที่บอกน่ันแหละว่า เหมือนมาเจอเพื่อนเก่า สนุกดี ออกจะตาย (ภาคภมู ิ นอ้ ยวัฒน์ “ปายในความเปล่ียนแปลง” อนุสาร อ.ส.ท. ปที ี่ ๕๑ ฉบบั ที่ ๖ มกราคม ๒๕๕๔)
การอา่ นเพ่ือการเรยี นรตู้ ลอดชีวิต | ๕๑ ตวั อยา่ งการสรปุ ความ เรอื่ ง “ปายในความเปล่ียนแปลง” เมืองปาย จังหวัดแม่ฮ่องสอน เม่ือสิบปีก่อน ยังเป็นเมืองเล็ก ๆ สภาพพ้ืนที่ยังเป็นธรรมชาติ สงบเงียบ อาณาเขตไม่กว้างใหญ่ผู้คนก็น้อย ไม่มีเครื่องอํานวยความสะดวกมากมายเหมือนทุกวันน้ี นักท่องเที่ยวชาวไทยยงั นอ้ ย มีแหล่งท่องเทยี่ วที่สําคญั อันหลากหลาย เช่น ท้ังนํ้าตก วัดวาอาราม บ่อน้ําพุ รอ้ น ชมุ ชนจีนฮ่อ เป็นตน้ ปัจจุบัน ช่ือเสียงของปาย มีชื่อเสียงอยู่ในระดับท็อปเท็นของเมืองไทย ดังนั้น ความเจริญ ความสะดวกสบายเข้ามาอย่างมากมาย เช่น ร้านขายสินค้าท่ีหลากหลายชนิด ท่ีพัก โรงแรม ร้านอาหาร สภาพการท่องเทย่ี วมีความแออัด นักท่องเที่ยวเพิ่มมากข้ึน ทั้งคนไทยและต่างชาติสถานที่ต่าง ๆ ท่ีสําคัญ และเป็นแหล่งท่องเที่ยว ได้รับการพัฒนาให้สวยงามและสะดวกมากขึ้น โดยเฉพาะยามคํ่าคืน มีแหล่ง ท่องเท่ียวถนนคนเดิน ร้านรวงเรียงรายแน่นขนัดสองฟาก ที่พักก็เพิ่มข้ึนเป็นเงาตามตัว จากสารพัดความ เปลยี่ นแปลงท่ีเกิดขนึ้ น้ีมที ั้งฝา่ ยเห็นดว้ ยและไม่เหน็ ดว้ ย ท้ายสดุ ผูเ้ ขยี นสรปุ วา่ “สนุกดอี อกจะตาย” ลกั ษณะเดน่ ของสารคดี “ปายในความเปลีย่ นแปลง” ลักษณะเดน่ ของสารคดี เรื่องปายในความเปล่ยี นแปลง คอื ผูเ้ ขียนได้ช้ีให้เห็นความเปลี่ยนแปลงของ ปายแหล่งท่องเท่ียวที่สําคัญของจังหวัดแม่ฮ่องสอน ระหว่างอดีตและปัจจุบันได้อย่างเด่นชัดมาก ทําให้ ผู้อ่านมีความรู้สึกเห็นภาพพจน์ สามารถตัดสินใจได้ว่า ข้อดี ข้อเสียถึงความเปลี่ยนแปลงคืออะไร อาจหา คําตอบไปปรับปรงุ พฒั นาแหลง่ ทอ่ งเทีย่ วแหง่ น้ใี หค้ งอยกู่ ับธรรมชาติอยา่ งยง่ั ยนื และมเี อกลักษณข์ องตัวเอง ตวั อยา่ งท่ผี ้เู ขยี นเปรยี บเทียบอดตี กบั ปจั จบุ ันของปาย อดีต ปจั จุบัน ๑. ทิวทัศน์เมืองเลก็ ๆ เปน็ ทอ้ งทุง่ เขยี วขจี ๑. สภาพเปน็ ตึกรามบ้านชอ่ งมากขึ้น ๒. รา้ นคา้ ยงั เปน็ วิถีชวี ติ ตามสภาพชนบททวั่ ไป ๒. มรี ้านอาหาร รา้ นกาแฟ รา้ นขายของต่าง ๆ มากขนึ้ ๓. ประชากรนอ้ ย ๓. ประชากรมากข้นึ ๔. นักท่องเทีย่ วฝรัง่ มาก ๔. นักทอ่ งเทยี่ วไทยมีเพิม่ ขนึ้ อย่างรวดเร็ว ๕. คนไทยสว่ นใหญไ่ ปเที่ยวแม่ฮอ่ งสอนมากกวา่ ๕. คนไปแวะเวยี นมาเท่ียวปายมากขนึ้ ๖. สะพานเหลก็ เคยปล่อยร้าง ๖. สะพานเหลก็ มีการปรบั ปรุงทาสี สวยงาม
การอ่านเพื่อการเรยี นรตู้ ลอดชวี ติ | ๕๒ แนวทางการพิจารณาคุณคา่ ของสารคดี เรอ่ื ง “ปายในความเปลี่ยนแปลง” จากการอ่านสารคดี เรอ่ื งน้ี ขอยกตัวอย่างการพจิ ารณาคณุ ค่าของสารคดี เรอื่ งนี้ ดังนี้ ๑. ความถูกต้อง ความนา่ เช่อื ถือ ของขอ้ มูล ความรู้ ขอ้ เทจ็ จริงทีน่ าํ เสนอ เม่ือผู้เขียนได้อ่านสารคดี เร่ืองปายในความเปลี่ยนแปลงแล้ว ปรากฏว่าข้อมูล ความถูกต้อง น่าเชื่อถือได้เพราะผู้เขียนเคยเดินทางไปเมืองปาย เม่ือ ๑๐ ปีเศษ มาแล้วสภาพสังคม เมืองปาย เป็น ดินแดนสงบเงียบ นักท่องเท่ียวก็มีน้อยมาก ส่วนใหญ่จะขับรถยนต์ผ่านไปเที่ยว จังหวัดแม่ฮ่องสอน มากกว่า อีกประการหนึ่งจากการสอบถามผู้ที่เคยเดินทางไปเท่ียว เมื่อสิบปีเศษมาแล้ว กับการ เดินทางครั้งล่าสุด เม่ือต้นเดือนธันวาคม ๒๕๕๓ พบว่า ข้อมูลมีความถูกต้องตรงกันกับผู้เขียนเร่ืองนี้ ประกอบกับการอา่ นหนงั สือการทอ่ งเท่ยี ว ไดข้ ้อมลู สอดคล้องกัน ๒. ความสนุกเพลิดเพลินชวนอ่าน สารคดีเรื่องนี้ดูเหมือนกับว่าเป็นการเสนอเรื่องการ เปลี่ยนแปลงของปายจะหนักไปทางด้านวิชาการมากเกินไป แต่เม่ืออ่านจบแล้วก็ไม่ถึงกับรู้สึกว่า วชิ าการมากทาํ ใหผ้ ูอ้ ่านเห็นภาพความชัดเจนของการเปล่ยี นแปลงของปายอย่างชดั เจนมากขนึ้ เชน่ “ไมว่ า่ จะไปไหน โดยเฉพาะในประเทศไทย ส่วนใหญ่จะรูส้ ึกวา่ เปน็ การเดินทาง เพ่อื ไปพบกับ ความเปล่ียนแปลงซะมากกว่า..” “...มาชว่ งหลายปหี ลังนี่แหละครับ ชอ่ื เสียงของปายฮติ ตดิ ลมบน..” การใช้ภาษาของผู้เขียนอ่านสนุก เพลิดเพลินไปกับสภาพของอําเภอปาย ทําให้ผู้อ่านสนุก และคล้อยตาม ๓. ทัศนะของผู้แต่ง ทัศนะของผู้แต่งในเร่ืองน้ีเป็นการนําเสนอมุมมองการเปลี่ยนแปลงที่ เกิดข้ึนจริงต้ังแต่อดีตจนถึงปัจจุบัน ผู้แต่งพยายามเสนอแนวคิดให้ผู้อ่าน ยอมรับการเปล่ียนแปลง มองโลกในแง่ดี ตามยุคสมัย ของปายในความเปล่ียนแปลงถึงแม้จะมีการเปล่ียนแปลงก็มีสิ่งท่ีพัฒนา ในหลาย ๆ ด้าน เช่น ความสะดวก ป้ายบอกทาง การทาสีกาํ แพง เปน็ ต้น ๔. ข้อคดิ คณุ ประโยชน์ท่ีผอู้ า่ นจะได้รับ เรือ่ งนมี้ ขี ้อคิดใหแ้ กผ่ อู้ ่านไดพ้ ิจารณา เชน่ “กาลเวลาทาํ ให้อะไรตอ่ มอิ ะไรเปลีย่ นแปลงไปไดข้ นาดน้”ี “เมื่อปาย จังหวดั แม่ฮอ่ งสอน กเ็ หมือนกันเพ่อื นเก่าคนหนึง่ ของผม” กล่าวโดยสรุป คุณค่าของสารคดี เร่ืองน้ี ข้อมูลถูกต้อง เช่ือถือได้ ผู้เขียนนําเสนอไว้อย่าง น่าสนใจ มีความสนุกเพลิดเพลินในเนื้อหา โดยผู้แต่งมีทัศนะให้ข้อคิดถึงความเปล่ียนแปลงของปาย ไปสู่สิ่งท่ีดีขึ้นกว่าเดิม ไม่ว่าด้านความสะอาด แหล่งท่องเที่ยว นักท่องเที่ยว เป็นต้น และมีข้อคิดให้ ผอู้ า่ นพิจารณาหลายประเดน็ ในการตัดสนิ ใจไปเที่ยวปายสักครัง้ หน่งึ
คาํ ฃี้แจง การอา่ นเพอื่ การเรยี นร้ตู ลอดชีวติ | ๕๓ แบบฝึกหดั ทบทวนบทที่ ๕ จงเตมิ คาํ และอธิบายให้ได้ใจความทีส่ มบูรณ์ ๑. ประเภทของสารคดี มี ๖ ประเภท คอื ๑.๑……………………………………………………………………………………………………………………………… ๑.๒……………………………………………………………………………………………………………………………… ๑.๓……………………………………………………………………………………………………………………………… ๑.๔……………………………………………………………………………………………………………………………… ๑.๕……………………………………………………………………………………………………………………………… ๑.๖……………………………………………………………………………………………………………………………… ๒. จงยกตวั อยา่ งสารคดี จาํ นวน ๑ เร่อื ง และวิเคราะห์ตามแนวทางทไี่ ด้เรยี นมา ............................................................................................................................................................. ............................................................................................................................................................. ............................................................................................................................................................. ............................................................................................................................................................. ............................................................................................................................................................. ............................................................................................................................................................. ............................................................................................................................................................. ............................................................................................................................................................. ............................................................................................................................................................. ............................................................................................................................................................. ............................................................................................................................................................. ............................................................................................................................................................. ............................................................................................................................................................. ............................................................................................................................................................. ............................................................................................................................................................. ............................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................
การอา่ นเพ่ือการเรียนรู้ตลอดชวี ติ | ๕๔ แบบทดสอบบทที่ ๕ การอ่านสารคดี คําช้แี จง จงเลอื กคําตอบทีถ่ กู ตอ้ งทีส่ ดุ ๑. ขอ้ ใดไมใ่ ชป่ ระเภทของสารคดี ก. บทความ ข. การคา้ ค. วชิ าการ ง. การทอ่ งเทยี่ ว ๒. หนังสอื สารานกุ รม พจนานกุ รม จดั อยูป่ ระเภทใด ก. วิชาการ ข. วิจยั ค. ภาษาศาสตร์ ง. หนังสอื อา้ งอิง ๓. การพิจารณาคณุ คา่ ของสารคดี ผู้พิจารณาคอื ใคร ก. ผ้อู า่ น ข. ผแู้ ตง่ ค. ผู้ขายหนังสอื ง. บรรณารกั ษ์ ๔. จากการอา่ นสารคดี เรอ่ื ง ปายในความเปลีย่ นแปลง ขอ้ ใดเป็นการสรปุ ความทส่ี ัน้ ทส่ี ดุ ก. เมืองปายในอดตี มคี วามแตกตา่ งจากปัจจบุ นั หลาย ๆ ดา้ น ข. ปายเป็นแหลง่ ทอ่ งเท่ยี วที่สาํ คัญในจงั หวดั แม่ฮ่องสอน ค. ปายมแี ม่นํ้าลําคลอง วัดวาอารามครบถว้ น ง. การทอ่ งเทีย่ วเปน็ ส่งิ ท่คี วรอนุรักษ์ไว้ ๕. จากขอ้ ๔ ข้อความใดถูกต้อง ก. ปายในอดตี ยังมพี ืน้ ทเ่ี ลก็ ๆ ข. ปายในปัจจบุ นั มีนักทอ่ งเทีย่ วมากข้ึน ค. ปายในอดีตมนี กั ทอ่ งเที่ยวคนไทยมาก ง. ปายในปจั จบุ นั สภาพความเปน็ อยู่ของคนยงั เหมือนอดีต
การอา่ นเพอ่ื การเรียนรตู้ ลอดชวี ติ | ๕๕ ๖. จากข้อ ๔ จากอดตี สภาพปายเป็นทอ้ งทุ่ง ในปัจจุบันอย่ใู นสภาพใด ก. มีวัดน้าํ ฮเู้ ป็นแหล่งทอ่ งเทย่ี ว ข. สะพานขา้ มแมน่ ้ํามกี ารทาสใี หม่ ค. นกั ท่องเทยี่ วลอ่ งแพแมน่ าํ้ ปาย ง. มีตกึ รามบ้านช่องมากข้นึ ๗. การทผี่ ู้อา่ นพจิ ารณาคุณคา่ เรือ่ ง “ปายในความเปลี่ยนแปลง” และมคี วามน่าเชือ่ ถือเพราะเหตุใด ก. ผูเ้ ขยี นเปน็ นักเขียนอาชีพจงึ นา่ เช่อื ถือ ข. การที่ผูเ้ ขียนมาท่องเทยี่ วปายหลายคร้งั แล้ว ค. มเี พ่ือน ๆ เล่าใหผ้ ู้เขียนฟงั เร่ืองอาํ เภอปาย ง. ดเู อกสารหาความรจู้ ากแหลง่ ท่องเทย่ี ว ๘. จดุ ประสงคผ์ ู้เขียนเรอ่ื งนตี้ ้องการเสนอแนวคิดใหผ้ อู้ ่านเห็นภาพอะไรมากทส่ี ดุ ก. ความเปลี่ยนแปลงเป็นสงิ่ ท่ดี แี ละยอมรบั ได้ ข. ไม่ยอมรบั การเปล่ยี นแปลงเพราะดูวุ่นวาย ค. ชอบบรรยากาศของปายในอดตี มากกว่า ง. ไมช่ อบทง้ั อดีต และปัจจุบนั ของปาย ๙. เรือ่ งนี้ผ้เู ขียนมีความรู้สึกอยา่ งไร ก. ใจเป็นกลาง ข. ให้ผู้อา่ นตดั สนิ ใจ ค. มองโลกในแงด่ ี ง. เฉย ๆ กับความเปล่ยี นแปลง ๑๐. ขอ้ ความใดผู้อา่ นร้สู กึ วา่ ผเู้ ขยี นเปน็ กันเอง ก. หวนไปถึงความทรงจําในวนั วาน ข. ท้องท่งุ นาอันเขียวขจีกวา้ งใหญ่ ค. ความสวยเงยี บเปน็ อกี อย่างหนึง่ ที่สมั ผสั ได้ ง. พระพุทธสิหงิ คง์ ดงาม อร่ามตา นา่ แวะเวียนมาชมครบั
การอ่านเพอื่ การเรยี นร้ตู ลอดชีวิต | ๕๖ บทที่ ๖ การอา่ นบทประพนั ธ/์ กวนี ิพนธ์ ๑. การอ่านบทประพนั ธ์ งานประพันธ์ หมายถึง งานท่ีมนุษย์ได้สร้างสรรค์ข้ึน โดยใช้ภาษาท่ีสละสลวยสร้างเรื่องราว ขึ้นมีทั้งบทร้อยแก้ว ร้อยกรองและงานสร้างสรรค์ที่ไม่ได้เขียนลงไว้เป็นลายลักษณ์อักษร เช่น คํากลอนท่ีใช้เป็นบทร้อยกรอง ที่มีผู้จดจําถ่ายทอดสืบต่อ ๆ กันมา ด้วยเวลา เช่น เพลงกล่อมเด็ก เพลงพ้นื บา้ น เปน็ ต้น องค์ประกอบทส่ี าํ คญั ของงานประพนั ธ์ องคป์ ระกอบทสี่ าํ คญั ของงานประพนั ธ์ คอื เนื้อหา และรูปแบบงานประพันธใ์ ดท่มี เี นอ้ื หา และรปู แบบเหมาะสม มคี วามกลมกลนื กนั อยา่ งมศี ลิ ปะเป็นทน่ี ยิ มของผู้อา่ น งานประพันธ์น้นั จัดได้วา่ เป็นวรรณคดแี ต่ถ้ายงั ไม่ถงึ ข้นั วรรณคดี ก็จดั วา่ เปน็ วรรณกรรม ๑. เนอื้ หาของงานประพันธ์ หมายถึง เร่อื งราวทผี่ ปู้ ระพนั ธ์แตง่ ขึ้นซ่ึงอาจเป็นเรอ่ื งราวทีไ่ ด้รับ จากประสบการณ์ โลกทรรศน์ หรือจนิ ตนาการ รวมท้ัง “สาร” ท่ผี ปู้ ระพนั ธ์ตอ้ งการถ่ายทอดไปยงั ผ้อู า่ นด้วย ๒. รปู แบบงานประพันธ์ หมายถึง ประเภทงานประพนั ธ์ท่ีผปู้ ระพนั ธ์ใช้ถา่ ยทอดเนื้อหาไปสู่ ผูอ้ ่าน รูปแบบงานประพนั ธ์มีท้ังรอ้ ยแกว้ และร้อยกรอง ๓. สารคดี หมายถงึ งานเขียนทเ่ี ป็นเรอ่ื งจริง มุง่ ในการใหค้ วามรู้ แต่ก็ใหค้ วามเพลิดเพลนิ แก่ ผ้อู ่านด้วย เชน่ บนั ทกึ บทความ จดหมายเหตุ เปน็ ตน้ คุณคา่ ของานประพนั ธ/์ กวนี ิพนธ์ แนวทางการพิจารณาคณุ ค่าของงานประพันธแ์ บง่ ออกเป็น ๒ ลกั ษณะ คอื ๑. คณุ คา่ ดา้ นวรรณศลิ ป์ เปน็ การพจิ ารณาเฉพาะส่วนประกอบของงานประพันธ์และ ลักษณะรูปแบบงานประพันธ์ชนิดนน้ั ๆ ตวั อย่างเช่น ถ้าเปน็ ร้อยกรอง ซึง่ ใช้รูปแบบในการประพันธ์ตา่ ง ๆ กนั ตัง้ เกณฑใ์ นการพิจารณาโดย ๑) มีรูปแบบที่เหมาะสมกับเน้ือหา ๒) มีกลวิธกี ารแต่งทน่ี า่ สนใจ ๓) ใช้ถอ้ ยคําไพเราะสละสลวย ๔) ใหค้ วามสะเทอื นอารมณ์
การอ่านเพ่ือการเรียนร้ตู ลอดชวี ติ | ๕๗ ๕) ให้สารทม่ี คี วามคิดสร้างสรรค์ ถา้ เป็นรอ้ ยแก้ว ตัง้ เกณฑใ์ นการพจิ ารณาโดย ๑) มีรูปแบบที่เหมาะสมกบั เนื้อหา ๒) มีวธิ เี สนอเรือ่ งทน่ี า่ สนใจ ชวนตดิ ตาม ๓) ใหค้ วามรู้ถกู ตอ้ ง ๔) สาํ นวนภาษากะทัดรดั สละสลวย สอื่ ความหมาย ได้ชัดเจน ๕) มีสารแสดงความคดิ เหน็ สร้างสรรค์ ถ้าเป็นวรรณกรรมร้อยแกว้ ประเภทบนั เทงิ คดี มรี ปู แบบเป็นเรื่องสนั้ หรอื นวนยิ าย พจิ ารณา โดยตงั้ เกณฑ์ ดังน้ี ๑) เนื้อเร่ืองสาํ คัญ สัมพันธ์กบั โครงเรือ่ งและตวั ละคร ๒) มีกลวิธีประพันธท์ ่แี ปลกใหม่ น่าสนใจ ๓) ในเรอ่ื งมีจุดขัดแยง้ ท่กี อ่ ใหเ้ กดิ ความสะเทือนอารมณ์ ๔) ใชภ้ าษาท่สี ละสลวยในการบรรยายและพรรณนาทําให้ผ้อู า่ นเหน็ ภาพพจน์ ๕) ใช้คําพดู ท่ีเหมาะสมกบั บคุ ลกิ ภาพของตัวละคร ๖) ใชส้ ารทีม่ ีความคดิ สรา้ งสรรคเ์ ก่ียวกบั ชวี ติ และสังคม ๒. คณุ ค่าดา้ นสงั คม ในวรรณคดีของชาติทเี่ จรญิ แลว้ นกั ประพันธจ์ ะสะท้อนใหเ้ ห็นชวี ติ ความเป็นอยู่ คา่ นิยม จริยธรรมของคนในสงั คมออกมาในวรรณคดใี หผ้ อู้ า่ นได้เห็นภาพอย่างชัดเจน การพจิ ารณาคุณค่าดา้ นสงั คม อาจวางเกณฑ์ไดด้ งั น้ี ๑) มีเนอื้ หาสาระเก่ียวกับวฒั นธรรม หรอื จริยธรรมของสังคม ๒) ชว่ ยจรรโลงหรอื พัฒนาสังคม ๓) ชว่ ยอนุรกั ษ์สิ่งทมี่ คี ุณคา่ ของชาตใิ นบ้านเมือง ๔) ช่วยสนบั สนุนคุณค่านยิ มอนั ดีงาม ตวั อย่างบทประพนั ธ์ร้อยกรองที่มคี ณุ คา่ ดา้ นวรรณศลิ ปท์ ่ีมีการเลน่ คาํ สายหยุดสายกลิ่นสน้ิ หอมสลาย สายเสนห่ ามาหาย หา่ งรา้ ง สายแล้วชั่ววนั ตาย เป็นถ่าน หยดุ อย่คู อยค่สู ร้าง ชา่ งอา้ งวา้ งแสน (องั คาร กลั ยาณพงศ)์
การอ่านเพ่ือการเรยี นรูต้ ลอดชวี ติ | ๕๘ ตวั อยา่ งคณุ ค่าวรรณศิลป์การใช้ภาษาประณีตงดงาม โคลงบทน้ีกวีเล่นคําตามขนบโดยนําชื่อดอกไม้ สายหยุดมากล่าวถึงเพื่อโยงความหมายไปสู่ ความรักในคําว่า สานเสน่หาและเวลา ในวรรคท่ีว่า สายแล้วช่ัววันตาย นอกจากน้ีกวียังเล่นคําว่า หยุด ในความหมายที่ว่าดอกสายหยุดหมดกลิ่นในยามสาย ส่วนตัวของเขาต้องหยุดเพื่อรอคอยหญิง ทจ่ี ะมาเปน็ คู่ครอง เปน็ การรอคอยที่อ้างวา้ งเหลอื เกนิ การใช้ภาษาประณีตงดงาม จากตัวอย่าง เร่ืองสมบัติอมรินทร์คํากลอนซ่ึงพรรณาความวิจิตร อลังการของเจดีย์พระจุฬามณีของสวรรค์ช้ันดาวดึงส์วิมานปราสาทและทิพยสมบัติของพระอินทร์ ดงั ตวั อยา่ งตอ่ ไปน้ี หนึ่งเจดยี พ์ ระจฬุ ามณสี ถิต อันไพจิตรด้วยฤทธส์ิ เุ รนทรถ์ วาย สงู รอ้ ยโยชนโ์ ชติชว่ งประกายพราย ย่ิงแสงสายอสนุ ีในอัมพร เชญิ เขย้ี วขวาเบ้อื งบนพระทนต์ธาตุ ทรงวลิ าสไปดว้ ยสปี ระภัสสร แทนสมเด็จพระสรรเพชญ์ชเิ นนทร สถาวรไวใ้ นหอ้ งพระเจดยี ์ ประดษิ ฐบ์ นพระมหาจฬุ ารตั น์ เปน็ ทแ่ี สนโสมนสั แห่งโกสยี ์ กับสุราสุรเทพนารี ดั่งจะชีศ้ วิ โมกข์ใหเ้ ทวัญ ประดับด้วยราชวัตฉิ ัตรแก้ว พรายแพรว้ ลายทรงบรรจงสรรค์ ระบายหอ้ ยพลอยนลิ สวุ รรณพรรณ เจ็ดช้ันเรียวรดั สนั ทดั งาม ดงั่ ฉัตรเศวตพรหมเมศร์ครรไลหงส์ เมอื่ ก้นั ทรงพทุ ธาภิเษกสนาม ยง่ิ ดวงจันทรพ์ ันแสงสมยั ยาม อรา่ มทองแกมแกว้ อลงกรณ์ คร้ังถว้ นถงึ วันครบอุโบสถ กาํ หนดพร้อมด้วยสรุ าสรุ างคส์ มร บูชาเครือ่ งเสาวรสสุคนธร ขา้ วตอกแก้วแกมซอ้ นสมุ ามาลย์ บา้ งเรงิ รืน่ ชน่ื ชมประนมหตั ถ์ กระทําทักษิณาวฎั บรรณสาน ประนอมจบเคารพไตรทวาร แล้วลลี าศยงั สถานพิมานจันทรฯ์ (สมบตั ิอมรนิ ทร์คาํ กลอน ของเจ้าพระยาพระคลัง (หน)
การอ่านเพ่อื การเรียนรูต้ ลอดชวี ิต | ๕๙ ตวั อย่างบทประพนั ธท์ ี่มคี ณุ ค่าด้านสงั คม ๑. สะทอ้ นการเรียนรู้หนังสอื นํามาซึง่ ความเจริญในชีวติ ดังเร่อื งประถม ก กา ดังความวา่ หนงั สือเปน็ ตน้ เกิดมาเปน็ คน ถ้าแมน้ ไมร่ ู้ วิชาหนาเจ้า เพื่อนฝงู เยาะเยา้ อดสอู ายเขา วา่ เงา่ ว่าโง่ ไม่รู้วชิ า ลางคนเกดิ มา ไปเป็นข้าเขา เคอะอย่จู นโต บ้างเป็นคนโซ เพราะเง่าเพราะโง่ เที่ยวขอกม็ ี ประเสริฐนกั หนา ถา้ รู้วิชา จะไปแห่งใด ชหู นา้ ราศี ยากไรไ้ ม่มี มคี นปรานี สวัสดีมงคล (ประถม ก กา ฉบบั หอสมุดแห่งชาต)ิ ๒. สะท้อนการพูดดี เป็นประโยชน์ต่อตนเองเป็นอย่างมากและการพูดช่ัวเปรียบเหมือนดื่ม บอระเพ็ด ดงั ความว่า สกั วาหวานอืน่ มหี มน่ื แสน ไมเ่ หมอื นแม้นพจมานท่ีหวานหอม กลน่ิ ประเทยี บเปรยี บดวงพวงพะยอม อาจจะน้อมจติ โน้มดว้ ยโลมลม แม้นล้อลามหยามหยาบไมป่ ลาบปลื้ม ดงั ดูดดม่ื บอระเพ็ดต้องเขด็ ขม ผ้ดู ไี พรไ่ มป่ ระกอบชอบอารมณ์ ใครฟงั ลมเมนิ หนา้ ระอาเอย (พระราชนิพนธข์ องพระเจา้ บรมวงศเ์ ธอ กรมหลวงบดนิ ทรไพศาลโสภณ)
การอา่ นเพอื่ การเรยี นรู้ตลอดชวี ิต | ๖๐ ๓. การใช้ภาษางดงามมากในด้านการบรรยายภาพการเห่เรือจากเร่ืองกาพย์เหเ่ รอื ดังนี้ “ปางเสด็จประเวศด้าว ชลาลัย ทรงรัตนพมิ านชัย ก่ิงแก้ว พรง่ั พร้อมพวกพลไกร แหนแห่ เรอื กระบวนต้นแพร้ว เพริศพร้งิ พายทอง ทรงเรือต้นงามเฉิดฉาย พระเสด็จโดยแดนชล พายออ่ นหยับจบั งามงอน” กง่ิ แกว้ แพร้วพรรณราย เหเ่ ป็นพนื้ หรอื มูลเห่ ทรงเรือต้นงามเฉิดฉาย “พระเสด็จโดยแดนชล หายออ่ นหยบั จับงามงอน ล้วนรูปสตั วแ์ สนยากร ก่งิ แก้วแพรวพรรณราย สาครลน่ั ครนั่ ครื่นฟอง นาวาแนน่ เปน็ ขนดั ลว้ิ ลอยมาพาผนั ผยอง เรือริว้ ทวิ ธงสลอน ร้องโหเ่ หโ่ อเ้ ห่มา เรือครฑุ ยดุ นาคหิ้ว เพียงพิมานผ่านเมฆา พลพายกรายพายทอง หลงั คาแดงแย่งมงั กร สรมขุ มขุ สี่ด้าน แสงแวววบั จบั สาคร มา่ นกรองทองรจนา ดัง่ รอ่ นฟ้ามาแดนดนิ สมรรถชยั ไกรกาบแกว้ งามชดช้อยลอยหลงั สินธ์ุ เรยี บเรยี งเคยี งคจู่ ร ลินลาศเลอ่ื นเตอื นตามชม สวุ รรณหงสท์ รงพหู่ อ้ ย เพยี งหงสท์ รงพรหมินทร์ (กาพย์เห่เรอื พระนิพนธเ์ จา้ ฟ้าธรรมธเิ บศร์)
การอ่านเพื่อการเรียนรตู้ ลอดชีวิต | ๖๑ ๒. การอ่านกวนี พิ นธ์ กวีนิพนธ์ หมายถึง คําประพันธ์ที่สร้างขึ้นด้วยถ้อยคํา เสียง จังหวะและความหมายอย่างมี ศิลปะอันก่อให้เกิดจินตนาการกว้างไกล และอารมณ์ความรู้สึกท่ีลึกซ้ึง นอกจากนี้กวีนิพนธ์ยังเป็นที่ รวมของประสบการณ์อันเป็นส่ือกลางของความเข้าใจระหว่างผู้ประพันธ์กับผู้อ่านด้วยกล่าวคือ ผู้ประพันธ์แทรกประสบการณ์ของตนในกวีนิพนธ์ ส่วนผู้อ่านย่อมใช้ประสบการณ์ของตนในการ ตคี วามกวีนพิ นธ์นนั้ แนวทางการอ่านกวนี พิ นธแ์ บบสรุปตคี วาม การอ่านจับใจความและตีความแก่นเร่ือง ผู้อ่านจะต้องจับใจความเน้ือหาของกวีนิพนธ์ให้ได้ ว่ามีเน้ือหาเรื่องราวอย่าไร จากน้ันจึงควรพิจารณาตีความ เพ่ือหาแก่นเร่ือง การหาแก่นเร่ืองในกวี นิพนธบ์ างเรือ่ งนนั้ อาทําไดย้ าก เพราะผู้ประพันธ์ ไม่ได้บอกตรง ๆ ผู้อ่านต้องเข้าใจความหมายของคํา ที่ผู้ประพันธ์เลือกมาใช้ให้ถ่องแท้ด้วยการตีความ อย่างไรก็ตาม การตีความโดยคํานึงถึงจุดประสงค์ ของผู้ปะพนั ธ์มากเกินไป ว่าผู้ประพันธ์มีเจตนาจะจูงใจให้กวีนิพนธ์ เรื่องนั้นมีความหมายอย่างไร อาจ ทําให้การอ่านกวีนิพนธ์นั้นแคบเกินไป ดังนั้นผู้อ่านจึงควรมุ่งเน้นท่ีตัวบทกวีเป็นหลัก นอกจากนี้ผู้อ่าน ต้องจับนํ้าเสียงท่ีผู้ปะพันธ์สอดแทรกไว้ด้วยว่า ผู้ประพันธ์กล่าวด้วยนํ้าเสียงอย่างไร เช่น สลดใจ ถาก ถาง หรือเหน็ อกเห็นใจ เป็นต้น คุณค่าของกวนี ิพนธ์ กวีนิพนธ์และบทบาทในฐานะเคร่ืองมือส่ือสารในหลวงโอกาส เช่น เป็นบทเพลงเพ่ือความ บันเทิง และปลุกใจ เป็นบทเพลงสดุดี เพื่อสรรเสริญหรือไว้อาลัย เป็นคําขวัญเพื่อนําทางชีวิต เป็นบท สะท้อนและวจิ ารณ์สังคมและเปน็ อ่ืน ๆ อีก หลายประการ ซ่ึงสามารถเห็นได้ในวารสาร นิตยสารและ หนังสือพิมพ์รายวัน ด้วยเหตุท่ีบทกวีนิพนธ์เป็นงานสร้างสรรค์ที่มีคุณภาพด้านความงดงามทางภาษา และความคิด การพิจารณาคุณค่าของบทกวีนิพนธ์ จึงสามารถพิจารณาคุณสมบัติในด้านต่าง ๆ ได้ ดงั นี้ คอื รสความ รสคํา และความสมั พันธ์ระหวา่ งคาํ กับรสความ
การอา่ นเพอื่ การเรียนรู้ตลอดชีวิต | ๖๒ ตวั อยา่ ง การอ่านตีความงานเขยี นประเภทกวนี ิพนธ์ การอา่ นตีความงานเขียนประเภทกวีนิพนธ์ ผู้อ่านควรศึกษาอารมณ์และนํ้าเสียงของผู้เขียนที่ แฝงไว้ โดยสังเกตจากการใช้ถ้อยคํา สํานวนและท่วงทํานองการเขียน จะสามารถค้นหาความหมาย ของงานเขียนน้ัน ๆ และชว่ ยให้ผูอ้ ่านรจู้ กั ตวั ผ้เู ขียนและเข้าใจเร่ืองท่ีอ่านได้ดียิ่งขึ้น ตัวอย่างงานเขียนท่ีกล่าวถึงอารมณ์และนํ้าเสียงของผู้เขียนจะช่วยให้ผู้อ่านตีความและเข้าใจ เรื่องของผ้เู ขยี นได้ดขี ้ึนดว้ ย พิ ม เ ส น แ ส น ร ว ย ร ส เ ร้ า เ ส า ว ค น ธ์ ก ลั้ ว เ ก ลื อ ก เ ก ลื อ แ ก ม ก ล ใ ช่ เ ช้ื อ ทุ ร ช า ติ โ ฉ ด เ ฉ า ฉ ง น ทําเทียบ ปราชญ์นา ดั ง ลิ ง ใ ห้ ห่ ม เ สื้ อ ห่ อ น รู้ ล ว ด ล า ย (โคลงโลกนิต)ิ โคลงบทนี้ กล่าวถึงธรรมชาติของพมิ เสนและเกลอื ว่าแตกต่างกัน พิมเสนนั้นมีค่ากว่าเกลือท่ีมี กล่ินหอมจึงไม่ควรนําไปปะปนกับเกลือซึ่งไร้กลิ่น ผู้แต่งเปรียบเทียบถึงคนโง่ท่ีทําฉลาดเทียบ นักปราชญ์กเ็ หมือนกับเกลอื ซึง่ ไรก้ ลน่ิ หรอื เหมอื นลงิ ใส่เสื้อแตไ่ ม่รจู้ กั ความงดงามของเส้ือ น้ําเสียงของผู้เขียนเม่ือกล่าวถึงคนโง่น้ันดูถูกเหยียดหยาม เพราะนําคนประเภทน้ีไป เปรียบเทียบกับสัตว์เดรัจฉาน คือ ลิง และสารท่ีไม่มีกลิ่น เช่น เกลือแต่เมื่อกล่าวถึงนักปราชญ์กลับ เปรียบเทียบกับพิมเสนที่ทั้งมีคุณค่าและมีกล่ินหอมมีสรรพคุณเป็นตัวยาท่ีเอื้อประโยชน์แก่มนุษย์ ผ้เู ขียนจงึ กล่าวถึงนักปราชญ์ดว้ ยความรู้สึกช่นื ชม
การอ่านเพื่อการเรียนรู้ตลอดชวี ิต | ๖๓ ตัวอย่าง การอ่านตีความงานเขยี นประเภทกวนี ิพนธ์ หยาดฝน เด็ก คนนั้น มองสายฝน ภายนอกหนา้ ตา่ ง หยาดนํ้าฝนจากฟ้า หลั่งมาเปน็ สาย ดู ซิ จะ๊ นํ้าฝน ใส สาว คนน้ัน มองสายฝน ภายในหวั ใจ หยาดนาํ้ ฝนจากใจ หล่งั มาเป็นสาย ดู ซิ จะ๊ น้ําฝน ขุ่น (“ผกาดนิ ” : “หยาดฝน” , อจั กลับ ; ๒๕๑๗) การอ่านกวีนิพนธ์บทน้ีให้ได้ “รส” ผู้อ่านจะต้องรู้จักสร้างมโนภาพ ความหมายของคําว่า “สายฝนภายในหัวใจ” และ “หยาดน้ําฝนจากใจ” ไม่ได้มีความหมายถึงนํ้าฝนตามธรรมชาติ เช่น “สายฝนภายนอกหน้าต่าง” และ “หยาดน้ําค้างจากฟ้า” แต่อาจ หมายถึง นํ้าตา ความทุกข์ ความ เศรา้ หมอง ความขุ่นมัว หรือความไม่บริสุทธ์ิของผู้เขียน ถือเป็นสาเหตุท่ีทําให้ “น้ําฝน” ของหญิงสาว “ขุ่น” ไม่ “ใส” คือบริสุทธ์ิ ไร้เดียงสาเป็นไปตามธรรมชาติ เช่น “เด็ก” นอกจากน้ีผู้อ่านต้องอาศัย มโนภาพสร้างมโนภาพเพราะลักษณะการเขยี นคาํ ประพันธน์ ีส้ มั พนั ธก์ บั รูป
การอ่านเพ่อื การเรียนร้ตู ลอดชวี ติ | ๖๔ ตวั อย่างการอ่านกวนี พิ นธ์ เรอื่ ง รอยตนี กา รอยตีนกา รอยแยกยบั ในยามยิม้ ทาํ ให้หน้าอม่ิ อม่ิ ดูห่อเห่ยี ว เป็นรอยแยกยน่ ย่นจนเกินพอ ปรากฏตอ่ ตดิ กับหางตา เกนิ ความตอ้ งการของเนอ้ื หนงั แต่คอื อนจิ จงั จากสีหนา้ เร้นรอยเท่าไรไมล่ บรา กลับแยกย่นขน้ึ มามากกวา่ เดมิ คดิ แลว้ ก็ชวนใจหาย มันมใิ ชเ่ ครอ่ื งหมายมาแต่เรม่ิ เป็นเสน้ ยอ่ ย่อมาตอ่ เติม และเพม่ิ ปรมิ าณเม่ือนานวนั เรียกรอยตนี กา-ถ้าจะเรยี ก แต่ไมอ่ ยากสาํ เหนยี กใหไ้ หวหวัน่ หากเปน็ กาจริงจรงิ ไม่น่ิงงนั จะฟาดฟันตัดตนี ทแ่ี ตม้ รอย ป่วยการคิดไปใชเ่ กดิ ผล รอยแยกย่นยน่ มันเร่ืองยอ่ ย วนั เวลาผา่ นไปใช่หยุดคอย จึงอย่าพลอยคดิ เปล่าไมเ่ ข้าที เปรยี บรอยตีนกาเหมอื จารกึ จะตอกยํ้าสาํ นึกไดไ้ หมนี่ แต้มรอยแตล่ ะรอยก็หลายปี มากรอยกม็ ากมปี ระสบการณ์ กลายเปน็ สัญลกั ษณ์นักตอ่ สู้ แต้มรอยใหร้ ู้วา่ แกร่งกร้าน แต้มรอยให้รูว้ า่ สู้งาน จงึ เปน็ รอยจารจากเลือดเน้ือ กวา่ รอยตีนกาจะปรากฏ ก็สมบรู ณ์อยูใ่ นบทมริ ้เู บ่ือ แม้รอยยับย่นจะเหลือเฟือ แต่สมบูรณ์เหลือเชอ่ื ทกุ ทุกรอย (แรคํา ประโดยคํา)
การอา่ นเพ่ือการเรยี นรตู้ ลอดชวี ิต | ๖๕ วจิ ารณ์ “รอยตีนกา” ของ แรคํา ประโดยคํา ความแก่ชราย่อมไม่เป็นท่ีปรารถนาชองชนทั้งหลาย เพราะทําให้ร่างกายทรุดโทรม ถอยกําลัง ปราศจากความเปล่งปลั่ง มีแต่ความซูบซีด เห่ียวย่นไม่ชวนมองมาแทนท่ี ฉะนั้นบางคนจึง ด้ินรนและเสาะหาวิธีการที่จะทําให้ร่างกายร่วงโรยช้าลง หรือหาสิ่งท่ีกลบเกล่ือนริ้วรอยแห่งความแก่ ชรานัน้ แต่ผูป้ ระพันธไ์ ดช้ ้ใี หค้ นทั้งหลายเห็นว่าความชราและร้ิวรอยของความชราอันได้แก่ รอยตีนกา บนใบหน้า นั้นไม่ใช่ส่ิงที่น่ารังเกียจ ในทางตรงกันข้ามกลับเป็นร่องรอยแห่งความชัดเจนของชีวิตและ รอ่ งรอยของความเป็นคนท่ีสมบูรณ์ เพราะไดส้ ร้างสรรค์สิง่ ตา่ ง ๆ ที่มีคณุ ค่าแก่ชีวิตและโลก ฉะน้นั จึงกลา่ วได้วา่ กวมี มี มุ มองท่ีชว่ ยกลับความคิดท่หี ดหใู่ หฮ้ ึกเหิมและภาคภูมิใจ เป็นการให้ แง่คิดใหม่ที่มีคุณค่าให้เห็นความเป็นธรรมดาของชีวิต นับเป็นบทกวีนิพนธ์ท่ีควรแก่การศึกษาและ พิจารณาทบทวน เพราะสํานวนภาษาที่คมลึก ในดา้ นของภาษานนั้ กวนี ยิ มในการซ้ําคาํ และเลน่ คาํ เพอ่ื ใหเ้ กดิ ความหนักแน่นและสรา้ งความ ไพเราะในด้านเสียงเป็นระยะ ๆ แม้เป็นคําประพันธ์ประเภทกลอน แต่กวีก็ใช้สัมผัสอักษรอย่างแพรวพราว ทําให้เกิดการใช้ เสียงทไ่ี พเราะ เช่น “รอยแยกยบั ยบั ในยามย้มิ ” ฉะนั้นจึงกล่าวได้ว่ากวีนิพนธ์บทน้ีมีคุณค่าท้ังด้านความคิดและสุนทรียรสทางด้านเสียง เพราะทาํ ใหเ้ กดิ ความระลกึ ร้ทู ีถ่ ูกต้องและความบนั เทงิ ใจควบคกู่ ันไป กล่าวโดยสรุป กวีนิพนธ์สามารถเป็นเคร่ืองเสริมพลังชีวิตของผู้อ่านได้ คือทําให้ความหดหู่ ทอ้ แท้กลายเปน็ ความภาคภูมิใจและทรนง ความสน้ิ หวังกลายเปน็ ความหวงั ได้
การอา่ นเพือ่ การเรียนรตู้ ลอดชีวิต | ๖๖ ตัวอย่างบทกวีท่ีมกี ารใช้เสียงธรรมชาติ บ ท พ ร ม ใ บ ไ ผ่ ไผซ่ อออ้ เอียดเบียดออด ลมลอดไล้เลยี้ วเรยี วไผ่ ออดแอดแอดออดยอดไกว กระเพ่อื มพลวิ้ พลว้ิ ปลวิ ค้าง เธอวางร่างปล่อยลอยลอ่ ง บนแพใบไผใ่ ยยอง แสงทองสอ่ งทาบฉาบมา ลิ่วเฉอื นเลื่อนฉวิ ผวิ น้าํ ระบําใบไผผ่ วา นกนอ้ ยจบุ๊ จิบ๊ ลิบลา ว่ายฟ้าฟ้อนคว้างหา่ งไป หนาว ลมกราวเกลือกกล้งิ ก่งิ ไผ่ มณนี ํา้ ค้างรําไร เหมอื นใจเจ้าหญงิ ย่ิงเลอื น เธอคงหลงคอยคอยหาย เจ้าชายไมเ่ ห็นเป็นเพอื่ น สแี ดงแสงแดดแผดเยือน เหมอื นเหมือนเลอื นลับดบั ลง แอดออดออดแอดแอดออด ไผ่สอดพลอดซอพ้อสง่ นิยายน้ําคา้ งร้างคง เศษผงใบไผ่ไปล่ปลิว (เนาวรัตน์ พงษ์ไพบูลย)์
การอ่านเพื่อการเรียนรตู้ ลอดชีวติ | ๖๗ บนพรมใบไผ่ เป็นบทร้อยกรองที่กวีใช้การเลียนเสียงธรรมชาติได้อย่าไพเราะ สร้างจินตนาการภาพด้านเสียง เช่น เสียงของต้นไผ่เสียดสีกันเม่ือต้องลมดัง “แอดออดออดแอดแอด ออด” เสียงนกร้อง “จุบ๊ จ๊บิ ” นอกจากน้กี วียังเลน่ สัมผัสทง้ั สัมผสั สระและสมั ผัสพยญั ชนะอย่างไพเราะ บางวรรคมีลกั ษณะใกล้เคยี งกับกลอน เชน่ “ลมลอดไล่เลี้ยวเรียวไผ่” แสงทองสอ่ งทางฉาบมา ล่ิวเฉอื นเล่ือนฉิวผวิ น้าํ สีแดงแสงแดดแผดเยอื น” ใชค้ าํ ง่าย ให้อารมณส์ ะเทอื นใจ แ ด่ น้ อ ง ผู้ หิ ว โ ห ย ท่ไี ร้กไ็ รส้ ้นิ ทม่ี ีกเ็ กนิ กิน ท่ใี ดจะพอดี คือคาํ ถามประจํามา มีความตายในดวงตา มที กุ ขใ์ นเรอื นกาย ในสายเลอื ดยงั เหือดหาย นํ้านมแห่งมารดา ทุกชวี ติ มาเรียงราย มารว่ มถนิ่ แผ่นดนิ เดยี ว ทุกคาํ คือชีวติ เปน็ ร้ิวอันซ่โี ครงเรียว คือคนท่เี กิดกาย ที่เดนิ อวดประกวดกนั ยงั พอมีให้แบง่ ปนั ร้วิ นใี้ ชแ่ พรพรรณ มิรู้อันตรายมี ขานใี้ ชข่ าเปรยี ว ดูแหง้ เหยี่ วไม่มีดี ท่ียากไร้แตไ่ รมา ดนิ เอ๋ยโอ้ดินน้ี เพยี งทา่ นโปรยความเมตตา เพียงเพอื่ ใหอ้ มิ่ วัน ต่อชีวา...ตาดําดาํ ซูบซดี และเหลอื งเซยี ว อยา่ งนี้มานานปี แดน่ อ้ งผูห้ ิวโหย น้อยหนงึ่ นะกรุณา (วิสา คัญทัพ) แด่น้องผู้หิวโหย เป็นบทร้อยกรองที่ใช้คําง่าย ๆ พรรณนาความอย่างตรงไปตรงมาให้ รายละเอียดเกี่ยวกับภาพของเด็กน้อยท่ียากจน เช่น “มีทุกข์ในเรือนกาย มีความตายในดวงตา” กวี สามารถสร้างอารมณ์สะเทือนใจได้เป็นอย่างดี โดยเฉพาะบทสุดท้ายท่ีวอนขอความเมตตา “แด่น้องผู้ หิวโหย เพยี งท่านโปรยความเมตตา” เพ่ือต่อชีวติ เด็ก ๆ
คําชแี้ จง การอ่านเพื่อการเรียนรู้ตลอดชีวิต | ๖๘ แบบฝึกหัดทบทวนบทท่ี ๖ จงเตมิ คําและอธิบายคําถามตอ่ ไปน้ีใหไ้ ดใ้ จความสมบูรณ์ ๑. คณุ ค่าของงานประพนั ธ์ประเภทร้อยกรอง คอื ๑.๑ คณุ ค่าดา้ นวรรณศลิ ป์ คอื ……………………………………………………………………………………..... …………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………… ๑.๒ คุณค่าดา้ นสงั คม คือ ……….…………………………………………………………………………………..... …………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………… ๒. จงยกตวั อยา่ งวรรณกรรม มา ๑ เรอื่ ง พรอ้ มวิเคราะห์คณุ ค่าด้านวรรณศิลป์ และด้านสังคม ..................................................................................................................................................... ............................................................................................................................................................. ............................................................................................................................................................. ............................................................................................................................................................. ............................................................................................................................................................. ............................................................................................................................................................. ๓. วรรณกรรมอะไรทีน่ ักศกึ ษาชน่ื ชอบมากท่ีสดุ เพราะเหตุใด ..................................................................................................................................................... ............................................................................................................................................................. ............................................................................................................................................................. ............................................................................................................................................................. ............................................................................................................................................................. ............................................................................................................................................................. ............................................................................................................................................................. ............................................................................................................................................................. ............................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................
การอา่ นเพื่อการเรยี นรู้ตลอดชีวิต | ๖๙ แบบทดสอบบทท่ี ๖ การอา่ นบทประพันธ/์ กวนี พิ นธ์ คาํ ชแี้ จง จงเลอื กคําตอบทีถ่ กู ตอ้ งที่สดุ ๑. องค์ประกอบทีส่ าํ คัญของงานประพันธ์ คืออะไร ก. จุดม่งุ หมายและภาษา ข. แนวคิดและรปู แบบ ค. เน้ือหาและรูปแบบ ง. ภาษาและแนวคดิ ๒. “สายหยดุ สายกล่นิ สิน้ หอมสลาย สายเสนห่ ามาหาย หา่ งรา้ ง สายแล้วชว่ั จนตาย เป็นถา่ น หยุดอยคู่ อยค่สู รา้ ง ชา่ งอ้างว้างแสน” จากบทประพนั ธ์นี้มจี ุดเดน่ ตามขอ้ ใด ก. คดิ ถึงอดตี ข. จินตนาการ ค. มีการเล่นคาํ ง. เอาจรงิ เอาจัง ๓. จากขอ้ ๒ จากโคลงบทนี้ผูแ้ ต่งนําช่อื ของอะไรมาเช่อื มโยงความหมาย ก. ดอกสายหยุด ข. ดอกบัว ค. ดอกแกว้ ง. ถ่านไม้ ๔. จากขอ้ ๒ กวเี ร่อื งน้เี ปรยี บเทียบเร่ืองการรอคอย อยากทราบว่าเป็นการรอคอยสงิ่ ใด ก. รอความหวงั จากเจา้ นาย ข. รอดอกไมใ้ นดวงใจ ค. รอคอยหญงิ ท่จี ะมาเป็นคูค่ รอง ง. รอคอยประชาธปิ ไตยทย่ี งั มาไมถ่ ึง
การอ่านเพื่อการเรยี นรู้ตลอดชีวิต | ๗๐ ๕. จากการอา่ นวรรณคดี เรอ่ื ง สมบัตอิ มรนิ ทร์ คาํ กลอนใหค้ ุณคา่ อะไรบ้าง ก. การบรรยายภเู ขา ปา่ ไม้และธรรมชาติ ข. การพรรณนาความวิจิตรอลงั การของเจดีย์พระจฬุ ามณี ค. การพรรณนาความงดงามธรรมชาตบิ นสวรรค์ ง. การบรรยายการขน้ึ สวรรคข์ องมนุษย์ ๖. จงเติมคาํ ในช่องวา่ งใหไ้ ด้ใจความทส่ี มบรู ณ์ “เกดิ มาเปน็ คน หนงั สือเปน็ ตน้ วชิ าหนาเจ้า ...................... อดสอู ายเขา” ก. มีคนปรานี ข. ถ้าแมน้ ไมร่ ู้ ค. เพ่อื ฝูงเยาะเยา ง. ยากไรไ้ มม่ ี ๗. ข้อใดสะทอ้ นการพดู ดี ก. สักวาหวานอ่ืนมหี มน่ื แสน ข. กลนิ่ ประเทยี บเปรยี บดวงพวงพะยอม ค. ไม่เหมอื นแมน้ พจมานท่หี วานหอม ง. อาจจะนอ้ มจติ โนม้ ด้วยโลมลม ๘. จงเติมคาํ ในชอ่ งว่างใหไ้ ดใ้ จความสมบรู ณ์ “ปางเสดจ็ ประเวศด้าว ชลาลยั ทรงรตั นพมิ านชยั กิ่งแก้ว ................................ แหนแห่ เรอื กระบวนตน้ แพรว้ เพรศิ พร้งิ พายทอง” ก. พร่งั พร้อมพลไกร ข. กิ่งแก้วแพร้วพรรณราย ค. พระเสด็จโดยแดนชล ง. ทรงเรือตน้ งามเฉิดฉาย
การอ่านเพื่อการเรยี นรู้ตลอดชีวิต | ๗๑ ๙. จากการอา่ นกวนี พิ นธ์ “รอยตนี กา” ใหฃ้ อ้ คดิ อะไร ก. ความสําเร็จในชวี ิต ข. ทําให้หดห่เู ป็นความภาคภมู ิใจ ค. การต่อสู่ในชวี ิตในการทํางานหนัก ง. ความรกั ระหว่างชีวิตมนุษย์ด้วยกนั ๑๐. บทกวีใดที่มีการเลียนเสยี งธรรมชาติ ก. บนแพใบไมใ้ ยยอง ข. ระบาํ ใบไผผ่ วา ค. ไผ่ซออ้อเอียดเบียดออด ง. แพใบไลน่ า้ํ ลาํ คลอง
การอา่ นเพอื่ การเรยี นร้ตู ลอดชวี ติ | ๗๒ บทท่ี ๗ การอ่านเพลง เพลงไทย เป็นภูมิปัญญาของคนไทยประเภทหน่ึง ซ่ึงเพลงไทยเป็นองค์ความรู้ ความคิด ความสามารถและทักษะของคนไทยที่เกิดจากการสั่งสมประสบการณ์ที่ผ่านกระบวนการเลือกสรร เรียนรู้ ปรุงแต่งและถ่ายทอดสืบต่อกันมา เพื่อใช้แก้ปัญหาและพัฒนาวิถีชีวิตของคนไทยให้สมดุลกับ สภาพแวดลอ้ มและเหมาะสมกับยุคสมยั นัน้ ๆ ดังนนั้ การคัดสรรเพลงไทยทม่ี อี ทิ ธิพลตอ่ สงั คมไทยใหก้ ารยอมรับและรบั รู้ค่กู ับคนไทยมาโดย ตลอด ในทน่ี จ้ี ะขอยกตัวอยา่ งการอ่านเพลงเป็น ๓ ประเภท เพอ่ื ใหผ้ เู้ รยี นหรอื ผอู้ ่านมองเหน็ ภาพของ การศึกษาและวเิ คราะห์เพลง ดังน้ี ๑. การอ่านเพลงกลอ่ มเด็ก ๒. การอ่านเพลงลูกทุ่งไทย ๓. การวเิ คราะหบ์ ทเพลงสนุ ทราภรณ์ ๑. การอา่ นเพลงกล่อมเดก็ เพลงกลอ่ มเดก็ เปน็ เพลงทใี่ ชเ้ หก่ ลอ่ มใหเ้ ดก็ นอน เพือ่ ชว่ ยใหเ้ ดก็ หลบั ง่ายและหลบั อย่าง เป็นสขุ เพลงกล่อมเดก็ ของไทยมีอย่ทู ุกภาค แตเ่ รยี กชอื่ ต่างกัน ไดแ้ ก่ เพลงกลอ่ มเด็กภาคใต้ เรียกวา่ เพลงชาน้องหรือช้าน้อง เพลงกลอ่ มเด็กภาคเหนือ เรยี กวา่ ออ่ื – ออ่ื – จา – จา เพลงกลอ่ มเดก็ ภาคอีสาน เรียกวา่ เพลงสกิ – จงุ – จา เน้ือร้องเพลงกล่อมเด็กส่วนมากจะมีข้อความส้ัน ๆ โดยผู้ร้องจะร้องเพลงพร้อมกับ ไกวเปลไปมา และจะรอ้ งเร่ือยไปจนเด็กหลับ เพลงกล่อมเด็กจัดเป็นวรรณกรรมมุขปาฐะ ถ่ายทอดกันโดยวาจา และถ่ายทอดกันมา หลายยุคหลายสมัย ใช้ภาษาง่ายแก่การเข้าใจและการจดจํา ทั้งยังเป็นการถ่ายทอดความรัก ความ ห่วงใย ของบิดามารดา ปู่ ย่า ตา ยาย และเป็นการแสดงถึงการเห็นเด็กเป็นทรัพยากรที่มีค่าย่ิง ท้ังยัง เปน็ ศนู ย์กลางความสนใจ ความรกั ความหว่ งใยของทกุ คนในครอบครวั คุณค่า ขอ้ คิด คตเิ ตอื นใจของเพลงกลอ่ มเด็ก เพลงกล่อมเด็กเป็นเพลงที่มีคุณค่า ข้อคิด คติเตือนใจ แง่มุมต่าง ๆ ไปใช้ให้เกิดประโยชน์ ในการดาํ เนินชวี ิตมากมาย ขอยกตวั อย่างเพลงกล่อมเด็ก ดังตอ่ ไปน้ี
การอา่ นเพ่อื การเรียนร้ตู ลอดชีวติ | ๗๓ ๑) เพลงกล่อมเด็กมีคุณค่าในการเสริมสร้างพัฒนาการด้านร่างกาย ในวัฒนธรรมไทยนั้น จะเห็นได้ว่า เด็กทารกจะถูกจัดให้นอนในเปล สําหรับเปลท่ีให้เด็กนอนน้ัน ยังบ่งบอกฐานะของ ครอบครัวอีกด้วย เช่น ครอบครัวท่ีมีฐานะดีจะมีเปลที่ประดิษฐ์โดยใช้วัตถุท่ีมีราคา ที่มีจําหน่ายใน ท้องตลาด แตบ่ างครอบครัวอาจทาํ เองโดยการถักทอ และครอบครัวทั่วไปอาจใช้ผ้าขาวม้า หรือผ้าที่มี ขนาดใหญ่พอห่อหุ้มตัวทารกและมีขนาดยาวพอควร แล้วนํามาผูกไว้ระหว่างเสาบ้าน ๒ ต้น หรืออาจ ผกู ไว้ระหวา่ งตน้ ไม้สองตน้ เปน็ ตน้ ดังเพลงที่วา่ เชญิ นอน เชิญนอนเถดิ เจา้ นอน นอนใหร้ ะงบั หลบั ใหล อยา่ ไดส้ ะดุ้งอกตกใจ ความไข้ของแม่อยา่ รู้มี ให้อยดู่ กี ินดี ความไข้อย่ามมี าเลย ตบมือ เจา้ ต๊ักแตนเอย ตบมือเก่งเกง่ แมจ่ ะซอื้ นมให้กิน ต๊ักแตน ผเี ส้ือ ผีเสื้อ ตบมอื ใหเ้ ก่ง จะจา้ งด้วยนม ตบมอื หลายครงั้ ตบมือเก่งเก่ง เชญิ นอน เสยี เถอะลกู แก้ว นอนจาก็มานอนจา เจ้ากม็ ่อยหลับดี แมบ่ ่ได้เคอื งหมองศรี เจ้าหลา้ หลังแล้ว เมื่อเจ้าตง้ั ไข่ แมเ่ ลย้ี งเจา้ ไว้ ค่อยย่างไปเนอ (กา้ ว,เดนิ ) ถึงพอดี เจ้ายืนไดแ้ ลว้ (เพลงกลอ่ มเด็กล้านนา) การแปลความ จากเนื้อเพลงดังกล่าวจะเห็นได้ว่ามีการสอดแทรกความรักความห่วงใยของมารดาที่ต้องการ ให้ทารก มีสุขภาพสมบูรณ์แข็งแรง ไม่มีโรคภัยไข้เจ็บ และเม่ือเห็นว่ากล้ามเนื้อเร่ิมแข็งแรง สามารถ บังคับกล้ามเน้ือมือได้ ก็จะร้องเพลงให้เด็กเล่นตบมือ ซึ่งเป็นการเสริมสร้างระบบประสาทการ เคล่ือนไหวใหม้ ีประสิทธิภาพ การสรุปความ เพลงกล่อมเด็ก มีการสอดแทรกความรักของมารดาท่ีมีต่อทารก เพ่ือให้มีสุขภาพดี มีพัฒนาการทางด้านรา่ งกายใหแ้ ขง็ แรง
การอ่านเพ่อื การเรยี นร้ตู ลอดชีวติ | ๗๔ ประโยชนใ์ นการดาํ เนนิ ชวี ติ ทําให้สถาบันครอบครัวมีความรัก เอ้ืออาทรต่อกัน จะทําให้มีแต่ความสงบสุข และความ ม่ันคงในสังคม ๒) เพลงกล่อมเด็กกับการเสริมสร้างพัฒนาการด้านอารมณ์ทารกคือ การให้ความรัก ความอบอุ่น ความม่ันคงและความปลอดภัยทั้งกายและใจ ดังนั้น การพูดคุยหรือร้องเพลงให้เด็กฟัง ย่อมก่อให้เกิดความรัก ความผูกพันกันและเติบโตด้วยอารมณ์ท่ีแจ่มใส เต็มไปด้วยความรัก ความห่วงใย ความหวงแหนและมีท่วงทํานองท่ีเยือกเย็น นุ่มนวล ผู้ที่เคยได้ยินเสียงเพลงกล่อมเด็ก คงยังสามารถจดจําสาํ เนียงทีไ่ พเราะออ่ นหวานน้นั ได้ ดังเชน่ เพลงตอ่ ไปนี้ เจ้าเนื้อละมุน เจา้ เน้ือละมนุ เอย เน้อื เจา้ อนุ่ เหมอื นสําลี แม่มใิ ห้ผใู้ ดตอ้ ง เนื้อเจ้าจะหมองศรี คนดีของแม่นีค้ นเดียวเอย นอนไปเถิด นอนไปเถิดแมจ่ ะกล่อม นวลละมอ่ มแม่จะไกว ทองคาํ แมอ่ ย่าร่าํ รอ้ งไห้ สายสดุ ใจเจ้าแม่เอย จากเนือ้ เพลงดงั กล่าว จะเหน็ ไดว้ ่า มกี ารสอดแทรกความรกั ความอบอุน่ แก่ทารก เพ่ือให้เด็ก มคี วามรู้สกึ อบอนุ่ อนั จะนําไปสู่การพฒั นาด้านอารมณ์ของเดก็ ให้มีความสขุ เจรญิ เติบโตตามวัย ๓) เพลงกล่อมเดก็ กับการเสริมสรา้ งพัฒนาการดา้ นสงั คม เพลงกล่อมเด็กของทุกภาคจะสะท้อนความเป็นอยู่ในชีวิตประจําวันสังคมไทยในอดีต รวมทั้งการถ่ายทอดขนบธรรมเนียมประเพณีและวัฒนธรรมของแต่ละท้องถิ่น ทั้งยังเป็นการอบรม บ่มนิสัยเด็กให้มีลักษณะที่พึงประสงค์ เช่น การเป็นคนดีมีนํ้าใจ ความกตัญญูและสอดแทรกปรัชญา ชวี ติ ไวอ้ กี ด้วย ดงั ตัวอยา่ งเชน่ สอนขนบธรรมเนียมประเพณี โอลูกเอยขวญั ตาพอ่ แม่ เจ้าอยา่ ทอดท้งิ แม่ การคลอดเจ้านัน้ ลาํ บาก วางเจา้ บนพานทอง ถา่ ยทอดความเชือ่ แมซ่ ื้อ กลอ่ มให้เจ้านอนสบาย เชญิ นอนเถิดเจา้ นอน อย่าได้หยิกหยอกหลอกหลอน ชว่ ยพทิ กั ษร์ กั ษาทรามบังอร แมซ่ ้อื ทง้ั หลาย กลอ่ มให้เจา้ นอนเปลเอย ขึน้ น้ําลงท่า อยา่ หยอกหลอกหลอน
การอ่านเพือ่ การเรยี นรตู้ ลอดชวี ติ | ๗๕ ๒. การอา่ นเพลงลูกทงุ่ ไทย เพลงลูกทุ่งไทย ถือเป็นผลผลิตจากสติปัญญาของคนไทย เป็นภูมิปัญญาไทยในสาขา ศิลปกรรมด้านวรรณกรรมและศิลปะการแสดง ท่ีบ่งบอกถึงความรู้ ความคิด ความสามารถของผู้คน ส่วนใหญ่แบบตรงไปตรงมา เข้าใจง่าย ไม่ซับซ้อน ยอกย้อน ซ่อนเงื่อนให้ผู้ฟังต้องตีความให้ปวดหัว ฟงั แลว้ สนุกสนาน สบายใจ คลายเครยี ด และไดคุณธรรมเสริมสรา้ งสติปัญญาแกผ่ ู้ฟังได้เป็นอยา่ งดี ในที่น้ี จะขอยกตัวอย่างเพลงลูกทุ่งที่น่าสนใจ จํานวน ๒ เพลง เป็นกรณีตัวอย่างซึ่ง ๒ เพลงนี้แสดงออกถึงภูมิปัญญาของคนไทยผ่านออกมาทางเสียงเพลง โดยนําเสนอเฉพาะเพลงที่ กรมสง่ เสริมวฒั นธรรมได้เคยรวบรวมพมิ พ์ไว้ในเอกสาร ดังน้ี เพลงสม้ ตาํ “ต่อไปนี้จะเล่าถึงอาหารอร่อย คือส้มตํากินบ่อย รสชาติแซบจัง วิธีการก็ง่าย จะกล่าวได้ ดังนี้ มันเป็นวิธีพิเศษเหลือหลาย ไปซ้ือมะละกอขนาดพอเหมาะเหมาะ สับสับเฉาะเฉาะไม่ต้อง มากมาย ตาํ พริกกับมะเขอื ใหย้ อดเยี่ยมกล่ินอาย มะนาว น้าํ ปลา นํ้าตาลทราย น้าํ ตาลปบี๊ ถา้ มี ปรงุ รสให้เยยี่ มหนอ ใส่มะละกอลงไป อ้ออย่าลืมใส่กุ้งแห้งป่นของดี มะเขือเทศเร็วเข้า ถวั่ ฝักยาวเรว็ รี่ เสร็จสรรพแล้วซี ยกออกจากครวั กินกับข้าวเหนียว เที่ยวแจกให้ทั่ว กล่ินหอมยวน ยั่ว น่าน้ําลายไหล จดตําราจํา ส้มตําลาว เอาตํารามา ใครหมํ่าเกินอัตรา ระวังท้องจะพัง ขอแถม อีกนดิ แล้วจะติดใจใหญ่ ไกย่ ่างดว้ ยเป็นไร อรอ่ ยแนจ่ รงิ เอย” ขอ้ คิดคติเตือนใจเพลงสม้ ตาํ เพลงส้มตําถือเป็นตัวอย่างของภูมิปัญญาไทยในเพลงลูกทุ่งไทยที่สมบูรณ์ท่ีสุด นับว่าเป็น เพลงท่ีแสดงถึงภูมิปัญญาในการปรุงอาหารส้มตํา ตั้งแต่เตรียมวัสดุ เคร่ืองปรุง รสชาติการกิน และข้อ ระวงั ในการกนิ นบั ว่าเป็นเพลงลูกทุ่งท่ีเล่าถึงตําราอาหารท่คี รบเครื่องที่สดุ เพลงมอญซ่อนผ้า “เลน่ มอญซอ่ นผ้า ถือตกุ๊ ตาวนรอบวง ถา้ ใครนัง่ งง ระวังหลงั ให้ดี เอ้า.......ระวังข้างหลงั ใหด้ ”ี คุณค่าของเพลงมอญซ่อนผ้า บรรยายถึงประเพณีการละเล่นพื้นบ้าน มอญซ่อนผ้ากล่าวถึง วิธีการเล่น กติกาการเล่น ความสนุกสนานและปฏิภาณไหวพริบ คุณค่าท่ีได้จากการเล่นมอญซ่อนผ้า อย่างชดั เจน
การอ่านเพอ่ื การเรยี นรู้ตลอดชวี ติ | ๗๖ ๓. การวเิ คราะห์บทเพลงของสุนทราภรณ์ จากการศึกษาวิจัย การใช้ภาษาในบทเพลงของสุนทราภรณ์ ของอุดมลักษณ์ ระพีแสง นิสิตปริญญาโท คณะมนุษย์ศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ ได้ศึกษาเพลงสุนทราภรณ์ระหว่างปี พ.ศ.๒๔๘๒ – ๒๕๒๕ พบว่า เพลงสุนทราภรณ์มีการใช้คําท่ีส่ืออารมณ์ของมนุษย์ทุกด้าน มีการใช้คํา ราชาศัพท์ คําซ้ํา คําซ้อน เพ่ือเน้นย้ําความรู้สึกและความหมายให้ชัดเจนมากยิ่งข้ึน มีการใช้คําภาษาถ่ิน การใช้โวหารภาพพจน์ เปรียบเทียบสิ่งต่าง ๆ มีหลายลักษณะ ส่วนแนวคิดพบว่ามีการแสดงแนวคิด เกี่ยวกบั การสรรเสรญิ พระมหากษตั รยิ ์ คุณธรรม จริยธรรมท่ีพึงกระทําด้านชีวิตความเป็นอยู่ ความรัก ผู้หญิง เป็นบทเพลงที่แสดงแนวคิดสะท้อนสภาพสังคมให้เห็นความเป็นจริงทุกด้าน และเป็นคติ สอนใจหญิง คุณคา่ ขอ้ คิดจากบทเพลงของสนุ ทราภรณ์ ๑) คาํ ท่ีส่ืออารมณ์ สขุ สดช่ืน ยกตัวอยา่ ง เช่น .....ช) เพลินยามเมื่อเราเดนิ กนั ไปสองรักเราเคียงใกล้ เพลนิ ฤทัยสุขสันต์ .....ญ) ฟงั คําที่พ่งึ พร่าํ ราํ พัน นอ้ งคิดไปใจหวัน่ กลวั จะผนั เปลย่ี นไป คําว่า “เพลินฤทัย สุขสันต์” เป็นคําท่ีสื่ออารมณ์ สุขสดช่ืนในความรักในช่วงเวลาท่ี อยูด่ ว้ ยกัน แตเ่ มื่อยามหา่ งกนั ทาํ ใหร้ สู้ ึกกลวั ว่าชายหน่มุ จะเปน็ อ่ืน ๒) คําทสี่ อ่ อารมณ์ ปลุกเรา้ ใจและความรู้สึกทีจ่ ริงใจ ยกตวั อย่างเช่น “.....เราน้อมเกล้าเกศี ถวายภูมีมอบศิระกราน เทิดบังคมภูบาล เอาไว้เหนือฟ้า โพธิ์ทองของชาวไทย อวยพรชยั ให้มหาราชา ชว่ ยกันเปล่งวาจา ขอพรพระเจรญิ (ไชโย).....” คําว่า “เทิดบังคมภูบาล” เป็นคําท่ีส่ืออารมณ์ ปลุกเร้าจิตใจให้ประชาชนชาวไทย แสดงความจงรักภักดีต่อองค์พระมหากษัตริย์ด้วยการเทิดทูนไว้เหนือหัวเหนือฟ้าและใช้คําว่า ช่วยกัน เปลง่ วาจาเป็นคําทสี่ ือ่ อารามณ์ ปลกุ เรา้ จติ ใจใหร้ ่วมกนั ถวายพระพร ๓) คําท่ใี ชส้ ่อื อารมณ์ ชื่นชม ยกย่อง สรรเสรญิ ยกตัวอยา่ ง เชน่ “.....ราชาเป็นทง้ั มง่ิ และขวัญ ข้าอภิวันท์บงั คมหวังชมศกั ดิ์ศรี พระคนื มาเหลา่ ปวงประชาภกั ดี พระป่ินโมลอี ยูเ่ ป็นศรีไผท.....” (เพลงราชาเป็นสงา่ แห่งแคว้น) คําวา่ “มงิ่ และขวัญ” เปน็ คําทส่ี ือ่ อารมณ์ยกย่อง สรรเสริญพระมหากษัตริย์ ว่าเป็นบุคคล ท่ีเคารพรักและใช้คําว่า “อภิวันท์บังคม” เน้นให้เห็นถึงการยกย่องพระบาทสมเด็จพระจ้าอยู่หัว ต้องการให้เห็นว่าพระองค์เป็นบุคคลที่มีความสําคัญต่อชีวิตของพสกนิกรชาวไทย เม่ือเสด็จนิวัติ พระนครก็ทําใหพ้ สกนิกรมคี วามสุขและจงรักภกั ดี
การอา่ นเพื่อการเรียนร้ตู ลอดชวี ติ | ๗๗ ๔) แนวคดิ ในการดาํ รงชวี ติ “.....เกดิ มามีแต่ทุยเป็นเพ่ือนกนั คา่ํ เช้าทํางานไม่ทิง้ กนั ไม่หายไป ข้ามีข้าวและนา้ํ นาํ มาให้ อกี ทง้ั ฟางกองใหญ่ อย่าช้าใย อยา่ ช้าใย เจ้าทุยเพอ่ื นจา๋ ออกไปไถนา คงเหนือ่ ยอ่อน เหนอ่ื ยนกั พักผ่อนก่อน หิวจนอ่อนใจ ขา้ จะอาบนาํ้ ปอ้ นฟาง ทั้งคํากําใหญ่ ใหญ่ จะสุมไฟกองใหม่ ใหม่ ไว้กนั ยุงมา” (เพลงขวัญใจเจา้ ทุย) จากเพลงขวญั ใจเจา้ ทยุ ข้างต้น แสดงถงึ แนวคดิ การดํารงชวี ิตของมนุษยท์ ี่ประกอบอาชีพ การทํานา บรรยายให้เห็นการใช้ชีวิตของชาวนาคนหนึ่ง ที่มีควายเป็นเพ่ือน อยู่ด้วยกันตั้งแต่เช้า จรดเย็น โดยชาวนาก็จะเป็นผู้หาฟางมาให้เจ้าทุย เจ้าทุยก็คอยเป็นเพ่ือนชาวนา ช่วยกันทํานา กลางคนื เมอื่ ถงึ เวลานอนก็จะมาสมุ ไฟท่ีกองฟาง คุณคา่ ของเพลงขวญั ใจเจ้าทุย ๑. สะท้อนสภาพสงั คมชาวนา ด้วยการไถนา และวถิ ชี วี ติ ความเป็นอยู่ ๒. ความมเี มตตาอารตี อ่ กนั ทําให้สงั คมชนบทดูสวยและเป็นกนั เอง ๓. การใช้ภาษาง่าย สรุปความ แต่ได้ใจความและอารมณ์เป็นอย่างดี ทําให้ผู้ฟังแสนจะ ประทับใจเพลงขวัญใจเจ้าทยุ
คาํ ฃ้แี จง การอา่ นเพ่ือการเรยี นรู้ตลอดชีวิต | ๗๘ แบบฝกึ หัดทบทวนบทที่ ๗ จงเตมิ คาํ และอธิบายคําถามต่อไปน้ใี หไ้ ดใ้ จความสมบรู ณ์ ๑. เพลงกล่อมเด็ก คอื อะไร มคี วามสาํ คัญอย่างไร ..................................................................................................................................................... ............................................................................................................................................................. ............................................................................................................................................................. ............................................................................................................................................................. ๒. จงยกตัวอย่างเพลงลกู ทุง่ ไทย จาํ นวน ๑ เพลง ..................................................................................................................................................... ............................................................................................................................................................. ............................................................................................................................................................. ............................................................................................................................................................. ๓. จงวเิ คราะหบ์ ทเพลงสนุ ทราภรณ์ จาํ นวน ๑ เพลง และสรปุ ใจความสําคัญ ..................................................................................................................................................... ............................................................................................................................................................. ............................................................................................................................................................. ............................................................................................................................................................. ............................................................................................................................................................. ............................................................................................................................................................. ............................................................................................................................................................. ............................................................................................................................................................. ............................................................................................................................................................. ............................................................................................................................................................. ............................................................................................................................................................ ............................................................................................................................................................ ............................................................................................................................................................
การอา่ นเพ่อื การเรยี นรู้ตลอดชวี ติ | ๗๙ แบบทดสอบบทที่ ๗ การอา่ นเพลง คําช้ีแจง จงเลือกขอ้ ท่ีถูกตอ้ งที่สดุ ๑. เพลงกล่อมเด็กภาคใต้เรยี กวา่ อะไร ก. เพลงชานอ้ ง ข. เพลงออ่ื อือ่ จา จา ค. เพลงสิกจงุ จา ง. เพลงร้องเรือ ๒. เพลงกล่อมเด็กมปี ระโยชน์ตามขอ้ ใด ก. สง่ เสรมิ การศึกษาต่อ ข. สรา้ งเสรมิ การมงี านทาํ ค. ส่งเสรมิ ดา้ นอาชพี ง. เสรมิ สรา้ งพัฒนาการด้านอารมณ์ ๓. เพลงกล่อมเดก็ “ตบมือ” ส่งเสริมให้เดก็ ดา้ นใด ก. พฒั นาด้านชุมชน ข. พฒั นาด้านร่างกาย ค. พฒั นาดา้ นจติ ใจ ง. พัฒนาด้านสงั คม ๔. “โอลกู เอยขวัญตาพ่อแม่ เจ้าอยา่ ทอดท้ิงแม่ การคลอดเจ้านั้นลําบาก วางเจ้าบนพานทอง” จากบทเพลงกล่อมเด็กบทนี้สอนเกยี่ วกับข้อใด ก. การค้าขาย ข. ความนอ้ ยเน้ือตํา่ ใจของแม่ ค. ค่านยิ มการเลีย้ งดูลูก ง. ขนบธรรมเนยี มประเพณี ๕. ขอ้ ใดเป็นลกั ษณะเฉพาะของเพลงลูกท่งุ ก. เปน็ คาํ ตรงไปตรงมา เขา้ ใจงา่ ย ข. เป็นภาษาเชงิ สญั ลกั ษณ์ ค. ใช้ภาษาเป็นภาษาพูด ง. เลียนเสยี งธรรมชาติ
การอา่ นเพ่อื การเรียนร้ตู ลอดชวี ิต | ๘๐ ๖. คุณคา่ ของเพลงส้มตํา คือข้อใด ก. วธิ ีขายสม้ ตาํ ข. ภูมิปญั ญาการปรงุ อาหาร ค. อาหารทอี่ ร่อยคอื ส้มตาํ ง. การเอือ้ เฟ้อื เผ่อื แผ่ในการกนิ ๗. ข้อใดไม่ใชค่ ุณค่าของเพลงมอญซ่อนผา้ ก. วธิ ีการเล่น ข. กรรมการตัดสิน ค. ความสนกุ สนาน ง. ปฏภิ านไหวพรบิ ๘. คาํ ใดส่ืออารมณส์ ขุ สดช่ืนในความรกั ก. เพลินยามเมอื่ เราเดินกันไป ข. ฟงั คาํ ทพ่ี ึงพร่าํ ราํ พนั ค. น้องคิดไปใจหว่นั กลวั จะฝัน ง. เพลินฤทยั สขุ สันต์ ๙. การใช้สอ่ื อารมณ์ ชืน่ ชม ยกยอ่ ง สรรเสรญิ คอื ขอ้ ใด ก. ราชาเป็นท้ังมิ่งและขวญั ข. ข้ามขี ้าวและนา้ํ นาํ มาให้ ค. อกั ท้ังฟางกองใหญ่ อย่าช้าใย ง. พระคืนมาเหล่าปวงประชา ๑๐. คุณคา่ ของเพลงขวัญใจเจา้ ทุย คอื อะไร ก. ความอดทน ข. การทาํ มาหากนิ ค. ความเมตตาอารตี อ่ กัน ง. วิธีการเลีย้ งควายให้ถูกวิธี
การอา่ นเพ่ือการเรยี นรู้ตลอดชีวิต | ๘๑ บทที่ ๘ การอ่านตําราเชิงวชิ าการ การอ่านเพื่อการศึกษาและรวบรวมความรู้เป็นการอ่านงานเขียนที่มีเน้ือหาสาระประเทือง ปัญญา ให้ความรู้ทางวิชาการ สภาพสังคม ชีวิตความเป็นอยู่ เศรษฐกิจ การเมือง ตลอดจน ขนบธรรมเนียมวัฒนธรรมแก่ผู้อ่าน ซ่ึงงานเขียนท่ีจะให้สารประโยชน์ ทําให้เกิดความรู้ ความคิดแก่ ผูอ้ ่านไดเ้ ปน็ อย่างดี ไดแ้ ก่ งานเขยี นประเภทตาํ ราเชิงวชิ าการ สารคดี บทความ เปน็ ตน้ การอา่ นเพอ่ื ใหไ้ ดป้ ระโยชน์ทางวิชาการเป็นการอา่ นโดยมวี ัตถุประสงค์ เพื่อการศึกษาค้นคว้า โดยตรง ผู้อ่านต้องการอ่านเพื่อแสวงหาความรู้จากเอกสารทางวิชาการเหล่านั้น ดังนั้น การอ่านเพ่ือ การศึกษาค้นคว้า จึงเป็นการอ่านของผู้ท่ีอยู่ในวัยเรียน ตลอดจนผู้ใหญ่ในวัยทํางาน ผู้อยู่ในวัยเรียน ต้องการอ่านตําราเพ่ือให้มีความรู้ สอบไล่ได้ ผู้ใหญ่ในวัยทํางานต้องการอ่านเอกสารทางวิชาการใน แขนงที่ตนทํางานอยู่ ท้ังน้ีเพื่อทําความรู้เหล่าน้ันไปพัฒนาและเพ่ิมประสิทธิภาพการทํางานของตนให้ สงู ขนึ้ การอ่านตําราเชงิ วชิ าการเป็นการศกึ ษาคน้ ควา้ จึงเปน็ เครือ่ งมือในการเพิ่มพูนความรู้ ทําให้เกิด พัฒนาการในการศึกษาวิชาการแขนงตา่ ง ๆ เร่อื งที่ ๑ สว่ นประกอบของหนงั สอื เชงิ วชิ าการ หนังสือเชิงวิชาการ เป็นหนังสอื ท่ีมีความจาํ เป็นท่ที กุ คนทอ่ี ยใู่ นวยั ศกึ ษาเล่าเรียน ครู อาจารย์ นักวิชาการ นักค้นคว้าวิจัย อาชีพอิสระบางอาชีพ เช่น นักพูด นักเขียน นักวิจารณ์ นักเขียนบทภาพยนตร์ และวิทยุโทรทัศน์ ตลอดจนผู้สนใจความรู้เชิงวิชาการทุกคน จําเป็นต้องอ่านหนังสือตําราเชิงวิชาการ เป็นส่วนสําคัญ เพ่ือค้นหาหลักทฤษฎีและข้อเท็จจริงไปอ้างอิง ดังนั้น การเลือกอ่านหนังสือ เชงิ วิชาการควรมีหลัก ดงั นี้ ๑. ช่ือผู้แต่งและวุฒิการศึกษา ถ้าผู้แต่งเป็นผู้มีความรู้ตรงกับสาขาวิชาที่แต่งหรือเป็นผู้รู้ มปี ระสบการณใ์ นการปฏบิ ตั งิ านมาเป็นเวลานานกจ็ ะมผี ลทําใหห้ นังสอื เล่มนนั้ มีคณุ ค่านา่ เชื่อถอื มากขึ้น ๒. ช่ือหนังสือ ช่ือหนังสือที่ปรากฏอยู่โดยท่ัวไปมักจะมีช่ือคล้ายกันหรือเหมือนกัน ท้ังน้ีควร สังเกตส่วนประกอบอื่น ๆ คือ พิจารณาจากหน้าปกใน หน้าคํานํา หน้าสารบัญ สารบัญ ภาพ สารบัญ ตาราง เพอื่ ศึกษาเนอ้ื หาและหวั ข้อหลัก ๓. ส่วนเน้ือหา (เนื้อเร่ือง) เป็นส่วนสําคัญของหนังสือ เพราะเนื้อหาจะช่วยให้ความรู้เร่ือง รายละเอียด เน้ือเร่ืองท่ีดีจะต้องมีการเรียงลําดับจากต้นเร่ืองไปสู่ปลายเรื่อง อย่างมีระเบียบระบบ ทาํ ใหผ้ ูอ้ า่ นเขา้ ใจไดง้ า่ ย
การอา่ นเพ่อื การเรียนร้ตู ลอดชวี ิต | ๘๒ ๔. ส่วนอ้างอิง ควรสังเกตส่วนอ้างอิงของหนังสือตําราเชิงวิชาการต่าง ๆ เช่น เชิงอรรถ บรรณานุกรม ประกอบดว้ ย เพอื่ จะได้ตรวจสอบดูวา่ ผเู้ ขียนมกี ารค้นคว้าข้อมูลจากแหลง่ เอกสารอื่นใด ท่คี วรน่าเช่อื ถือได้หรือไม่ ๕. ส่วนประกอบอ่ืน ๆ ได้แก่ ส่วนประกอบตอนท้าย เช่น อภิธานศัพท์ ภาคผนวก ดัชนี การใช้ภาพประกอบและคาํ บรรยาย ถูกต้องครบถว้ นหรอื ไม่ เรื่องท่ี ๒ การเลอื กอา่ นหนังสอื เชิงวิชาการ การเลือกอ่านหนังสือเชิงวิชาการ งานเขียนประเภทน้ีมุ่งให้ความรู้แก่ผู้อ่านเป็นสําคัญ ดังน้ัน ผู้อ่านควรเลือกอ่านหนังสือเชิงวิชาการให้เหมาะสมกับความต้องการอ่าน และการนําไปใช้ประโยชน์ เพ่ือการศึกษา การทํางาน ตลอดจนความรอบรู้ในศาสตร์แขนงต่าง ๆ การเลือกอ่านหนังสือเชิง วิชาการสามารถแบง่ ได้เปน็ ๖ ประเภท ดงั น้ี ๑. ตําราเรียน เป็นหนังสือท่ีเรียบเรียงข้ึนเพ่ือการเรียนการสอนตามหลักสูตรน้ัน ๆ สว่ นประกอบในหนังสือตาํ รา มาจากเน้อื หาสาระในวิชาแล้วอาจมีแผนการสอนหรือบทสรุปของแต่ละ บทมีแบบทดสอบ คําถามทบทวนหรือกิจกรรม ฯลฯ ตําราจึงเป็นส่ือการสอนที่ช่วยให้การเรียนการ สอนเปน็ ไปตามหลักสูตร ๒. เอกสารประกอบการบรรยายหรือการสอนเป็นหนังสือที่เรียบเรียงข้ึน เพ่ือใช้ ประกอบการบรรยายหรือการสอนในระดับต่าง ๆ นอกเหนือจากความรู้ในตําราเรียน หรือผู้สอนอาจ เพม่ิ เติมขยายความเนือ้ หาในตําราเรียนเพม่ิ มากขึ้นกวา่ เดิม เพ่อื ให้ผเู้ รียนมคี วามรู้เพิ่มข้ึน ๓. หนังสือคู่มอื หนังสือประเภทน้ีเรียบเรียงขึ้นเพื่อเป็นแนวทางในการทําความรู้ความเข้าใจ วิชาบางแขนง เชน่ วิชาคอมพิวเตอร์ คณิตศาสตร์ ฟิสิกส์ เป็นต้น เหมาะสําหรับผู้ท่ีไม่มีเวลา และต้อง ศกึ ษาคน้ ควา้ หาความรู้ตา่ ง ๆ ดว้ ยตนเอง ๔. หนังสืออ่านประกอบ หมายถึง หนังสือท่ีผู้สอนแนะนําให้อ่านประกอบการเรียนบางวิชา เพอ่ื ช่วยใหผ้ ูเ้ รยี นมีความรคู้ วามเข้าใจในวิชาน้ัน ๆ เพม่ิ ข้ึนท้ังในระดบั กวา้ งและระดับลึก ๕. หนังสืออ้างอิง หนังสือประเภทนี้มีประโยชน์ต่อนักศึกษาโดยตรง ทั้งในแง่การอ่านและ การเขยี นในการศกึ ษาผลงานทางวิชาการ ๖. หนังสือค้นคว้า หนังสือประเภทนี้จัดเรียบเรียงขึ้นเพื่อประโยชน์ในการค้นคว้าเร่ืองราว ต่าง ๆ โดยเฉพาะ เช่น พจนานุกรม สารานุกรมต่าง ๆ สรุปผลงานวิจัย รายงานประจําปี ฯลฯ นอกจากนี้ยงั มีหนงั สอื คน้ ควา้ ประเภทอนื่ ๆ อกี มากมาย ทง้ั ภาษาไทย ภาษาองั กฤษ และภาษาอื่น ๆ
การอ่านเพ่ือการเรยี นร้ตู ลอดชีวิต | ๘๓ เร่ืองท่ี ๓ แนวการอา่ นตําราเชงิ วชิ าการ การอ่านเอกสารตําราเชิงวิชาการเป็นการอ่านเพื่อการศึกษา การอ่านประเภทนี้จะต้อง รวบรวมสมาชิกและมีความตั้งใจเป็นอย่างมาก เพราะต้องการอ่านอย่างถ่ีถ้วน ต้องวิเคราะห์เนื้อหา และทําความเข้าใจกับเน้ือหาจนแจ่มแจ้งปราศจากข้อสงสัย และหากมีข้อสงสัยจะต้องแสวงหา คาํ ตอบต่อไป ขัน้ ตอนในการอา่ นตําราเชิงวิชาการ มีดงั น้ี ๑. อ่านอย่างสํารวจ เป็นการทําความรู้จักส่วนประกอบต่าง ๆของตํารา ได้แก่ คํานํา สารบัญ บรรณานุกรม ภาคผนวก อภิธานศัพท์และดรรชนี ควรอ่านคํานํา สารบัญ ดูเนื้อหาในส่วนที่ เราสนใจอ่าน ถา้ ต้องการรายละเอยี ดเพม่ิ เตมิ ควรอ่านเอกสารในหนังสอื อา้ งองิ ได้ นอกจากน้ี เพื่อให้ตําราเชิงวิชาการมีความทันสมัยมากขึ้น ควรดูเล่มล่าสุด หรือได้ไม่นาน เกินไป โดยเฉพาะหนังสือที่มีความก้าวหน้าเชิงวิชาการเร็วและทันสมัยมาก ๆ เช่น คอมพิวเตอร์ วทิ ยาศาสตร์ วชิ าด้านการชา่ งต่าง ๆ เป็นต้น ๒. อ่านอย่างวิเคราะห์ เม่ือสํารวจส่วนประกอบต่าง ๆ ของหนังสือเชิงวิชาการจบแล้ว ก็เริ่ม อา่ นแตล่ ะหวั ข้ออย่างละเอียด อา่ นอยา่ งชา้ ๆ อ่านแล้วคิดตั้งคําถามและพยายามหาคําตอบ ถ้าติดขัด ตอนใด ควรหาความรู้เพิ่มเติมหรือสอบถามจากผู้รู้ทันที ควรมีวิจารณญาณในการนําความรู้ไปใช้ให้ เกิดผล ๔. เลือกจําตอนท่ีสําคัญ การอ่านตําราเชิงวิชาการต่างกับการอ่านหนังสือประเภทอื่น ๆ ตรงท่ีผู้อ่านอ่านด้วยความจําเป็นและต้องจําเน้ือหาสาระท่ีอ่านให้ได้ เพ่ือนําไปใช้ในการสอบหรือ นาํ ไปใช้ประโยชน์อย่างอื่น วธิ กี ารฝึกการจําอยา่ งย่อ ๆ มดี ังน้ี ๓.๑ ทําเคร่ืองหมาย ก่อนทําเคร่ืองหมายควรอ่านก่อนอย่างน้อย ๑ เท่ียว จึงทํา เครอื่ งหมายเพราะจะได้ทราบข้อความทค่ี วรจาํ ตอนสําคญั ได้ ๓.๒ ทําบันทึกสรุปแนวคิดหลัก ของแต่ละย่อหน้า หรือแต่ละข้อความ ก่อนบันทึกควร อ่านให้จบก่อน ถ้าข้อความใดไม่เข้าใจควรทําเคร่ืองหมายคําถามไว้หรืออาจเขียนคําวิจารณ์ไว้ข้าง ๆ ข้อความนน้ั และพยายามหาคาํ ตอบให้ได้ ๓.๓ การสร้างแผนภูมิ วิธีน้ีเป็นวิธีท่ีส้ันที่สุด ครอบคลุมเนื้อหาได้มากท่ีสุด และจําง่ายที่สุด เหมือนการทําระบบความจาํ แสดงความสัมพนั ธ์ระหวา่ งเนื้อหา หรอื ประเดน็ ยอ่ ยกบั ประเดน็ ใหญ่ ๓.๔ อ่านบ่อย ๆ และอ่านอย่างสม่ําเสมอ หนังสือตําราเชิงวิชาการอ่านยากกว่าหนังสือ ประเภทอ่ืน ๆ เนื้อหามีหลักการต่าง ๆ ลึกซึ้งและกว้างขวาง การอ่านสม่ําเสมอและทบทวนบ่อย ๆ จงึ ทําใหเ้ ขา้ ใจมากย่งิ ขึ้น
คาํ ฃีแ้ จง การอา่ นเพอื่ การเรียนร้ตู ลอดชวี ติ | ๘๔ แบบฝึกหดั ทบทวนบทที่ ๘ จงเติมคาํ และอธบิ ายคําถามต่อไปนใี้ ห้ได้ใจความสมบูรณ์ ๑. ส่วนประกอบของหนงั สือเชงิ วิชาการ ประกอบด้วยอะไรบ้าง ๑.๑.............................................................................................................................................. ๑.๒.............................................................................................................................................. ๑.๓.............................................................................................................................................. ๑.๔.............................................................................................................................................. ๑.๕.............................................................................................................................................. ๒. แนวทางการอ่านตําราเชิงวิชาการ ขนั้ ตอนในการอา่ นมี ๓ ประการคือ ๒.๑.............................................................................................................................................. ............................................................................................................................................................. ๒.๒.............................................................................................................................................. ............................................................................................................................................................. ๒.๓.............................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................
การอา่ นเพ่อื การเรียนรู้ตลอดชีวิต | ๘๕ แบบทดสอบบทท่ี ๘ การอา่ นตําราเชงิ วชิ าการ คําชแ้ี จง จงเลอื กคําตอบทถี่ กู ต้องทส่ี ดุ ๑. การอ่านตาํ ราเชิงวิชาการ เป็นการอา่ นตามข้อใด ก. การอ่านเพื่อความเพลิดเพลินบันเทงิ ใจ ข. เป็นการอา่ นเพือ่ สอบเล่อื นชั้นหรอื ระดบั ค. เปน็ การอา่ นเพ่อื การศึกษาคน้ ควา้ ดา้ นวิชาการ ง. การอ่านเพ่ือฝกึ ทักษะการเจรญิ เติบโตของรา่ งกาย ๒. การอ่านหนงั สือตําราเชิงวิชาการ เหมาะสําหรบั วยั ใด ก. วยั อนบุ าล ข. วยั เด็ก ค. วยั เรียน ง. วยั ชรา ๓. ขอ้ ใดไม่ใชห่ ลักการเลอื กอ่านหนงั สอื เชิงวิชาการที่ดี ก. สํานักพมิ พ์ – ตัวแทนจาํ หน่ายหนงั สอื เล่มน้ัน ๆ ข. ชอื่ ผแู้ ต่ง – วฒุ ิการศึกษา ค. ชื่อหนังสอื – ชื่อเรื่อง ง. เนือ้ หาของหนังสือ ๔. ส่วนอ้างองิ ของหนังสอื เชิงวิชาการคืออะไร ก. ดัชนี ข. สารบญั ค. คํานาํ ง. เชิงอรรถ ๕. ส่วนเนือ้ หาของหนังสอื เชิงวิชาการ เขยี นอยา่ งไร ก. เขยี นอยา่ งไรกไ็ ด้ใหผ้ ูอ้ า่ นเขา้ ใจแจ่มแจ้ง ข. เขียนใหอ้ า่ นง่าย ไมห่ ายากและมกี ารอธิบายต่อเน่ืองกนั ค. การเรยี งลาํ ดบั เน้ือเรื่องจากตน้ เร่ืองไปสูป่ ลายเรือ่ งอยา่ งมีระบบ ง. การเขียนเนอ้ื เร่ืองจากยากแลว้ อธบิ ายความหมายของคาํ ให้อา่ นง่าย
การอ่านเพอ่ื การเรียนรตู้ ลอดชวี ติ | ๘๖ ๖. การเขียนอ้างองิ มีประโยชนก์ บั ผู้อ่านอยา่ งไรบ้าง ก. ผู้อา่ นสามารถรับรู้ว่าผเู้ ขยี นเก่งภาษาอังกฤษหรือไม่ ข. สามารถตรวจสอบความถูกตอ้ งของเน้อื หาวา่ นา่ เช่ือถอื หรอื ไม่ ค. ผ้อู ่านร้วู า่ มหี นังสืออา้ งองิ กเี่ ล่ม ง. ผู้อา่ นสามารถอา่ นหนงั สืออา้ งองิ แทนได้ ๗. ข้อใดไม่ใชห่ นังสือเชงิ วิชาการ ก. ตําราเรียน ข. หนงั สอื คมู่ อื ค. หนงั สอื พิมพ์ ง. เอกสารประกอบบรรยาย ๘. หนงั สือเชิงวิชาการประเภทหนงั สอื ค้นควา้ คอื ข้อใด ก. โน๊ตบุ๊ค ข. วารสาร ค. หนังสือพิมพ์ ง. พจนานุกรม ๙. การอา่ นหนงั สอื อา่ นประกอบเปน็ หนังสือทผี่ ู้สอนควรแนะนาํ ใหผ้ อู้ า่ น เพ่อื จดุ ประสงค์ใด ก. เพ่อื ช่วยให้ผู้อ่านมคี วามร้ใู นวิชาน้ัน ๆ เพ่มิ ขึน้ ข. เพ่อื ทําใหส้ ามารถสอบแขง่ ขนั เรยี นตอ่ ได้ ค. เพ่ือใหผ้ อู้ ่านเรียนรู้ดว้ ยตนเอง ง. เพ่อื สง่ เสริมการขายของสาํ นกั พิมพ์ ๑๐. การอา่ นตามขอ้ ใด ผู้อา่ นไดค้ วามรู้มากทส่ี ดุ ก. อ่านอยา่ งสาํ รวจ ข. การอ่านวิเคราะห์ ค. เลือกจาํ ตอนสาํ คัญ ง. อา่ นบทสรปุ
การอ่านเพ่อื การเรียนรตู้ ลอดชีวิต | ๘๗ บทท่ี ๙ การอ่านและค้นคว้าหาความรทู้ างอนิ เตอรเ์ น็ต ปัจจุบันอนิ เตอรเ์ นต็ เป็นเทคโนโลยีสารสนเทศท่ีเราใชเ้ ข้าสู่แหลง่ ขอ้ มลู ทส่ี าํ คญั ยงิ่ ๓ แหลง่ คอื ๑. เวบ็ ไซต์ ๒. หอ้ งสมดุ อเิ ลค็ โทรนกิ ส์ ๓. ฐานขอ้ มลู ออนไลน์ ก่อนอ่ืนควรมีพื้นฐานความเข้าใจเกี่ยวกับแหล่งข้อมูลท้ัง ๓ ข้อน้ีตามสมควร เพ่ือจะได้ใช้ ประโยชน์ให้กว้างขวางย่ิงขึ้นในอนาคต โปรดสังเกตผังมโนทัศน์ต่อไปน้ี จะทําให้เรามองเห็นตําแหน่ง ของเว็บไซตห์ ้องสมุดอเิ ลก็ โทรนิกส์ และฐานขอ้ มูลออนไลนใ์ นเครอื ขา่ ยอนิ เตอรเ์ น็ต ผังมโนทศั นเ์ ครอื ข่ายอนิ เตอร์เนต็ เครื่องคอมพิวเตอร์ โทษ ตอ้ งอาศัย มคี วามสาํ คัญในการเปน็ เวบ็ ไซต์ ใชผ้ ิดทางเปน็ ห้องสมุด อเิ ลก็ ทรอนิกส์ อนิ เตอรเ์ น็ต เปน็ เครือ่ งชว่ ยหา ความรู้ ฐานข้อมลู ออนไลน์ ใช้ถกู ทางเป็น ก่อให้เกิด ควรรู้จักใชเ้ พ่อื คุณ การตดิ ตอ่ ส่ือสาร เคร่ืองช่วยหา ความรู้
การอา่ นเพอ่ื การเรียนรูต้ ลอดชวี ิต | ๘๘ การสืบคน้ ขอ้ มูลจากอนิ เตอร์เน็ต โลกปัจจุบันอยู่ในยุคข้อมูลข่าวสาร ในแต่ละวันมีข่าวสารแพร่กระจายออกมามากมายและ รวดเรว็ หน่วยงานองคก์ ารตา่ ง ๆ บรษิ ัท หา้ งรา้ น ทัง้ ของรฐั และเอกชนจาํ เปน็ ตอ้ งใช้ข้อมูลข่าวสารอยู่ ตลอดเวลา ผู้ใดมีโอกาสเข้าถึงข้อมูลข่าวสารได้อย่างถูกต้องรวดเร็วก็จะได้เปรียบผู้อ่ืน อินเตอร์เน็ต นับว่าเป็นแหล่งข้อมูลข่าวสารท่ีรวดเร็วกว้างขวางและทันสมัยในปัจจุบัน เทคโนโลยีด้านข่าวสาร ขอ้ มลู ไดร้ ับการพัฒนาอย่างมาก อินเตอร์เน็ตเป็นเครือข่ายคอมพิวเตอร์ ที่มีขนาดใหญ่ที่สุด ครอบคลุมพ้ืนท่ีกว้างขวางท่ีสุด มีอัตราการขยายตัวเร็วท่ีสุด เป็นแหล่งรวบรวมสารสนเทศจากท่ัวโลกเข้าด้วยกัน จึงเป็นเหมือน ขุมทรัพย์ข้อมูลข่าวสาร สามารถหาข้อมูลได้อย่างรวดเร็วและมากมายมหาศาล ภายในอินเตอร์เน็ต ประกอบดว้ ยเครือขา่ ยย่อยจาํ นวนมากที่กระจายอยู่ทั่วโลก เครือข่ายเหล่าน้ีเช่ือมโยงเข้าหากันภายใต้ หลักเกณฑ์และมาตรฐานเดียวกัน ทําให้ผู้ใช้ระบบคอมพิวเตอร์สามารถติดต่อแลกเปล่ียนข่าวสาร ขอ้ มูลกนั ได้ กับผใู้ ชค้ อมพิวเตอร์เครอื ขา่ ยอ่นื ๆ ไดส้ ะดวกรวดเรว็ จะเหน็ ไดว้ า่ การสบื ค้นขอ้ มลู ทางอนิ เตอรเ์ น็ต เปน็ เครอื่ งมอื ในการคน้ คว้าหาความรทู้ ่นี ่าสนใจ เน่ืองจากความสะดวกรวดเร็วและความกว้างของข้อมูล World Wide Web คือระบบให้บริการด้าน การค้นหาและนําเสนอข้อมูลข่าวสารบนอินเตอร์เน็ตท่ีได้รับความนิยมที่สุด ผู้ใช้บริการจะต้องมี โปรแกรมสบื ค้นแหลง่ ขอ้ มูลท่ีเรยี กวา่ Web browser แหล่งข้อมลู ทีม่ ีเจา้ ของสร้างไวส้ ําหรับให้บริการ คือ หน้าแรกของ Web site เรียกวา่ Home page ชว่ ยให้สามารถคน้ หาขอ้ มูลได้ง่าย ๑. เว็บไซต์ คําว่า เว็บไซต์ เป็นคําทับศัพท์ภาษาอังกฤษ web site หมายถึงที่ต้ังเครือข่ายข้อมูล ที่เชอื่ มโยงตดิ ต่อถงึ กนั ได้ทุกหนแหง่ ทั่วโลก ผู้ท่ีเรียนรู้วิธีใช้คอมพิวเตอร์ เพื่อเข้าสู่เว็บไซต์มาแล้ว และทราบว่าข้อมูลท่ีต้องการทํา อยู่ในเวบ็ ไซตช์ อื่ อะไร กอ็ าจทาํ ได้ทันที เช่น หากเราต้องการหาขอ้ มลู เกยี่ วกบั ภาษาไทย การใช้คําและ ความหมายควรเปดิ เว็บไซตข์ องราชบัณฑติ ยสถานคือ www.royin.go.th เราก็สามารถเข้าสู่เว็บไซต์น้ี ได้เลย อน่ึง เว็บไซต์ต่าง ๆ อาจมีการเปล่ียนแปลงได้ เราจึงควรติดตามข่าวสารข้อมูลให้เป็นปัจจุบัน อยเู่ สมอ การคน้ หาเวบ็ ไซตเ์ พ่ือให้ไดข้ ้อมลู ตรงกับที่เราต้องการ อาจทําได้ ๒ วธิ ี คอื ๑. ใช้คําค้น คําค้นในที่นี้หมายถึง คําหลัก (keyword) หรือคําท่ีมีความสําคัญเป็นหลัก ในเร่ืองที่เราต้องการ เช่น ต้องการข้อมูลเรื่องวงจรชีวิตของผีเสื้อ คําหลักก็คือ “ผีเส้ือ” ข้อมูลเรื่อง การศึกษานอกโรงเรียน คําหลักก็คือ “การศึกษานอกโรงเรียน” ข้อมูลเก่ียวกับทรัพยากรธรรมชาติ ในจังหวดั ชัยนาท คําหลักกค็ อื “ชยั นาท”
Search
Read the Text Version
- 1
- 2
- 3
- 4
- 5
- 6
- 7
- 8
- 9
- 10
- 11
- 12
- 13
- 14
- 15
- 16
- 17
- 18
- 19
- 20
- 21
- 22
- 23
- 24
- 25
- 26
- 27
- 28
- 29
- 30
- 31
- 32
- 33
- 34
- 35
- 36
- 37
- 38
- 39
- 40
- 41
- 42
- 43
- 44
- 45
- 46
- 47
- 48
- 49
- 50
- 51
- 52
- 53
- 54
- 55
- 56
- 57
- 58
- 59
- 60
- 61
- 62
- 63
- 64
- 65
- 66
- 67
- 68
- 69
- 70
- 71
- 72
- 73
- 74
- 75
- 76
- 77
- 78
- 79
- 80
- 81
- 82
- 83
- 84
- 85
- 86
- 87
- 88
- 89
- 90
- 91
- 92
- 93
- 94
- 95
- 96
- 97
- 98
- 99
- 100
- 101
- 102
- 103
- 104
- 105
- 106
- 107
- 108
- 109
- 110
- 111
- 112
- 113
- 114
- 115
- 116
- 117
- 118
- 119
- 120
- 121
- 122
- 123
- 124
- 125
- 126
- 127
- 128
- 129
- 130
- 131
- 132
- 133
- 134