Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore ศิลปศึกษา ทช 31003 ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย

ศิลปศึกษา ทช 31003 ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย

Published by Patong. CLC., 2020-04-26 00:48:17

Description: หนังสือเรียนวิชา ศิลปศึกษา ทช 31003 ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย นี้ ใช้สำหรับนักศึกษา กศน. เพื่อค้นคว้าหาคำตอบในการเรียนรู้ของภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2563

Search

Read the Text Version

45 ภาพที่ 2 .............................................................................................................................................. .............................................................................................................................................. .............................................................................................................................................. .............................................................................................................................................. .............................................................................................................................................. .............................................................................................................................................. .............................................................................................................................................. .............................................................................................................................................. .............................................................................................................................................. .............................................................................................................................................. .............................................................................................................................................. .............................................................................................................................................. .............................................................................................................................................. .............................................................................................................................................. .............................................................................................................................................. .............................................................................................................................................. .............................................................................................................................................. ..............................................................................................................................................

46 ภาพที่ 3 .............................................................................................................................................. .............................................................................................................................................. .............................................................................................................................................. .............................................................................................................................................. .............................................................................................................................................. .............................................................................................................................................. .............................................................................................................................................. .............................................................................................................................................. .............................................................................................................................................. .............................................................................................................................................. .............................................................................................................................................. .............................................................................................................................................. .............................................................................................................................................. .............................................................................................................................................. .............................................................................................................................................. .............................................................................................................................................. .............................................................................................................................................. .............................................................................................................................................. .............................................................................................................................................. .............................................................................................................................................. ....................................................................................................................................

47 บทที่ 2 ดนตรี เรอ่ื งท่ี 2.1 ประวัตแิ ละความเปน มาของดนตรสี ากล เครื่องดนตรสี ากลทีช่ าวตะวนั ตกสรา งขน้ึ ในยคุ แรก ๆ คอื อะไร การกาํ เนดิ ของดนตรตี ะวันตกนั้นมาจากเคร่อื งดนตรีของชนชาติ กรกี โบราณที่ สรา งเคร่ือง ดนตรีขึ้นมา 3 ชนิดคือ ไลรา คธี ารา และออโรส ไลร าและคีธารา ในยุคโบราณเครอ่ื งดนตรสี ากลระยะแรกมกี ี่แนวเสยี ง ตง้ั แตส มัยโบราณจนถึงปจ จุบัน ในระยะแรก ดนตรีมีเพียงแนวเสียงเดยี วเทานั้นเรยี กวา Melody และไมม กี ารประสานเสยี ง ดนตรีสากลแบงออกเปน กี่ยคุ อะไรบาง 1. ยคุ กลาง (Middle Ages) ยุคน้ีคือ ชวงเวลาระหวา งศตวรรษที่ 5 - 15 (ราว ค.ศ. 450 - 1400) อาจเรียกวา ยคุ เมดิอีวลั (Medieval Period) ดนตรใี นยุคน้ีเปนเพลงรองโดยมีแนว ทาํ นองหลายแนวสอดประสานกัน ซง่ึ พัฒนามาจากเพลงสวด และเปนเพลงแบบมีทาํ นองเดียว (Monophony) ในระยะแรกเปนดนตรีที่ไมมอี ตั ราจงั หวะ ในระยะตอมาใชอัตราจังหวะ ¾ ตอ มาใน ศตวรรษท่ี 14 มกั ใชอตั ราจังหวะ 2/4 เพลงรอ งพบไดท วั่ ไป และเปนท่ีนิยมมากกวา เพลงท่บี รรเลง ดวยเครอ่ื งดนตรี รปู แบบของเพลงเปนแบบลอ ทํานอง

48 เปนยคุ ท่ีดนตรีมีกฎเกณฑแ บบแผนอยางมาก อยูในระหวางศตวรรษท่ี 18 และชวงตนศตวรรษท่ี 19 (ค.ศ. 1750 -1825) การใสเ สียงประสานเปน ลักษณะเดน ของยุคนี้ การสอดประสานพบไดบา ง แตไมเ ดนเทา การใสเ สียงประสาน การใชบ ันไดเสยี งเมเจอร และไมเนอร เปนหลักในการประพันธ เพลง ลักษณะของบทเพลงมีความสวยงามมีแบบแผน บริสทุ ธิ์ มกี ารใชลักษณะของเสียงเกยี่ วกับ ความดังคอ ยเปนสําคญั ลีลาของเพลงอยใู นขอบเขตท่ีนกั ประพันธใ นยุคน้ยี อมรบั กนั ไมม ีการแสดง อารมณ หรือความรูสกึ ของผปู ระพันธไวใ นบทเพลงอยางเดน ชัด 2. ยคุ รีเนซองค (Renaissance Period) เปนดนตรีในชว งครสิ ตศตวรรษที่ 15-16 (ราว ค.ศ. 1450 - 1600) การสอดประสาน (Polyphony) ยังเปน ลกั ษณะของเพลงในยุคน้โี ดยมีการลอ กันของแนวทํานองเดยี วกัน ลกั ษณะ บันไดเสยี งเปนแบบโหมด (Modes) ยงั ไมนยิ มแบบบันไดเสียง (Scales) การประสานเสียงเกิดจาก แนวทํานองแตละแนวสอดประสานกัน มไิ ดเกิดจากการใชค ณุ สมบตั ขิ องคอรด ลกั ษณะของจังหวะ มที ้งั เพลงแบบมอี ตั ราจังหวะ และไมม ีอัตราจงั หวะ ลกั ษณะของเสยี งเกี่ยวกับความดังคอย ยังมี นอ ยไมค อยพบ ลกั ษณะของเพลงมีความนิยมพอๆกัน ระหวางเพลงรองและบรรเลงดว ยเครอื่ ง ดนตรี เริม่ มกี ารผสมวงเล็กๆ เกดิ ข้นึ 3. ยุคบาโรค (Baroque Period) เปนยคุ ของดนตรใี นระหวา งศตวรรษที่17 - 18 (ราว ค.ศ. 1600 - 1750) มกี ารใช ลักษณะการใสเ สยี งประสาน เร่ิมนยิ มการใชเ สยี งเมเจอร และไมเนอร แทนการใชโหมดตา งๆ การ ประสานเสยี งมีหลกั เกณฑเปน ระบบ มีการใชเ สยี งหลัก อัตราจังหวะเปนส่งิ สาํ คัญของบทเพลง การใชลกั ษณะของเสียงเกยี่ วกับความดงั คอ ย เปนลกั ษณะของความดงั -คอ ย มากกวา จะใช ลกั ษณะคอยๆ ดงั ขึ้นหรือคอ ยๆลง ไมมีลกั ษณะของความดงั คอ ยอยางมาก บทเพลงบรรเลงดวยเครื่องดนตรีเปน ทน่ี ยิ มมากขึ้น บทเพลงรอ งยังคงมีอยแู ละเปนทีนิยม เชนกัน นยิ มการนําวงดนตรีเลน ผสมกับการเลน เดี่ยวของกลมุ เครื่องดนตรี 2-3 ชิ้น 4. ยุคคลาสสิค (Classical period) เปนยคุ ท่ีดนตรีมีกฎเกณฑแบบแผนอยางมาก อยใู นระหวา งศตวรรษท่ี 18 และชวงตน ศตวรรษท่ี 19 (ค.ศ. 1750 - 1825) การใสเ สียงประสานเปน ลกั ษณะเดนของยุคน้ี การสอด ประสานพบไดบ างแตไ มเดนเทา การใสเสยี งประสาน การใชบนั ไดเสยี งเมเจอร และไมเนอร เปน หลกั ในการประพันธเ พลง ลักษณะของบทเพลงมคี วามสวยงามมีแบบแผน บรสิ ุทธิ์ มีการใช ลกั ษณะของเสียงเก่ียวกบั ความดงั คอยเปนสาํ คัญ ลลี าของเพลงอยใู นขอบเขตที่นกั ประพันธใ นยุค นี้ยอมรับกัน ไมม กี ารแสดงอารมณ หรอื ความรูสึกของผปู ระพนั ธไวใ นบทเพลงอยา งเดน ชัด

49 การผสมวงดนตรีพัฒนามากข้นึ การบรรเลงโดยใชว งสลบั การเดย่ี วดนตรขี องผเู ลนเพียงคน เดยี ว เปน ลกั ษณะที่นยิ มในยคุ นี้ บทเพลงประเภทซิมโฟนีมีแบบแผนท่นี ิยมกันในยุคนี้เชนเดียวกับ เพลงเด่ียว(Sonata) ซ่ึงเปน การเดยี่ วเครื่องดนตรชี นดิ ตา งๆทงั้ เพลง กเ็ ปนทน่ี ยิ มเปนอยางมาก บท เพลงรองมลี ักษณะซับซอนกันมากขน้ึ เชน เดียวกบั บทเพลงบรรเลงดวยเครือ่ งดนตรี 5. ยคุ โรแมนตกิ (Romantic period) เปนยุคของดนตรีระหวางคริสตศตวรรษที่ 19 (ราว ค.ศ. 1825-1900) ลักษณะเดนของ ดนตรีในยคุ น้ี คอื เปน ดนตรที ่แี สดงความรสู ึกของนกั ประพนั ธเ พลงเปนอยางมาก ฉะน้ันโครงสราง ของดนตรจี งึ มหี ลากหลายแตกตางกันไปในรายละเอียด โดยการพัฒนาหลักการตางๆ ตอจากยุค คลาสสคิ หลกั การใชบ ันไดเสยี งไมเนอรแ ละเมเจอร ยงั เปน ส่งิ สาํ คัญ แตลักษณะการประสานเสียง มีการพัฒนาและคิดคนหลักใหมๆ ข้ึนอยางมากเพื่อเปนการส่ือสารแสดงออกทางอารมณและ ความรสู กึ ของผูประพันธเ พลง การใสเสียงประสานจึงเปนลักษณะเดนของเพลงในยุคนี้ บทเพลง มกั จะมคี วามยาวมากขน้ึ โครงสรางดนตรี มีการใสสีสันของเสียงจากเคร่ืองดนตรีเปนส่ือในการแสดงออกทาง อารมณ ลักษณะการผสมวงพัฒนาไปมาก วงออรเคสตรามีขนาดใหญมากข้ึนกวาในยุคคลาสสิค บทเพลงมลี กั ษณะตา งๆกนั ออกไป เพลงซิมโฟนี โซนาตา และแชมเบอรมิวสิก ยังคงเปนรูปแบบท่ี นิยมนอกเหนือไปจากเพลงลักษณะอ่ืนๆ นักดนตรีท่ีควรรูจักในยุคน้ีมีเปนจํานวนมาก เชน โมสารท และบโี ทเฟน 6. ยคุ อิมเพรสชนั่ นสิ ตคิ (Impressionistic Period หรอื Impressionism) เปน ดนตรีอยูในชวงระหวาง ค.ศ. 1890 – 1910 ลกั ษณะสาํ คัญของเพลงยุคน้ีคือ ใชบันได เสียงแบบเสียงเต็ม ซ่ึงทําใหบทเพลงมีลักษณะลึกลับ คลุมเครือไมกระจางชัด เนื่องมาจากการ ประสานเสียงโดยใชในบันไดเสียงแบบเสียงเต็ม บางคร้ังจะมีความรูสึกโลงๆวางๆ เสียงไมหนัก แนน ดงั เชน เพลงในยคุ โรแมนตกิ การประสานเสียงไมเปน ไปตามกฎเกณฑ ในยุคกอนๆ สามารถ พบการประสานเสียงแปลก ๆ ไมคาดคดิ ไดใ นบทเพลงประเภทอิมเพรสชั่นนิซึ่ม รูปแบบของเพลง เปนรูปแบบงา ย มกั จะเปน บทเพลงสัน้ ๆ รวมเปน ชุด นักดนตรที คี่ วรรจู ัก คือ เดอบูสซี ราเวล และ เดลิอุส 7. ยคุ ศตวรรษท่ี 20 (Contemporary Period) ดนตรีในยุคศตวรรษท่ี 20 เปนยุคของการทดลองส่ิงแปลกๆ ใหมๆ และนําเอาหลักการ เกา ๆ มากพัฒนาเปลย่ี นแปลงปรบั ปรุงใหเขากับแนวความคิดในยุคปจจุบัน โครงสรางดนตรีแบบ การสอดประสาน มีการใชประสานเสียงโดย การใชบันไดเสียงตางๆ รวมกัน และการไมใชเสียง

50 หลักในการแตงทํานองหรือประสานเสียงจึงเปนเพลงแบบใชบันไดเสียง 12 เสียงซ่ึงเรียกวา Atonality อัตราจังหวะท่ีใชทีการกลับไปกลับมา ลักษณะสําคัญอีกประการหนึ่งคือ การใชการ ประสานเสียงท่ีฟง ระคายหูเปน พน้ื วงดนตรีกลับมาเปนวงเล็กแบบเชมเบอรมิวสิก ไมนิยมวงออรเคสตรามักมีการใช อิเลคทรอนิกส ทําใหเกิดเสียงดนตรีซ่ึงมีสีสันที่แปลกออกไป เนนการใชจังหวะรูปแบบตางๆ บางคร้งั ไมมที ํานองท่ีโดดเดน ในขณะทแ่ี นวคดิ แบบโรแมนตกิ มกี ารพฒั นาควบคูไปเชนกัน เรียกวา นีโอโรแมนติก ดนตรีที่ควรรูจักในยุคนี้ คือ สตราวินสกี โชนเบิรก บารตอก เบอรก ไอฟส คอป แลนด ปน ตน เรอ่ื งที่ 2.2 ประเภทของเครอ่ื งดนตรสี ากล เคร่อื งดนตรีสากลในปจ จบุ นั สามารถจําแนกไดก ีป่ ระเภทอะไรบา ง เครือ่ งดนตรีสากลในปจ จุบันสามารถจําแนกหรอื จัดเปน ประเภทใหญๆ ตามลกั ษณะของ เสยี งท่ีคลายคลงึ กัน และลักษณะของเคร่ืองดนตรี แบงออกเปน 5 ประเภทใหญๆ ดังน้ี 1. เครื่องสาย (String Instruments) 2. เคร่อื งลมไม (Woodwind Instruments) 3. เครอ่ื งลมทองเหลอื ง (Brass Instruments) 4. เครื่องลิม่ น้ิว (Keyboard Instruments) 5. เครอ่ื งต(ี Percussion Instruments)

51 1. เคร่ืองสาย (String Instruments) เครอ่ื งดนตรีประเภทเครอ่ื งสาย ไดแ ก ไวโอลนิ (Violin) คอื เครื่องดนตรที ่ี กําเนิดเสียงในระดับสูง เปนเครื่องดนตรีในตระกูล ไวโอลิน (Violin Far) ทั้งหมด 4 ชนิด คือ ไวโอลิน วิโอลา เชลโล และคอนทราฮารป (Harp) เครื่องดนตรีประเภทเครื่องสาย ซ่งึ แตกตางจากเครอ่ื งสายประเภทอืน่ ๆ คือ การขึงสายจะไมผานกลองเสียง (Sounding Board) เหมือนเครอ่ื งดนตรีชนดิ อืน่ ๆ เชน กตี าร ไวโอลนิ หรือเปยโน โครงสําหรับขึงสายมีลักษณะเปน รูปสามเหล่ียมโคงงอเล็กนอย เพ่ือใหเกิดความสวยงาม ปกติจะเลนดวยการดีดที่สาย คุณภาพ เสียงของฮารปมีความแจมใส กวาเสียงของเปยโน ใชแสดงความสดช่ืนแจมใส แมนโดลิน

52 (Mandolin) เปนเคร่ืองดนตรีประเภทเครื่องสายที่กําเนิดเสียงในระดับเสียงสูง ผูเลนจะใช เพล็คทรัม หรือปคดีดไปที่สาย ในลกั ษณะดีดข้นึ ลงติดตอกันอยางเร็วเพ่อื ใหเกิดเสียงส่นั รัว กีตาร (Guitar) เคร่ืองดนตรีประเภทเคร่ืองสาย เลนโดยวิธีการดีด เกี่ยว ดึง หรือ กรีดสายบนสาย กีตาร อาจใชน้ิวหรือเพล็คทรัมก็ได กลองเสียงของกีตารจะคลายไวโอลินขนาดใหญ คอยาว มีเฟร็ทโลหะ คั่นอยู 5 สาย และมีหมุดยึดสายที่ปลายคอกีตาร สายของกีตารมีท้ังทําดวยโลหะ และไนลอ น แบนโจ (Banjo) เปน เครอื่ งดนตรีประเภทเคร่ืองสาย เลนดวยวิธีดีดดวยน้ิวมือหรือ ดดี ดว ยเพลค็ ทรัม (Plectrum) นิยมเลนในกลมุ นักรอง นักดนตรี ชาวอเมริกัน 2. เคร่อื งลมไม( Woodwind Instruments) เครือ่ งดนตรปี ระเภทเครอื่ งลมไมแบงออกเปน 2 พวก คือพวกขลยุ และป ถา เปน ประเภทขลยุ จะไมมลี ิน้ เปาลมผา นทอ ในลักษณะของการผิว เชน ฟลทุ ปค โคโล รีคอรเ ดอร , ประเภทป ตองเปาลมผา นล้นิ ซึ่งมลี ้ินเดีย่ ว เชน คลารเิ นต แซก็ โซโฟน(แมน ตวั แซก็ โซโฟนจะทาํ ดวยโลหะ แตจ ัดเปนประเภทเครอ่ื งลมไมมลี นิ้ เดีย่ ว) และประเภทล้ินคู เชน บาสซนู โอโบ เปนตน

53 3. เครอื่ งลมทองเหลอื ง (Brass Instrument) เครอ่ื งดนตรปี ระเภทเครื่องลมทองเหลือง ทาํ ดว ยโลหะผสมทองเหลือง เสยี งของ เครอ่ื งดนตรีประเภทนี้เกิดจากการเปาลมผา นทอโลหะ ความยาวของทอโลหะตางกันทําใหร ะดบั เสียงเปลี่ยนไป การเปลย่ี นความยาวของทอโลหะจะใชล ูกสบู เปนตัวบงั คบั เชน ทรัมเปท คอรเนท็ ทบู า ยูโฟเนยี ม เคร่ืองดนตรีบางชนิดจะใชก ารชกั ทอลมเขาออก เพอ่ื เปลีย่ นความยาวของทอ ลม เชน ทรอมโบน ลักษณะเดนของเคร่ืองดนตรปี ระเภทน้ี คอื มปี ากลาํ โพงสาํ หรบั ขยายเสียงใหม ี ความดงั เจิดจา เรามกั เรียกเครอื่ งดนตรีประเภทนรี้ วม ๆ กนั วาแตร ปากเปา เครอ่ื งดนตรปี ระเภท นที้ ําดว ยโลหะเปน รูปกรวยเรียกวา กาํ พวด (Mouthpiece) ตอเขา กับทอ ลมของเครือ่ งดนตรีนั้น ๆ 4. เคร่อื งลม่ิ น้วิ (Keyboard Instrument) เคร่ืองดนตรใี นกลุม นี้ มักนิยมเรียกทบั ศพั ทในภาษาอังกฤษวา “เคร่อื งดนตรี ประเภทคียบอรด” ลกั ษณะเดนของเคร่อื งดนตรีท่อี ยูในกลุม นี้ คือ มลี ิม่ น้วิ สําหรบั กด เพอื่ เปลี่ยน ระดบั เสยี งดนตรี ลม่ิ นิ้วสําหรับกดน้ันนิยมเรยี กวา “คยี ” เครอ่ื งดนตรีแตละชนิดมจี าํ นวนคียไ ม

54 เทากัน โดยปกตสิ ขี องคยี เปนขาวหรอื ดาํ เชน เปยโน เปน เครือ่ งดนตรปี ระเภทล่ิมน้ิวนยิ มกัน อยา งกวางขวางกวาเครื่องดนตรี ชนิดอื่นทงั้ หมด เปน เครอ่ื งดนตรปี ระจําบาน ประจําวงคอนเสริ ต นอกจากเปน เครือ่ งดนตรที ี่จัดวา เปนเอกทางเด่ียวแลว ยงั ใชสาํ หรับคลอเสยี งดนตรชี นิดอ่ืน และใช คลอเสยี งรองไดด อี ีกดวย เปย โน สามารถเปลย่ี นระดบั เสียงไดท กุ บันไดเสียง มีลิม่ ท้ังหมด 88 ลิม่ นว้ิ สามารถเลนไดท้ังทาํ นอง (Malody) และเสยี งประสาน (Harmony) ในขณะเดยี วกันเสียงของ เปยโนถอื เปนเสยี งมาตรฐาน ดังนัน้ ในการแตงเพลงจงึ จําเปน ตอ งใชเปยโนเปนหลักในการเขียน โนตในบันไดเสียงตาง ๆ ฮารปซคี อรด (Harpsicord) แอค็ คอรเ ดียน (Accordion) 5. เครอ่ื งตี (Percussion Instruments) เคร่ืองดนตรปี ระเภทเครือ่ งตีไดแก เครือ่ งดนตรีทเ่ี กิดเสียงจากการตีกระทบ การสั่น การ เขยา การเคาะ การตีอาจจะใชไมตีหรืออาจจะใชส่ิงหนึ่งกระทบเขากบั อกี สงิ่ หนึ่งเพอื่ ใหเ กิดเสียง เครอ่ื งตีกระทบประกอบขนึ้ ดว ยวสั ดขุ องแขง็ หลายชนิด เชน โลหะ ไม หรอื แผน หนังขงึ ตงึ เชน กลองใหญ (Bass Drum) กลองเลก็ (Snare Drum) ทมิ ปานี (Timpani) คองกา (Konga) บองโก (Bongo) แทมบรู ิน (Tambourine) กิง๋ (Triangle) มาราคา (Maraca) คาบาซา (Cabasa) เคาเบลล (Cowbell) กลองชดุ (Drum set) ฉาบ (Cymbal) ระฆังราว (Tubular Bells) มารมิ บา (Marinba) ไซโลโฟน (Xylophone) ไวบราโฟน (Vibraphone)

55 เรอ่ื งที่ 2.3 ประวัติและความเปน มาของเพลงสากล เพลงสากลแบงออกได 12 ประเภทดงั นี้ 1. เพลงศาสนา เพลงศาสนาหรือดนตรศี าสนา (Church music หรอื Sacred music) เปน เพลงประเภทขับ รองที่มีเน้อื รองเกีย่ วกับศาสนาโดยเฉพาะ มีท้ังประเภทท่ขี บั รอ งเดี่ยว และ ขับรอ งประสานเสียง อาจประกอบดนตรี หรือไมก็ได เพลงศาสนามีหลายชนดิ เชน แคนตาตา (Cantata) เปน เพลงรอ งส้ัน ๆ เน้อื รอ งเปน เรอื่ งเกยี่ วกบั ศาสนา ซ่งึ มี ท้ังชนิดท่ใี ชรองในโบสถ และรองตามบา น ฮมี น (Hymn) คอื เพลงสวดทีเ่ ก่ียวกบั ศาสนา มลี ักษณะเปนบทกลอน รองเพอื่ ศาสนาเพยี งอยา งเดยี ว แมส (Mass) คือบทรอ งในศาสนาคริสต นิกายโรมนั คาทอลคิ รองแบบประสาน เสียงเพ่ิงมีดนตรีประกอบเม่อื ศตวรรษที่ 17 โอราโทริโอ (oratorio) เปน เพลงสวดท่นี าํ เนอื้ รอ งมาจากพระคมั ภีร มที งั้ รอ ง เดีย่ ว รอ งหมู และมดี นตรีวงใหญประกอบตวั อยา งเพลง Oratorio Hallelujah From Messiah Haydn แพสชน่ั (Passion) เปน เพลงสวดที่มีเนอื้ หา เนอ้ื เพลงเกยี่ วกบั ความทกุ ขย ากของ พระเยซู รเี ควย่ี ม (Requiem) เปน เพลงสวดท่เี ก่ยี วกับความตาย รอ งในโบสถโรมนั คาทอ ลิคในพิธฝี ง ศพ หรอื วนั ครบรอบแหง ความตาย หรือวันรวมวิญญาณของศาสนาคริสต 2. เพลงท่ีใชขับรอ งในละครอปุ รากร หรือละครโอเปรา เปน ละครชนดิ หน่งึ ทีแ่ สดงโดยใชก ารรอ งเพลงโตต อบกนั ตลอดท้ังเรื่อง มกี ารรองดงั น้ี อาเรยี (Aria) เปนเพลงขบั รอ งทรี่ อ งราํ พันแสดงความรูส กึ ทางจิตใจอยางลกึ ซ้ึง เปน การขับรองเดย่ี วโดยมีเครอื่ งดนตรีประกอบ คอรสั (Chorus) เปน เพลงขบั รอ งหมู อาจเปน เสียงเดียวกนั หรือคนละเสยี งก็ได คอนเสริ ทไฟนอล (Concert Final) เปนเพลงขบั รองหมู ใชขับรองตอนเรา ความรสู ึกสดุ ยอด เรคซิเรทพี (Recilative) เปน การขับรอ งกงึ่ พูด การพูดน้ีมลี ลี าลัษณะของเสยี ง สูง ๆ ต่ํา ๆ คลายกับการขบั เสภาของไทย

56 3. เพลงลีลาศ ไดแกเ พลงทุกชนิดทใี่ ชในการเตนรําลีลาศได เชน เพลงแทงโก วอลท ชาชา ชา ฯลฯ มีทั้ง ชนดิ ขับรองและบรรเลง 4.เพลงชาวบา น เพลงชาวบา นโดยมากเปน เพลงงา ย ๆ การแตงก็ไมม ีการบันทึกไวเ ปนโนต รองตอ ๆ กันจนจาํ ได มีทาํ นองซ้าํ ๆ กนั หลายตอ หลายทอนในเพลงแตล ะเพลง คลายเพลงเตน กํารําเคยี ว ของไทย 5. เพลงตะวนั ตก หมายถงึ เพลงท่ีขับรองกันในภาคตะวันตกของสหรฐั เทานัน้ พวกทบ่ี ุกเบิกในการรอ งคือ พวกกรรมกรรถไฟ พวกโคบาล พวกพเนจร เพลงตะวนั ตกนับไดวา เปนเพลงอเมริกนั แทเพราะเกิด ในอเมรกิ า และเกดิ จากสิ่งแวดลอ มและจติ ใจของคนท่อี ยอู เมริกา 6 เพลงแชมเบอรมวิ สกิ (Chamber music) สวนมากเปนเพลงบรรเลงดว ยเครอื่ งดนตรี ต้ังแต 3 - 7 คนขึน้ ไป แตบางคร้ังกม็ ีการรอ ง แทรกอยูบา ง เปนเพลงสาํ หรับฟง ใหอารมณผ อนคลาย เพลงแชมเบอรมวิ สกิ มกั จะตอ ง ประกอบดวยนกั ดนตรฝี มอื เยยี่ ม เพราะถาใครเลนผดิ พลาดไปคนฟงกส็ ังเกตได 7. เพลงกลอ มเดก็ (Lullaby) เปนเพลงทเี่ กดิ จากแรงดลใจภายในตวั แม เพือ่ กลอมลูกใหห ลบั แตแ ลวก็กลายเปน ทํานองอันไพเราะไป เพลงกลอมเดก็ แทบทุกเพลงจะมที ํานองชา ๆ 8. เพลง (Sonata) เปน เพลงท่แี ตง ขน้ึ ใหเลนดว ยเครอ่ื งดนตรีหนงึ่ หรอื 2 ชิ้น ซ่งึ โดยมากมกั จะเปน ไวโอลนิ กบั เปยโน โดยมากเปนเพลงชา ๆ เลน ใหเขา กับบรรยากาศในขณะที่ศิลปน กําลังแตงเพลง นนั้ ๆ เชนเพลง moonlight Sonata ของบีโธเฟนแตงขน้ึ เม่ือมีแสงจันทรส องลอดเขา มาทาง หนา ตางเปน ตน 9. เพลงพาเหรด (March) ไดแ กเพลงซ่ึงมีจังหวะเนนหนกั เบา โดยมากเพื่อประกอบการเดนิ แถวของพวก ทหาร หรอื เพอื่ ประโยชนในการปลุกใจ ฟง คึกคัก ตนื่ เตน เพลงเดนิ น้ีเรียกวา Military March มเี พลงชนิดหนงึ่ มจี งั หวะชา ใชในการเดนิ ขบวนแห โดยเฉพาะการแหศ พ เรยี กวา Processional March

57 10. เพลงแจส (Jazz) เพลงแจสเปนเพลงอเมริกนั แทอีกชนิดหนงึ่ ลักษณะสําคัญของเพลงแจส คือ การมี Syncopation (ซินโคเปชั่น) หมายถงึ การเนนจงั หวะทีจ่ งั หวะยก มากกวา จังหวะตก โดยมากเพลงแจสจะเปน เพลงท่ีมเี สยี งอกึ ทกึ อยูไมน อย แตเ พลงแจส ทเี่ ลนอยา งชา ๆและนมุ นวลก็ มีเชนกัน เพลงแจส รนุ แรกเกิดขึ้นทางภาคใตของสหรัฐอเมรกิ าโดยพวกชนผิวดาํ ท่ี เปนทาส เพลง แจสท่ีเกิดทางใตน ้มี ีช่ือเรยี กวา Dixieland Jazz เพลงแจสไดร บั การพัฒนาปรับปรงุ ขนึ้ มาจนกลาย มาเปน เพลง Blue ลกั ษณะของเพลง Blue นีจ้ ะเลนอยางชา ๆ เนิบนาบ 11. เพลง Program music สาระสําคัญของเพลงประเภทนี้คือการพยายามเลาเรื่องหรือบรรยายภูมปิ ระเทศ ดว ยเสียงดนตรี แตความพยายามนกี้ ม็ คิ อยสาํ เรจ็ นัก จงึ มกั จะตอ งมกี ารแจกบทความเลา เรื่อง นิยายหรอื ภาพน้ัน ๆ ใหผูฟง ไดทราบกอนฟง แลวผูฟง จะจนิ ตนาการหรอื นึกภาพจากเสยี งดนตรี อกี ที 12. เพลงอมตะ (Immoral song) หมายถึง เพลงใด ๆ กไ็ ด ท่ีไดรับการยอมรบั ยกยอ งวา มีความไพเราะ และเปน ท่ี นิยมอยทู ุกยุคทุกสมัย หรือ เปนท่ีนิยมรจู กั ฟง ไพเราะอยูเสมอไมว า เวลาใด ยคุ ใด สมัยใด เชน เพลงบวั ขาว แสงทิพยของไทย เรือ่ งที่ 2.4 คณุ คา ของดนตรสี ากล ดนตรมี คี ณุ คา ตอ มนษุ ยอ ยางไร ดนตรีเปน ส่ือท่ีตอบสนองตอ ธรรมชาติโดยตรงและสรางความสุขใหกับมนุษย เราสามารถ นําดนตรมี าใชในการชวยสง เสรมิ พฒั นาการในดา นรางกาย อารมณ จติ ใจ สงั คม และสตปิ ญญาได ดงั น้ี 1. ดนตรชี วยพฒั นาทางดา นรา งกาย การเคลื่อนไหวรา งกายตามเสียงดนตรอี ยางมี ความสขุ สนกุ สนาน ซง่ึ การเคล่ือนไหวดงั กลาว จะเปนการชว ยใหก ระดูกและกลา มเนื้อแข็งแรง 2. ดนตรีชวยพฒั นาทางดา นอารมณและจติ ใจ ดนตรีที่มจี งั หวะชาจะทาํ ใหม นุษยมี อารมณผอ นคลาย สงบ มสี มาธิ และชว ยกลอ มเกลาจติ ใจใหอ อนโยน ในขณะท่ดี นตรีที่มีจงั หวะ เร็ว จะทาํ ใหมีอารมณแจม ใส และมจี ิตใจที่เบกิ บาน 3. ดนตรชี ว ยพฒั นาทางดา นสงั คม กจิ กรรมดนตรีแบบกลุมคอื การไดท าํ กจิ กรรมดนตรี

58 รว มกับผอู ่ืน เชน การรองเพลง เตนระบาํ รําละคร หรือ การตง้ั วงดนตรี เลนกับครอบครัวหรอื ผอู ื่น ชวยใหมนษุ ยร จู กั การปรับตวั เขา กับผูอ นื่ และไดเรียนรกู ารทาํ งานรว มกับผูอ ่ืนไดดีขน้ึ สาํ หรับกจิ กรรมดนตรีแบบเดย่ี ว เชน การเลน ดนตรี การรอ งเพลง หรอื การเตนระบาํ ราํ ฟอนคนเดียวตอหนา คนอ่ืน ชว ย พัฒนาบคุ ลกิ ภาพและสรางความเช่ือมัน่ ในตนเอง 4. ดนตรชี ว ยพฒั นาทางดา นสตปิ ญญา 4.1 ดนตรชี วยพฒั นาทกั ษะทางคณิตศาสตร เชนเพลงท่มี ีเน้อื หาเกี่ยวกบั เรื่องขอ จํานวน และ การนับ หรือการไดหดั อา นโนตดนตรี 4.2 ดนตรีชว ยพฒั นาทักษะทางดา นวทิ ยาศาสตร เชนเพลงทีม่ ีเนอื้ หาเกี่ยวกบั ธรรมชาตจิ ากเน้ือเพลงท่เี ก่ยี วกบั สัตว ตน ไม รงุ กินน้าํ พระจันทร ดวงดาว 4.3 ดนตรีชวยพัฒนาทักษะทางดานภาษาและการออกเสยี ง ไดเ รียนรูคําศพั ท ตางๆทงั้ ภาษาไทยและภาษาตางประเทศผา นทางเน้อื เพลง 4.4 ดนตรีชวยพฒั นาความคิดสรา งสรรค เชนการคดิ ทา เตนประกอบ การแตงเน้ือ หรอื ทํานองเพลง ตลอดจนการจินตนาการตามเนื้อหา หรอื ทาํ นองของเพลง เร่อื งที่ 2.5 การสบื สานภูมปิ ญญาทางดนตรสี ากล กระบวนการการอนุรกั ษ และสบื สานภูมิปญญาทางดนตรสี ากล สามารถทําไดดังน้ี 1. ศึกษา คนควา การวจิ ัย และเก็บขอมลู ดนตรีสากลและดนตรีทองถ่ิน ท้งั ทมี่ ีการ รวบรวมไว เพือ่ เปนขอมลู และเผยแพรเพอ่ื ใหเกดิ การมองเหน็ คุณคา ทําใหเ กิดการยอมรบั และ นําไปใชป ระโยชนอยางเหมาะสม ตอไป 2. สง เสริมใหท ุกคนเหน็ คุณคา รว มกันรักษาเอกลกั ษณรูปแบบทางดนตรสี ากลและดนตรี สากลในทองถนิ่ เพอื่ สรา งความเขาใจและมั่นใจแกป ระชาชนในการปรบั เปลย่ี นและตอบสนอง กระแส วฒั นธรรมอ่ืนๆ อยางเหมาะสม 3. รณรงคใ หป ระชาชนและภาคเอกชน ตระหนักในความสําคัญ ของดนตรสี ากลใน ประเทศไทยวา เปนเรื่องท่ีทุกคนตอ งใหก ารรับผดิ ชอบรวมกัน 4. สง เสริมและแลกเปล่ียนวัฒนธรรมดนตรภี ายในประเทศและระหวา งประเทศ 5. สรา งทศั นคติ ความรู และความเขา ใจวาทกุ คนมหี นา ทีเ่ สรมิ สรา ง ฟน ฟู และการดแู ล รักษาดนตรีสากลในฐานะทีเ่ ปนสมบัตขิ องมนุษยชาติ 6. จัดทาํ ระบบเครือขายสารสนเทศ(อินเตอรเ น็ท) ทางดา นดนตรีสากลในทองถนิ่ ในดาน การอนรุ ักษภ ูมปิ ญ ญาทางดนตรสี ากลไว

59 7. ปลูกฝง ทัศนคตทิ ่ดี ีตอ ดนตรีสากลใหแ กกลุมเดก็ เยาวชน 8. ปรับปรงุ ผสมผสานวฒั นธรรมดนตรสี ากลแบบดังเดิม กบั วัฒนธรรมเพลงประจําทอ งถ่นิ 9. เผยแพรค วามรดู านดนตรสี ากลในสือ่ ตา งๆเชน ส่ือ วทิ ยุ โทรทัศน อินเตอรเน็ตเพ่อื ให ทกุ คนมโี อกาสไดส มั ผสั หรือทําความรจู กั กบั เคร่ืองดนตรสี ากลมากข้นึ

60 กจิ กรรมทายบทที่ 2 กิจกรรมที่ 2.1 ใหผูเ รียนศกึ ษาเนื้อหาจากเรอ่ื งดนตรสี ากล แลวเขียนตอบคําถามในชอ งวา งทีก่ าํ หนด (ขอละ 0.5 คะแนน 10 ขอ รวม 5 คะแนน) 1. เคร่อื งดนตรีประเภทแรก ๆ ของโลกเปนเครอ่ื งดนตรีประเภท ............................................................และเครือ่ งดนตรีสากลทช่ี าวตะวนั ตกสรา งขึน้ ในยคุ แรก ๆ คอื …………………………………… 2. บอกลกั ษณะของรูปแบบของดนตรียุคกลาง …………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………….. ............................................................................................................................................. 3. บอกลกั ษณะของรูปแบบของดนตรียุครีเนซองค ............................................................................................................................................. ............................................................................................................................................. ............................................................................................................................................. 4. บอกลกั ษณะของรปู แบบของดนตรยี คุ บาโรค .............................................................................................................................................. .............................................................................................................................................. ............................................................................................................................................. 5. บอกลกั ษณะของรปู แบบของดนตรียุคคลาสสิค ............................................................................................................................................. ............................................................................................................................................. ............................................................................................................................................. ............................................................................................................................................. .............................................................................................................................................

61 6. บอกลักษณะของรูปแบบของดนตรียุคโรแมนติก ............................................................................................................................................. ............................................................................................................................................. ............................................................................................................................................. ............................................................................................................................................. ............................................................................................................................................. ............................................................................................................................................. 7. บอกลกั ษณะของรูปแบบของดนตรยี ุคอิมเพรสช่นั นสิ ตคิ .............................................................................................................................................. .............................................................................................................................................. .............................................................................................................................................. .............................................................................................................................................. 8. วงดนตรกี ลับมาเปนวงเลก็ แบบเชมเบอรมิวสกิ ไมนิยมวงออรเคสตรามกั มกี ารใช อิเลก็ ทรอนกิ ส เปน ลักษณะของดนตรยี ุค .............................................................................................................. 9. วงดนตรีท่นี ิยมในขบวนแหและสวนสนามคอื ………………………………………………...... 10. โมสารท และบีโทเฟนเปน นกั แตงเพลงในยุค ................................................................................ กิจกรรมท่ี 2.2 1. ใหผเู รยี นแยกกลุมเครื่องดนตรีสากลในภาพโดยใสหมายเลขตามประเภทดงั นี้ 1. เคร่อื งสาย (String Instruments) 2. เครอ่ื งลมไม (Woodwind Instruments) 3. เครอ่ื งลมทองเหลือง (Brass Instruments) 4. เครอ่ื งลิ่มน้วิ (Keyboard Instruments) 5. เครื่องตี (Percussion Instruments) หากผูเรยี นแยกถูกทกุ กลุม ให 2 คะแนนหากแยกกลมุ ถกู 3 กลมุ 1 คะแนนหากถกู นอยใหผเู รียน กลบั ไปทบทวนในหนังสือเรยี นแลว กลบั มาทํากจิ กรรมนีอ้ กี คร้งั

62 2.ใหเ ขยี นบอกประเภทเพลงสากล 12 ประเภท พรอมลกั ษณะเดนของแตละประเภท หากผเู รียนเขียนได 10-12 ประเภทให 3 คะแนน เขียนได 9-10 ประเภทให 2 คะแนน เขียนได 7-8 ประเภทให 3 คะแนน หากถูกนอย ใหผูเรียนกลับไปทบทวนในหนังสือเรียนแลว กลบั มาทาํ กจิ กรรมนี้อีกครง้ั .............................................................................................................................................. .......................................................................................................................................................... .......................................................................................................................................................... .......................................................................................................................................................... .......................................................................................................................................................... .......................................................................................................................................................... .......................................................................................................................................................... .......................................................................................................................................................... .......................................................................................................................................................... .......................................................................................................................................................... .......................................................................................................................................................... ..........................................................................................................................................................

63 .......................................................................................................................................................... .......................................................................................................................................................... .......................................................................................................................................................... .......................................................................................................................................................... .......................................................................................................................................................... .......................................................................................................................................................... .......................................................................................................................................................... .....................................................................................................................................

64 บทท่ี 3 นาฎศลิ ปส ากล เรื่องท่ี 3.1 ประวตั ิและความเปน มาของนาฏศลิ ปส ากล การกําเนดิ ของนาฏศลิ ปโลกหรอื นาฏศิลปส ากลเกิดขึ้นจากอะไร การกําเนิดของนาฏศิลปโ ลก หรือนาฏศิลปสากลเกดิ ขึน้ จาก 2 ส่งิ คอื จากธรรมชาติ และความ เชือ่ ถือศรทั ธาในสง่ิ ศกั ดส์ิ ทิ ธิ์ทัง้ หลาย ดงั นี้ นาฏศิลปก ําเนดิ จากธรรมชาติ เรม่ิ จากมนุษยรูจกั การเตน ราํ จากการเลยี นแบบการ เคล่ือนไหวของส่งิ มีชวี ติ ในโลกท้ังจากสัตว พชื และมนุษยด ว ยกันเอง เชน การรอ งและเตนของคน ปา บางเผา เปนตน จากนัน้ ไดมีการพัฒนาทา ทางและการขยบั เย้อื นรา งกายตามความรูส กึ ของ มนษุ ยที่แสดงถึงอารมณ เชน ดีใจ เสียใจ โกรธ หวิ โหย และอิริยาบถตาง ๆ ของมนษุ ยตามความ เปน จริง ซงึ่ เปน ท่มี าของการแสดงละครที่เรม่ิ ตน จากละครพูด โดยการพดู ทาํ ทาทางการ แสดง อารมณต าง ๆ และการสวม เคร่ืองแตงกายตามบทละคร ซ่ึงเปนเรอ่ื งราวท่ีมาจากชีวติ จริงของ มนุษย แตกตางกันไปตามความเชือ่ คานยิ ม และอารยธรรมของแตล ะชนชาติ นาฏศิลปก าํ เนดิ จากความเช่ือถือศรัทธาในสิง่ ศกั ดิ์สทิ ธิ์ มนุษยมสี ญั ชาตญาณแหง ความกลัว จงึ ทําใหมนุษยพ ยายามหาสิ่งยึดเหนย่ี วจติ ใจ ดวยการ นบั ถอื สิ่งศักดสิ์ ทิ ธิ์ เทวดา เทพเจา และอาํ นาจลล้ี ับตา ง ๆ โดยมีการเซน ไหวบูชาใหส่งิ ศักดส์ิ ทิ ธ์ิ คุม ครองใหปลอดภยั หรอื ออ นวอนขอใหสงิ่ ศักดิ์สิทธ์ิชวยดลบนั ดาลใหสมปรารถนา เชน พธิ บี ูชา ยญั ของชนเผาตา ง ๆ ในดินแดนตะวันตกเมอ่ื อดีตกาล ซงึ่ จะมกี ารบรรเลงดนตรพี นื้ เมอื งและ เตนรําประกอบ เปนสิง่ เรม่ิ ตนของนาฏศิลปท เี่ กดิ จาดความศรัทธา เร่ืองที่ 3.2 ประวัตนิ าฏศิลปตะวนั ตก นาฏศลิ ปใ นสมยั กรกี เกดิ จากอะไร ในสมยั กรกี โบราณ เริ่มตน จากการแสดงเรอื่ งราวเก่ียวกบั เทพเจาไดโอนซี สุ (Dionysus) ซึ่งเปนเทพเจา แหงความอุดมสมบรู ณข้ึนในเทศกาลบูชาเทพเจาองคนี้ จดั ข้ึนปล ะครงั้ จากนัน้ ก็มี การพฒั นาเปน ละครเกยี่ วกับเรื่องของมนษุ ย ซง่ึ ยังมแี กน เรอื่ งเก่ยี วกับความเชื่อทางศาสนา และ ศิลปวฒั นธรรม ประเภทของละครในสมยั กรีกมีทง้ั ละครโศกนาฏกรรม และสขุ นาฏกรรม ซ่งึ ใช

65 นกั แสดงผชู ายท้งั หมดเพียง 3 คนแสดงเปนตวั ละครหลาย ๆ ตัว ดว ยการเปลยี่ นหนา กากไป เร่ือย ๆ นาฏศิลปในสมยั โรมนั ในสมยั โรมนั เรม่ิ จากนํารูปแบบของละครกรกี โบราณ ในเรื่องพิธกี รรมทางศาสนาที่ เกยี่ วกับการบชู าเทพเจา ตอมากไ็ ดมกี ารปรบั ปรุง โดยเพ่ิมการเตนรําและใชท าทางแสดงอารมณ มากขน้ึ ตวั ละครมลี ักษณะของสามัญชน ทีเ่ นน การแสดงแบบตลกโปกฮาตามแนวละครประเภท สุขนาฏกรรมมากขึน้ รวมทง้ั มีการยกเลกิ การใสห นา กากแบบละครกรีกในตวั ละครตลกจึงทําให นักแสดงสามารถแสดงอารมณภายในและความสามารถในการแสดงไดมากขนึ้ เหตุทนี่ าฏศิลปแ บบละครสมัยโรมนั ถึงไดส้นิ สดุ ลง เนอื่ งจากละครสมัยโรมนั สว นใหญเ ปน ประเภทสุขนาฏกรรมท่ีไมค อยไดแ กนสาร และไมไ ด มีวตั ถปุ ระสงคเ พือ่ รบั ใชเ ทพเจา จงึ ทําใหศ าสนจกั รแหงกรุงโรมไดอ อกคาํ ส่งั หา มไมใ หค นไปดลู ะคร จนในทส่ี ดุ โรงละครทกุ โรงในกรุงโรมตองปด ลง ละครแพนโทไมน (Pantomine) ละครแพนโทไมน (Pantomine) หรอื ละครใบ ในอังกฤษทีเ่ ปน การแสดงละครท่ีมีดนตรี และการเตน ราํ ประกอบ จนมาถงึ ในศตวรรษท่ี 20 ตอนตน รูปแบบการแสดงละครเรมิ่ หันเขา สู การสะทอนสภาพความเปนจริงในสงั คมโดยแสดงละครตามแบบชีวติ จริงมากยิง่ ขน้ึ จากนน้ั จงึ พฒั นามาเปน ละครในยุคปจจบุ ัน เรอ่ื ง 3.3 ประวตั ินาฏศลิ ปต ะวันออก นาฏศิลปจีน ประวตั คิ วามเปนมาเหมือนนาฏศลิ ปตะวันออก เกิดจากการประกอบพิธี ทางไสยศาสตร จนพฒั นามาเปนละครแบบตางๆทัง้ ในราชสาํ นัก และของชาวบา น จนทา ยท่ีสุด เกดิ เปนอปุ รากรจีน หรอื ง้ิว นบั เปนศิลปะท่มี แี บบแผนระดับชาติท่ีชาวจนี ไดพฒั นาสงู สดุ และอนุรักษมาเปน เวลาหลายรอ ยป จนมลี กั ษณะเปนศิลปะประจําชาติ นอกจากนน้ั นาฏศลิ ป ของจีนมมี ากมาย เชน ละครใบ ละครตลก การขบั กลอม การเลานทิ านประกอบดนตรี เพลง พืน้ บา น

66 นาฏศิลปจ ีนประจาํ ชาตจิ ีน นาฏศลิ ปประจําชาตจิ นี คอื อุปรากรจนี หรอื งิ้วที่เปนแบบมาตรฐานคอื งิว้ ปก กงิ่ ซง่ึ องคการยเู นสโกยกระดับใหเ ปน “มรดกโลก”เปนการแสดงศลิ ปะดา นดนตรี การขบั รอ ง นาฏลลี า การแสดงอารมณ ศิลปะกายกรรมภาษาจีนเรยี กวา “จา จ”ี้ เชน การตอ สู ผูแ สดงจะตอ งมนี ํ้าเสยี ง คุณภาพและมคี วามอดทนสงู ดว ย องคป ระกอบของอปุ รากรจนี ประกอบดวยสิ่งตา งๆ ดงั นี้ บทบาทตัวละคร ตัวละครชายกบั หญงิ แบง ออกเปน “บแู ละบนุ ” โดย ประเภททีแสดงบูจะตองแสดงกายกรรม สวนประเภทท่ีแสดงบุนจะเนนท่ีการขับรอง และการ แสดงอารมณ แตถา แสดงบทบาทที่คาบเกี่ยวกัน จะเรียกตัวละครนั้นวา “บูบนุ ” เทคนคิ การแสดง แสดงตามทฤษฎกี ารเคลื่อนไหวทุกสว นของรา งกาย มจี ังหวะสงางามทั้งการเคล่อื นไหวของมือ เทา การเดิน เครอื่ งแตง กาย แตงตามชดุ ประจาํ ชาติ มชี ุดจกั รพรรดิ ชุดขนุ นาง เคร่อื งทรง เส้ือเกราะ มงกฎุ จักรพรรดิ หมวกขุนนาง นักรบ รองเทา เปนรองเทาผาพนื้ เรยี บ ผูแสดงแตงหนา เอง ตามบทบาททีแ่ สดง ดนตรี และการขับรอ ง เปน สวนประกอบทส่ี ําคัญในการแสดงอุปรากรจนี ซง่ึ เครือ่ งดนตรีประเภทบนุ ประกอบดว ยเครอ่ื งดดี เคร่อื งสี ทีส่ ําคญั ไดแก ซอปกก่ิง กีตารทรงกลม คลา ยพระจันทร แบนโจสามสาย ขลยุ ป ออรแ กน แตรจนี สว นเคร่ืองดนตรปี ระเภทบู ประกอบดวยเคร่อื งดนตรี และเครื่องกระทบ ไดแก กรบั กลองหนงั กลองเตีย้ กลองใหญ ฆอ ง ใหญ ฆอ งเลก็ ฆอ งชดุ และฉาบ ลกั ษณะการขับรอ งนับวาเปนหัวใจสําคญั เพราะผชู มตองการ ฟง ความไพเราะของการขับรองเพลงมากกวา การติดตามดูเพอื่ ใหทราบเนื้อรอง เวที ฉาก และอปุ กรณทใ่ี ชใ นการแสดง สมยั โบราณเวทมี กั สรางดวยอิฐ หิน เรียกวา “สวนนาํ้ ชา” หรือ “โรงน้ําชา” เวทีชั่วคราวสรา งดว ยไมร ปู สี่เหลี่ยม มหี ลังคา ยดึ ดว ย เสา 4 ตวั พ้นื เวทีปูดว ยเส่อื หรอื พรม อุปกรณโ ตะ 1 ตัว เกา อ้ี 2 ตัว ไมม ีมา น ดา นหนา ประดับ ดว ย อาวุธ เชน ดาบ หอก ธนู หลาว ทวน กระบอง นาฏศิลปญ ป่ี ุน ประวตั ิของละครญปี่ นุ เร่มิ ตน ประมาณศตวรรษที่ 7 ววิ ัฒนาการมาจากการแสดงระบํา บชู าเทพเจาแหง ภูเขาไฟ และตอมาญ่ีปุนไดร บั แบบแผนการแสดงมาจากประเทศจนี โดยไดร ับ

67 ผานประเทศเกาหลแี บบแผนการแสดงตางๆ ท่ีปรากฏอยใู นสมยั ปจจบุ นั น้ี ไดแก ละครโนะ ละคร คาบูกิ บงู กั กุ ละครหุน บุนระกุ ละครชมิ ปะ และละครทาคาราสกุ ะ ละครโนะ เปนละครแบบโบราณ มีกฎเกณฑแ ละระเบยี บแบบแผนในการแสดง มากมายในปจจุบนั ถอื เปนศลิ ปะชั้นสงู ประจาํ ชาติของญปี่ ุน ซง่ึ บทละครโนะมีอยูประมาณ 1,700 เรือ่ ง แตน ําออก แสดงอยา งจริงจัง 40 เรือ่ งเทา นั้น เนอื้ เร่ืองก็มเี ร่ืองราวตา งๆกนั โดยเปนนิยายเก่ยี วกับนกั รบ หรอื เรือ่ งความเศรา ของผหู ญงิ ซึ่งเปนนางเอกในเรื่อง การแตงกาย ลกั ษณะพิเศษ ของละครโนห กค็ อื หนากาก ตัวละครเอกจะสวมหนากาก ซง่ึ แกะสลกั จากไมอยูต ลอดเวลาและไมเปด เผยใบหนาจรงิ โดยเด็ดขาด หนา กากซ่ึงแสดงใหเหน็ ถงึ เพศ อายุ ประเภทของตวั ละคร และสีหนา ของตวั ละคร ซึ่งอาจจะเปน หนากากปศาจชายหนมุ หญงิ สาว ชายแก หญิงแก ตามแตเนอ้ื เรอื่ ง สวนตวั รองจะไมใ สหนากาก เวทลี ะครโนะ มรี ูปสีเ่ หลี่ยมจตั ุรัส ยาวประมาณดานละ5.4เมตรมีเสามมุ ละตน พ้ืนเวทแี ละ หลงั คาทําดวยไมส นญ่ปี ุน ซง่ึ วัสดุกอ สรางท่เี ห็นสะดดุ ตาของเวที คอื ระเบยี งทางเดินท่ยี ่นื จากเวที ทางขวามอื ตรงไปยงั ดานหลังของเวที สว นฝาผนังทางดา นหลังเวทีละครโนะเปนฉากเลือ่ นดว ย ไมสนญีป่ ุน และบนฉากก็เขียนภาพตน สนอยางสวยงาม เครือ่ งดนตรีทีใ่ ชประกอบในการแสดงละครโนะน้นั ใชเพียงเครอ่ื งดนตรชี นิดเคาะทจ่ี ะเปน บางช้ินเทา น้ันเชน กลองขนาดเล็ก (โคทสซึ ึมิ) กลองมือขนาดใหญ (โอสึซึมิ) และกลองตี (ไตโกะ) และเครือ่ งเปามชี นดิ เดยี ว คอื ขลุย (ฟูเอะ) ละครคาบกู ิ คาบูกลิ ะครอกี แบบหนง่ึ ของญป่ี ุนท่ีไดรบั ความนิยมมากกวา ละครโนะ มลี กั ษณะ เปนการเช่ือมประสานความบนั เทิงจากมหรสพของยคุ เกา เขา กับยุคปจจบุ ันคาํ วา “คาบูก”ิ หมายถงึ การผสมผสานระหวา งโอเปรา บัลเลต และละคร ซ่ึงมที ้งั การรอง การรํา และการแสดง ละคร บูงกั กุ บูงักกเุ ปน การแสดงท่ีมลี ักษณะเปน การรา ยราํ ที่แตกตางจากการรา ยราํ ของญีป่ ุน แบบอื่นดงั น้ี 1. จะเนนไปในทางรา ยราํ ลวนๆ มากกวาท่จี ะเนน เนื้อหาของบท

68 2. ทา ราํ บงู กั กุ จะเนนสวนสดั การราํ อันกลมกลนื ไมเ ฉพาะในการราํ คู แมใ นการราํ เดีย่ วกม็ ี หลกั เกณฑแบบเดียวกัน ละครหุนบนุ ระกุ กาํ เนดิ ของละครหุนบุนระกุ นับยอ นหลงั ไปถงึ ศตวรรษท่ี 16 แบบท่ีเปนอยใู นปจจบุ นั ได พัฒนาขึ้นในศตวรรษที่ 18 การแสดงละครหนุ บนุ ระกุมีเปน ประจาํ ท่โี รงละครบุนระกชุ า ในโอซา กา และมกี ารแสดงในโตเกียวเปน ครงั้ คราว ตัวหุนประณีตงดงามมีขนาดคร่งึ หนึ่งขององคจ ริงผูที่ ควบคุมใหห ุนเคล่อื นไหวในทาตางๆ นั้นมีถึง 3 คน การแสดงหุนมีการบรรยายและดนตรีซามเิ ซน ประกอบ ทําใหเกิดภาพแสดงอารมณและความรสู กึ ของมนุษย ละครทาคาราสกุ ะ ละครทาคาราสกุ ะ เปน ละครสมยั ใหมคลายละครรอ งยุคใหมข องไทย แตม ีระบาํ ประกอบ หลายชุด ประชาชนนยิ มดูกนั มาก เพราะมักเปน เรอ่ื งตลก ละครทาคาราสกุ ะนีอ้ าจจะแสดงเปน เรอื่ งญปี่ ุน หรือเรือ่ งฝรั่งแบบตะวันตก เรอ่ื งที่ 3.4 นาฏศลิ ปส ากลกบั การพฒั นาสังคม ประโยชนข องนาฏศลิ ปสากลกบั การพัฒนาสังคม 1. ใชใ นรัฐพธิ ีและราชพิธี 2. ใชใ นการสงั สรรคแ ละการบนั เทงิ ในสงั คม 3. ใชเ พอ่ื การสอื่ สารในสังคมโดยการใชทา ทางการเตนหรอื รายราํ 4. ใชใ นการศกึ ษา ทั้งการศึกษาทางดานศิลปะโดยตรงหรือใชการศึกษาดานอ่ืนๆ 5. ใชเ พอื่ การอนรุ กั ษ และเผยแพรเอกลักษณข องชาติ 6. ใชส งเสริมสขุ ภาพและพลานามัยของคนในสังคมและการแกปญหาท่ีมอี ยใู นสงั คม 7. ใชพ ัฒนาจติ ใจใหล ะเอียดออ นและสรางเสรมิ จรยิ ธรรมในจติ ใจ นาฏศลิ ปสากลมปี ระโยชนก บั การพฒั นาผเู รยี น การเรียนนาฏศลิ ปส ากลทําใหเกดิ การพัฒนาแกผ ูเรียน ดงั นี้ 1. ทําใหเ ปนคนรน่ื เริงแจม ใส 2. มคี วามสามัคคีในหมคู ณะ 3. สามารถยดึ เปน อาชีพได 4. ทาํ ใหรูจกั ดนตรสี ากลและเพลงตาง ๆ 5. ทําใหเกิดความจาํ และไหวพริบดี

69 6. ชวยใหเปนคนที่มีการเคล่อื นไหวทส่ี งางาม 7. ชว ยในการออกกําลงั กายไดเปนอยางดี 8. เม่ือไดร ับความรูนาฏศลิ ปสากลจนเกดิ ความชํานาญอาจมชี ื่อเสยี งได เรื่องที่ 3.5 วิธีการเลอื กชมการแสดงนาฎศลิ ป การเลอื กชมการแสดงนาฏศิลป มีวธิ ีปฏบิ ตั ดิ งั นี้ 1. เลือกชมในสงิ่ ที่ไดรับความสนกุ สนานบันเทงิ ใจ 2. เลอื กการแสดงทช่ี ว ยพัฒนาจิตใจ อารมณแ ละสติปญญา 3 เลือกการแสดงและสามารถนําไปปรับใชในชวี ติ ประจําวนั ได 4 เลือกการแสดงท่ีไดฝก ความคิดและจินตนาการไปพรอ มกับการชมการแสดง 5 เลือกการแสดงท่ีใหค วามรูจากการชมการแสดง 6. การศกึ ษาทา เตน หรอื วธิ กี ารแสดงกอ นชมการแสดงจะทาํ ให เขา ใจการแสดงมากข้นึ 8. ศกึ ษาเน้อื รองหรือภาษาของบทเพลงทีใ่ ชใ นการแสดงกอนเขา ชม 9. ทําความเขา ใจการแตงกายของผูแสดงวาเหมาะสมกับบรรยากาศและเรื่องราวในการ แสดงหรือไม 10. เขาใจบทบาทของตัวแสดงวาตวั แสดงแตล ะตวั เปนใครทําอะไรทีไ่ หน ในการเขา ชมการแสดงนาฏศลิ ปค วรปฏบิ ตั ติ นอยา งไร ลกั ษณะและมารยาทของผชู มการแสดงนาฏศิลปที่ดีมดี งั น้ี 1. ไมพ ูดหรือคยุ ในระหวางการแสดง 2. ควรปรบมอื ทุกครง้ั ทก่ี ารแสดงจบ 3. ไมวจิ ารณผ ูแสดงในขณะชมการแสดง 4. ไมสง เสียงโหเม่ือการแสดงจบหรือผูแสดง แสดงผดิ พลาด เร่อื งที่ 3.6 ลีลาศ ความเปนมาของลีลาศ “ลีลาศ” หมายถงึ การเตน เพ่อื ความสนกุ สนานและไดพ บกบั บคุ คลอน่ื ๆ ในงานสังสรรค หรอื งานราตรีสโมสร การลีลาศมีพื้นฐานมาจากการเตนรําพน้ื เมือง แตจ ากความเปนมาไมมี หลกั ฐานบง บอกวา การลลี าศเกิดข้ึน แตเปนการเตนราํ เพื่อเปนการประกอบกิจกรรมพธิ ที าง ศาสนา หรือความเช่อื ตาง ๆ แลวไดม ีววิ ฒั นาการมาเรอื่ ย ๆ ตามวฒั นธรรมประเพณี และความ

70 เปน อยูของชนชาติตา งๆ ที่ไดม ีการพฒั นารูปแบบใหเปน ทา มาตรฐานมากข้ึน เปน รูปแบบสากล นยิ ม หรือการลลี าศในปจจบุ นั ลลี าศมีกปี่ ระเภทอะไรบา ง ลีลาศแบงไดเปน 2 ประเภท คอื 1. การลีลาศแบบมาตรฐาน เปน จงั หวะมาตรฐานสากลนยิ ม แบงเปน 2 รปู แบบ คือ 1.1. การลีลาศแบบบอลรูม (Ballroom หรอื Standard) มี 5 จังหวะไดแ ก 1) วอลซ (Waltz) 2) แทงโก (Tango) 3) สโลว ฟอกซทรอท (Slow Foxtrot) 4) เวียนนีสวอลซ (Viennese Waltz) 5) ควกิ สเตป็ (Quick Step) 1.2 การลีลาศแบบละติน – อเมริกา (Latin-Amarican)มจี งั หวะท่เี ปน มาตรฐาน 5 จงั หวะคอื 1) ชา ชา ชา (Cha Cha Cha) 2) แซมบา (Samba) 3) ควิ บนั รัมบา (Cuban Rumba) 4) พาโซโดเบล (Paso Doble) 5) ไจวฟ (Jive) 2. การลีลาศแบบไมเปน มาตรฐาน พัฒนามาจากการเตน ระบําพืน้ เมือง มี 3 รูปแบบคอื 2.1 แบบละตนิ -อเมริกา เปนลลี าศเพือ่ การเขา สังคมและสนุกสนาน มีจงั หวะตางๆ เชน จงั หวะ แมมโบ (Mambo) อารเจนตนิ า แทงโก (Argentina Tango) 2.2 แบบอเมรกิ ันสไตล เปนการเตนรํา แบบบอลรูมและละตนิ เชน เดียวกบั จงั หวะมาตรฐาน แตม วี ิธหี รอื เทคนิคในการเตนท่ีแตกตางไปบา งตามความนิยมของชาวอเมริกัน เชน จงั หวะ รอ็ กแอนดโ รล (Rock & Roll) และจงั หวะสวิง (Swing) 2.3 แบบโอลดไทมแดนซ เปน ลักษณะลีลาศ ท่ีมวี วิ ฒั นาการมาจากการเตน รําแบบ โบราณทน่ี ยิ มใชเตนตามงานเล้ียงสงั สรรค โดยจะจับเปน คู แตเ วลาเตน จะเตนพรอ มกันทกุ คู เปน รูปแบบวงกลมโดยใชจ งั หวะหลายๆจงั หวะในการเตน เชน สวงิ วอลช (Swing Waltz) เปน ตน

71 ประโยชนของการลีลาศ 1. กอ ใหเ กดิ ความซาบซ้ึงในจงั หวะดนตรี 2. กอ ใหเกิดความสนุกสนาน เพลดิ เพลิน 3. เปน กจิ กรรมนันทนาการ และเปน การใชเวลาวา งใหเปนประโยชน 4. เปนกิจกรรมสื่อสัมพนั ธทางสังคม ท่ผี ูชายและผูหญิงสามารถเขา รว มในกจิ กรรมพรอม กันได 5. ชว ยพฒั นาทักษะทางรา งกาย 6. ชว ยสงเสรมิ สขุ ภาพพลานามยั ทัง้ ทางดา นรา งกายและจิตใจ 7. ทําใหมรี ปู รา งทรวดทรงงดงาม สมสว น มบี ุคลกิ ภาพสงา งาม 8. ชว ยผอ นคลายความตึงเครียดทางดา นรางกาย จติ ใจ อารมณแ ละสังคม 9. ชวยใหรจู กั การเขา สังคม และรูจกั การอยูร วมกันในสังคมไดเ ปน อยางดี 10. ชวยสง เสริมใหมีความเช่อื ม่ันในตนเอง กลา แสดงออกในสง่ิ ท่ดี ีงาม 11. ทาํ ใหมคี วามซาบซง้ึ ในวฒั นธรรมอันดี 12. เปนกจิ กรรมท่กี อใหเกดิ ความคิดริเร่มิ สรางสรรค 13. เปน กิจกรรมท่ีสามารถชวยแกไขขอ บกพรองทางกายได

72 กิจกรรมทายบทท่ี 3 กิจกรรมท่ี 3.1 ใหผูเ รยี นศึกษาเนอ้ื หาจากเรื่องนาฏศิลปสากลแลวตอบคําถามตอไปน้ี (ขอละ 1 คะแนน รวม 10 คะแนน) 1. การกําเนิดของนาฏศิลปโ ลกหรอื นาฏศลิ ปส ากลเกิดข้นึ จากอะไร ………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………... ………………………………………………………………………………………………………………………... 2. อธิบายลกั ษณะเฉพาะของนาฏศิลปใ นสมยั กรีก ........................................................................................................................................ ........................................................................................................................................ ........................................................................................................................................ ........................................................................................................................................ ........................................................................................................................................ 3. อธบิ ายลักษณะเฉพาะของนาฏศิลปใ นสมัยโรมัน ........................................................................................................................................ ........................................................................................................................................ ........................................................................................................................................ ........................................................................................................................................ ........................................................................................................................................ 4. ละครแพนโทไมน (Pantomime) คอื อะไรและมีประวัติความเปนมาอยา งไร ........................................................................................................................................ ........................................................................................................................................ ........................................................................................................................................ ........................................................................................................................................ ........................................................................................................................................ ........................................................................................................................................

73 5. นาฏศิลปประจาํ ชาตจิ ีนคอื อะไร และมีองคป ระกอบอะไรบา ง ........................................................................................................................................ ........................................................................................................................................ ........................................................................................................................................ ........................................................................................................................................ ........................................................................................................................................ 6. ละครโนคาบูกคิ ืออะไร และใหอธบิ ายรายละเอียดของละครโนะ ........................................................................................................................................ ........................................................................................................................................ ........................................................................................................................................ ........................................................................................................................................ ........................................................................................................................................ 7. ใหบอกประโยชนข องนาฏศลิ ปส ากลกบั การพฒั นาสังคม ........................................................................................................................................ ........................................................................................................................................ ........................................................................................................................................ ........................................................................................................................................ ........................................................................................................................................ 8. ใหบอกประโยชนข องการเรยี นนาฏศิลปว าผเู รยี นจะมกี ารพฒั นาอะไรบา ง ........................................................................................................................................ ........................................................................................................................................ ........................................................................................................................................ ........................................................................................................................................ ........................................................................................................................................ ........................................................................................................................................ ........................................................................................................................................

74 9. ลีลาศจังหวะมาตรฐานสากลนยิ ม แบง เปน กี่รูปแบบ แตล ะรูปแบบมีจงั หวะ อะไรบา ง ........................................................................................................................................ ........................................................................................................................................ ........................................................................................................................................ ........................................................................................................................................ ........................................................................................................................................ ........................................................................................................................................ ........................................................................................................................................ ........................................................................................................................................ ........................................................................................................................................ ........................................................................................................................................ ........................................................................................................................................ ........................................................................................................................................ 10. บอกประโยชนของการลีลาศ ........................................................................................................................................ ........................................................................................................................................ ........................................................................................................................................ ........................................................................................................................................ ........................................................................................................................................ ........................................................................................................................................ ........................................................................................................................................ ........................................................................................................................................ ........................................................................................................................................ ........................................................................................................................................ ........................................................................................................................................ ........................................................................................................................................ ........................................................................................................................................

75 กิจกรรมท่ี 3.2 ใหผเู รยี นดภู าพการแสดงนาฏศิลปด า นซา ยมือแลว โยงเสนกบั คาํ ตอบดา นขวามือ (ขอละ1 คะแนน รวม 5 คะแนน) วอลซ (Waltz) ละครคาบกู ิ แทงโก (Tango) ง้วิ ปก ก่งิ ละครโนะ

76 กิจกรรมที่ 3.3 ใหผเู รียนสืบคน ขอมูลเรอื่ ง “ประวัติการลีลาศในประเทศไทย” จากแหลงคน ควา ตา ง ๆ เชน เวบ็ ไซต หอ งสมดุ ฯลฯ และเขียนเปนบันทึกไวดานลา งน้ี (1 ขอ 5 คะแนน) .......................................................................................................................................................... .......................................................................................................................................................... .......................................................................................................................................................... .......................................................................................................................................................... .......................................................................................................................................................... .......................................................................................................................................................... .......................................................................................................................................................... .......................................................................................................................................................... .......................................................................................................................................................... .......................................................................................................................................................... .......................................................................................................................................................... .......................................................................................................................................................... .......................................................................................................................................................... .......................................................................................................................................................... .......................................................................................................................................................... .......................................................................................................................................................... .......................................................................................................................................................... ..........................................................................................................................................................

77 บทท่ี 4 การออกแบบกับแนวทางการประกอบอาชพี เรอ่ื งท่ี 4.1 ความหมายและสาขาของอาชพี การออกแบบ การออกแบบ หมายถึง การรจู กั การวางแผนจัดตัง้ ข้นั ตอนและรจู กั เลอื กใชวัสดุวธิ ีการ เพ่ือทําตามทต่ี อ งการนั้น โดยใหสอดคลองกับลักษณะ รปู แบบและคณุ สมบัติของวตั ถแุ ตละชนดิ ตามความคดิ สรา งสรรค การออกแบบทางศิลปะสามารถนาํ ไปประยกุ ตใ ชในการประกอบอาชีพไดหลายสาขา ดงั นี้ 1. อาชพี มัณฑนากรหรือนกั ออกแบบตกแตง(Interior-Decorator) 2. อาชีพออกแบบเครอ่ื งเฟอรน เิ จอร(Furniture-Designer) 3. อาชีพออกแบบเสอ้ื ผา แฟช่นั (Fashion-Designer) เร่อื งท่ี 4.2. อาชีพมณั ฑนากรหรอื นักออกแบบตกแตง (Interior - Decorator) ลักษณะอาชพี มณั ฑนากรหรือนกั ออกแบบตกแตง เปน อยางไร ลกั ษณะอาชพี นี้จะทํางานเกีย่ วกับการออกแบบและตกแตง ภายในอาคารสํานกั งาน อาคาร อยูอาศัย และบานเรือน ใหเ ปนไปตามความตอ งการของลกู คา ตองทํางานตามขั้นตอน และ กําหนดเวลาช้ินผลงานตา งๆรวมกบั ผวู า จางโดยมีขน้ั ตอนการทํางานดังน้ี 1. บันทกึ รายละเอยี ด ความตอ งการของลกู คา เพือ่ ออกแบบให ประทบั ใจและไดรสนิยม ตรงตามความตอ งการของลูกคา 2. ศึกษาโครงสรางของงาน คาํ นวณแบบ ประมาณราคา และเลือกวสั ดตุ กแตงให ประโยชนสูงสดุ กบั ลูกคา และใหตรงเปาหมายและประโยชนใชสอย 3. สง แบบท่วี าดและเสนองบประมาณใหล กู คาพจิ ารณา 4. เมอ่ื ผานการแกไขดัดแปลงแบบใหส มบรู ณแ ลว จงึ สงแบบใหก บั ชางตางๆเชน ชา งไม หรือชางเชอื่ มเหลก็ ใหท ํางานตามโครงสรางท่อี อกแบบไว 5. ปฏบิ ัตงิ าน และประสานงานกบั ระบบและหนวยงานท่เี กย่ี วขอ ง 6. ใหคําปรกึ ษาแนะนาํ แกชางเพือ่ ใหการออกแบบเปนไปตามเงือ่ นไขสัญญา

78 สภาพการจา งงาน มณั ฑนากรทีร่ ับราชการจะไดรบั เงินเดอื นตามวุฒกิ ารศกึ ษาถาทาํ งานกบั ภาคเอกชนจะ ไดรบั เงินเดอื นขึ้นอยกู บั ฝม อื และประสบการณใ นการฝก งาน ขณะท่ีกําลังศึกษาอยูแ ละไดรบั สวสั ดกิ ารตามทีก่ ฎหมายแรงงานกําหนด และสิทธิประโยชนอนื่ เชน โบนสั ขึ้นอยูกับผล ประกอบการ สภาพการทาํ งาน การปฏบิ ัตงิ านการออกแบบ สว นมากตองทํางานท้ังในและนอกสาํ นักงาน เชน ในอาคาร ในสถานที่กาํ ลังตกแตงอาจตองใชคอมพิวเตอรและโปรแกรมชว ยในการออกแบบ คณุ สมบตั ิของผปู ระกอบอาชีพ ผปู ระกอบอาชพี มัณฑนากรหรือนักออกแบบตกแตง ตองมีคณุ สมบตั ิดงั นี้ 1. มคี ุณวฒุ ิการศกึ ษาระดับปรญิ ญาตรี คณะสถาปตยกรรมศาสตร สาขาตกแตง ภายใน หรอื มปี ระสบการณใ นดานการออกแบบตกแตง 2. มคี วามคิดสรา งสรรค ผลติ ผลงานท่ีไมเหมือนใคร เปนคนมคี วามละเอยี ดรอบคอบ 3. มคี วามสามารถในการรจู กั ประยุกตใ ชวสั ดุทมี่ ีในประเทศ เพอื่ แสดงเอกลกั ษณแ ละ ประโยชน ใชส อยสูงสดุ 4. มที ักษะในการใชโ ปรแกรมคอมพวิ เตอรในการชวยวาดรปู หรอื ออกแบบหรอื มี ความสามารถสงู ในการเขียนภาพหรอื ออกแบบ 5. มีระเบยี บวินยั เขา ใจถึงการบรกิ ารทางธุรกจิ 6. มีมนุษยสมั พันธที่ดี ใหความรว มมือกบั ทมี งานดี และมคี วามสามารถในการประสานงาน 7. มีวสิ ัยทัศนก วา งไกลและปรบั ปรงุ ความรูค วามสามารถอยตู ลอดเวลา 8. รแู หลงขอ มูล หรอื แหลง ผลติ และจําหนายวัตถุดิบเพอ่ื ซ้อื หาวตั ถุดิบมาใชในผลงาน 9. ออกแบบตกแตง ภายในอาคารบา นเรอื นใหถกู หลกั และตรงตามความตอ งการของ ผบู ริโภค และเพอ่ื ความปลอดภยั ประหยัดเหมาะสมกบั ภาวะสังคมและเศรษฐกิจในยุค อาชีพทเี่ กี่ยวเนอื่ ง นกั ออกแบบเฟอรนิเจอร หรอื อปุ กรณต า งๆ นักออกแบบกราฟก ครู -อาจารย ในคณะ สถาปต ยกรรมของสถาบันการศกึ ษาตางๆ

79 เร่อื งที่ 4.3 อาชีพออกแบบเครื่องเฟอรน ิเจอร (Furniture - Designer) ลักษณะอาชพี ออกแบบเครอื่ งเฟอรน เิ จอร ผปู ระกอบอาชพี น้ีจะทําหนา ทอ่ี อกแบบและสรา งแบบเคร่อื งเฟอรน ิเจอรห รอื เครือ่ งเรอื น ประเภทตา งๆ เพ่ือนํามาผลติ เปนเชงิ อุตสาหกรรม และเชงิ พาณชิ ยกรรมโดยการใชว สั ดุทีแ่ ตกตา ง กนั นาํ มาผสมผสานกันเพอ่ื ใหเ กดิ ความสวยงามและประโยชนใ ชส อย ลกั ษณะอาชพี ผปู ระกอบอาชีพนกั ออกแบบเครือ่ งเฟอรนิเจอรจะปฏบิ ตั ิงานตามข้ันตอน ดังน้ี 1. ออกแบบผลติ ภณั ฑ โดยอาจใชกราฟก คอมพวิ เตอรเ ขาชว ยในการออกแบบ เพือ่ ใหภาพ ออกมามีมิติ และสมบูรณแบบเสนอผวู าจางหรือลกู คา พจิ ารณา 2. สรางแบบจําลองและทดลองทาํ ผลติ ภัณฑตนแบบโดยผสมผสานวัสดทุ องถิน่ ที่แตกตา ง กันซง่ึ มีความแข็งแรงและทนทานโดยคํานึงถงึ ประโยชนใ ชสอยสงู สุด และตรวจสอบการทดลองใช 3. เขียนเทคนิควธิ กี ารประกอบแบบ ระบบพกิ ดั พรอมท้งั ขน้ั ตอนในการปฏบิ ตั ใิ นโรงงาน 4. ประมาณการตนทนุ คา ใชจา ย เพื่อใหม ีราคายอ มเยาสาํ หรับผูใช สภาพการจางงาน ผูประกอบอาชพี นักออกแบบเครอ่ื งเฟอรนเิ จอร ทมี่ ีความสามารถจะไดร บั คา ตอบแทนเปน เงินเดอื นตามความสามารถและวฒุ ิทางการศกึ ษา มีสวัสดิการอยา งนอ ยตามกฎหมายแรงงาน สว น โบนสั และผลประโยชนอยางอื่น ขนึ้ อยูก บั ผลกาํ ไรของผูป ระกอบการ ผูป ระกอบอาชีพนกั ออกแบบเครือ่ งเฟอรนิเจอรโดยปกตทิ าํ งานวันละ 8 ช่ัวโมง หรือ สปั ดาหละ 40 - 48 ชั่วโมง อาจตองทาํ งานลว งเวลาวนั เสาร วันอาทติ ย และวันหยดุ เมือ่ มคี วาม จําเปนเรง ดวน สภาพการทาํ งาน สถานท่ที ํางานจะเหมือนสํานักงานออกแบบทวั่ ไปทม่ี ีบรรยากาศของการสรางสรรคง าน นักออกแบบเครอื่ งเฟอรนเิ จอรจะตองตดิ ตามดคู วามเรยี บรอ ยของงานตนแบบในโรงงานที่ผลิต คณุ สมบตั ิของผปู ระกอบอาชีพ ผูที่ประกอบอาชีพนักออกแบบเคร่อื งเฟอรน ิเจอรค วรมีคุณสมบัตดิ ังนี้ 1. มคี วามสามารถในการวาดภาพแสดงรูปรา ง (Perspective) หรอื ใชคอมพวิ เตอรชวยใน การออกแบบ 2. มคี วามรแู ละเขา ใจในจิตวทิ ยาอุตสาหกรรม 3. สามารถเดินทางไปตา งจงั หวดั หรือออกพน้ื ที่ได

80 4. มคี วามเขา ใจในวสั ดุที่นํามาผสมผสานประยกุ ตใ ชออกแบบไดเปนอยางดี โดยใหเขากับ ทอ งถิน่ และแสดงถึงเอกลักษณของทองถ่นิ นั้นไดอยา งดี 5. สนใจความเคล่อื นไหวของงานออกแบบตางๆ และมคี วามคดิ ริเรม่ิ สรา งสรรคเพือ่ สราง ผลิตภณั ฑนวตั กรรมใหก บั วงการอุตสาหกรรม 6. มีระเบยี บวินัย และความรบั ผิดชอบสูง โอกาสความกา วหนา ในอาชพี นกั ออกแบบเครื่องเฟอรน ิเจอรควรศกึ ษากลยุทธท างการตลาดเพอ่ื ทําธรุ กิจสว นตัว อาจ สรา งเว็บไซตแสดงสนิ คาท่อี อกแบบใหผูซ อ้ื จากทัว่ โลกเขา ชมและสงั่ ซอื้ ได ควรสง สนิ คาเครือ่ งเรอื น ไปแสดง ในงานตา งๆ ที่จัดขึ้น อาชพี ทเี่ กี่ยวเน่ือง ผสู งออกเฟอรน ิเจอร ผูออกแบบสนิ คาของขวัญ หรอื ของเลน สาํ หรบั เด็ก หรอื ของขวญั งาน เทศกาลในตางประเทศ สถาปนกิ เรื่องท่ี 4.4 อาชีพออกแบบเสอื้ ผาแฟชน่ั (Fashion - Designer) ลักษณะของอาชพี ออกแบบเสื้อผาแฟชนั่ ผูป ระกอบอาชีพนักออกแบบเสอ้ื ผา มีหนาท่ี วเิ คราะห ศกึ ษาวัสดุทน่ี าํ มาออกแบบสง่ิ ทอ ลายผา และเน้ือวัสดุ เพือ่ ตัดเย็บ และวธิ ีการตัดเย็บ ควบคุมการตัดเย็บใหเ ปนไปตามแบบทอ่ี อกไว และสามารถใหค ําแนะนําในเรื่องการแกไ ขขอ บกพรองของรูปรา งแตล ะบุคคลโดยมพี น้ื ฐานความ เขาใจในศิลปะการแตงกายของไทยและการแตง กายแบบตะวันตกยุคตางๆ ตลอดจนเขาใจใน ขนั้ ตอนการผลิตสามารถนําเทคนิคทางเทคโนโลยีทมี่ ตี อการสรางงานศิลปม าประยกุ ตใช ลักษณะอาชพี 1. รวบรวมความคดิ ขอ มลู ท่ีเปนสัดสวนจากลูกคาหรอื ผวู าจา ง 2. ศกึ ษารูปแบบงานทมี่ อี ยูถ า สามารถนํากลบั มาใชใ หมห รือดัดแปลงเพื่อลดระยะเวลาการ ทํางานและตน ทนุ การผลิต ในเวลาเดียวกนั ตองทาํ การคนควา วิจยั ดวย 3. ทําการรางแบบคราวๆ โดยคุมใหอยใู นแนวความคิดดังกลา วใหไดตามความตอ งการ 4. นําภาพท่ีราง แลวใหผูวา จา งพจิ ารณา เพอื่ หาแนวทางในการพฒั นาการผลติ รวมท้ังการ ใช วตั ถดุ บิ และประเมินราคา

81 5. นาํ ภาพรา งทผ่ี านการพจิ ารณาและแกไ ขแลวมาสรางแบบ (Pattern) วิธที ี่จะตอ งตดั เยบ็ ใน รายละเอยี ด ปก กุน เดินลาย หรอื อดั พลีดแลว นํามาลงสตี ามจริง เขียนภาพและอธิบายวธิ ีการ ทาํ ใหล ะเอียดและชดั เจนที่สุดเทา ทส่ี ามารถจะทําไดเ พ่ือใหชางทําตามแบบได 6. สง แบบหรือชุดท่ตี ัดเนาไวใ หฝ ายบรหิ ารและลกู คา หรือผวู าจา ง พจิ ารณาทดลองใสเพื่อ แกไ ขขอบกพรอ งข้ันสดุ ทา ย 7. นําแบบทีผ่ ูวา จา งเหน็ ชอบทาํ งานประสานกับชา งตัดเย็บ ชางปก เพอ่ื ใหไ ดผลงานตามท่ี ลูกคาตองการ สภาพการจา งงาน สําหรับนักออกแบบเสื้อผา แฟชัน่ ทมี่ ีความสามารถและผลงานเมอ่ื เร่มิ ทํางานกับบรษิ ทั ผลติ และ ออกแบบเสือ้ ผา อาจไดอ ตั ราคาจา งเปนเงินเดอื นสาํ หรับวฒุ ิการศกึ ษาระดับประโยควิชาชพี และประโยควิชาชพี ชัน้ สูงหรอื เทยี บเทา อาจไดรบั อัตราคา จา งขัน้ ตนเปน เงินเดอื นประมาณ 8,000 - 15,000 บาท สวนผสู าํ เรจ็ การศึกษาระดบั ปริญญาตรี จะไดรบั เงินคาจา งขนึ้ อยูก บั ฝม อื การออกแบบและ ประสบการณของนักออกแบบแตละคน มีสวัสดกิ าร โบนัสและสิทธิพเิ ศษอน่ื ๆ ข้นึ อยกู ับผล ประกอบการของเจา ของกิจการ สวนมากนกั ออกแบบเสอ้ื ผา หรอื แฟชน่ั จะมีรา นหรอื ใชบ า นเปนรานรบั ออกแบบตัดเสอื้ ผา เปนของตนเองเปน สว นใหญเน่อื งจากเปนอาชีพอสิ ระท่ีมีรายไดด ี สาํ หรบั นกั ออกแบบประจาํ หองเสอื้ หรอื รานเสื้อใหญๆ หรือโรงเรยี นสอนตดั เสือ้ ท่มี ีผลงาน แสดงเปนประจํานน้ั เปน ผทู ีม่ ปี ระสบการณสูงและตองมีผูสนับสนุนคา ใชจา ยในการแสดงผลงาน และคอลเลค็ ช่นั ของตนเอง สภาพการทํางาน ผปู ระกอบการนกั ออกแบบเสื้อผา แฟชั่นในสถานทีป่ ระกอบการผลิตเสื้อผา สาํ เร็จรูปจะ ปฏบิ ัติหนา ที่เหมอื นในสํานกั สรางสรรคทั่วไปท่คี อ นขางเปนสดั สว น มีอปุ กรณ เครอื่ งใชในการ ออกแบบ เชน โตะเขียนแบบ หุนลองเสอ้ื ขนาดตางๆ ตามทตี่ ัดเยบ็ ผา กระดาษสรา งแพทเทริ น และสสี าํ หรับลงสี เพ่ือใหภาพออกแบบเหมือนจริงอาจมเี ครอื่ งคอมพวิ เตอรชว ยในการออกแบบ และใหสไี ดเ ชนกันหรอื สแกนภาพทว่ี าดแลว ลงในคอมพิวเตอรเ พอ่ื ชว ยใหการนําเสนอตอ ลูกคา สมบรู ณย่งิ ข้ึนในกรณีผลิตเส้อื ผาสาํ เรจ็ รูปอาจมผี ชู ว ยทาํ งานในการสรา งแบบ (Pattern)

82 คณุ สมบตั ขิ องผปู ระกอบอาชีพ ผูสนใจในอาชีพนกั ออกแบบเส้ือผาแฟชัน่ ควรมีคณุ สมบตั ิทวั่ ๆ ไปดงั นี้ 1. มคี วามคิดสรา งสรรค มคี วามชอบและรกั งานดานออกแบบ มีมมุ มองเร่ืองของศลิ ปะรกั ความสวยงามอาจมีพนื้ ฐานทางดา นศิลปะบา ง 2. มคี วามกระตอื รือรนชางสังเกตวา มีความเปล่ียนแปลงอะไรบา ง กลาคิดกลา ทํา กลา ท่จี ะ ถายทอด 3. มีความสามารถในการถายทอดความคดิ หรอื แนวคดิ ใหผ ูอนื่ ฟง ได อาชีพทเ่ี กี่ยวเนือ่ ง ครู – อาจารยในวชิ าที่เก่ียวของ เจาของรา นหรือหองเสอ้ื เจา ของโรงเรยี นสอนออกแบบ ตัดเยบ็ เสอื้ ผา นกั ออกแบบเครอ่ื งประดับ

83 กจิ กรรมทายบทที่ 4 กิจกรรมที่ 4.1 ใหผูเ รยี นศึกษาเรอ่ื งการออกแบบกับแนวทางการประกอบอาชีพแลว ตอบคาํ ถามดา นลา งน้ี (ขอ ละ 1 คะแนน รวม 4 ขอ 5 คะแนน) 1. การออกแบบ หมายถึงอะไร .............................................................................................................................................. .............................................................................................................................................. .............................................................................................................................................. 2. ลกั ษณะอาชีพมณั ฑนากรหรือนักออกแบบตกแตง เปนอยางไร .............................................................................................................................................. .............................................................................................................................................. .............................................................................................................................................. .............................................................................................................................................. .............................................................................................................................................. .............................................................................................................................................. 3. ผทู ่ีประกอบอาชพี นกั ออกแบบเคร่อื งเฟอรน ิเจอรค วรมคี ณุ สมบัติอยางไร .............................................................................................................................................. .............................................................................................................................................. .............................................................................................................................................. .............................................................................................................................................. .............................................................................................................................................. .............................................................................................................................................. 4. ลักษณะของอาชพี ออกแบบเสือ้ ผา แฟช่นั เปนอยางไร .............................................................................................................................................. .............................................................................................................................................. .............................................................................................................................................. .............................................................................................................................................. ..............................................................................................................................................

84 เฉลยกจิ กรรมทายบทที่ เฉลยกจิ กรรมท่ี 1.1 1. ศิลปะคือ ผลแหงความคิดสรางสรรคของมนุษยที่แสดงออกมาในรูปลักษณตาง ๆ ใหปรากฏเปนความสนุ ทรียภาพ ความประทบั ใจ หรอื ความสะเทอื นอารมณ ตามประสบการณ รสนยิ ม และทักษะของบุคคล 2. ทัศนศิลป คอื งานศิลปะทกุ แขนง ท่ีผชู มรบั รูถ งึ ความงามดว ยตาหรอื การมองเหน็ งาน 3. ทศั นศิลปแ บง ออกเปน 4 ประเภท คือ 1. จติ รกรรม 2. ประตมิ ากรรม 3. สถาปตยกรรม 4. ภาพพิมพ 4. ผูท ่สี รางสรรคผ ลงานศิลปะทกุ แขนงโดยรวมเรียกวา ศลิ ปน 5. จิตรกรรมหมายถงึ งานศลิ ปะท่แี สดงออกดวยการวาด ระบายสี 6. ประติมากรรมหมายถึง ศิลปะท่ีแสดงออกดวยการสรางรูปทรง 3 มิติ ท่ีมีปริมาตร มนี า้ํ หนักและกินเน้ือทใี่ นอากาศและไมเนนประโยชนใชสอย โดยการใชวัสดุชนิดตาง ๆ 7. สถาปตยกรรมหมายถงึ การออกแบบผลงานทางทศั นศลิ ปท ีเ่ ปน การกอ สรา งสงิ่ ตา ง ๆ ท่คี นทั่วไปอยอู าศยั ไดและอยูอาศัยไมได เชน สถูป เจดีย อนสุ าวรีย บานเรือนตา ง ๆ เปน ตน 8. ภาพพมิ พห มายถงึ ศิลปะท่สี รางข้ึนดวยกระบวนการพมิ พ มีองคประกอบสําคัญ คอื แมพ ิมพก ับวัสดทุ ่ีรองรับการพิมพ แมพิมพโดยทั่วไปจะเปนวัสดุที่คงทน เชน โลหะ ไม หิน สวนวัสดุที่รองรับการพิมพหรือชิ้นงานท่ีมีภาพปรากฏอยูนั้น สวนมากจะเปน กระดาษ ผา และยังมีวสั ดุอืน่ เชน โลหะ ฝาผนงั แผนอะซีเตท 9. จิตรกรรมมี 2 ประเภทคือ ภาพวาด และ ภาพเขียน 10. ประเภทของงานประติมากรรมสากล แบง ได 3 ลักษณะตามรปู แบบของงานคือ 4. ประตมิ ากรรมแบบนูนตํา่ ( Bas Relief) 5. ประตมิ ากรรมแบบนนู สงู ( High Relief ) 6. ประตมิ ากรรมแบบลอยตัว ( Round Relief )

85 เฉลยกิจกรรมท่ี 1.2 ภาพจติ รกรรมลายเสน ประติมากรรมแบบลอยตวั สถาปต ยกรรมไทย จิตรกรรมฝาผนงั ไทย ประฏมิ ากรรม สถาปต ยกรรมอทิ ธพิ ลยโุ รป จติ รกรรมสนี ้ํา ภูมสิ ถาปต ย ภาพพมิ พแมพิมพแ กะไม ประตมิ ากรรมนูนตาํ่ ออกแบบตกแตง ภายใน ออกแบบผงั เมอื ง กจิ กรรมท1่ี .3

86 เฉลยกิจกรรมท่ี 1.3 ใหผ เู รยี นเขียนอธบิ ายภาพดานซายมอื ลงในบรรทัดท่ีกําหนดใหดานขวามอื วาทศั นศลิ ปในภาพ เปนทัศนศลิ ปป ระเภทอะไร อยูในยคุ สมยั ใด และมลี กั ษณะเดนในยุคน้ันอยา งไรบาง (ขอ ละ 0.5 คะแนน 12 ขอ รวม 6 คะแนน) ตัวอยา ง ทศั นศลิ ปป ระเภท จิตรกรรม 1. ยคุ สมยั กรีก ลักษณะเดน จติ รกรรมกรีกสวนใหญเปน รปู แบบการประดบั ตกแตงบนภาชนะเครือ่ งปน ดนิ เผาตางๆ เชน ไห แจกนั และภาพบนผนงั สที ใ่ี ชไดแ ก สีดนิ คือเอาสีดําอมน้ําตาลผสม บางๆ ระบายสีเปนภาพบนพน้ื ผิวแจกันทเ่ี ปน ดินสนี ้ําตาลอม แดง แตบ างทกี ็มสี ขี าวและสอี ื่นๆ รว มดว ย เทคนิคการใชรูปราง สดี าํ ระบายพ้ืนหลงั เปน สแี ดงน้ี เรยี กวา “จิตรกรรมแบบรปู ตัวดาํ ” ทศั นศิลปประเภท สถาปต ยกรรม ยคุ สมยั อียิปตคอื พรี ะมดิ ลกั ษณะเดน พรี ะมดิ สะทอนถึงอาํ นาจของฟาโรห โดยใชห นิ ทรายตัดเปน กอ นสีเ่ หลี่ยม นาํ้ หนกั ขนาด 2.2-2.5 ตัน รวมประมาณ 2 ลา นกอ นเปนวัสดุท่ีใชในการกอสรา ง

87 2. ทัศนศิลปประเภท ประตมิ ากรรม ยุคสมยั โรมนั ลกั ษณะเดน ประติมากรรมโรมันนํารปู แบบจากกรีก มาพัฒนาการสอดแทรกอดุ มคตขิ องโรมันเขาไปดวย เชน ความเขมแขง็ แบบทหาร นิยมสรางรปู ทหารนกั การเมือง แมท ัพจเู ลยี ส และบุคคลสําคัญ ๆ ลกั ษณะเขม แขง็ เปน ผดู ี เสอ้ื ผามรี อยยนมาก ประตมิ ากรรมของโรมนั ไดแก วีนัสเอสไควไลน และบางสว นนํามาจากกรกี โดยตรง 3. ทศั นศลิ ปป ระเภท ประติมากรรม ยคุ สมยั โกธิก ลักษณะเดน วิหารตาง ๆ รูปปูนปนนักบุญ ซึ่งจะมีลักษณะอยูใน เสือ้ คลุมหนา ไมเปด เผยสรรี ะ ประตมิ ากรรมปนู ปน ปลายรางนํา้ ฝน เปน รปู สัตวประหลาดเรียกวา การก อย 4. ทัศนศิลปประเภท จติ รกรรม ยุคสมัย ฟน ฟศู ิลปวิทยา ลักษณะเดน ศิลปนสรางสรรคในรูปความงาม ตามธรรมชาติ และความงามท่ีเปนศิลปะแบบ คลาสสิกท่ีเจริญสูงสุด ซ่ึงพัฒนาแบบใหมจาก ศิลปะกรกี และโรมัน

88 5. ทัศนศลิ ปป ระเภท จติ รกรรม ยคุ สมัย โกธิก ลักษณะเดน การเขียนภาพฝาผนัง การเขียนลวดลายใน หนังสือ มักจะแสดงรูปคนที่สะโอดสะองในชุดเสื้อผาอาภรณ ที่พลิ้ว และโคงไหวอยางออนชอย และงานประดับกระจกสี ในชองหนา ตางของโบสถ 6. ทัศนศิลปป ระเภท จติ รกรรม ยคุ สมัย นโี อคลาสสิก (Neo-Classic) ลักษณะเดน รูปแบบศิลปะ ยุคนี้ จิตรกรรมมีความเจริญมากท่ีสุด ซ่ึงเรื่องราวเนื้อหาที่ถายทอด มักเปนเร่ืองราวตามเทพนิยาย ของกรีก ภาพเขียนจะสะทอนเร่ืองราวทางอารยธรรม เนนความสงางามของรูปรางทรวดทรงของคนและสวนประกอบ ของภาพ ภาพจะมีขนาดใหญโต แข็งแรง มั่นคง ใชสีกลมกลืน มีดลุ ยภาพของแสง และเงาทง่ี ดงาม 7. ทศั นศิลปป ระเภท จติ รกรรม ยุคสมัย โรแมนตกิ (Romanticism) ลกั ษณะเดน ศิลปะแบบโรแมนติก เปนศิลปะรอยตอ จากแบบนีโอคลาสสิก แสดงถึงเรอื่ งราวทตี่ ่นื เตน เราใจ สะเทอื นอารมณแ กผ พู บเหน็

89 8. ทัศนศิลปประเภท จติ รกรรม ยุคสมยั แบบอมิ เพรสชันนิสม (Impressionism) ลักษณะเดน กลุม ศิลปน เรม่ิ เบื่อรปู แบบท่ีมหี ลักความงามแบบ เหมอื นจริงตามธรรมชาติ เปล่ียนเปนส่งิ เช่ือมโยง เนน ดว ยแสง สี บรรยากาศ ภาพวาดประกอบดว ยการตระหวัดพูกนั แบบเปน เสนสน้ั ๆ ของสี ไมไ ดผสมหรอื แยกเปนสใี ดสหี นง่ึ ซึง่ ไดใ หภ าพท่ี เกิดขึ้นตามธรรมชาติและมีชวี ิตชวี า พนื้ ผิวของภาพวาดน้นั มกั จะ เกดิ จากการระบายสแี บบหนา ๆ องคประกอบภาพ ยังถูกทาํ ใหง ายและแปลกใหม และจะเนนไปยังมุมมองแบบ กวาง ๆ มากกวา รายละเอยี ด 9. ทศั นศิลปประเภท จิตรกรรม ยคุ สมยั คิวบสิ ม ลักษณะเดน เปนศิลปะก่งึ นามธรรม แสดงออกดว ยการเชอ่ื มโยง ความสัมพันธกันของปรมิ าตร มคี วามงามตามหลักของ สนุ ทรยี ศาสตรอ ยา งแทจ รงิ 10. ทัศนศลิ ปประเภท จิตรกรรม ยุคสมัย ศิลปะโฟวสิ ซมึ ลักษณะเดน คาํ วา “โฟวิสม” Fauvist เปนภาษาฝรง่ั เศส แปลวา “สัตวป า ” ลกั ษณะงานศิลปะแบบโฟวสิ มน ้ี สรา งงานจติ รกรรมแนว ใหม ใชรปู ทรงอสิ ระ แสดงออกในเรอื่ งสีทส่ี ดใส ตัดกันอยา งรนุ แรง

90 11. ทัศนศลิ ปประเภท จิตรกรรม ยุคสมัย เรียลสิ ม (Realism) ลักษณะเดน ศลิ ปนกลมุ เรียลสิ มม คี วามเชื่อในความจรงิ ของชวี ิตมนษุ ย ดงั นน้ั ศลิ ปน กลุม นจี้ ึงเขียนภาพท่เี ปน ประสบการณต รงของชีวิต เชน ความยากจน การปฏวิ ัติ ความเหลอ่ื มล้าํ ในสงั คม โดยการเนน รายละเอยี ดเหมือน จริงมากทส่ี ุด 12. ทศั นศลิ ปประเภท จิตรกรรม ยคุ สมยั ศิลปะรว มสมยั (ยุคปจ จบุ ัน) ลักษณะเดน เปน การนําแนวคิดของลัทธศิ ลิ ปะ สมัยเกา กลบั มาใชใหม โดยมีการปรบั ปรงุ เปล่ียนแปลง เรื่องราวหรอื ลวดลายบางสว น ใหมีความทนั สมยั ทนั เหตกุ ารณในสมยั ปจ จบุ นั

91 เฉลยกจิ กรรมที่ 1.4 ฝก วิเคราะหและประเมินคณุ คาของงานศิลปะ การวเิ คราะหวิจารณผ ลงานทางศลิ ปะ ใหผ เู รยี นวิจารณง านไดโ ดยอิสระ แตท ัง้ นผี้ ูวจิ ารณ จะตอ ง พิจารณาจากดานมุม 3 ดานดังนี้ 1.ดานความงาม เปนการวิเคราะหและประเมนิ คณุ คา ในดา นทักษะฝมอื การใชท ศั นะธาตุ ทางศลิ ปะ และการจดั องคป ระกอบศิลป 2.ดา นสาระ การวเิ คราะหแ ละประเมนิ คุณคา ของผลงานศลิ ปะแตละชิน้ วา มลี ักษณะสง เสริม คุณธรรมจริยธรรม ตลอดจนจดุ ประสงคต างๆ ทางจิตวทิ ยาวา ใหสาระอะไรกับผูช ม 3. ดา นอารมณค วามรูสกึ เปน การคิดวิเคราะหและประเมินคณุ คาในดา นคณุ สมบัตทิ ่ี สามารถกระตนุ อารมณค วามรสู ึกและส่ือความหมายไดอ ยา งลึกซ้ึงของผลงาน

92 เฉลยกจิ กรรมทายบทท่ี 2 เฉลยกจิ กรรมที่ 2.1 1. เครื่องดนตรีประเภทแรก ๆ ของโลกเปน เคร่อื งดนตรปี ระเภท - เคร่ืองกระทบ เชนเคาะทอ นไม กรับ กลองไมก ลองโลหะ เปนตน และเครื่องดนตรี สากลทีช่ าวตะวันตกสรางข้ึนในยคุ แรก ๆ คอื ไลรา คีธารา และออโรส 2. บอกลักษณะของรปู แบบของดนตรียุคกลาง - ดนตรใี นยุคน้ีเปนเพลงรอ งโดยมีแนวทาํ นองหลายแนวสอดประสานกนั ซึ่งพฒั นา มาจากเพลงสวด และเปนเพลงแบบมีทํานองเดียว (Monophony) 3. บอกลกั ษณะของรูปแบบของดนตรียคุ รีเนซองค - ลกั ษณะของเพลงในยุคน้ีโดยมกี ารลอ กันของแนวทํานองเดยี วกัน ลักษณะบันได เสยี งเปนแบบโหมด (Modes) ยังไมน ิยมแบบบันไดเสียง (Scales) การประสานเสียงเกิด จากแนวทํานองแตล ะแนวสอดประสานกนั มไิ ดเกดิ จากการใชคุณสมบตั ขิ องคอรด ลักษณะของจังหวะมที ั้งเพลงแบบมีอัตราจงั หวะ และไมมอี ัตราจงั หวะ ลกั ษณะของเสียง เกยี่ วกับความดังคอ ย ยงั มีนอยไมคอ ยพบ ลกั ษณะของเพลงมคี วามนยิ มพอๆกนั ระหวา ง เพลงรอ งและบรรเลงดว ยเครื่องดนตรี เร่ิมมีการผสมวงเลก็ ๆ เกดิ ข้ึน 4. บอกลักษณะของรูปแบบของดนตรียคุ บาโรค - มีการใชลักษณะการใสเสียงประสาน เร่ิมนิยมการใชเสียงเมเจอร และไมเนอร แทนการใชโ หมดตา ง ๆ การประสานเสียงมหี ลกั เกณฑเ ปนระบบ มีการใชเสียงหลัก อัตรา จังหวะเปนสิ่งสําคัญของบทเพลง การใชลักษณะของเสียงเก่ียวกับความดังคอย เปน ลักษณะของความดัง - คอย มากกวาจะใชลักษณะคอย ๆ ดังข้ึนหรือคอย ๆ ลง ไมมี ลักษณะของความดังคอ ยอยางมากบทเพลงบรรเลงดวยเคร่อื งดนตรีเปนท่ีนิยมมากข้ึน บท เพลงรองยังคงมีอยูและเปนทีนิยมเชนกัน นิยมการนําวงดนตรีเลนผสมกับการเลนเด่ียว ของกลุม เครอ่ื งดนตรี 2 - 3 ชิ้น

93 5. บอกลักษณะของรูปแบบของดนตรียุคคลาสสคิ - เปนยคุ ทดี่ นตรีมกี ฎเกณฑแ บบแผนอยางมาก อยใู นระหวางศตวรรษท่ี 18 และชวง ตนศตวรรษที่ 19 (ค.ศ. 1750 - 1825) การใสเสยี งประสานเปนลักษณะเดนของยุคน้ี การ สอดประสานพบไดบางแตไมเ ดนเทา การใสเสียงประสาน การใชบ นั ไดเสียงเมเจอร และไม เนอร เปนหลักในการประพันธเพลง ลักษณะของบทเพลงมีความสวยงามมีแบบแผน บริสุทธิ์ มีการใชลักษณะของเสียงเก่ียวกับความดังคอยเปนสําคัญ ลีลาของเพลงอยูใน ขอบเขตท่ีนักประพันธในยุคน้ี ยอมรับกัน ไมมีการแสดงอารมณ หรือความรูสึกของ ผปู ระพนั ธไ วในบทเพลงอยา งเดนชัด 6. บอกลักษณะของรปู แบบของดนตรยี ุคโรแมนติก - เปนดนตรีท่ีแสดงความรูสึกของนักประพันธเพลงเปนอยางมาก ฉะนั้นโครงสราง ของดนตรีจึงมีหลากหลายแตกตางกันไปในรายละเอียด โดยการพัฒนาหลักการตางๆ ตอ จากยุคคลาสสิค หลักการใชบ นั ไดเสียงไมเนอรแ ละเมเจอร ยงั เปน สงิ่ สําคัญ แตลักษณะ การประสานเสียง มีการพัฒนาและคิดคนหลักใหมๆ ข้ึนอยางมากเพ่ือเปนการส่ือสาร แสดงออกทางอารมณและความรูสึกของผูประพันธเพลง การใสเสียงประสานจึงเปน ลักษณะเดนของเพลงในยคุ น้ี บทเพลงมกั จะมคี วามยาวมากขึ้น โครงสรางดนตรี มีการใส สีสันของเสียงจากเคร่ืองดนตรีเปนสื่อในการแสดงออกทางอารมณ ลักษณะการผสมวง พัฒนาไปมาก วงออรเคสตรามีขนาดใหญมากข้ึนกวาในยุคคลาสสิค บทเพลงมีลักษณะ ตาง ๆ กันออกไป เพลงซิมโฟนี โซนาตา และแชมเบอรมิวสิก ยังคงเปนรูปแบบที่นิยม นอกเหนอื ไปจากเพลงลักษณะอ่ืน ๆ 7. บอกลกั ษณะของรปู แบบชองดนตรยี ุคอมิ เพรสชน่ั นสิ ตคิ - ลักษณะสําคัญของเพลงยุคนี้คือ ใชบันไดเสียงแบบเสียงเต็ม ซึ่งทําใหบทเพลงมี ลกั ษณะลึกลับ คลุมเครือไมกระจางชดั เน่อื งมาจากการประสานเสียงโดยใชในบันไดเสียง แบบเสยี งเตม็ บางครัง้ จะมีความรสู ึกโลง ๆ วาง ๆ เสียงไมหนักแนน ดังเชน เพลงในยุคโร แมนติก การประสานเสียงไมเปนไปตามกฎเกณฑ ในยุคกอนๆ สามารถพบการประสาน เสียงแปลก ๆ

94 8. วงดนตรีกลับมาเปนวงเล็กแบบเชมเบอรมิวสิก ไมนิยมวงออรเคสตรามักมีการใช อิเลคทรอนิกส เปน ลกั ษณะของดนตรียคุ นี้ - ยุคดนตรีในศตวรรษที่ 20 เปนยุคของการทดลองส่ิงแปลกๆ ใหมๆ และนําเอา หลกั การเกา ๆ มากพฒั นาเปล่ียนแปลงปรับปรงุ ใหเ ขากับแนวความคดิ ในยุคปจ จุบนั 9. วงดนตรีทนี่ ยิ มในขบวนแหและสวนสนามคือ - โยธวาทติ (Mmilitary band) หมายถึง กลุม ผูเลน เครื่องดนตรีที่ประกอบดวย เครอื่ งเปาลมไม เครือ่ งเปาทองเหลอื ง และเคร่อื งกระทบ โยธวาทิตแตเดมิ น้นั ต้ังข้นึ โดยมี วัตถปุ ระสงคทางทหารทเี่ รยี กวา \"วงดรุ ยิ างคทหาร\" 10. โมสารท และบีโทเฟนเปน นักแตงเพลงในยคุ - โรแมนติก(Romantic period)