Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore ศิลปศึกษา ทช 31003 ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย

ศิลปศึกษา ทช 31003 ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย

Published by Patong. CLC., 2020-04-26 00:48:17

Description: หนังสือเรียนวิชา ศิลปศึกษา ทช 31003 ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย นี้ ใช้สำหรับนักศึกษา กศน. เพื่อค้นคว้าหาคำตอบในการเรียนรู้ของภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2563

Search

Read the Text Version

เฉลยกิจกรรมที่ 2.2 95 1. ใหผูเรยี นแยกกลมุ เครือ่ งดนตรีสากลในภาพโดยใสหมายเลขตามประเภทดงั นี้ 1. เครื่องสาย (String Instruments) 1 2. เครือ่ งลมไม (Woodwind Instruments) 3. เครื่องลมทองเหลือง (Brass Instruments) 4. เคร่ืองลมิ่ นิ้ว (Keyboard Instruments) 5. เครื่องตี (Percussion Instruments) 43 5 23 1 1 1

96 2.ใหเ ขียนบอกประเภทเพลงสากล 12 ประเภท พรอมลกั ษณะเดนของแตละประเภท หากผูเรียนเขียนได 10-12 ประเภทให 3 คะแนนเขียนได 9-10 ประเภทให 2 คะแนน เขียนได 7-8 ประเภทให 3 คะแนน หากถูกนอย ใหผูเรียนกลับไปทบทวนในหนังสือ เรยี นแลว กลบั มาทํากจิ กรรมนีอ้ ีกครงั้ 4. เพลงศาสนา เปนเพลงประเภทขับรองที่มีเน้ือรองเกี่ยวกับศาสนาโดยเฉพาะ มีท้ังประเภทที่ขับรองเด่ียว และ ขับรองประสานเสียง อาจประกอบดนตรี หรอื ไมกไ็ ด 5. เพลงท่ีใชขับรองในละครอุปรากร หรือละครโอเปรา เปนละครชนิดหนึ่งท่ี แสดงโดยใชการรองเพลงโตตอบกันตลอดท้ังเร่ือง คอรัส (Chorus) เปนเพลง ขับรองหมูอาจเปนเสียงเดียวกันหรือคนละเสียงก็ได คอนเสิรทไฟนอล (Concert Final) เปน เพลงขบั รอ งหมู ใชขบั รอ งตอนเรา ความรสู กึ สดุ ยอด เรคซิเรทีพ (Recilative) เปน การขบั รอ งกึ่งพดู การพูดนีม้ ีลลี าลษั ณะของเสียง สูง ๆ ตาํ่ ๆ คลา ยกบั การขับเสภาของไทย 6. เพลงลีลาศ ไดแกเพลงทุกชนิดท่ีใชในการเตนรําลีลาศได เชน เพลงแทงโก วอลท ชาชา ชา ฯลฯ มที งั้ ชนิดขบั รอ งและบรรเลง 7. เพลงชาวบาน เพลงชาวบานโดยมากเปน เพลงงาย ๆ การแตงก็ไมมีการบันทึก ไวเปนโนต รองตอ ๆ กันจนจําได มีทํานองซํ้า ๆ กันหลายตอหลายทอนใน เพลงแตล ะเพลง คลา ยเพลงเตน กําราํ เคียวของไทย 8. เพลงตะวันตก หมายถึงเพลงที่ขับรองกันในภาคตะวันตกของสหรัฐ เทานั้น พวกที่บุกเบิกในการรองคือ พวกกรรมกรรถไฟ พวกโคบาล พวกพเนจร เพลงตะวนั ตกนบั ไดว าเปน เพลงอเมรกิ นั แทเพราะเกิดในอเมริกา และเกิดจาก สิง่ แวดลอมและจติ ใจของคนทอ่ี ยูอเมรกิ า 9. เพลงแชมเบอรมวิ สิก เปนเพลงบรรเลงดวยเคร่ืองดนตรี ต้ังแต 3 - 7 คนข้ึนไป แตบ างคร้ังก็มีการรองแทรกอยูบาง เปนเพลงสําหรับฟงใหอารมณผอนคลาย เพลงแชมเบอรมวิ สิกมกั จะตองประกอบดวยนักดนตรีฝมือเย่ียม เพราะถาใคร เลนผดิ พลาดไปคนฟง กส็ งั เกตได

97 10.เพลงกลอ มเดก็ เปนเพลงที่เกิดจากแรงดลใจภายในตวั แม เพ่ือกลอ มลกู ใหห ลับ แตแลวก็กลายเปนทํานองอันไพเราะไป เพลงกลอมเด็กแทบทุกเพลงจะมี ทาํ นองชา ๆ 11.เพลงโซนาตา เปน เพลงทแ่ี ตง ขน้ึ ใหเลนดวยเคร่อื งดนตรีหนึ่งหรือ 2 ชิ้น ซึ่งโดยมากมกั จะเปน ไวโอลนิ กับเปยโน โดยมากเปนเพลงชา ๆ เลนใหเขากับ บรรยากาศ ในขณะทศ่ี ลิ ปนกําลังแตงเพลงนนั้ ๆ 12.เพลงพาเหรด ไดแ กเพลงซ่ึงมีจังหวะเนนหนักเบา โดยมาก เพ่ือประกอบการ เดินแถวของพวกทหาร หรือเพื่อประโยชนในการปลุกใจ ฟงคึกคัก ตื่นเตน เพลงเดินน้ีเรียกวา Military March มีเพลงชนิดหน่ึงมีจังหวะชา ใชในการ เดนิ ขบวนแห โดยเฉพาะการแหศ พ เรียกวา Processional March 13.เพลงแจส (Jazz) เปนเพลงอเมริกันแทอีกชนิดหนึ่ง ลักษณะสําคัญของเพลง แจสคือ การมี Syncopation (ซินโคเปชั่น) หมายถึงการเนนจังหวะท่ีจังหวะ ยก มากกวาจงั หวะตก โดยมากเพลงแจสจะเปน เพลงที่มีเสียงอึกทึกอยูไมนอย แตเพลงแจสท่ีเลนอยางชา ๆ และนุมนวลก็มีเชนกัน เพลงแจสรุนแรกเกิดขึ้น ทางภาคใตข องสหรัฐอเมรกิ าโดยพวกชนผิวดําที่ เปนทาส เพลงแจสที่เกิดทาง ใตน ม้ี ชี ่ือเรยี กวา Dixieland Jazz เพลงแจส ไดร ับการพัฒนาปรับปรุงขึ้นมาจน กลายมาเปนเพลง Blue ลกั ษณะของเพลง Blue น้จี ะเลน อยางชา ๆ เนิบนาบ 14.เพลง Program music สาระสําคัญของเพลงประเภทนี้คือการพยายามเลา เรอื่ งหรือบรรยายภมู ปิ ระเทศดว ยเสยี งดนตรี แตความพยายามนี้ก็มิคอยสําเร็จ นัก จึงมักจะตองมีการแจกบทความเลาเรื่องนิยายหรือภาพนั้น ๆ ใหผูฟงได ทราบกอนฟง แลว ผูฟงจะจินตนาการหรือนึกภาพจากเสียงดนตรอี กี ที 15.เพลงอมตะ (Immoral song) หมายถึง เพลงแบบใดก็ได ที่ไดรับการยอมรับ ยกยอ งวามคี วามไพเราะ และเปนทีน่ ยิ มอยูทุกยคุ ทุกสมัย หรือ เปนที่นิยมรูจัก ฟง ไพเราะอยูเสมอไมวา เวลาใด ยุคใด สมัยใด เชนเพลงบัวขาว แสงทิพยของ ไทย

98 เฉลยกิจกรรมทา ยบทที่ 3 เฉลยกจิ กรรมที่ 3.1 1. การกําเนิดของนาฏศิลปโลกหรือนาฏศลิ ปสากลเกิดข้ึนจากอะไร - การกาํ เนดิ ของนาฏศิลปโลก หรือนาฏศิลปสากลเกิดข้ึนจาก 2 สิ่งคือ จากธรรมชาติ และ ความเชื่อถอื ศรัทธาในสิง่ ศกั ดิ์สทิ ธิท์ ้ังหลาย 2. อธบิ ายลกั ษณะเฉพาะของนาฏศลิ ปใ นสมยั กรกี - เริ่มตนจากการแสดงเร่ืองราวเก่ียวกับเทพเจาไดโอนีซุส (Dionysus) ซ่ึงเปนเทพเจาแหง ความอดุ มสมบรู ณขน้ึ ในเทศกาลบชู าเทพเจาองคน้ี จัดขน้ึ ปล ะครั้ง จากนน้ั ก็มกี ารพัฒนาเปนละคร เก่ียวกับเรื่องของมนุษย ซ่ึงยังมีแกนเรื่องเก่ียวกับความเช่ือทางศาสนา และศิลปวัฒนธรรม ประเภทของละครในสมัยกรีกมีทั้งละครโศกนาฏกรรม และสุขนาฏกรรม ซ่ึงใชนักแสดงผูชาย ท้งั หมดเพียง 3 คนแสดงเปน ตัวละครหลาย ๆ ตัว ดว ยการเปล่ียนหนา กากไปเรื่อย ๆ 3. อธบิ ายลกั ษณะเฉพาะของนาฏศิลปใ นสมัยโรมัน - เร่ิมจากนํารูปแบบของละครกรีกโบราณ ในเร่ืองพิธีกรรมทางศาสนาท่ีเก่ียวกับการบูชา เทพเจา ตอ มากไ็ ดม กี ารปรบั ปรงุ โดยเพมิ่ การเตนราํ และใชทาทางแสดงอารมณมากขึ้น ตัวละคร มลี กั ษณะของสามญั ชน ท่เี นนการแสดงแบบตลกโปกฮาตามแนวละครประเภทสุขนาฏกรรมมาก ขึ้น รวมทั้งมีการยกเลิกการใสหนากากแบบละครกรีกในตัวละครตลกจึงทําใหนักแสดงสามารถ แสดงอารมณภายในและความสามารถในการแสดงไดมากขึ้น 7. ละครแพนโทไมน (Pantomine) คืออะไรและมปี ระวตั ิความเปนมาอยา งไร - ละครแพนโทไมน (Pantomine) หรือละครใบ ในอังกฤษท่ีเปนการแสดงละครที่มีดนตรี และ การเตนรําประกอบ จนมาถึงในศตวรรษท่ี 20 ตอนตน รูปแบบการแสดงละครเริ่มหันเขาสู การสะทอนสภาพความเปนจริงในสังคมโดยแสดงละครตามแบบชีวิตจริงมากยิ่งข้ึน จากน้ันจึง พฒั นามาเปน ละครใบใ นยุคปจ จุบัน 8. นาฏศลิ ปประจําชาติจีนคอื อะไร และมอี งคประกอบอะไรบาง - คอื อุปรากรจีนหรอื ง้ิวท่เี ปนแบบมาตรฐานคือ งวิ้ ปก กิง่ ซ่ึงองคก ารยูเนสโกยกระดับใหเปน “มรดกโลก” เปนการแสดงศิลปะดานดนตรี การขับรอง นาฏลีลา การแสดงอารมณ ศิลปะ กายกรรมภาษาจนี เรียกวา “จาจี”้ เชน การตอสู ผูแสดงจะตองมีนํา้ เสยี งคุณภาพและมีความอดทน สงู ดวย

99 องคประกอบของอุปรากรจนี ประกอบดวยสิ่งตา งๆ ดังน้ี 1. บทบาทตวั ละคร ตัวละครชายกบั หญิงแบง ออกเปน “บแู ละบุน ” โดยประเภทที แสดงบูจะตอ งแสดงกายกรรม สว นประเภททแี่ สดงบุนจะเนน ที่การขบั รอง และการแสดงอารมณ แตถา แสดงบทบาทที่คาบเกีย่ วกัน จะเรยี กตัวละครนั้นวา “บบู นุ ” 2. เทคนิคการแสดง แสดงตามทฤษฎีการเคลื่อนไหวทุกสวนของรางกาย มีจังหวะสงา งามท้ังการเคลอ่ื นไหวของมือ เทา การเดิน 3. เคร่ืองแตงกาย แตงตามชุดประจําชาติ มีชุดจักรพรรดิ ชุดขุนนาง เคร่ืองทรงเส้ือ เกราะมงกฎุ จักรพรรดิ หมวกขนุ นาง นักรบ รองเทาเปนรองเทาผาพ้ืนเรียบ ผูแสดงแตงหนาเองตาม บทบาทท่แี สดง 4. ดนตรี และการขับรอง เปนสวนประกอบที่สําคัญในการแสดงอุปรากรจีน ซึ่งเคร่ือง ดนตรีประเภทบุนประกอบดวยเครื่องดีด เครื่องสี ที่สําคัญ ไดแก ซอปกก่ิง กีตารทรงกลมคลาย พระจันทร แบนโจสามสาย ขลุย ป ออรแกน แตรจีน สวนเครื่องดนตรีประเภทบู ประกอบดวย เคร่ืองดนตรี และเคร่ืองกระทบ ไดแก กรับ กลองหนัง กลองเต้ีย กลองใหญ ฆองใหญ ฆองเล็ก ฆอ งชดุ และฉาบ 5. ลักษณะการขบั รอ งนับวา เปน หวั ใจสําคัญ เพราะผูชมตองการฟงความไพเราะของการ ขับรองเพลงมากกวาการตดิ ตามดูเพ่ือใหทราบเนอื้ รอง 6. เวที ฉาก และอปุ กรณทใ่ี ชในการแสดง สมยั โบราณเวทีมกั สรางดวยอฐิ หิน เรยี กวา “สวนนํ้าชา” หรอื “โรงนา้ํ ชา” เวทชี ่วั คราวสรา งดว ยไมร ูปสี่เหลย่ี ม มีหลังคา ยดึ ดวยเสา 4 ตัว พน้ื เวทปี ดู วยเสอ่ื หรือพรม อุปกรณโ ตะ 1 ตวั เกาอี้ 2 ตัว ไมม ีมา น ดา นหนา ประดับดว ย อาวธุ เชน ดาบ หอก ธนู หลาว ทวน กระบอง 9. ละครโนคาบกู ิคืออะไร และใหอธบิ ายรายละเอยี ดของละครโนะ - ละครโนะ เปน ละครแบบโบราณ มกี ฎเกณฑและระเบียบแบบแผนในการแสดง มากมายในปจจุบันถือ เปน ศลิ ปะชน้ั สูงประจําชาติของญปี่ ุน ลกั ษณะพเิ ศษ ของละครโนห ก็คือ หนากาก ตัวละครเอกจะ สวมหนากากซึง่ แกะสลักจากไมอยูตลอดเวลาและไมเปดเผยใบหนาจริงโดยเด็ดขาด หนากากซึ่ง แสดงใหเห็นถึงเพศ อายุ ประเภทของตัวละคร และสีหนาของตัวละคร ซ่ึงอาจจะเปนหนากาก ปศาจชายหนมุ หญงิ สาว ชายแก หญิงแก ตามแตเน้อื เร่ือง สว นตัวรองจะไมใ สหนา กาก

100 - ละครคาบูกิ คาบูกิละครอีกแบบหน่งึ ของญีป่ นุ ท่ีไดร ับความนยิ มมากกวาละครโนะ มีลักษณะเปน การ เช่อื มประสานความบนั เทงิ จากมหรสพของยคุ เกา เขากบั ยคุ ปจ จุบันคาํ วา “คาบูกิ” หมายถงึ การผสมผสานระหวางโอเปรา บัลเลต  และละคร ซง่ึ มีทง้ั การรอง การรํา และการแสดงละคร 10. ใหบอกประโยชนของนาฏศลิ ปส ากลกบั การพัฒนาสงั คม - ประโยชนของนาฏศิลปสากลกบั การพัฒนาสังคม 1. ใชใ นรัฐพิธีและราชพธิ ี 2. ใชใ นการสังสรรคและการบันเทิงในสังคม 3. ใชเพือ่ การส่อื สารในสังคมโดยการใชท าทางการเตนหรือรา ยราํ 4. ใชในการศึกษา ท้ังการศกึ ษาทางดา นศลิ ปะโดยตรงหรอื ใชก ารศกึ ษาดานอื่นๆ 5. ใชเพอ่ื การอนุรกั ษ และเผยแพรเอกลักษณของชาติ 6. ใชสง เสริมสขุ ภาพและพลานามัยของคนในสงั คมและการแกป ญหาทมี่ อี ยูในสังคม 7. ใชพัฒนาจิตใจใหละเอียดออนและสรา งเสรมิ จรยิ ธรรมในจติ ใจ 8.ใหบอกประโยชนของการเรยี นนาฏศลิ ปวาผูเ รยี นจะมีการพฒั นาอะไรบา ง - การเรยี นนาฏศิลปส ากลทําใหเ กดิ การพัฒนาแกผูเรียน ดงั นี้ 1. ทําใหเปน คนรื่นเริงแจม ใส 2. มคี วามสามัคคีในหมูคณะ 3. สามารถยึดเปน อาชีพได 4. ทาํ ใหร จู ักดนตรสี ากลและเพลงตา ง ๆ 5. ทาํ ใหเ กิดความจําและไหวพริบดี 6. ชว ยใหเ ปนคนที่มีการเคลือ่ นไหวทสี่ งา งาม 7. ชว ยในการออกกําลงั กายไดเ ปนอยางดี 8. เมอ่ื ไดร ับความรูน าฏศิลปส ากลจนเกดิ ความชํานาญอาจมีชือ่ เสยี งได 8. ลลี าศจงั หวะมาตรฐานสากลนิยม แบง เปน กีร่ ูปแบบ แตล ะ รปู แบบมจี ังหวะอะไรบาง จงั หวะมาตรฐานสากลนิยม แบง เปน 2 รูปแบบ คอื 1. การลีลาศแบบบอลรมู (Ballroom หรอื Standard) มี 5 จงั หวะไดแ ก 1) วอลซ (Waltz) 2) แทงโก (Tango) 3) สโลว ฟอกซทรอท (Slow Foxtrot)

101 4) เวยี นนสี วอลซ (Viennese Waltz) 5) ควิกสเตป็ (Quick Step) 2 การลีลาศแบบละตนิ – อเมริกา (Latin-American) มจี ังหวะทเ่ี ปนมาตรฐาน 5 จงั หวะคือ 1) ชา ชา ชา (Cha Cha Cha) 2) แซมบา (Samba) 3) ควิ บัน รัมบา (Cuban Rumba) 4) พาโซโดเบล (Paso Doble) 5) ไจวฟ (Jive) 9. บอกประโยชนของการลีลาศ 1. กอใหเ กดิ ความซาบซ้ึงในจงั หวะดนตรี 2. กอ ใหเกดิ ความสนกุ สนาน เพลดิ เพลนิ 3. เปนกิจกรรมนันทนาการ และเปนการใชเวลาวางใหเปนประโยชน 4. เปนกจิ กรรมส่อื สัมพันธท างสังคม ที่ผูชายและผหู ญิงสามารถเขา รวมในกจิ กรรมพรอ ม กันได 5. ชว ยพัฒนาทักษะทางรา งกาย 6. ชวยสง เสริมสุขภาพพลานามยั ทง้ั ทางดานรางกายและจติ ใจ 7. ทาํ ใหม รี ปู รา งทรวดทรงงดงาม สมสว น มบี ุคลิกภาพสงา งาม 8. ชวยผอนคลายความตงึ เครยี ดทางดา นรางกาย จิตใจ อารมณและสังคม 9. ชวยใหรจู กั การเขาสงั คม และรูจักการอยูรวมกันในสงั คมไดเปน อยางดี 10. ชวยสงเสริมใหม ีความเช่อื มั่นในตนเอง กลาแสดงออกในส่งิ ทดี่ ีงาม 11. ทําใหม ีความซาบซึง้ ในวฒั นธรรมอันดี 12. เปนกิจกรรมท่ีกอใหเ กดิ ความคดิ ริเร่ิมสรา งสรรค 13. เปนกจิ กรรมท่ีสามารถชวยแกไขขอ บกพรองทางกายได

102 เฉลยกิจกรรมที่ 3.2 ใหผ ูเรยี นดูภาพการแสดงนาฏศิลปดานซายมอื แลวโยงเสน กับคาํ ตอบดานขวามอื (ขอ ละ1 คะแนน รวม 5 คะแนน) ละครแพนโทไมน วอลซ (Waltz) ละครคาบกู ิ แทงโก (Tango) งว้ิ ปกกงิ่ ละครโนะ

103 เฉลยกิจกรรมท่ี 3.3 ใหผูเรียนสืบคน ขอ มูลเร่ือง “ประวัติการลีลาศในประเทศไทย” จากแหลง คนควา ตางๆ เชน เว็บไซต หองสมุดฯลฯ และเขียนเปนบันทึกไวดา นลางน้ี (แนวทางตอบ) “ประวัตกิ ารลลี าศในประเทศไทย” เกิดขึ้นในสมัย พระบาทสมเด็จพระจอมเกลาเจาอยูหัว (รัชกาลที่ 4) โดยมีบันทึกของ หมอมแอนนา วาไดล องแนะนาํ ใหทานรูจกั กับการเตนของชนชั้นสูง แตทานกลับรูจักการเตนชนิด น้ันไดด ีอยแู ลว จึงคาดวา นา จะทรงศึกษาจากตาํ ราตา งประเทศดวยพระองคเอง ตอมาลีลาศคอย ๆ เปนที่นิยมขึ้นเรื่อย ๆ ในสมัย พระบาทสมเด็จพระปกเกลาเจาอยูหัว (รัชกาลท่ี 7) และมีการจัดต้ัง สมาคมสมัครเลนเตนรํา ขึ้นใน พ.ศ. 2475 โดยมี หมอมเจาไวทยา กร วรวรรณ เปนประธาน และจัดการแขงขนั เตน รําขึ้นท่วี ังสราญรมย โดยมี พลเรือตรี เฉียบ แสง ชโู ต และ คุณประนอม สขุ ุม เปน ผูช นะในคร้ังน้ัน และคําวา \"ลีลาศ\" ก็ไดถูกบัญญัติข้ึนในป พ.ศ. 2476 และเกิด สมาคมครูลีลาศแหง ประเทศไทย ข้ึนมาแทน สมาคมสมคั รเลน เตน ราํ หลงั จากเกดิ สงครามโลกคร้งั ท่ี 2 การเตน ลลี าศกซ็ บเซาลงไป และกลับมาคึกคักอีกครั้งใน ป พ.ศ. 2488 จนกระท่ังยื่นจดทะเบียนสมาคมเม่ือวันที่ 16 ตุลาคม พ.ศ. 2491 และใชชื่อวา สมาคมลลี าศแหง ประเทศไทย ต้ังแตนนั้ มา

104 เฉลยกจิ กรรมทา ยบทท4่ี เฉลยกิจกรรมท่ี 4.1 1. การออกแบบ หมายถงึ อะไร - การออกแบบ หมายถึง การรูจ กั การวางแผนจดั ตัง้ ขนั้ ตอนและรจู ักเลอื กใชว สั ดุ วธิ ีการเพ่ือทาํ ตามทต่ี อ งการนนั้ โดยใหส อดคลอ งกบั ลักษณะ รปู แบบและคุณสมบตั ิของ วัตถแุ ตละชนิดตามความคิดสรา งสรรค . 2. ลกั ษณะอาชีพมณั ฑนากรหรือนกั ออกแบบตกแตง เปนอยางไร - ลักษณะอาชพี นจ้ี ะทํางานเกี่ยวกับการออกแบบและตกแตงภายในอาคาร สาํ นักงาน อาคารอยูอาศัย และบานเรอื น ใหเปนไปตามความตองการของลกู คา ตอ งทํางานตาม ขั้นตอน และกําหนดเวลาช้ินผลงานตา ง ๆ รว มกับผูวาจางโดยมีขั้นตอนการทาํ งานดังน้ี 1. บนั ทึกรายละเอียด ความตองการของลูกคาเพ่ือออกแบบให ประทับใจและได รสนิยมตรงตามความตอ งการของลกู คา 2. ศึกษาโครงสรางของงาน คาํ นวณแบบ ประมาณราคา และเลือกวัสดุตกแตงให ประโยชนสงู สุดกบั ลูกคา และใหต รงเปา หมายและประโยชนใ ชสอย 3. สง แบบท่วี าดและเสนองบประมาณใหลกู คาพจิ ารณา 4. เมื่อผานการแกไขดดั แปลงแบบใหส มบรู ณแ ลว จึงสงแบบใหก ับชางตา ง ๆ เชน ชางไม หรือชางเช่อื มเหลก็ ใหท ํางานตามโครงสรางทีอ่ อกแบบไว 5. ปฏบิ ัติงาน และประสานงานกับระบบและหนว ยงานท่เี ก่ยี วขอ ง 6. ใหค ําปรกึ ษาแนะนาํ แกช า งเพ่ือใหก ารออกแบบเปน ไปตามเงอ่ื นไขสญั ญา 3. ผทู ่ปี ระกอบอาชีพนักออกแบบเคร่อื งเฟอรน เิ จอรควรมคี ุณสมบตั ิอยา งไร - ผปู ระกอบอาชพี นกั ออกแบบเครอื่ งเฟอรน ิเจอรจ ะปฏิบตั งิ านตามขัน้ ตอน ดังนี้ 1. ออกแบบผลิตภณั ฑ โดยอาจใชก ราฟก คอมพิวเตอรเขาชวยในการออกแบบ เพื่อใหภาพ ออกมา มีมิติ และสมบูรณแบบเสนอผวู า จางหรือลกู คา พิจารณา 2. สรางแบบจาํ ลองและทดลองทําผลิตภัณฑตนแบบโดยผสมผสานวัสดุทองถ่ินท่ีแตกตาง กันซึ่งมคี วามแข็งแรงและทนทานโดยคํานงึ ถงึ ประโยชนใ ชสอยสูงสดุ และตรวจสอบการทดลองใช 3. เขยี นเทคนิควิธีการประกอบแบบ ระบบพิกัดพรอ มทง้ั ข้นั ตอนในการปฏิบัตใิ นโรงงาน 4. ประมาณการตนทุนคา ใชจ า ย เพื่อใหมรี าคายอมเยาสาํ หรับผูใ ช

105 4. ลักษณะของอาชีพออกแบบเสอ้ื ผาแฟชั่นเปนอยางไร - อาชีพออกแบบเส้ือผา มลี กั ษณะดงั น้ี 1. รวบรวมความคิดขอ มูลท่ีเปน สดั สว นจากลูกคา หรือผูว าจา ง 2. ศกึ ษารูปแบบงานท่มี อี ยูถาสามารถนาํ กลบั มาใชใ หมห รอื ดดั แปลงเพ่อื ลดระยะเวลาการ ทาํ งานและตน ทนุ การผลิต ในเวลาเดียวกนั ตองทาํ การคนควา วิจยั ดว ย 3. ทาํ การรางแบบครา วๆ โดยคมุ ใหอ ยใู นแนวความคิดดังกลาวใหไ ดต ามความตอ งการ 4. นาํ ภาพทรี่ า ง แลวใหผ วู าจา งพิจารณา เพ่ือหาแนวทางในการพัฒนาการผลิตรวมทั้งการ ใช วตั ถุดบิ และประเมินราคา 5. นําภาพรา งที่ผานการพจิ ารณาและแกไ ขแลวมาสรางแบบ (Pattern) วิธีท่ีจะตองตัดเย็บ ใน รายละเอยี ด ปก กนุ เดินลาย หรอื อัดพลีดแลวนํามาลงสีตามจริง เขียนภาพและอธิบายวิธีการ ทําใหล ะเอียดและชดั เจนทส่ี ุดเทา ทีส่ ามารถจะทาํ ไดเ พอ่ื ใหชา งทาํ ตามแบบได 6. สงแบบหรือชุดท่ตี ดั เนาไวใหฝา ยบรหิ ารและลูกคา หรือผูวาจาง พิจารณาทดลองใสเพ่ือ แกไขขอบกพรองขน้ั สดุ ทา ย 7. นําแบบที่ผวู า จา งเห็นชอบทาํ งานประสานกับชางตัดเย็บ ชางปก เพื่อใหไดผลงานตามท่ี ลูกคาตอ งการ

106 บรรณานกุ รม กําจร สุนพงษศรี. ประวัตศิ าสตรศ ลิ ปะตะวนั ตก. กรงุ เทพฯ : คาลเดยี เพรสบุค, ๒๕๕๒. จีรพนั ธ สมประสงค. ศิลปะกบั ชีวติ . กรุงเทพฯ : โอเดียนสโตร, ๒๕๔๑. ชะลูด น่มิ เสมอ. องคประกอบศิลป. กรงุ เทพฯ : ไทยวฒั นาพานิช, ๒๕๓๙. ทวเี ดช จ๋ิวบาง. ความคดิ สรางสรรคศ ิลปะ. กรงุ เทพฯ : โอเดยี นสโตร, ๒๕๓๗. ประเสริฐ ศิลรัตนา. สุนทรียะทางทศั นศลิ ป. กรุงเทพฯ : โอเดียนสโตร, ๒๕๔๒. มานพ ถนอมศรี และคณะ. ศิลปะกบั ชีวติ ๔. กรุงเทพฯ : บรทั สํานกั พมิ พแ มค็ จาํ กดั , ๒๕๔๒. วิรุณ ตั้งเจรญิ , อาํ นาจ เยน็ สบาย. สรางสรรคศ ิลปะ ๔. กรุงเทพฯ : อกั ษราเจรญิ ทัสน, ม.ป.ป. วชิ าการ, กรม. ทฤษีและการปฏบิ ัตกิ ารวจิ ารณศ ลิ ปะ, กรุงเทพฯ : องคก ารคา คุรสุ ภา, ๒๕๓๓. วชิ าการ, กรม. ศลิ ปะกบั ชีวติ ม.๑-๖. กรุงเทพฯ : องคก ารคาครุ ุสภา, ๒๕๓๖. วิญู ทรัพยประภา และคณะ. ศิลปะกบั ชีวิต ม.๑-๖, กรงุ เทพฯ : ประสานมติ ร, ๒๕๓๕. ศิลป พีระศร.ี ทฤษฎีองคป ระกอบ, กรุงเทพฯ : กรมศิลปากร, ๒๔๔๗. สุดใจ ทศพร และโชดก เกงเขตรกิจ. ศิลปะกบั ชวี ติ ม.๑-๖. กรงุ เทพฯ : ไทยวฒั นาพานิช, ๒๕๓๖.

107 สาํ นกั งานสง เสรมิ การศกึ ษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศยั . ผงั การออกขอ สอบ สาระทกั ษะการดําเนนิ ชวี ติ หลกั สตู รการศกึ ษานอกระบบระดบั การศกึ ษาขัน้ พน้ื ฐาน พทุ ธศกั ราช 2551. กรุงเทพฯ : กระทรวงศกึ ษาธกิ าร, มปป. สาํ นักงานสงเสรมิ การศึกษานอกระบบและการศกึ ษาตามอัธยาศัย. หนังสอื เรยี นสาระ ทักษะการดาํ เนนิ ชีวติ รายวิชาศลิ ปศกึ ษา (ทช 31003) ระดบั มัธยมศกึ ษาตอนปลาย (ฉบบั ปรบั ปรงุ พ.ศ.2554). กรุงเทพฯ : สาํ นักงาน กศน. กลมุ พัฒนาการศึกษานอกโรงเรยี น, 2555. (เอกสารอัดสาํ เนา) สํานักงานกศน. รายวิชาศลิ ปศึกษา ระดบั มัธยมศึกษาตอนปลาย (ทช 31003). กรงุ เทพฯ : กระทรวงศกึ ษาธิการ, 2552. http://pineapple-eyes.snru.ac.th/cram/?q=node/126 (เขาถงึ เมอ่ื วนั ท่ี 13 มกราคม 2557) http://preede.wordpress.com/. (เขาถงึ เม่ือวันท่ี 13 มกราคม 2557) https://www.facebook.com/permalink.php?story_fbid=322769294476506&id=3098 38629102906 (เขาถึงเมอ่ื วนั ที่ 13 มกราคม 2557) http://www.oknation.net/blog/x-vista/2009/01/25/entry-1 (เขาถึงเม่อื วันท่ี 14 มกราคม 2557) http://www.sereechai.com/ (เขา ถงึ เมอ่ื วนั ท่ี 15 มกราคม 2557) http://www.thai.cri.en.com/china radio international/2014/01/14. (เขาถึงเมือ่ วันท่ี 13 มกราคม 2557)

108 คณะผูจัดทาํ ที่ปรกึ ษา บญุ เรอื ง เลขาธกิ าร กศน. 1. นายประเสรฐิ ทับสุพรรณ รองเลขาธกิ าร กศน. 2. นายชาญวทิ ย จําจด รองเลขาธกิ าร กศน. 3. นายสรุ พงษ จันทรโ อกลุ ผเู ชยี่ วชาญเฉพาะดานพัฒนาสือ่ การเรยี นการสอน 4. นางวัทนี สวุ รรณพิทักษ ผูเ ชีย่ วชาญเฉพาะดานการเผยแพรท างการศกึ ษา 5. นางกนกพรรณ งามเขตต ผอู าํ นวยการกลุม พฒั นาการศึกษานอกโรงเรียน 6. นางศุทธินี ผเู ขยี นและเรยี บเรยี ง นายสุรพงษ ม่ันมะโน กลุมพฒั นาการศกึ ษานอกโรงเรียน ผบู รรณาธกิ าร จนั ทนสคุ นธ ขา ราชการบํานาญ 1. นายวิวฒั นไชย ศริ ิพร สถาบัน กศน. ภาคตะวันออก 2. นางชอทพิ ย คณะทาํ งาน กลุม พฒั นาการศึกษานอกโรงเรียน 1. นายสุรพงษ มั่นมะโน กลุมพฒั นาการศกึ ษานอกโรงเรยี น 2. นายศุภโชค ศรีรัตนศิลป กลมุ พฒั นาการศึกษานอกโรงเรยี น 3. นางสาวสลุ าง เพช็ รสวาง กลุมพฒั นาการศึกษานอกโรงเรียน 4. นางสาวเบ็ญจวรรณ อาํ ไพศรี กลมุ พฒั นาการศึกษานอกโรงเรยี น 5. นางสาวชมพนู ท สงั ขพิชัย ผพู มิ พต น ฉบับ 1. นางสาวเบญ็ จวรรณ อําไพศรี กลมุ พฒั นาการศกึ ษานอกโรงเรยี น 2. นางสาวฐิติมา วงศบ ณั ฑวรรณ กลมุ พัฒนาการศกึ ษานอกโรงเรยี น ผูออกแบบปก ศรรี ตั นศลิ ป กลมุ พฒั นาการศกึ ษานอกโรงเรยี น นายศุภโชค

109 คณะผูจดั ทํากิจกรรมทา ยบทเอกสารสรุปเนอื้ หาท่ตี องรู ระหวา งวนั ที่ 1- 3 มิถนุ ายน 2559 ณ หองประชุมบรรจง ชสู กลุ ชาติ ชน้ั 6 สํานักงาน กศน. ท่ีปรกึ ษา 1. นายสุรพงษ จาํ จด เลขาธิการ กศน. 2. นายกิตตศิ กั ด์ิ รตั นฉายา รองเลขาธกิ าร กศน. 3. นางพรรณทพิ า ชนิ ชัชวาล ผูอาํ นวยการกลุมพัฒนาระบบการทดสอบ ผูเขียน/ผเู รยี บเรียง และบรรณาธิการ 1. นายสฤษด์ชิ ัย ศิรพิ ร สถาบัน กศน.ภาคตะวันออก 2. นางชอ ทิพย ศิรพิ ร สถาบนั กศน.ภาคตะวนั ออก 3. นายทรงชัย สทุ ธิพันธ สํานักงาน กศน.จงั หวดั นนทบรุ ี 4. นายสรุ พงษ มนั่ มะโน กลมุ พัฒนาการศกึ ษานอกระบบ และการศกึ ษาตามอัธยาศยั 5. นายศุภโชค ศรีรตั นศิลป กลมุ พัฒนาการศึกษานอกระบบ และการศึกษาตามอธั ยาศัย คณะทํางาน 1. นางเกณกิ า ซิกวารท ซอน กลุม พฒั นาระบบการทดสอบ 2. นายธานี เครอื อยู กลุมพัฒนาระบบการทดสอบ 3. นางสาวจุรีรัตน หวังสริ ริ ตั น กลุมพัฒนาระบบการทดสอบ 4. นางสาวอษุ า คงศรี กลุมพฒั นาระบบการทดสอบ 5. นางสาวกรวรรณ กววี งษพพิ ัฒน กลมุ พฒั นาระบบการทดสอบ 6. นายภาวติ นิธิโสภา กลุมพัฒนาระบบการทดสอบ 7. นางสาวหทัยมาดา ดิฐประวรรตน กลมุ พัฒนาระบบการทดสอบ

110


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook