1 หนงั สอื เรียน สาระการพัฒนาสงั คม รายวชิ า การปองกันการทจุ ริต รหสั รายวชิ า สค32036 รายวิชาเลือก ระดบั มธั ยมศึกษาตอนปลาย ตามหลักสูตรการศึกษานอกระบบระดบั การศกึ ษาขนั้ พนื้ ฐาน พทุ ธศกั ราช 2551 สาํ นักงานสงเสริมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศยั สํานกั งานปลดั กระทรวงศึกษาธกิ าร กระทรวงศึกษาธกิ าร
สารบัญ 3 คาํ นํา หนา คําแนะนําการใชห นงั สือเรียน โครงสรางรายวชิ า 1 แบบทดสอบกอ นเรยี น 2 บทที่ 1 การคิดแยกแยะระหวางผลประโยชนสวนตนกบั ผลประโยชนส ว นรวม 5 14 เรื่องท่ี 1 สาเหตขุ องการทจุ ริตและทิศทางการปอ งกันและการทุจรติ ในประเทศไทย 28 เรอ่ื งท่ี 2 ทฤษฎี ความหมายและรูปแบบของการขดั กันระหวา งผลประโยชนสว นตน 38 48 และผลประโยชนสวนรวม (โลก) 49 เรื่องที่ 3 กฎหมายท่ีเกยี่ วขอ งกบั การขัดกันระหวา งผลประโยชนส ว นตน 63 77 กบั ผลประโยชนส ว นรวม 78 เรื่องท่ี 4 การคิดเปน 84 เรื่องท่ี 5 บทบาทของรัฐ/เจา หนาที่ของรฐั ท่ีเกี่ยวขอ งกบั การปองกนั 90 ปราบปรามเกยี่ วกับการทจุ รติ บทท่ี 2 ความละอายและความไมทนตอ การทุจรติ เรื่องท่ี 1 การทจุ รติ เรอ่ื งท่ี 2 ความละอายและความไมทนตอ การทจุ รติ บทท่ี 3 STRONG : จติ พอเพียงตานการทจุ ริต เรือ่ งท่ี 1 จติ พอเพียงตานการทจุ รติ เรือ่ งที่ 2 พระบาทสมเดจ็ พระบรมชนกาธเิ บศร มหาภมู พิ ลอดลุ ยเดชมหาราช บรมนาถบพิตร (พระบาทสมเดจ็ พระปรมนิ ทรมหาภมู พิ ลอดลุ ยเดช ในหลวงรชั กาลท่ี 9) แบบอยางในเรอื่ งความพอเพียง เรื่องที่ 3 กิจกรรมที่เก่ียวของ
สารบัญ (ตอ ) 4 บทท่ี 4 พลเมอื งกับความรบั ผดิ ชอบตอ สังคม หนา เรื่องที่ 1 ความหมายและทม่ี าของคาํ ศพั ทท ่เี ก่ียวของกับพลเมอื ง เรือ่ งท่ี 2 ความหมายและแนวคิดเก่ยี วกบั การศกึ ษาเพ่ือสรา งความเปนพลเมอื ง 96 เร่อื งท่ี 3 องคป ระกอบของการศึกษาความเปน พลเมือง 97 เรอ่ื งท่ี 4 แนวทางการปฏบิ ตั ติ นเปนพลเมอื งดี 106 เร่ืองที่ 5 แนวทางการสรา งเสริมสํานึกความเปนพลเมือง : กรณีศึกษาประเทศไทย 110 เรื่องที่ 6 การศึกษาเก่ยี วกับความเปนพลเมืองในบริบทตา งประเทศ 113 เรือ่ งที่ 7 กิจกรรมทเ่ี กย่ี วขอ ง 115 1. การเคารพสิทธหิ นาท่ตี นเองและผอู ่นื 121 2. ระเบียบ กฎ กตกิ า กฎหมาย 127 3. ความรบั ผดิ ชอบตอตนเองและผอู ่นื /สงั คม/โลก 127 4. ความเปน พลเมอื งของประเทศ/โลก 128 5. แนวทางการปฏบิ ัตติ นเปนพลเมืองทด่ี ี 130 6. พลโลกท่มี คี วามรบั ผดิ ชอบตอ การปอ งกันการทุจรติ 131 7. การยกยอ งเชดิ ชกู ับคนทท่ี ําความดี 133 134 แบบทดสอบหลังเรียน 136 เฉลยแบบทดสอบกอนเรียน – หลงั เรยี น แนวคาํ ตอบกิจกรรม 138 บรรณานกุ รม 143 คาํ สั่งสาํ นักงานสงเสริมการศกึ ษานอกระบบและการศกึ ษาตามอธั ยาศยั 144 การประชุมจดั ทาํ หนงั สอื เรยี นรายวิชาการปองกันการทุจรติ 153 คณะผจู ดั ทาํ 156 164 169
5 คําแนะนําการใชหนงั สือเรยี น รายวิชา การปองกนั การทุจริต รายวชิ าการปองกนั การทจุ ริต รหัสรายวิชา สค32036 รายวิชาเลือก ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย ตามหลักสูตรการศึกษานอกระบบระดับการศึกษาข้ันพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 ประกอบดวย โครงสรางของ รายวิชา โครงสรางของบทเรียน เนื้อหา และกิจกรรมเรียงลําดับตามบทเรียน แบบทดสอบกอนเรียน กิจกรรม การเรียนรู แบบทดสอบหลังเรียน เฉลยแบบทดสอบกอนเรียนและหลังเรียน เฉลย/แนวคําตอบกิจกรรม เรียงลําดับตามบทเรียน วิธกี ารใชรายวิชา ใหผเู รียนดําเนนิ การตามขัน้ ตอน ดังน้ี 1. ศึกษารายละเอียดโครงสรางรายวิชาโดยละเอียด เพื่อใหผูเรียนทราบวาตองเรียนรูเนื้อหา ในเรือ่ งใดบา ง 2. วางแผนกําหนดระยะเวลาและจัดเวลาท่ีผูเรียนมีความพรอมจะศึกษารายวิชา เพื่อใหสามารถ ศกึ ษารายละเอยี ดของเนือ้ หาใหค รบทกุ บทเรียน และทาํ กิจกรรมตามท่กี าํ หนดใหทนั กอนสอบปลายภาค 3. ทาํ แบบทดสอบกอนเรียนของรายวชิ าตามท่กี ําหนด เพอื่ ทราบพ้ืนฐานความรูเดิมของผูเรียน และตรวจสอบคําตอบจากแนวคาํ ตอบ/เฉลยทายเลม 4. ศึกษาเนื้อหาของแตละบทเรียนอยางละเอียดใหเขาใจ ท้ังในหนังสือเรียนและสื่อประกอบ (ถา มี) และทาํ กจิ กรรมทีก่ าํ หนดไวใหค รบถว น 5. ทาํ แตละกจิ กรรมเรียบรอ ยแลว ผูเรียนสามารถตรวจสอบคาํ ตอบไดจ ากแนวคําตอบ/เฉลยทายเลม หากผูเรียนยังทาํ กิจกรรมไมถูกตองใหผูเรียนกลับไปทบทวนเนื้อหาในเร่ืองน้ัน ๆ ซ้าํ จนกวาจะเขาใจ 6. หลังจากศกึ ษาเนื้อหาครบทกุ บทเรยี นแลว ใหผ เู รยี นทาํ แบบทดสอบหลงั เรียน และตรวจสอบ แนวคาํ ตอบจากเฉลยทายเลม วาผูเรียนสามารถทาํ แบบทดสอบไดถ กู ตอ งทกุ ขอ หรือไม หากขอใดยังไมถูกตอง ใหผเู รยี นกลับไปทบทวนเนอ้ื หาในเรอ่ื งนนั้ ใหเ ขาใจอกี ครง้ั ขอแนะนํา ผูเรียนควรทําแบบทดสอบหลังเรียน ใหไดคะแนนมากกวาแบบทดสอบกอนเรียน และควรไดค ะแนนไมนอยกวา รอ ยละ 60 ของแบบทดสอบทงั้ หมด เพื่อใหม่ันใจวา จะสามารถสอบปลายภาคผา น 7. หากผูเรียนไดศึกษาเน้ือหาและทํากิจกรรมแลวยังไมเขาใจ ผูเรียนสามารถสอบถามและ ขอคาํ แนะนาํ ไดจากครูหรือคนควา จากแหลง เรยี นรอู ่ืน ๆ เพมิ่ เตมิ ได
6 การศกึ ษาคน ควาเพม่ิ เตมิ ผูเรียนอาจศกึ ษาหาความรเู พิ่มเตมิ ไดจากแหลงเรยี นรอู ่ืน ๆ ทเ่ี ผยแพรความรใู นเร่ืองที่เก่ียวของ และศกึ ษาจากผรู ู การวดั ผลสัมฤทธทิ์ างการเรียน การจัดใหมีการวดั ผลสัมฤทธ์ทิ างการเรยี น ดงั นี้ 1. ระหวา งภาค วดั ผลจากการทาํ กิจกรรมหรืองานทีไ่ ดร ับมอบหมายระหวางเรยี น 2. ปลายภาค วดั ผลจากการทําขอสอบวดั ผลสมั ฤทธป์ิ ลายภาค
7 โครงสรางรายวชิ า การปองกนั การทุจริต มาตรฐานการเรยี นรรู ะดับ 1. มีความรู ความเขาใจ ดาํ เนินชวี ติ ตามวิถปี ระชาธปิ ไตย กฎ ระเบยี บของประเทศตาง ๆ ในโลก 2. มีความรู ความเขา ใจหลกั การพัฒนาชุมชน สังคม สามารถวเิ คราะหขอ มลู และเปนผนู ําผูตาม ในการพัฒนาตนเอง ครอบครวั ชุมชน สงั คม ใหส อดคลอ งกบั สภาพการเปล่ียนแปลงของเหตกุ ารณปจจบุ ัน ตัวชี้วัด 1. อธิบายสาเหตขุ องการทุจริตและทิศทางการปอ งกันการทจุ ริตในประเทศไทย 2. อธบิ ายทฤษฎี ความหมายและรูปแบบของการขดั กนั ระหวา งผลประโยชนสวนตนและผลประโยชน สวนรวม (โลก) 3. อธบิ ายกฎหมายท่ีเกี่ยวของกบั การขดั กันระหวางผลประโยชนส วนตนกบั ผลประโยชนสว นรวม 4. คดิ วิเคราะหก ระบวนการ “คดิ เปน ” 5. อธบิ ายบทบาทของรฐั /เจา หนาที่ของรฐั ทเ่ี ก่ยี วขอ งกบั การปองกนั ปราบปรามเก่ียวกับการทุจริต 6. สรปุ ผลกรณีตัวอยา งที่เกย่ี วของ 7. สามารถคิด วเิ คราะหในการทาํ กิจกรรมท่เี กยี่ วของ 8. อธิบายเก่ียวกับรายละเอยี ดการทจุ รติ ของประเทศไทย/โลกได 9. อธิบายความละอายและความไมทนตอการทจุ ริตได 10. สามารถคิด วิเคราะหในการทํากจิ กรรมทเี่ กี่ยวขอ งไดถูกตอง 11. อธบิ ายเก่ียวกับจิตพอเพยี งตอ ตา นการทุจรติ และปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง 12. อธิบายแบบอยางความพอเพยี งของพระบาทสมเดจ็ พระบรมชนกาธิเบศร มหาภูมพิ ลอดลุ ยเดช มหาราช บรมนาถบพิตร (พระบาทสมเดจ็ พระปรมนิ ทรมหาภมู พิ ลอดลุ ยเดช ในหลวงรชั กาลท่ี 9) 13. สามารถคิด วิเคราะหในการทาํ กจิ กรรมทีเ่ กี่ยวของไดถกู ตอง 14. อธบิ ายความหมายและทมี่ าของคําศัพททีเ่ ก่ยี วของกับพลเมือง 15 อธบิ ายความหมายและแนวคดิ เก่ียวกบั การศกึ ษาเพื่อสรา งความเปน พลเมือง 16. อธิบายองคป ระกอบของการศกึ ษาความเปน พลเมอื ง 17. บอกแนวทางการปฏบิ ัตติ นของการเปนพลเมืองดีได 18. อธบิ ายแนวทางการสรา งเสรมิ สาํ นกึ ความเปนพลเมือง : กรณีศึกษาประเทศไทย
8 19. บอกผลการศึกษาเก่ยี วกบั ความเปน พลเมืองในบรบิ ทตางประเทศ 20. สามารถคดิ วิเคราะหใ นการทํากจิ กรรมท่ีเกย่ี วของ สาระสาํ คญั การปองกันการทุจริต ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย เปนการเรียนรูเกี่ยวกับการคิดแยกแยะ ระหวางผลประโยชนสวนตนและผลประโยชนสวนรวม ความละอายและความไมทนตอการทุจริต STRONG : จิตพอเพียงตา นการทุจริต และพลเมืองกับความรับผิดชอบตอสังคม ซึ่งจะสรางความรู ความเขาใจ ใหแกผูเรียนในเร่ืองดังกลาวขางตน เพ่ือรวมกันปองกันหรือตอตานการทุจริต ไมใหมีการทุจริตเกิดขึ้น ในสงั คมไทย รวมกนั สรา งสังคมไทยทีไ่ มทนตอ การทุจรติ ตอไป ขอบขายเนอ้ื หา บทที่ 1 การคดิ แยกแยะระหวางผลประโยชนส ว นตนกับผลประโยชนสวนรวม บทท่ี 2 ความละอายและความไมทนตอการทุจรติ บทท่ี 3 STRONG : จติ พอเพียงตานการทุจริต บทท่ี 4 พลเมอื งกบั ความรบั ผดิ ชอบตอ สงั คม สื่อประกอบการเรยี นรู 1. รายวิชาการปองกันการทุจรติ รหัสรายวชิ า สค32036 2. สอ่ื เสรมิ การเรียนรูอน่ื ๆ จาํ นวนหนวยกิต จํานวน 3 หนว ยกิต กจิ กรรมเรียนรู 1. ทําแบบทดสอบกอนเรยี น และตรวจสอบแนวคาํ ตอบจากเฉลยทายเลม 2. ศึกษาเน้อื หาในบทเรียนทุกบท 3. ทาํ กิจกรรมตามทก่ี าํ หนด และตรวจสอบแนวคาํ ตอบจากเฉลยทา ยเลม 4. ทาํ แบบทดสอบหลังเรียน และตรวจสอบแนวคําตอบจากเฉลยทายเลม
9 การประเมนิ ผล 1. ทาํ แบบทดสอบกอ นเรยี น และแบบทดสอบหลังเรยี น 2. ทํากจิ กรรมในแตล ะหนวยการเรยี นรู 3. เขารบั การทดสอบปลายภาค
10 แบบทดสอบกอ นเรยี น 1. ขอใดไมใ ชสาเหตขุ องการทุจรติ ก. กฎหมาย ระเบียบ ขอกาํ หนดมชี อ งวา ง ข. เจา หนาท่ีมีอํานาจสทิ ธิขาดในการใชด ุลพินจิ ค. ไมมีกลไกท่มี ีประสิทธิภาพในการควบคมุ ง. การเปลย่ี นตําแหนง ของผูปฏบิ ตั ิงาน 2. ขอ ใดไมเกี่ยวขอ งกับทศิ ทางการปอ งกันและการทุจรติ ในประเทศไทย ก. แผนพฒั นาเศรษฐกิจและสังคมแหง ชาติฉบับที่ 12 (พ.ศ. 2560 - 2564) ข. รัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทยพุทธศกั ราช 2560 ค. ยุทธศาสตรช าติระยะ 20 ป (พ.ศ. 2561 - 2580) ง. พระราชบัญญตั กิ ารศกึ ษาแหง ชาติ 3. ขอ ใดคือหลกั สําคัญในการควบคุมพฤติกรรมของเจา หนา ทขี่ องรัฐ ก. หลกั ธรรม ข. คติธรรม ค. จริยธรรม ง. มโนธรรม 4. บรษิ ัทใหข องขวัญเปน ทองคาํ แกเ จาหนา ที่ เจา หนา ทกี่ เ็ รง รัดคนื ภาษีใหก อนโดยวธิ ลี ดั ควิ เพ่ือตองการ ไดข องขวัญอกี ครั้ง เปน การทุจรติ ในรปู แบบใด ก. การรขู อมูลภายใน ข. การรับผลประโยชน ค. คสู ญั ญากบั เอกชน ง. การสรา งถนนในชุมชน
11 5. ขอใดสําคญั ทสี่ ุดในการจดั กระบวนการคิดเปน ก. ผูเรยี น ข. ผสู อน ค. กระบวนการ ง. สภาพปญ หา 6. เม่อื นาํ ผลการตดั สินใจไปปฏบิ ตั แิ ลว ยงั ไมพ อใจ ควรทําอยางไร ก. ทิง้ ไวระยะหนงึ่ เพ่ือใหส ภาพสงั คมมีการเปลี่ยนแปลง ข. คน ควา หาขอมลู เพิม่ เตมิ แลวกลบั ไปดําเนนิ การตามกระบวนการใหม ค. ยกเลิกผลการตดั สินใจนนั้ เพราะเหน็ วา ไมถ ูกตอ ง ง. ใหกลบั ไปทบทวนกระบวนการใหม เพอ่ื หาขอ บกพรอ ง 7. กรณีใดเขา ขายการทุจริต ก. การลกั ทรพั ย ข. การซ้ือขายหวยใตด นิ ค. หวั หนางานขมขพู นักงาน ง. ลาปว ยโดยใชใบรบั รองแพทยป ลอม 8. สงิ่ ทท่ี ําใหเกิดการทจุ ริต ก. โอกาส ความกดดันจติ ใจ ความเครยี ด ข. แรงจูงใจ เหตผุ ล ความยากจน ค. โอกาส แรงจงู ใจ ความยากจน ง. โอกาส แรงจงู ใจ เหตุผล 9. ขอใดตรงกับความหมายคําวา ทุจรติ ก. ลูกขอเงินไปเท่ียว ข. ผเู รียน กศน. มาพบกลุม ค. พนักงานบรษิ ทั ใหเ พอ่ื นลงช่อื ทาํ งานแทน ง. ผปู กครองซอ้ื อปุ กรณการสอนใหโ รงเรียน
12 10. การปฏบิ ตั ิตนในขอใดแสดงถึงความมวี นิ ยั ในตนเอง ก. การเขา คิวซอ้ื อาหาร ข. การแบง ขนมใหเ พื่อน ค. การทําความสะอาดบาน ง. การมอบของขวญั ใหผูใหญ 11. ถาทานรวู าสง่ิ ท่ีกระทํานั้นไมดี ไมถกู ตองตรงกับความหมายขอ ใด ก. ความไมท น ข. ความละอาย ค. ความไมก ลวั ง. ความเกรงใจ 12. ความไมทนตอการทจุ รติ ตรงกับความหมายขอ ใด ก. ใหเพ่อื นลอกการบา น ข. มีคนแซงคิวกอนหนา จึงเขาไปเตอื น ค. ใชรถยนตข องราชการไปเทย่ี วในวันหยดุ ง. เห็นคนหยบิ สินคา แลวไมจา ยเงินกท็ ําเฉย ๆ 13. การทจุ รติ ขอใดกอ ใหเ กิดความเสยี หายตอ สงั คม ก. คา ยาเสพตดิ ข. ลกู พดู โกหกพอแม ค. เพื่อนขอลอกขอ สอบ ง. จา งเพอ่ื นทําชนิ้ งานสง ครู 14. ขอใดไมใ ชสาเหตุของการทุจริต ก. โครงสรา งสังคมไทยระบบอปุ ถัมภ ข. กระบวนการยุติธรรมไมเขม แขง็ ค. กระแสบรโิ ภคนยิ ม วตั ถนุ ิยม ง. ความรเู ทาไมถงึ การณ
13 15. การทุจรติ ในดานศลี ธรรม ตรงตามขอใด ก. การลกั ทรพั ย ข. การโกหก ค. การเหน็ แกต ัว ง. การหลงผิด 16. ขอใดเปนความหมายของคําวา “พลเมอื ง” ก. ปฏบิ ัตติ นตามหนาท่ีเทา นัน้ ข. ยอมรบั กฎหมาย นโยบาย กิจกรรมตาง ๆ ของรัฐ ค. บทบาท หนาที่ และความรับผิดชอบของสมาชิกสังคมที่มตี อ รัฐ ง. อาํ นาจอันชอบธรรมทตี่ อ งทาํ ระหวางบคุ คล 17. ขอใดไมใ ชความหมายของ “พลเมอื งศกึ ษา” ก. ใหม คี วามภาคภมู ใิ จในความเปนพลเมืองดี ข. การจัดการศึกษาและประสบการณเรยี นรเู พ่ือพฒั นาใหเปน พลเมอื งดี ค. ตนเองเปนเพียงผนู อยตอ งคอยรับการอปุ ถัมภจากผูอืน่ ง. สนใจเรียนรูเ กี่ยวกับรฐั บาล กฎหมาย ระบบการเมืองการปกครอง 18. ความเปน พลเมอื งไดแกขอ ใด ก. ศกั ด์ศิ รคี วามเปนมนุษย ข. เคารพหลักความเสมอภาค ค. รับผิดชอบตอ สังคมและสว นรวม ง. การรับรู เขาใจกับการนบั ถือความรู ความสามารถ 19. ขอใดเปน ลกั ษณะของการเปน พลเมอื งดี ก. รบั ฟง ความคิดเหน็ ตางไดเ สมอ ข. กระตือรือรน ที่จะมีสว นรว มแกปญหา ค. เคารพกฎ ระเบยี บของชมุ ชน ง. ถกู ทกุ ขอ
14 20. ขอ ใดเปนแนวทางในการสรา งสํานกึ ความเปน พลเมือง ก. รับฟงความคดิ เหน็ ของผอู น่ื ข. เขา ไปมสี วนรวมในกิจการของชมุ ชน ค. เคารพกฎหมายของทุกประเทศ ง. ถกู ทุกขอ
1 บทที่ 1 การคิดแยกแยะระหวา งผลประโยชนส วนตนกับผลประโยชนสวนรวม สาระสําคัญ การทีเ่ จาหนาทร่ี ัฐปฏิบัติหนา ทโ่ี ดยคาํ นงึ ถงึ ผลประโยชนสวนตนหรือพวกพองเปนหลัก ซึ่งเปนการ กระทาํ ที่ขัดตอหลักคุณธรรม จริยธรรม และหลักการบริหารกิจการบานเมืองที่ดี (Good Governance) ซึ่งจะนาํ ไปสูการทุจริตตอไป หากเจาหนาท่ีไมมีการแยกแยะวาอะไรคือผลประโยชนสวนตน หรืออะไร เปนผลประโยชนส วนรวมแลว ยอ มจะเกิดปญ หาเก่ยี วกับผลประโยชนแ นนอน ตัวช้วี ดั 1. อธิบายสาเหตุของการทจุ รติ และทิศทางการปอ งกันการทุจรติ ในประเทศไทย 2. อธิบายทฤษฎี ความหมายและรปู แบบของการขดั กันระหวา งผลประโยชนส วนตนกับ ผลประโยชนสว นรวม (โลก) 3. อธบิ ายกฎหมายท่ีเก่ียวขอ งกับการขดั กนั ระหวา งผลประโยชนส วนตนกับผลประโยชนส วนรวม 4. คิด วเิ คราะหกระบวนการ “คิดเปน ” 5. อธบิ ายบทบาทของรฐั /เจาหนา ทข่ี องรัฐท่ีเกี่ยวของกบั การปอ งกนั ปราบปรามเกย่ี วกบั การทุจรติ 6. สรปุ ผลกรณีตัวอยา งทเี่ ก่ยี วของ 7. สามารถคดิ วเิ คราะหใ นการทํากจิ กรรมท่ีเกีย่ วของ ขอบขา ยเน้ือหา เรือ่ งที่ 1 สาเหตุของการทุจรติ และทศิ ทางการปองกันและการทจุ รติ ในประเทศไทย เรอ่ื งท่ี 2 ทฤษฎี ความหมายและรูปแบบของการขัดกันระหวา งผลประโยชนส วนตน และผลประโยชนส วนรวม (โลก) เร่ืองท่ี 3 กฎหมายท่ีเกยี่ วของกับการขัดกันระหวางผลประโยชนสวนตนกับผลประโยชนสวนรวม เร่ืองที่ 4 การคดิ เปน เรื่องท่ี 5 บทบาทของรัฐ/เจาหนาท่ขี องรัฐทเี่ ก่ียวขอ งกบั การปองกันปราบปรามเก่ียวกับการทุจริต
2 เรอ่ื งท่ี 1 สาเหตขุ องการทจุ รติ และทศิ ทางการปองกนั และการทจุ รติ ในประเทศไทย การทุจริตเปนหน่ึงในปญหาใหญที่ทั่วโลกกังวลเปนอยางมาก เพราะเปนปญหาที่มีความซับซอน ยากตอ การจัดการและเก่ียวของกับคนทุกคน องคกรทุกองคกร ซึ่งจะสงผลกระทบอยางมากกับการพัฒนา ประเทศ 1. สาเหตขุ องการทุจรติ สาเหตุของการทุจรติ อาจเกดิ ขน้ึ ไดในประเทศท่มี ีสถานการณด ังตอ ไปน้ี 1.1 มีกฎหมาย ระเบียบ หรือขอกําหนดจํานวนมากที่เกี่ยวของกับการดําเนินการทางธุรกิจ หากมาตรการหรือขอกําหนดดังกลาวมีความซับซอน คลุมเครือ เลือกปฏิบัติเปนความลับหรือไมโปรงใส จะสงผลใหเ ปนตนเหตุของการทุจรติ ได 1.2 มีสถานการณ โอกาส หรอื มีกฎ ระเบยี บตา ง ๆ ทน่ี าํ ไปสูการทจุ ริตได 1.3 กฎหมาย และกระบวนการยุตธิ รรมไมมีความเขมแขง็ ตลอดจนการพฒั นาใหทนั สมยั 2. ทิศทางการปองกันการทจุ ริตในประเทศไทย ปจ จบุ ันประเทศไทยมหี ลายหนวยงานเกิดการตืน่ ตัวพยายามเขา มามีสวนรว มในการแกไขปญหา การทุจริต โดยรวมกันสรางเคร่ืองมือ กลไก และกําหนดเปาหมายสําหรับการปฏิบัติงานดานการปองกันและ ปราบปรามการทุจรติ ในฐานะท่ีสํานักงานคณะกรรมการปองกันและปราบปรามการทุจริตแหงชาติ (สํานักงาน ป.ป.ช.) เปนองคกรหลักดานการปองกันและปราบปรามการทุจริตไดบูรณาการการทํางานดานการตอตาน การทจุ รติ เขากบั ทกุ ภาคสวน ดังน้ี 2.1 กําหนดเนือ้ หาเกยี่ วกบั เรื่องนใ้ี นรฐั ธรรมนูญแหงราชอาณาจกั รไทย พทุ ธศักราช 2560 หมวด ท่ี 4 หนาที่ของประชาชนชาวไทยวา “... บุคคลมีหนาที่ไมรวมมือหรือสนับสนุนการทุจริตและประพฤติ มิชอบทุกรูปแบบ” หมวดท่ี 5 หนาท่ีของรัฐวา “รัฐตองสงเสริมสนับสนุนและใหความรูแกประชาชน ถงึ อนั ตรายทีเ่ กดิ จากการทุจรติ และประพฤติมิชอบทั้งภาครัฐและภาคเอกชน จัดใหมีมาตรการและกลไกท่ีมี ประสทิ ธภิ าพ เพอื่ ปอ งกนั และขจัดการทจุ รติ อยา งเขมงวด รวมทั้งกลไกในการสง เสริมใหประชาชนรวมตัวกัน เพื่อมสี ว นรว มในการรณรงคใ หค วามรตู อตานการทุจริต หรือช้ีเบาะแสโดยไดรับความคุมครองจากรัฐ ตามท่ี กฎหมายบัญญัติ” 2.2 กําหนดใหมยี ุทธศาสตรการแกไ ขปญ หา 3 ยทุ ธศาสตร ประกอบดวย 1) ยทุ ธศาสตรการปลูกฝง “คนไทยไมโกง” เพื่อปฏริ ูป “คน” ใหมีจิตสาํ นึกและสรา งพลังรวม เพื่อแกไขปญ หาทจุ รติ คอรรัปชนั
3 2) ยุทธศาสตรการปองกันดว ยการเสริมสรา งสงั คมธรรมาภิบาล เพอื่ ปฏิรูประบบและองคกร เพือ่ สรา งธรรมาภบิ าลในทุกภาคสวน 3) ยุทธศาสตรการปราบปราม เพื่อปฏิรูประบบและกระบวนการจัดการตอกรณีการทุจริต คอรร ัปชันใหม ีประสทิ ธภิ าพ 2.3 กําหนดไวในกรอบยุทธศาสตรชาติ 20 ป (พ.ศ. 2561 - 2580) โดยมีวิสัยทัศน “ประเทศไทย มคี วามมั่นคง มงั่ คงั่ ยั่งยืน เปนประเทศพัฒนาแลวดว ยการพฒั นาตามหลกั ปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพยี ง” 2.4 กําหนดใหมีแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติ ฉบับท่ี 12 (พ.ศ. 2560 - 2564) วาดว ยเร่ืองสงั คมไทยมีวนิ ัย โปรง ใส ยึดม่ันในความซือ่ สตั ย ยตุ ธิ รรม รวมท้ังสรางความเขมแข็งเปนภูมิคุมกัน ในสังคมไทย ครอบคลุมภาครัฐ ภาคเอกชน องคกรพัฒนาเอกชน และภาคประชาชน พรอมทั้งสรางพลัง การขับเคลือ่ นคานยิ มตอตา นการทจุ ริตโดยปลกู ฝง ใหคนไทยไมโกง 2.5 กําหนดใหมีโมเดลประเทศไทยสูความม่ันคง มั่งคั่ง และย่ังยืน (Thailand 4.0) เปนโมเดล ทน่ี อ มนาํ หลกั ปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพียงมาเปนแนวคิดหลักในการบริหารประเทศ ถอดรหัสออกมาเปน 2 ยทุ ธศาสตรส ําคัญ คอื 1) การสรา งความเขมแขง็ จากภายใน (Strength From Within) 2) การเชอื่ มโยงกบั ประชาคมโลกในยุทธศาสตรการสรางความเขมแข็งจากภายในThailand 4.0 เนน การปรบั เปลีย่ น 4 ทิศทางและเนนการพัฒนาที่สมดุลใน 4 มิติ มิติท่ีหยิบยก คือ การยกระดับศักยภาพและ คณุ คาของมนุษย (Human Wisdom) ดวยการพัฒนาคนไทยใหเปน “มนุษยที่สมบูรณ” ผานการปรับเปลี่ยน ระบบนิเวศนการเรียนรูเพ่ือเสริมสรางแรงบันดาลใจบมเพาะความคิดสรางสรรค ปลูกฝงจิตสาธารณะ ยึดประโยชนส ว นรวมเปน ทต่ี งั้ มคี วามซอ่ื สตั ย สุจรติ มีวินัย มีคุณธรรมจริยธรรม มีความรับผิดชอบ เนนการ สรา งคณุ คา รวม และคา นิยมที่ดี คือ สงั คมทมี่ คี วามหวงั (Hope) สงั คมทเ่ี ปย มสุข (Happiness) และสังคมที่มี ความสมานฉนั ท (Harmony) 2.6 กาํ หนดใหมียุทธศาสตรช าติวาดว ยการปองกันและปราบปรามการทุจริตระยะท่ี 3 (พ.ศ. 2560 - 2564) โดยกาํ หนดวสิ ัยทศั น “ประเทศไทยใสสะอาด ไทยทั้งชาติตานทุจริต” (Zero Tolerance & Clean Thailand) หมายความวา ประเทศไทยในระยะ 5 ปขางหนา จะมุงสูการเปนประเทศท่ีมีมาตรฐานทางคุณธรรม จริยธรรม เปนสังคมมิติใหมท่ีประชาชนไมเพิกเฉยตอการทุจริตทุกรูปแบบ โดยไดรับความรวมมือจากฝายการเมือง หนว ยงานของรัฐ ตลอดจนประชาชน ในการพทิ กั ษร กั ษาผลประโยชนของชาติ และประชาชน เพอ่ื ใหป ระเทศไทย มศี ักดิศ์ รแี ละเกียรตภิ มู ใิ นดานความโปรง ใสทดั เทยี มนานาอารยประเทศ
4 กจิ กรรม คําช้แี จง ใหผ ูเรียนยกตัวอยา งกิจกรรมการเลอื กต้งั ในชมุ ชนท่สี ง ผลตอ การทจุ รติ พรอ มท้งั ระบแุ นวทาง การปอ งกนั การทุจริตเร่อื งดงั กลา วได
5 เรือ่ งที่ 2 ทฤษฎี ความหมายและรูปแบบของการขัดกันระหวางผลประโยชนสวนตน และผลประโยชนสว นรวม (โลก) การขัดกันระหวางประโยชนสวนบุคคลกับประโยชนสวนรวมนั้น มีลักษณะทํานองเดียวกันกับกฎ ศลี ธรรม ขนบธรรมเนียม จารีตประเพณี หลักคุณธรรม จรยิ ธรรม กลา วคอื การกระทําใด ๆ ที่เปนการขัดกัน ระหวา งประโยชนสวนบุคคลกบั ประโยชนส ว นรวม เปน สิง่ ทีค่ วรหลีกเลย่ี ง ไมควรจะกระทาํ ซงึ่ บคุ คลแตละคน แตล ะสังคม อาจเห็นวาเรื่องใดเปนการขัดกนั ระหวา งประโยชนสวนบคุ คลกบั ประโยชนสว นรวมแตกตางกันไป หรือเมื่อเห็นวาเปนการขัดกันแลวยังอาจมีระดับความหนักเบาแตกตางกัน อาจเห็นแตกตางกันวาเรื่องใด กระทําได กระทําไมไดแตกตางกันออกไปอีก และในกรณีที่มีการฝาฝนบางเร่ืองบางคนอาจเห็นวาไมเปนไร เปนเรื่องเลก็ นอ ย หรอื อาจเห็นวา เปน เรอื่ งใหญตอ งถกู ประณาม ตาํ หนิ ติฉนิ นินทาวากลา ว ฯลฯ แตกตางกัน ตามสภาพของสงั คม 1. ทฤษฎีของการขดั กันระหวา งผลประโยชนส ว นตนและผลประโยชนส วนรวม (โลก) 1.1 ทฤษฎอี ุปถมั ภ การขัดกนั แหง ผลประโยชนสวนตนและผลประโยชนสวนรวมจากโครงสราง ของสังคม ซึง่ มคี วามสัมพันธใ นลกั ษณะการพง่ึ พาอาศัยในความเทาเทียมกัน โดยตางฝายตางมีผลประโยชน ตางตอบแทนความสัมพันธน้ัน มีองคประกอบของความเปนมิตรรวมอยูดวย แตเปนมิตรภาพทีข่ าดดลุ ยภาพ คือ อีกฝายหนึ่งมีอํานาจ ทําใหเกิดพวกพองในองคกรทําใหงายตอการเกิดการทุจริตและประพฤติมิชอบ และยากตอ การตรวจสอบ 1.2 ทฤษฎกี ารทจุ ริต ทฤษฎที ุจริตเกิดข้ึนจากปจจัย 3 ประการ คอื 1) ความซื่อสัตย เมื่อมนุษยมีความตองการ ความโลภ แมถูกบังคับดวยจริยธรรม คุณธรรม และบทลงโทษทางกฎหมายก็ตาม ความจําเปน ทางเศรษฐกิจมีสวนผลักดันใหบุคคลตัดสินใจกระทําความผิด เพอื่ ใหตนเองอยูร อด 2) โอกาส ผูกระทําความผิด พยายามท่ีจะหาโอกาสที่เอื้ออํานวยตอการทุจริต โอกาส ทเ่ี ยายวนตอ การทจุ รติ ยอ มกระตุนใหเกดิ การทจุ ริตไดงายขึ้นกวาโอกาสทไี่ มเปดชอ ง 3) การจูงใจ เปนมูลเหตุจูงใจใหบุคคลตัดสินใจกระทําการทุจริต และนําไปสูการหา มาตรการในการปอ งกนั การทุจริตดวย การจูงใจในการกระทําการทุจริต เชน ความทะเยอทะยานอยางไมมี ท่ีสิน้ สดุ ปรารถนาจะยกระดับใหท ัดเทยี มกบั บุคคลอน่ื ในสังคม ปญหาทางการเงิน การกระทําเพ่ืออยากเดน เปน ตน
6 2. ความหมายของการขัดกนั ระหวา งประโยชนส วนตนและประโยชนสวนรวม (โลก) การขัดกันของผลประโยชน คือ สถานการณที่บุคคลผูดํารงตําแหนงอยางที่ไววางใจ (เชน ทนายความ นกั การเมอื ง ผูบริหาร หรือผูอํานวยการของบริษัทเอกชน หรือหนวยงานอ่ืน ๆ) เกิดความขัดแยง ขึ้นระหวางผลประโยชนสวนตนกับผลประโยชนทางวิชาชีพ อันสงผลใหเกิดปญหาที่เขาไมสามารถปฏิบัติ หนาที่ไดอยางเปนกลาง ไมลําเอียง ผลประโยชนทับซอนที่เกิดขึ้นอาจสงผลใหเกิดความไมไววางใจที่มี ตอบุคคลผูน้ันวาเขาจะสามารถปฏิบัติงานตามตําแหนงใหอยูในครรลองของคุณธรรมจริยธรรมไดมากนอย เพียงใด ผลประโยชนทับซอนอาจเรียกช่ือแตกตางกัน เชน ความขัดแยงกันระหวางผลประโยชนสวนตน และผลประโยชนสวนรวม ผลประโยชนทบั ซอ น หรือผลประโยชนขัดกัน คําวา ผลประโยชนสวนตน (Private Interests) หมายถึง ผลประโยชนที่บุคคลไดรับ โดยอาศยั ตําแหนง หนา ทขี่ องตนหาผลประโยชนจ ากหนา ท่ขี องตนและหาผลประโยชนจากบุคคลหรือกลุมบุคคล ผลประโยชนสว นตนมที ้ังเกี่ยวกบั เงนิ ทอง และไมไดเ ก่ียวกบั เงินทอง เชน ท่ดี นิ หนุ ตําแหนง หนา ที่ สมั ปทาน สว นลด ของขวัญ หรอื สง่ิ ที่แสดงน้าํ ใจไมตรีอ่ืน ๆ การลําเอยี ง การเลือกปฏิบัติ เปน ตน คําวา ผลประโยชนสวนรวม (PublicInterests)หมายถึง การท่ีบุคคลใดในสถานะที่เปน เจาหนา ท่ีของรฐั (ผูด าํ รงตําแหนงทางการเมือง ขา ราชการ พนกั งานรัฐวสิ าหกจิ หรือเจา หนาท่ีของรัฐในหนวยงาน ของรฐั ) ไดก ระทําการใด ๆ ตามหนาทีห่ รอื ไดป ฏิบัตหิ นาท่ีอันเปนการดําเนินการในอีกสว นหนึง่ ท่ีแยกออกมาจาก การดําเนินการตามหนาที่ในสถานะของเอกชน การกระทําการใด ๆ ตามหนาท่ีของเจาหนาที่ของรัฐจึงมี วตั ถปุ ระสงคหรอื มีเปา หมายเพอ่ื ประโยชนของสวนรวม หรอื การรักษาประโยชนสวนรวมที่เปนประโยชนของรัฐ การทาํ หนา ที่ของเจา หนาทีข่ องรฐั จึงมคี วามเก่ียวเนื่องเช่ือมโยงกับอํานาจหนาท่ีตามกฎหมาย และจะมีรูปแบบ ของความสัมพนั ธห รือมีการกระทําในลักษณะตาง ๆ กันที่เหมือนหรือคลายกับการกระทําของบุคคลในสถานะ เอกชน เพียงแตก ารกระทาํ ในสถานะที่เปนเจา หนา ท่ขี องรฐั กบั การกระทําในสถานะเอกชน จะมีความแตกตางกัน ทวี่ ตั ถุประสงค เปา หมาย หรือประโยชนสุดทายทแ่ี ตกตา งกัน 3. รูปแบบของการขัดกันระหวางผลประโยชนส วนตนและผลประโยชนส วนรวม (โลก) การขดั กันระหวา งผลประโยชนสวนตนและผลประโยชนส ว นรวม มไี ดห ลายรปู แบบไมจ าํ กดั เฉพาะ ในรูปแบบของตวั เงนิ หรอื ทรพั ยสนิ เทา น้นั แตรวมถงึ ผลประโยชนอื่น ๆ ที่ไมไดอยูในรูปแบบของตัวเงินหรือ ทรัพยสินดวย ท้ังนี้ John Langford และ Kenneth Kernaghan ไดจําแนกรูปแบบของการขัดกันระหวาง ผลประโยชนสว นตนและผลประโยชนสว นรวมออกเปน 7 รปู แบบ คือ
7 3.1 การรบั ผลประโยชนต าง ๆ การรบั ผลประโยชนต าง ๆ (Accepting Benefits) ซ่ึงผลประโยชนต า ง ๆ ไมว าจะเปนทรัพยสิน ของขวัญ การลดราคา การรบั ความบันเทงิ การรับบริการ การรับการฝกอบรม หรอื สง่ิ อ่นื ใดในลักษณะเดียวกันน้ี และผลจากการรบั ผลประโยชนอื่น ๆ นน้ั ไดส งผลใหก ารตัดสินใจของเจาหนาท่ีของรัฐในการดําเนินการตาม อาํ นาจหนา ท่ี ตวั อยา ง 1) นายสุจริต ขาราชการชั้นผูใหญ ไดเดินทางไปปฏิบัติราชการในพื้นที่จังหวัดราชบุรี ซึง่ ในวันดังกลาว นายรวย นายกอบต. แหงหน่งึ ไดม อบงาชางจาํ นวนหนงึ่ คูใหแ กนายสจุ รติ เพอ่ื เปนของท่รี ะลึก 2) การท่ีเจาหนาที่ของรัฐรับของขวัญจากผูบริหารของบริษัทเอกชน เพ่ือชวยใหบริษัท เอกชนรายน้ันชนะการประมูลรับงานโครงการขนาดใหญของรฐั 3) การทบี่ ริษัทแหง หนึ่งใหของขวญั เปนทองคําแกเจาหนาที่ในปที่ผานมา และปน้ีเจาหนาที่ เรงรัดคนื ภาษใี หกับบรษิ ทั นัน้ เปนกรณพี ิเศษ โดยลดั ควิ ใหกอนบริษทั อืน่ ๆ เพราะคาดวา จะไดรบั ของขวญั อกี 4) การที่เจาหนาที่ของรัฐไปเปนคณะกรรมการของบริษัทเอกชน หรือรัฐวิสาหกิจ และไดรับความบันเทิงในรูปแบบตาง ๆ จากบริษัทเหลานั้น ซ่ึงมีผลตอการใหคําวินิจฉัยหรือขอเสนอแนะ ท่เี ปน ธรรม หรอื เปน ไปในลักษณะที่เอ้อื ประโยชนตอบรษิ ัทผใู หน ัน้ ๆ 5) เจาหนาที่ของรัฐไดรับชุดไมกอลฟจากผูบริหารของบริษัทเอกชน เมื่อตองทํางาน ที่เกี่ยวของกับบริษัทเอกชนแหงน้ันก็ชวยเหลือใหบริษัทนั้นไดรับสัมปทาน เนื่องจากรูสึกวาควรตอบแทน ที่เคยไดรับของขวญั มา 3.2 การทาํ ธุรกจิ กับตนเองหรอื เปน คูส ัญญา การทําธรุ กจิ กับตนเอง (Self - Dealing) หรือเปนคูสัญญา (Contracts) เปนการที่เจาหนาที่ ของรัฐ โดยเฉพาะผูมีอาํ นาจในการตัดสินใจเขาไปมีสวนไดสวนเสียในสัญญาที่ทํากับหนวยงานที่ตนสังกัด โดยอาจจะเปนเจาของบริษัทท่ีทําสัญญาเอง หรือเปนของเครือญาติ สถานการณเชนนี้เกิดบทบาทท่ีขัดแยง หรอื เรียกไดว าเปน ทัง้ ผซู อื้ และผขู ายในเวลาเดยี วกนั ตวั อยาง 1) การที่เจาหนาที่ในกระบวนการจัดซื้อจัดจางทําสัญญา ใหหนวยงานตนสังกัด ซ้ือเครอ่ื งคอมพวิ เตอรสํานกั งานจากบริษทั ของครอบครวั ตนเอง หรอื บรษิ ทั ที่ตนเองมีหนุ สว นอยู 2) ผูบริหารหนวยงาน ทําสัญญาเชารถไปสัมมนาและดูงานกับบริษัท ซึ่งเปนของเจาหนาท่ี หรอื บริษัทท่ีผบู รหิ ารมีหนุ สว นอยู
8 3) ผูบริหารของหนวยงาน ทําสัญญาจางบริษัทที่ภรรยาของตนเองเปนเจาของมาเปน ที่ปรึกษาของหนวยงาน 4) ผูบริหารของหนวยงานทําสัญญาใหหนวยงานจัดซ้ือที่ดินของตนเองในการสราง สาํ นักงานแหงใหม 3.3 การทาํ งานหลงั จากออกจากตําแหนงหนาท่ีสาธารณะหรอื หลงั เกษยี ณ การทาํ งานหลังจากออกจากตาํ แหนง หนาท่ีสาธารณะหรือหลงั เกษียณ (Post - employment) เปนการที่เจาหนาที่ของรัฐลาออกจากหนวยงานของรัฐ และไปทํางานในบริษัทเอกชนที่ดําเนินธุรกิจ ประเภทเดียวกัน หรือบริษัทที่มีความเกี่ยวของกับหนวยงานเดิม โดยใชอิทธิพลหรือความสัมพันธจากท่ีเคย ดาํ รงตําแหนง ในหนว ยงานเดมิ น้ันหาผลประโยชนจากหนว ยงานใหก บั บริษัทและตนเอง ตวั อยา ง 1) อดีตผูอํานวยการโรงพยาบาลแหงหน่ึง เพ่ิงเกษียณอายุราชการไปทํางานเปนที่ปรึกษา ในบริษทั ผลิตหรือขายยา โดยใชอิทธิพลจากท่เี คยดํารงตําแหนง ในโรงพยาบาลดังกลาว ใหโรงพยาบาลซื้อยา จากบริษัทที่ตนเองเปนที่ปรึกษาอยู พฤติการณเชนนี้ มีมูลความผิดทั้งทางวินัยและทางอาญาฐานเปน เจาหนาท่ีของรัฐปฏิบัติหรือละเวนการปฏิบัติในพฤติการณที่อาจทําใหผูอ่ืนเช่ือวาตนมีตําแหนงหรือหนาที่ ท้ังที่ตนมไิ ดม ตี าํ แหนงหรือหนาทนี่ ั้น เพื่อแสวงหาประโยชนท ่ีมิควรไดโดยชอบดว ยกฎหมายสําหรบั ตนเองหรือ ผอู น่ื ตามพระราชบัญญัตปิ ระกอบรฐั ธรรมนูญวาดวยการปองกันและปราบปรามการทจุ ริต พ.ศ. 2561 มาตรา171 2) การท่ีผูบริหารหรือเจาหนาที่ขององคกรดานเวชภัณฑและสุขภาพ ออกจากราชการ ไปทาํ งานในบรษิ ัทผลติ หรอื ขายยา โดยใชความสัมพันธจากท่ีเคยทํางานในองคกร หาผลประโยชนใหบริษัท ผลิตหรือขายยา 3) การที่ผบู ริหารหรือเจาหนาท่ีของหนวยงานที่เกษียณแลว ใชอิทธิพลที่เคยดํารงตําแหนง ในหนวยงานรฐั รบั เปน ทปี่ รึกษาใหบริษัทเอกชนท่ีตนเคยตดิ ตอ ประสานงาน โดยอางวา จะไดต ดิ ตอกบั หนว ยงานรฐั ไดอ ยางราบร่นื 4) การวา จางเจา หนา ทีผ่ เู กษียณมาทาํ งานในตําแหนงเดิมท่ีหนวยงานเดิมโดยไมคุมคากับ ภารกิจที่ไดรับมอบหมาย 3.4 การทาํ งานพิเศษ การทํางานพิเศษ (Outside employment or moonlighting) ในรูปแบบน้ีมีไดหลาย ลักษณะ ไมวา จะเปนการท่เี จา หนาทข่ี องรัฐตงั้ บรษิ ัทดาํ เนนิ ธรุ กิจท่ีเปนการแขงขันกับหนวยงานหรือองคการ สาธารณะท่ีตนสังกัด หรือการรับจางพิเศษเปนที่ปรึกษาโครงการโดยอาศัยตําแหนงในราชการสรางความ นาเชื่อถือวา โครงการของผวู า จา งจะไมมปี ญ หาติดขดั ในการพจิ ารณาจากหนวยงานทที่ ปี่ รกึ ษาสังกัดอยู
9 ตวั อยาง 1) เจาหนาท่ีตรวจสอบภาษี 6 สํานักงานสรรพากรจังหวัดในสวนภูมิภาค ไดจัดตั้งบริษัท รบั จา งทาํ บัญชีใหคาํ ปรกึ ษาเกี่ยวกบั ภาษีและมผี ลประโยชนเก่ยี วขอ งกับบรษิ ทั โดยรับจางทําบัญชี และยื่นแบบ แสดงรายการใหผ ูเ สยี ภาษีในเขตจังหวัดทีร่ ับราชการอยูและจงั หวดั ใกลเ คียง มพี ฤติกรรมชวยเหลือผูเสียภาษี ใหเสียภาษีนอยกวาความเปนจริงและรับเงินคาภาษีอากรจากผูเสียภาษีบางราย รวมท้ังมิไดนาํ ไปยื่นแบบ แสดงรายการชําระภาษีให พฤติกรรมของเจาหนาท่ีดังกลาวเปนการไมปฏิบัติตามขอบังคับกรมสรรพากร วาดวยจรรยาขาราชการกรมสรรพากร พ.ศ. 2559 ขอ9 (7) (8) และอาศัยตําแหนงหนาที่ราชการของตน หาประโยชนใหแกตนเอง เปนความผิดวินัยอยางไมรายแรงตามมาตรา83 (3) แหงพระราชบัญญัติระเบียบ ขาราชการพลเรือน พ.ศ. 2551 อีกทั้งเปนการปฏิบัติหนาที่ราชการโดยมิชอบเพื่อใหเกิดความเสียหาย แกท างราชการโดยรายแรง และปฏบิ ตั หิ นา ทีร่ าชการโดยทุจรติ และยงั กระทําการอันไดชื่อวาเปนผูประพฤติ ชว่ั อยางรายแรง เปนความผดิ วินยั อยางรา ยแรง ตามมาตรา 85 (1) และ (4) แหงพระราชบัญญัติระเบียบขาราชการ พลเรอื น พ.ศ. 2551 2) ฝายกฎหมายและเรงรัดภาษีอากรคาง สํานักงานสรรพากรจังหวัดในสวนภูมิภาค หารายไดพ ิเศษโดยการเปนตวั แทนขายประกันชวี ิตของบริษัทเอกชน ไดอาศัยโอกาสที่ตนปฏิบัติหนาท่ีเรงรัด ภาษีอากรคางผูป ระกอบการรายหนงึ่ หาประโยชนใหแ กตนเอง ดว ยการขายประกันชวี ิตใหแ กหุนสวนผูจัดการ ของผปู ระกอบการดังกลาว รวมทั้งพนักงานของผปู ระกอบการน้ันอีกหลายคน ในขณะที่ตนกําลังดําเนินการเรงรัด ภาษีอากรคาง พฤติกรรมของเจาหนาที่ดังกลาว เปนการอาศัยตําแหนงหนาท่ีราชการของตนหาประโยชน ใหแ กตนเอง เปนความผดิ วนิ ัยอยา งไมร ายแรงตามมาตรา 83 (3) ประกอบมาตรา 84 แหงพระราชบัญญัติระเบียบ ขา ราชการพลเรือน พ.ศ. 2551 3) การที่เจาหนาท่ีของรัฐอาศัยตําแหนงหนาที่ทางราชการ รับจางเปนท่ีปรึกษาโครงการ เพื่อใหบรษิ ทั เอกชนทวี่ าจางน้นั มคี วามนา เชื่อถอื มากกวา บรษิ ัทคูแขง 4) การทเ่ี จาหนา ทข่ี องรฐั ไมท าํ งานทีไ่ ดรบั มอบหมายจากหนวยงานอยางเต็มท่ี แตใชเวลา ไปรับงานพิเศษอืน่ ๆ ทอี่ ยนู อกเหนืออํานาจหนา ท่ที ี่ไดร บั มอบหมายจากหนวยงาน 5) การทผี่ ูตรวจสอบบัญชีภาครฐั รบั งานพเิ ศษเปน ทีป่ รึกษา หรือเปน ผูทาํ บัญชีใหก บั บริษัท ท่ตี องถกู ตรวจสอบ 3.5 การรขู อ มลู ภายใน การรขู อมูลภายใน (Inside information) เปน สถานการณท ่ีเจาหนา ที่ของรฐั ใชประโยชนจาก การท่ีตนเองรับรูขอมูลภายในหนวยงาน และนําขอมูลน้ันไปหาผลประโยชนใหกับตนเองหรือพวกพอง อาจจะไปหาผลประโยชนโดยการขายขอ มลู หรือเขาเอาผลประโยชนเ สียเอง
10 ตัวอยาง 1) นายชาง 5 แผนกชุมสายโทรศัพทเคลื่อนท่ีขององคการโทรศัพทแหงประเทศไทย ไดนาํ ขอมูลเลขหมายโทรศัพทเคล่ือนท่ี ระบบ 470 MHZ และระบบปลดล็อคไปขายใหแกผูอื่น จํานวน 40 หมายเลข เพ่ือนําไปปรับจูนเขากับโทรศัพทเคลื่อนที่ที่นําไปใชรับจางใหบริการโทรศัพทแกบุคคลท่ัวไป คณะกรรมการ ป.ป.ช. มมี ติชี้มูลความผิดตามประมวลกฎหมายอาญามาตรา 151 มาตรา 157 และมาตรา 164 และมคี วามผิดวนิ ยั ขอ บงั คับองคการโทรศพั ทแ หง ประเทศไทยวา ดว ยการพนกั งาน พ.ศ. 2536 ขอ 44 และขอ 46 2) การท่ีเจาหนาที่ของรัฐทราบขอมูลโครงการตัดถนนเขาหมูบาน จึงบอกใหญาติพ่ีนอง ไปซื้อที่ดินบริเวณโครงการดงั กลา ว เพ่อื ขายใหกบั ราชการในราคาท่ีสูงขน้ึ 3) การที่เจาหนาท่ีหนวยงานผูรับผิดชอบโครงขายโทรคมนาคมทราบมาตรฐาน (Spec) วัสดุอุปกรณที่จะใชในการวางโครงขายโทรคมนาคม แลวแจงขอมูลใหกับบริษัทเอกชนที่ตนรูจัก เพื่อให ไดเปรยี บในการประมลู 4) เจา หนาทพ่ี สั ดขุ องหนว ยงานเปดเผยหรือขายขอมูลท่ีสําคัญของฝายท่ีมายื่นประมูลไว กอ นหนา ใหแกผ ูประมลู รายอื่นทใ่ี หผลประโยชน ทาํ ใหฝายทีม่ ายื่นประมลู ไวก อนหนา เสียเปรียบ 3.6 การใชท รพั ยสนิ ของราชการเพื่อประโยชนสวนตวั การใชทรัพยสินของราชการเพื่อประโยชนสวนตัว (Using your employer’sproperty for private advantage) เปน การท่เี จาหนา ทข่ี องรัฐนําเอาทรพั ยสินของราชการ ซ่ึงจะตองใชเพื่อประโยชน ของทางราชการเทา นน้ั ไปใชเพือ่ ประโยชนของตนเองหรอื พวกพอ ง หรอื การใชใ หผ ูใตบังคบั บญั ชาไปทาํ งานสว นตวั ตัวอยาง 1) คณบดีคณะแพทยศาสตร ใชอํานาจหนาท่ีโดยทุจริต ดวยการสั่งใหเจาหนาท่ีนําเกาอี้ พรอมผาปลอกคลมุ เกาอี้ เคร่ืองถายวิดีโอ เครื่องเลนวิดีโอ กลองถายรูป และผาเต็นท นําไปใชในงานมงคล สมรสของบุตรสาว รวมทั้งรถยนต รถตูส วนกลาง เพ่ือใชรับสงเจาหนาท่ีเขารวมพิธี และขนยายอุปกรณท้ังท่ี บานพกั และงานฉลองมงคลสมรสท่โี รงแรม ซ่งึ ลวนเปน ทรัพยส นิ ของทางราชการ การกระทําของจําเลยนบั เปน การใชอ าํ นาจโดยทุจรติ เพ่ือประโยชนสวนตนอันเปนการเสียหายแกรัฐ คณะกรรมการ ป.ป.ช. ไดช้ีมูลความผิด วนิ ัยและอาญา ตอมาเรื่องเขาสูกระบวนการในช้นั ศาล ศาลพิเคราะหพยานหลักฐานโจทกแลวเห็นวาการกระทํา ของจาํ เลยเปน การทุจริตตอ ตําแหนงหนา ทฐี่ านเปนเจาพนักงานมหี นา ท่ซี อ้ื ทาํ จัดการ หรือรักษาทรพั ยใด ๆ ใชอํานาจในตําแหนงโดยทจุ ริต อนั เปน การเสยี หายแกร ฐั และเปน เจาพนกั งานปฏิบตั ิหนาท่โี ดยมิชอบ จงึ พิพากษา ใหจ าํ คุก 5 ป และปรบั 20,000 บาท คําใหก ารรบั สารภาพเปน ประโยชนแ กก ารพจิ ารณาคดี ลดโทษใหก่งึ หนงึ่ คงจําคุกจาํ เลยไว 2 ป 6 เดอื น และปรบั 10,000 บาท
11 2) การที่เจาหนาที่ของรัฐ ผูมีหนาที่ขับรถยนตของสวนราชการนําน้ํามันในรถยนตไปขาย และนําเงินมาไวใชจายสวนตัว ทําใหสวนราชการตองเสียงบประมาณเพ่ือซ้ือน้ํามันรถมากกวาความเปนจริง พฤตกิ รรมดังกลา วถือเปนการทจุ รติ เปน การเบยี ดบังผลประโยชนของสวนรวมเพ่ือประโยชนของตนเองและ มีความผดิ ฐานลักทรพั ยตามประมวลกฎหมายอาญา 3) การท่ีเจาหนาที่รัฐ ผูมีอํานาจอนุมัติใหใชรถราชการ หรือการเบิกจายคานํ้ามันเช้ือเพลิง นํารถยนตข องสวนราชการไปใชใ นกิจธรุ ะสว นตวั 4) การท่ีเจาหนาท่ีรัฐนําวัสดุครุภัณฑของหนวยงานมาใชที่บาน หรือใชโทรศัพทของ หนวยงาน ติดตอธุระสว นตวั หรอื นาํ รถสวนตัวมาลางทีห่ นวยงาน 3.7 การนําโครงการสาธารณะลงในเขตเลือกต้ังเพ่ือประโยชนในทางการเมือง การนาํ โครงการสาธารณะลงในเขตเลือกตง้ั เพ่อื ประโยชนท างการเมอื ง (Pork – Barreling) เปน การท่ีผูด าํ รงตาํ แหนง ทางการเมอื ง หรือผูบริหารระดบั สงู อนุมัติโครงการไปลงพ้ืนที่ หรือบานเกิดของตนเอง หรือการใชงบประมาณสาธารณะเพื่อหาเสียง ตัวอยาง 1) นายกองคการบริหารสวนตําบลแหงหน่ึงรวมกับพวกแกไขเปลี่ยนแปลงรายละเอียด โครงการปรับปรุงและซอมแซมถนนคนเดิน ในตาํ บลที่ตนมีฐานเสียงโดยไมผานความเห็นชอบจากสภาฯ และตรวจรบั งานทั้งที่ไมถ ูกตองตามแบบรายการท่ีกําหนด รวมทั้งเมื่อดําเนินการแลวเสร็จไดติดปายช่ือของตน และพวก การกระทําดังกลาวมีมูลเปนการกระทําการฝาฝนตอความสงบเรียบรอยหรือสวัสดิภาพของ ประชาชน หรือละเลยไมปฏิบัติตาม หรือปฏิบัติการไมชอบดวยอํานาจหนาที่มีมูลความผิดทั้งทางวินัย อยางรายแรง และทางอาญา คณะกรรมการ ป.ป.ช. มีหนงั สอื แจง ผลการพิจารณาของคณะกรรมการ ป.ป.ช. ใหผ ูม อี ํานาจแตง ต้งั ถอดถอน และสาํ นกั งานคณะกรรมการการเลอื กต้งั ทราบ 2) การท่ีนกั การเมืองในจังหวัด ขอเพิ่มงบประมาณเพื่อทําโครงการตัดถนนสรางสะพาน ลงในจงั หวดั โดยใชช ่อื หรือนามสกุลของตนเองเปนช่ือสะพาน 3) การท่รี ฐั มนตรอี นมุ ตั โิ ครงการไปลงในพื้นทีห่ รือบา นเกดิ ของตนเอง 3.8 การใชต าํ แหนง หนา ทแี่ สวงหาผลประโยชนแ กเ ครอื ญาตหิ รอื พวกพอง การใชตําแหนงหนาท่ีแสวงหาประโยชนแกเครือญาติหรือพวกพอง (Nepotism) หรือ อาจจะเรยี กวา ระบบอุปถมั ภพเิ ศษ เปนการที่เจาหนา ท่ีของรัฐใชอิทธิพลหรือใชอํานาจหนาท่ีทําใหหนวยงาน ของตนเขา ทาํ สัญญากบั บรษิ ัทของพน่ี อ งของตน
12 ตัวอยาง พนักงานสอบสวนละเวนไมนาํ บันทึกการจับกุมที่เจาหนาที่ตํารวจชุดจับกุมทําขึ้น ในวัน เกิดเหตรุ วมเขา สํานวน แตกลับเปลย่ี นบันทึกและแกไขขอ หาในบันทึกการจับกุม เพ่ือชวยเหลือผูตองหา ซ่ึงเปน ญาตขิ องตนใหรับโทษนอยลง คณะกรรมการ ป.ป.ช. พจิ ารณาแลว มีมลู ความผิดทางอาญาและทางวนิ ยั อยา งรายแรง 3.9 การใชอ ทิ ธิพลเขาไปมผี ลตอการตัดสนิ ใจของเจาหนาทรี่ ฐั หรือหนวยงานของรฐั อ่นื การใชอิทธิพลเขาไปมีผลตอการตัดสินใจของเจาหนาท่ีรัฐหรือหนวยงานของรัฐอื่น (influence) เพ่ือใหเกิดประโยชนแกตนเองหรือพวกพอง โดยเจาหนาที่ของรัฐใชตําแหนงหนาที่ขมขู ผูใตบ ังคบั บญั ชาใหห ยดุ ทําการตรวจสอบบรษิ ทั ของเครือญาตขิ องตน ตวั อยาง 1) เจาหนาท่ีของรัฐใชตําแหนงหนาท่ีในฐานะผูบริหาร เขาแทรกแซงการปฏิบัติงานของ เจา หนา ท่ใี หป ฏบิ ตั หิ นา ทโ่ี ดยมิชอบดว ยระเบียบ และกฎหมาย หรือฝาฝน จริยธรรม 2) นายเอเปนหัวหนาสวนราชการแหงหนึ่งในจังหวัด รูจักสนิทสนมกับนายบี เปนหัวหนา สว นราชการอกี แหงหนงึ่ ในจังหวดั เดียวกนั นายเอ จึงใชความสมั พนั ธสวนตัวฝากลกู ชาย คอื นายซี เขารับราชการ ภายใตส ังกัดของนายบี 3.10 การขดั กนั แหง ผลประโยชนสวนบคุ คลกับประโยชนสวนรวมประเภทอืน่ ๆ 1) การเดินทางไปราชการตา งจงั หวัดโดยไมคํานึงถึงจํานวนคน จํานวนงาน และจํานวนวัน อยางเหมาะสม อาทิ เดินทางไปราชการจํานวน 10 วัน แตใชเวลาในการทํางานจริงเพียง 6 วัน โดยอีก 4 วัน เปน การเดนิ ทางทอ งเทย่ี วในสถานท่ตี า ง ๆ 2) เจาหนาที่ผูปฏิบัติไมใชเวลาในราชการปฏิบัติงานอยางเต็มท่ี เน่ืองจากตองการ ปฏบิ ตั ิงานนอกเวลาราชการ เพราะสามารถเบกิ เงนิ งบประมาณคาตอบแทนการปฏบิ ัติงานนอกเวลาราชการได จากรปู แบบดงั กลา ว จะเห็นไดว า การขดั กันระหวา งผลประโยชนส ว นตนและผลประโยชน สวนรวมน้ัน มีไดหลายรูปแบบไมจํากัดอยูในรูปตัวเงินหรือทรัพยสินเทานั้น แตรวมถึงผลประโยชนอื่น ๆ ที่ไมใชรูปตัวเงินหรือทรัพยสินก็ได เชน การที่ นาย ก. ดํารงตําแหนงเปนที่ปรึกษาของรัฐมนตรี และมี หนาที่ใหคําแนะนําแกรัฐมนตรีเกี่ยวกับการออกกฎ ระเบียบสําหรับบริษัทเอกชน ซึ่งในขณะเดียวกัน นาย ก. มีธุรกิจสวนตัวโดยเปนผูถือหุนของบริษัทเอกชนท่ีจะไดรับผลกระทบจากกฎระเบียบน้ีดวยเชนกัน หรอื กรณที ี่ นาย ข. ซึง่ เปน ขาราชการในหนวยงานของรฐั แหง หน่ึงรบั ขอ เสนอวาจะไดรับการวาจางงาน หลังจาก ที่ นาย ข. ออกจากราชการแลวจากบริษัทท่ีกําลังย่ืนขอสัมปทานจากหนวยงานที่ นาย ข.สังกัดอยู หรือกรณีที่ นาย ค. เปนหนง่ึ ในคณะกรรมการท่ตี อ งพิจารณาตดั สนิ ใจเลอื กเสนทางท่ีจะตัดถนนเสนทางใหม ซึ่งมีเสนทาง หนึ่งอาจจะสง ผลใหม ูลคาทดี่ ินในครอบครองของ นาย ค. สูงข้ึน เปนตน
13 กิจกรรม คาํ ชแ้ี จง ใหผ ูเรียนคิดทบทวนวา ตนเองไดเ คยปฏบิ ัตเิ กีย่ วกับหวั ขอ ตอไปนบี้ า งหรอื ไม 1. ผลประโยชนส วนตน เรื่องที่เคยปฏิบตั ิ แนวทางปอ งกัน 2. ผลประโยชนส ว นรวม แนวทางปองกัน เรือ่ งทเ่ี คยปฏิบัติ
14 เรอื่ งที่ 3 กฎหมายทเ่ี กี่ยวของกบั การขัดกันระหวางผลประโยชนสว นตนกับผลประโยชนส วนรวม รัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2560 ไดบัญญัติหนาท่ีของปวงชนชาวไทย ไวใน มาตรา 50 (10) ใหบุคคลไมรวมมือหรือสนับสนุนการทุจริตและประพฤติมิชอบทุกรูปแบบ ดังนั้น ในฐานะ ท่เี ราเปนประชาชนชาวไทย จึงมคี วามจําเปน ตอ งมีความรูเก่ียวกับกฎหมายท่ีเกี่ยวของกับการขัดกันระหวาง ผลประโยชนสวนตนกับผลประโยชนส ว นรวม ดงั ตอไปน้ี 1. รฐั ธรรมนูญแหง ราชอาณาจกั รไทย พทุ ธศกั ราช 2560 รัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2560 ไดบัญญัติไวในหมวด 9 การขัดกัน แหงผลประโยชน (มาตรา 184 – 187) โดยบัญญัติขอหามสําหรับผูดํารงตําแหนงสมาชิกสภาผูแทนราษฎร และสมาชิกวุฒิสภา (มาตรา 184 – 185) ขอหามสําหรับผูดํารงตําแหนงรัฐมนตรี (มาตรา 186 – 187) มีรายละเอยี ด ดงั น้ี รฐั ธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทย พทุ ธศักราช 2560 หมวด 9 การขดั กนั แหงผลประโยชน มาตรา 184 สมาชิกสภาผูแทนราษฎรและสมาชกิ วุฒสิ ภาตอง (1) ไมด าํ รงตําแหนงหรอื หนาท่ใี ดในหนวยราชการ หนวยงานของรัฐหรือรัฐวิสาหกิจหรือตําแหนง สมาชิกสภาทอ งถ่นิ หรอื ผบู รหิ ารทอ งถิ่น (2) ไมรบั หรอื แทรกแซงหรอื กา วกายการเขารับสมั ปทานจากรฐั หนว ยราชการ หนวยงานของรัฐ หรือรัฐวิสาหกจิ หรือเขาเปน คูส ญั ญากับรัฐ หนวยราชการ หนวยงานของรฐั หรอื รฐั วิสาหกจิ อนั มลี ักษณะเปน การผูกขาดตัดตอน หรือเปนหุนสวนหรือผูถือหุนในหางหุนสวนหรือบริษัทที่รับสัมปทานหรือเขาเปน คสู ัญญาในลักษณะดงั กลา ว ท้งั นี้ ไมว าโดยทางตรงหรอื ทางออ ม (3) ไมร ับเงินหรอื ประโยชนใด ๆ จากหนว ยราชการ หนว ยงานของรัฐ หรือรฐั วิสาหกิจเปนพิเศษ นอกเหนอื ไปจากทีห่ นวยราชการ หนว ยงานของรัฐ หรือรัฐวิสาหกิจปฏิบัติตอบุคคลอ่ืน ๆ ในธุรกิจการงานปกติ (4) ไมก ระทําการใด ๆ ไมว า โดยทางตรงหรือทางออม อนั เปนการขัดขวางหรือแทรกแซงการใช สทิ ธหิ รอื เสรีภาพของหนงั สือพมิ พห รอื สอื่ มวลชนโดยมิชอบ มาตรานมี้ ใิ หใ ชบงั คบั ในกรณที ส่ี มาชกิ สภาผูแทนราษฎร หรอื สมาชกิ วฒุ ิสภารบั เบีย้ หวดั บําเหน็จ บํานาญ เงินปพระบรมวงศานุวงศ หรือเงินอื่นใดในลักษณะเดียวกัน และมิใหใชบังคับในกรณีท่ีสมาชิก สภาผูแทนราษฎรหรือสมาชิกวุฒิสภารับหรือดํารงตาํ แหนงกรรมาธิการของรัฐสภา สภาผูแทนราษฎร หรือ วุฒิสภา หรอื กรรมการทไี่ ดรับแตง ตง้ั ในการบริหารราชการแผนดินท่ีเกี่ยวกับกิจการของสภา หรือกรรมการ ตามท่ีมกี ฎหมายบัญญตั ิไวเปน การเฉพาะ
15 ใหน ํา (2) และ (3) มาบงั คบั ใชแกคูส มรสและบตุ รของสมาชิกสภาผแู ทนราษฎรหรือสมาชิกวุฒิสภา และบุคคลอ่ืนซึ่งมิใชคูสมรสและบุตรของสมาชิกสภาผูแทนราษฎรหรือสมาชิกวุฒิสภานั้น ที่ดําเนินการ ในลักษณะผถู กู ใช ผูรว มดาํ เนนิ การ หรือผูไดรับมอบหมายจากสมาชิกสภาผูแทนราษฎรหรือสมาชิกวุฒิสภา ใหกระทาํ การตามมาตราน้ดี วย มาตรา 185 สมาชิกสภาผูแทนราษฎรหรือสมาชิกวุฒิสภาตองไมใชสถานะหรือตําแหนงการเปน สมาชิกสภาผูแทนราษฎรหรือสมาชกิ วุฒิสภากระทําการใด ๆ อันมีลักษณะท่ีเปนการกาวกายหรือแทรกแซง เพื่อประโยชนของตนเอง ของผูอ่ืน หรือของพรรคการเมอื ง ไมว า โดยทางตรงหรือทางออ ม ในเร่ืองดังตอ ไปน้ี (1) การปฏบิ ตั ิราชการหรือการดําเนินงานในหนาที่ประจําของขาราชการ พนักงานหรือลูกจาง ของหนว ยราชการ หนวยงานของรฐั รัฐวิสาหกิจ กิจการท่ีรฐั ถือหนุ ใหญ หรือราชการสว นทอ งถ่ิน (2) กระทาํ การในลกั ษณะท่ีทําใหต นมีสว นรวมในการใชจายเงินงบประมาณหรือใหความเห็นชอบ ในการจัดทําโครงการใด ๆ ของหนวยงานของรฐั เวน แตเ ปน การดําเนินการในกิจการของรฐั สภา (3) การบรรจุ แตง ตั้ง โยกยาย โอน เล่ือนตําแหนง เล่ือนเงินเดือนหรือการใหพนจากตําแหนง ของขาราชการซ่ึงมีตําแหนงหรอื เงนิ เดือนประจาํ และมใิ ชขาราชการการเมอื ง พนกั งาน หรอื ลูกจา งของหนวยราชการ หนว ยงานของรฐั รฐั วสิ าหกจิ กิจการท่ีรัฐถอื หนุ ใหญ หรอื ราชการสวนทอ งถนิ่ มาตรา 186 ใหนําความในมาตรา 184 มาใชบังคบั แกร ฐั มนตรีดว ยโดยอนโุ ลม เวน แตก รณี ดงั ตอ ไปนี้ (1) การดํารงตําแหนงหรือการดาํ เนนิ การที่กฎหมายบัญญัติใหเปนหนาท่ีหรืออํานาจของรัฐมนตรี (2) การกระทําตามหนาทแี่ ละอาํ นาจในการบรหิ ารราชการแผนดิน หรือตามนโยบายท่ีไดแถลง ตอ รฐั สภา หรอื ตามที่กฎหมายบัญญตั ิ นอกจากกรณตี ามวรรคหนง่ึ รัฐมนตรตี อ งไมใ ชสถานะหรือตําแหนงกระทําการใดไมวาโดยทางตรง หรือทางออ ม อันเปน การกาวกา ยหรอื แทรกแซงการปฏิบตั ิหนา ที่ของเจาหนาท่ีของรัฐ เพื่อประโยชนของตนเอง ของผูอ่ืน หรอื ของพรรคการเมอื งโดยมชิ อบตามทกี่ ําหนดในมาตรฐานทางจริยธรรม มาตรา 187 รฐั มนตรตี อ งไมเปนหนุ สว นหรอื ผูถ อื หนุ ในหางหุน สว นหรอื บรษิ ทั หรอื ไมค งไว ซง่ึ ความเปน หุนสวนหรือผูถือหุนในหางหุนสวนหรือบริษัทตอไปตามจํานวนที่กฎหมายบัญญัติ และตองไมเปนลูกจาง ของบุคคลใด ในกรณีที่รัฐมนตรีผูใดประสงคจะไดรับประโยชนจากกรณีตามวรรคหนึ่งตอไป ใหแจงประธาน กรรมการปอ งกันและปราบปรามการทจุ รติ แหงชาติทราบภายในสามสบิ วนั นับแตวนั ท่ไี ดร ับแตงต้ัง และใหโ อนหุน ในหางหุนสวนหรือบริษัทดังกลาวใหแกนิติบุคคลซึ่งจัดการทรัพยสินเพื่อประโยชนของผูอื่น ทั้งนี้ ตามที่ กฎหมายบญั ญตั ิ
16 รัฐมนตรีจะเขาไปเกี่ยวของกับการบริหารจัดการหุนหรือกิจการของหางหุนสวนหรือบริษัท ตามวรรคสองไมว าในทางใด ๆ มไิ ด มาตรานเ้ี ฉพาะในสวนท่ีเกี่ยวกับความเปน หนุ สวนหรือผูถือหุน ใหใชบังคับแกคูสมรสและบุตรที่ยัง ไมบ รรลนุ ติ ิภาวะของรัฐมนตรี และการถือหนุ ของรัฐมนตรีท่ีอยูในความครอบครองหรือดแู ลของบคุ คลอน่ื ไมวา โดยทางใด ๆ ดว ย 2. พระราชบัญญตั ิประกอบรัฐธรรมนญู วา ดวยการปองกันและปราบปรามการทุจริต พทุ ธศกั ราช 2561 พระราชบญั ญตั ิประกอบรัฐธรรมนูญวาดวยการปองกันและปราบปรามการทุจริต พ.ศ. 2561 ไดบ ัญญัติขอหา มสําหรับกรรมการ ผูดํารงตําแหนงในองคกรอิสระ และเจาพนักงานของรัฐท่ีคณะกรรมการ ป.ป.ช. ประกาศกําหนดไวใ นมาตรา 126 – 129 มีรายละเอียด ดงั น้ี พระราชบญั ญตั ิประกอบรฐั ธรรมนูญวาดว ยการปอ งกันและปราบปรามการทจุ ริต พ.ศ. 2561 หมวด 6 การขัดกนั ระหวางประโยชนสว นบุคคลกบั ประโยชนสว นรวม มาตรา 126 นอกจากเจาพนักงานของรัฐที่รัฐธรรมนูญกําหนดไวเปนการเฉพาะแลว หามมิให กรรมการ ผดู ํารงตาํ แหนงในองคกรอิสระ และเจาพนักงานของรัฐที่คณะกรรมการ ป.ป.ช. ประกาศกําหนด ดาํ เนินกิจการดังตอ ไปน้ี (1) เปนคสู ญั ญาหรือมีสวนไดเสียในสัญญาที่ทํากับหนวยงานของรัฐที่เจาพนักงานของรัฐผูน้ัน ปฏิบัตหิ นา ท่ีในฐานะทีเ่ ปน เจาพนักงานของรัฐซึ่งมีอํานาจไมวาโดยตรงหรือโดยออมในการกํากับ ดูแล ควบคุม ตรวจสอบหรอื ดําเนินคดี (2) เปนหุนสวนหรือผูถือหุนในหางหุนสวนหรือบริษัทท่ีเขาเปนคูสัญญากับหนวยงานของรัฐ ที่เจาพนกั งานของรัฐผนู ั้นปฏิบัติหนาที่ในฐานะทเ่ี ปน เจา พนักงานของรัฐ ซึ่งมีอาํ นาจไมว า โดยตรงหรอื โดยออ ม ในการกํากับ ดแู ล ควบคุม ตรวจสอบหรือดําเนินคดี เวนแตจะเปนผูถือหุนในบริษัทจํากัดหรือบริษัทมหาชน จํากัดไมเ กินจํานวนทคี่ ณะกรรมการป.ป.ช. กําหนด (3) รับสัมปทานหรือคงถือไวซึ่งสัมปทานจากรัฐ หนวยราชการ หนวยงานของรัฐ รัฐวิสาหกิจ หรอื ราชการสวนทอ งถิน่ หรอื เขาเปนคูสญั ญากับรัฐ หนว ยราชการ หนว ยงานของรฐั รัฐวสิ าหกิจ หรอื ราชการ สวนทอ งถิ่น อันมีลักษณะเปน การผูกขาดตดั ตอน หรอื เปนหนุ สวนหรือผูถือหุนในหางหุนสวนหรือบริษัทท่ีรับ สัมปทานหรือเขา เปนคูสญั ญาในลกั ษณะดังกลา ว ในฐานะท่ีเปนเจา พนักงานของรัฐซ่ึงมีอํานาจ ไมวาโดยตรง หรือโดยออ มในการกํากบั ดูแล ควบคุม ตรวจสอบ หรือดําเนินคดี เวนแตจะเปนผูถือหุนในบริษัทจํากัดหรือ บรษิ ทั มหาชนจาํ กัดไมเ กินจํานวนทค่ี ณะกรรมการป.ป.ช. กาํ หนด (4) เขา ไปมีสว นไดเ สยี ในฐานะเปน กรรมการ ทีป่ รึกษา ตวั แทน พนกั งานหรือลูกจา งในธุรกจิ ของ เอกชนซ่ึงอยูภายใตการกํากับ ดูแล ควบคุม หรือตรวจสอบของหนวยงานของรัฐที่เจาพนักงานของรัฐ
17 ผูน้ันสังกัดอยูหรือปฏิบัติหนาที่ในฐานะเปนเจาพนักงานของรัฐ ซึ่งโดยสภาพของผลประโยชนของธุรกิจ ของเอกชนน้ันอาจขัดหรือแยง ตอ ประโยชนส ว นรวม หรือประโยชนทางราชการ หรือกระทบตอความมีอิสระ ในการปฏิบตั ิหนา ท่ขี องเจาพนกั งานของรฐั ผูนน้ั ใหนําความในวรรคหนึ่ง มาใชบังคับกบั คูส มรสของเจาพนกั งานของรัฐตามวรรคหน่ึงดวย โดยใหถือวา การดําเนินกิจการของคูสมรสเปนการดําเนินกิจการของเจาพนักงานของรัฐ เวนแตเปนกรณีท่ีคูสมรสนั้น ดําเนนิ การอยกู อ นที่เจาพนักงานของรฐั จะเขา ดาํ รงตาํ แหนง คูสมรสตามวรรคสองใหห มายความรวมถึงผซู ึง่ อยูกนิ กนั ฉนั สามภี รยิ าโดยมไิ ดจดทะเบียนสมรสดวย ทง้ั น้ี ตามหลกั เกณฑท่คี ณะกรรมการ ป.ป.ช. กําหนด เจาพนักงานของรัฐท่ีมีลักษณะตาม (2) หรือ (3) ตองดําเนินการไมใหมีลักษณะดังกลาว ภายใน สามสิบวนั นับแตวันทเ่ี ขา ดาํ รงตาํ แหนง มาตรา 127 หา มมใิ หกรรมการ ผดู าํ รงตําแหนง ในองคกรอิสระ ผดู ํารงตาํ แหนงระดับสูงและผูดํารง ตาํ แหนง ทางการเมอื งทคี่ ณะกรรมการ ป.ป.ช. กาํ หนด ดําเนนิ การใดตามมาตรา 126 (4) ภายในสองปนับแต วนั ท่พี น จากตาํ แหนง มาตรา 128 หามมิใหเจาพนักงานของรัฐผูใดรับทรัพยสินหรือประโยชนอื่นใดอันอาจคํานวณ เปนเงินไดจากผูใด นอกเหนือจากทรัพยสินหรือประโยชนอันควรไดตามกฎหมาย กฎ หรือขอบังคับที่ออก โดยอาศยั อํานาจตามบทบัญญัติแหงกฎหมาย เวนแตการรับทรัพยสินหรือประโยชนอื่นใด โดยธรรมจรรยา ตามหลักเกณฑแ ละจาํ นวนท่คี ณะกรรมการ ป.ป.ช. กําหนด ความในวรรคหน่ึงมิใหใชบังคับกับการรับทรัพยสินหรือประโยชนอ่ืนใดจากบุพการี ผูสืบสันดาน หรอื ญาติที่ใหตามประเพณี หรือตามธรรมจรรยาตามฐานานุรปู บทบัญญตั ใิ นวรรคหนง่ึ ใหใ ชบังคบั กับการรับทรัพยส นิ หรอื ประโยชนอ่ืนใดของผูซึ่งพนจากการเปน เจา พนกั งานของรฐั มาแลว ยงั ไมถงึ สองปด ว ยโดยอนโุ ลม มาตรา 129 การกระทําอันเปนการฝาฝนบทบัญญัติในหมวดนี้ใหถือวาเปนการกระทําความผิด ตอ ตําแหนงหนา ท่ีราชการหรอื ความผิดตอ ตาํ แหนงหนา ที่ในการยุตธิ รรม เจาหนาที่ของรัฐ ตามความหมายในพระราชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญวาดวยการปองกันและ ปราบปรามการทุจรติ พ.ศ. 2561 เปน ไปตามนยิ ามในบทบัญญัติ มาตรา 4 ดังนี้ “เจาพนักงานของรัฐ หมายความวา เจาหนาที่ของรัฐ ผูดํารงตําแหนงทางการเมือง ตุลาการศาล รัฐธรรมนญู ผูดํารงตําแหนง ในองคกรอสิ ระ และคณะกรรมการ ป.ป.ช” “เจาหนา ท่ีของรัฐ” หมายความวา ขา ราชการหรือพนกั งานสวนทองถ่ินซ่ึงมีตําแหนงหรือเงินเดือน ประจํา ผูปฏิบัติงานในหนวยงานของรัฐหรือในรัฐวิสาหกิจ ผูบริหารทองถิ่น รองผูบริหารทองถ่ิน ผูชวย
18 ผูบริหารทองถ่ิน และสมาชิกสภาทองถิ่นขององคกรปกครองสวนทองถิ่น เจาพนักงานตามกฎหมายวาดวย ลักษณะปกครองทองท่ี หรือเจาพนักงานอื่นตามที่กฎหมายบัญญัติ และใหหมายความรวมถึงกรรมการ อนุกรรมการ ลูกจางของสวนราชการ หนวยงานของรัฐ หรือรัฐวิสาหกิจ และบุคคลหรือคณะบุคคล ซึ่งมี กฎหมายกาํ หนดใหใ ชอํานาจหรอื ไดร ับมอบใหใชอ าํ นาจทางปกครองที่จัดตั้งขึ้นในระบบราชการ รัฐวิสาหกิจ หรอื กจิ การอนื่ ของรัฐดวย แตไมรวมถึงผูดํารงตําแหนงทางการเมือง ตลุ าการศาลรัฐธรรมนูญ ผูดํารงตําแหนง ในองคก รอิสระ และคณะกรรมการ ป.ป.ช. 3. ระเบยี บสํานักนายกรัฐมนตรวี าดวยการใหห รอื รับของขวญั ของเจา หนาท่ีของรัฐ พ.ศ. 2544 นายกรัฐมนตรี โดยความเหน็ ชอบของคณะรัฐมนตรี ไดวางระเบียบสํานักนายกรัฐมนตรีวาดวย การใหห รือรับของขวญั ของเจาหนาทข่ี องรัฐ พ.ศ. 2544 มีรายละเอียด ดงั น้ี โดยทผี่ านมาคณะรัฐมนตรีไดเคยมีมติคณะรัฐมนตรีเกี่ยวกับแนวทางปฏิบัติในการใหของขวัญ และรบั ของขวัญของเจา หนา ทข่ี องรฐั ไวหลายคร้งั เพอื่ เปนการเสริมสรา งคา นิยมใหเกดิ การประหยัดมิใหมีการ เบยี ดเบียนขา ราชการโดยไมจําเปนและสรา งทัศนคติที่ไมถ ูกตอ ง เนอ่ื งจากมกี ารแขงขันกนั ใหข องขวัญในราคา แพง ท้ังยังเปนชองทางใหเกิดการประพฤติมิชอบอ่ืน ๆ ในวงราชการอีกดวย และในการกําหนดจรรยาบรรณ ของเจา หนา ท่ขี องรัฐประเภทตา ง ๆ กม็ ีการกาํ หนดในเรอื่ งทาํ นองเดยี วกนั ประกอบกบั คณะกรรมการปองกัน และปราบปรามการทุจริตแหงชาติไดประกาศกําหนดหลักเกณฑและจํานวนที่เจาหนาที่ของรัฐจะรับ ทรัพยสินหรือประโยชนอื่นใดโดยธรรมจรรยาได ฉะนั้น จึงสมควรรวบรวมมาตรการเหลานั้นและกําหนด เปนหลักเกณฑก ารปฏบิ ตั ิของเจา หนาทีข่ องรัฐในการใหของขวญั และรับของขวัญไวเ ปน การถาวร มีมาตรฐาน อยางเดียวกัน และมีความชัดเจนเพื่อเสริมมาตรการของคณะกรรมการปองกันและปราบปรามการทุจริต แหง ชาติใหเปนผลอยางจริงจัง ท้ังน้ี เฉพาะในสวนท่ีคณะกรรมการปองกันและปราบปรามการทุจริตแหงชาติ ไมไดก ําหนดไว อาศยั อาํ นาจตามความในมาตรา 11 (8) แหงพระราชบัญญัติระเบียบบริหารราชการแผนดิน พ.ศ. 2534 นายกรัฐมนตรโี ดยความเห็นชอบของคณะรัฐมนตรี จึงวางระเบียบไวดังตอไปนี้ ขอ 3 ในระเบียบน้ี \"ของขวัญ\" หมายความวา เงิน ทรัพยสิน หรือประโยชนอื่นใดที่ใหแกกัน เพ่ืออัธยาศัยไมตรี และใหหมายความรวมถึงเงิน ทรัพยสิน หรือประโยชนอ ืน่ ใดทใ่ี หเ ปน รางวลั ใหโ ดยเสนห าหรอื เพื่อการสงเคราะห หรือใหเ ปน สินนํ้าใจ การใหสิทธิพิเศษซ่ึงมิใชเปนสิทธิที่จัดไวสําหรับบุคคลทั่วไปในการไดรับ การลดราคาทรพั ยสิน หรอื การใหสิทธพิ เิ ศษในการไดรับบรกิ ารหรือความบันเทิง ตลอดจนการออกคาใชจาย ในการเดนิ ทางหรอื ทอ งเทยี่ วคา ท่พี กั คาอาหาร หรือสิ่งอื่นใดในลักษณะเดียวกันและไมวาจะใหเปนบัตร ต๋ัว หรือหลักฐานอืน่ ใด การชําระเงนิ ใหล วงหนาหรือการคืนเงินใหใ นภายหลงั
19 \"ปกตปิ ระเพณนี ิยม\" หมายความวา เทศกาลหรือวันสําคญั ซึ่งอาจมีการใหของขวัญกันและให หมายความรวมถึง โอกาสในการแสดงความยินดี การแสดง ความขอบคุณ การตอนรับ การแสดงความเสียใจ หรอื การใหความชว ยเหลือตามมารยาท ทีถ่ ือปฏิบตั กิ ันในสังคมดวย \"ผูบงั คับบญั ชา\" ใหห มายความรวมถงึ ผูซ่ึงปฏิบัติหนาที่หัวหนาหนวยงาน ท่ีแบงเปนการภายใน ของหนวยงานของรัฐและผูซึ่งดํารงตําแหนงในระดับท่ีสูงกวา และไดรับมอบหมายใหมีอํานาจบังคับบัญชา หรือกาํ กบั ดแู ลดวย \"บคุ คลในครอบครัว\" หมายความวา คสู มรส บุตร บิดา มารดา พ่นี องรว มบดิ ามารดา หรือรวม บิดาหรอื มารดาเดียวกัน ขอ 4 ระเบียบนไ้ี มใ ชบังคับกับกรณกี ารรับทรัพยสนิ หรอื ประโยชนอื่นใดของเจาหนาที่ของรัฐ ซึง่ อยูภายใตบังคบั กฎหมายประกอบรัฐธรรมนญู วาดวยการปองกนั และปราบปรามการทุจรติ ขอ 5 เจาหนา ท่ีของรฐั จะใหของขวัญแกผูบังคับบัญชาหรือบุคคลในครอบครัวของผูบังคับบัญชา นอกเหนอื จากกรณปี กตปิ ระเพณีนยิ มทีม่ ีการใหข องขวัญแกก นั มไิ ด การใหข องขวัญตามปกติประเพณีนยิ มตามวรรคหนงึ่ เจาหนาท่ีของรัฐจะใหของขวัญท่ีมีราคา หรอื มูลคาเกนิ จาํ นวนท่คี ณะกรรมการปองกันและปราบปรามการทุจริตแหง ชาติกําหนดไว สาํ หรบั การรบั ทรพั ยส นิ หรอื ประโยชนอ ่ืนใด โดยธรรมจรรยาของเจา หนา ท่ขี องรัฐตามกฎหมายประกอบรัฐธรรมนญู วา ดว ยการปองกนั และปราบปรามการทจุ ริตมไิ ด เจา หนาท่ีของรฐั จะทําการเร่ียไรเงนิ หรือทรพั ยส นิ อ่ืนใดหรือใชเงินสวัสดิการใด ๆ เพื่อมอบให หรอื จัดหาของขวัญใหผบู ังคับบัญชาหรือบคุ คลในครอบครัวของผบู งั คับบญั ชาไมว ากรณใี ด ๆ มไิ ด41 ขอ 6 ผูบังคับบัญชาจะยินยอมหรือรูเห็นเปนใจใหบุคคลในครอบครัวของตนรับของขวัญ จากเจา หนา ท่ีของรัฐซง่ึ เปนผอู ยใู นบงั คบั บัญชามิได เวนแตเ ปน การรบั ของขวญั ตามขอ 5 ขอ 7 เจาหนาที่ของรัฐจะยินยอมหรือรูเห็นเปนใจใหบุคคลในครอบครัวของตนรับของขวัญ จากผทู ีเ่ กย่ี วขอ งในการปฏิบตั ิหนา ท่ีของเจาหนาท่ีของรัฐมิได ถามิใชเปนการรับของขวัญตามกรณีท่ีกําหนด ไวใ นขอ 8 ผูที่เก่ียวของในการปฏิบัติหนาที่ของเจาหนาที่ของรัฐตามวรรคหนึ่ง ไดแก ผูมาติดตองาน หรือผูซึ่งไดรบั ประโยชนจากการปฏบิ ตั ิงานของเจา หนา ทขี่ องรัฐ ในลกั ษณะดังตอ ไปน้ี (1) ผูซึ่งมีคําขอใหหนวยงานของรัฐดําเนินการอยางหนึ่งอยางใด เชน การขอใบรับรอง การขอใหออกคาํ สงั่ ทางปกครอง หรอื การรองเรยี น เปนตน (2) ผซู งึ่ ประกอบธุรกิจหรอื มสี วนไดเสียในธรุ กิจที่ทํากบั หนว ยงานของรฐั เชน การจัดซื้อจัดจาง หรอื การไดร ับสมั ปทาน เปน ตน
20 (3) ผูซึ่งกาํ ลังดําเนินกิจกรรมใด ๆ ที่มีหนวยงานของรัฐเปนผูควบคุม หรือกํากับดูแล เชน การประกอบกจิ การโรงงานหรือธุรกจิ หลักทรพั ย เปน ตน (4) ผูซึ่งอาจไดรบั ประโยชนห รือผลกระทบจากการปฏิบตั ิหนาท่ีหรือละเวนการปฏิบัติหนาที่ ของเจาหนา ทขี่ องรฐั ขอ 8 เจาหนาท่ีของรัฐจะยินยอมหรือรูเห็นเปนใจใหบุคคลในครอบครัวของตนรับของขวัญ จากผูที่เกี่ยวของในการปฏิบัติหนาที่ของเจาหนาที่ของรัฐไดเฉพาะกรณี การรับของขวัญที่ใหตามปกติ ประเพณีนิยม และของขวัญนั้นมีราคาหรือมูลคาไมเกินจํานวนที่คณะกรรมการปองกันและปราบปราม การทจุ ริตแหงชาตกิ ําหนดไวส ําหรบั การรับทรพั ยส นิ หรือประโยชนอน่ื ใดโดยธรรมจรรยาของเจาหนาที่ของรัฐ ตามกฎหมายประกอบรัฐธรรมนญู วาดว ยการปอ งกนั และปราบปรามการทุจริต ขอ 9 ในกรณที บ่ี คุ คลในครอบครัวของเจา หนา ที่ของรัฐรบั ของขวัญแลว เจาหนาท่ีของรัฐทราบ ในภายหลงั วา เปนการรับของขวญั โดยฝาฝนระเบียบน้ี ใหเ จา หนาทข่ี องรัฐปฏิบตั ิตามหลักเกณฑท่ีคณะกรรมการ ปอ งกันและปราบปรามการทุจรติ แหงชาตกิ ําหนดไวส าํ หรบั การรับทรัพยส นิ หรือประโยชนอ น่ื ใด โดยธรรมจรรยา ของเจาหนา ทีข่ องรฐั ที่มีราคาหรอื มูลคาเกนิ กวา ท่ีกําหนดไว ตามกฎหมายประกอบรัฐธรรมนญู วาดวยการปองกัน และปราบปรามการทุจริต ขอ 10 ในกรณีท่ีเจาหนาที่ของรัฐผูใดจงใจปฏิบัติเกี่ยวกับการใหของขวัญหรือรับของขวัญ โดยฝา ฝน ระเบียบน้ี ใหดาํ เนินการดงั ตอ ไปน้ี (1) ในกรณที ่เี จาหนาทีข่ องรฐั เปนขาราชการการเมือง ใหถือวาเจาหนาท่ีของรัฐผูนั้นประพฤติ ปฏิบัติไมเปนไปตามคุณธรรมและจริยธรรม และใหดําเนินการตามระเบียบท่ีนายกรัฐมนตรีกําหนด โดยความ เห็นชอบของคณะรฐั มนตรวี า ดวยมาตรฐานทางคณุ ธรรมและจริยธรรมของขา ราชการการเมอื ง (2) ในกรณีท่ีเจาหนาที่ของรัฐเปนขาราชการประเภทอ่ืนนอกจาก (1) หรือพนักงานขององคกร ปกครองสว นทอ งถน่ิ หรอื พนกั งานของรัฐวิสาหกิจใหถือวาเจาหนาที่ของรัฐผูน้ันเปนผูกระทําความผิดทางวินัย และใหผูบ งั คบั บญั ชามหี นาทด่ี ําเนนิ การใหม กี ารลงโทษทางวนิ ยั เจาหนา ที่ของรฐั ผนู นั้ ขอ 11 ใหสาํ นกั งานปลดั สาํ นกั นายกรัฐมนตรีมีหนาที่สอดสองและใหคําแนะนําในการปฏิบัติ ตามระเบียบน้แี กหนวยงานของรฐั ในกรณีที่มีผูรองเรียนตอสํานักงานปลัดสํานักนายกรัฐมนตรีวาเจาหนาท่ี ของรัฐผูใดปฏิบัติในการใหของขวัญหรือรับของขวัญฝาฝนระเบียบนี้ ใหสํานักงานปลัดสํานักนายกรัฐมนตรี แจง ไปยังผูบงั คบั บญั ชาของเจาหนา ที่ของรัฐผนู ั้นเพ่ือดาํ เนินการตามระเบียบนี้ ขอ 12 เพื่อประโยชนในการเสริมสรางใหเกิดทัศนคติในการประหยัดแกประชาชนทั่วไป ในการแสดงความยนิ ดี การแสดงความปรารถนาดี การแสดงการตอนรับ หรือการแสดงความเสียใจในโอกาส
21 ตาง ๆ ตามปกติประเพณีนิยมใหเจาหนาท่ีของรฐั พยายามใชว ธิ ีการแสดงออก โดยใชบัตรอวยพร การลงนาม ในสมดุ อวยพรหรือใชบัตรแสดงความเสยี ใจ แทนการใหข องขวญั ใหผูบังคับบัญชามีหนาที่เสริมสรางคานิยมการแสดงความยินดี การแสดงความปรารถนาดี การตอ นรับ หรือการแสดงความเสียใจดวยการปฏิบัติตนเปนแบบอยาง แนะนําหรือกําหนดมาตรการจูงใจ ที่จะพฒั นาทัศนคติ จิตสาํ นึกและพฤตกิ รรมของผอู ยใู นบังคับบญั ชาใหเ ปน ไปในแนวทางประหยัด 4. ประกาศคณะกรรมการปอ งกันและปราบปรามการทุจรติ แหง ชาติ เรอื่ ง หลักเกณฑการรบั ทรัพยส นิ หรอื ประโยชนอ น่ื ใด โดยธรรมดาของเจาหนาทร่ี ัฐ พ.ศ. 2543 จากระเบียบสํานักนายกรัฐมนตรีวาดวยการใหหรือรับของขวัญของเจาหนาที่ของรัฐ พ.ศ. 2544 ไดว างระเบียบไวในขอ 8 ความวา “เจา หนาที่ของรฐั จะยนิ ยอมหรือรูเห็นเปนใจใหบุคคลในครอบครัวของตน รับของขวัญจากผูท่ีเก่ียวของในการปฏิบัติหนาท่ีของเจาหนาที่ของรัฐไดเฉพาะกรณีรับของขวัญท่ีให ตามประเพณีนิยม และของขวัญนั้นมีราคาหรือมูลคาไมเกินจํานวนที่คณะกรรมการปองกันและปราบปราม การทุจริตแหงชาติกําหนดไวสําหรับการรับทรัพยสินหรือประโยชนอื่นใด โดยธรรมจรรยาของเจาหนาที่รัฐ ตามกฎหมายประกอบรัฐธรรมนญู วา ดว ยการปองกันและปราบปรามการทุจรติ ” ในขณะที่มาตรา 128 แหงพระราชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญวาดวยการปองกันและ ปราบปรามการทุจรติ พ.ศ. 2561 บัญญตั ิไววา มาตรา 128 หามมิใหเจาพนักงานของรัฐผูใดรับทรัพยสินหรือประโยชนอื่นใดอันอาจคํานวณ เปน เงนิ ไดจ ากผใู ด นอกเหนอื จากทรัพยส นิ หรอื ประโยชนอนั ควรไดต ามกฎหมาย กฎ หรือขอบังคับท่ีออกโดย อาศัยอํานาจตามบทบัญญัติแหงกฎหมาย เวนแตการรับทรัพยสินหรือประโยชนอื่นใด โดยธรรมจรรยา ตามหลกั เกณฑแ ละจาํ นวนทคี่ ณะกรรมการ ป.ป.ช. กําหนด ความในวรรคหนึ่งมิใหใชบังคับกับการรับทรัพยสินหรือประโยชนอ่ืนใดจากบุพการี ผูสืบสันดาน หรือญาติทใี่ หต ามประเพณี หรอื ตามธรรมจรรยาตามฐานานรุ ูป บทบัญญตั ิในวรรคหน่ึงใหใชบังคับกับการรับทรัพยสินหรือประโยชนอ่ืนใดของผูซึ่งพนจากการเปน เจาพนักงานของรัฐมาแลว ยงั ไมถ ึงสองปด วยโดยอนุโลม คณะกรรมการปองกันและปราบปรามการทุจริตแหงชาติ จึงไดออกประกาศคณะกรรมการ ปองกันและปราบปรามการทุจริตแหงชาติ เร่ือง หลักเกณฑการรับทรัพยสินหรือประโยชนอื่นใดโดยธรรมจรรยา ของเจาหนาท่ีรฐั พ.ศ. 2543 โดยมีรายละเอยี ด ดงั นี้
22 ขอ 3 ในประกาศน้ี “การรบั ทรัพยสินหรือประโยชนอ่ืนใดโดยธรรมจรรยา” หมายความวาการรับทรัพยสินหรือ ประโยชนอ ื่นใดจากญาติหรือจากบุคคลท่ีใหกันในโอกาสตาง ๆ โดยปกติตามขนบธรรมเนียม ประเพณีหรือ วฒั นธรรม หรือใหกันตามมารยาทท่ปี ฏบิ ตั กิ ันในสังคม “ญาติ” หมายความวา ผบู พุ การี ผสู บื สันดาน พน่ี อ งรวมบิดามารดา หรือรวมบิดาหรือมารดา เดียวกัน ลุง ปา นา อา คูสมรส ผบู พุ การี หรอื ผูส ืบสนั ดานของคูสมรส บุตรบุญธรรม หรือผูรับบุตรบุญธรรม “ประโยชนอน่ื ใด” หมายความวา ส่ิงทีม่ ีมลู คา ไดแ ก การลดราคา การรับความบันเทิง การรับ บรกิ าร การรับการฝกอบรม หรอื ส่งิ อื่นใดในลักษณะเดยี วกัน ขอ 4 หามมิใหเ จาหนาทีข่ องรัฐผูใด รับทรัพยสินหรือประโยชนอ่ืนใดจากบุคคล นอกเหนือจาก ทรัพยสินหรือประโยชนอันควรไดตามกฎหมาย หรือกฎ ขอบังคับ ที่ออกโดยอาศัยอํานาจตามบทบัญญัติ แหง กฎหมาย เวน แตการรบั ทรพั ยส ินหรอื ประโยชนอ่นื ใดโดยธรรมจรรยาตามท่ีกาํ หนดไวใ นประกาศน้ี ขอ 5 เจา หนา ท่ีของรัฐจะรับทรพั ยส นิ หรือประโยชนอ นื่ ใดโดยธรรมจรรยาได ดังตอ ไปนี้ (1) รบั ทรพั ยสนิ หรือประโยชนอน่ื ใดจากญาติ ซง่ึ ใหโดยเสนห าตามจํานวนทเี่ หมาะสมตามฐานานุรปู (2) รับทรัพยสินหรือประโยชนอื่นใดจากบุคคลอื่นซึ่งมิใชญาติมีราคาหรือมูลคาในการรับ จากแตละบคุ คล แตล ะโอกาสไมเ กินสามพันบาท (3) รบั ทรพั ยสนิ หรือประโยชนอน่ื ใดท่กี ารใหน ้นั เปนการใหใ นลกั ษณะใหกับบุคคลทัว่ ไป ขอ 6 การรับทรัพยสินหรอื ประโยชนอ ืน่ ใดจากตางประเทศซึ่งผูใหมิไดระบุใหเปนของสวนตัว หรือมีราคาหรือมูลคาเกินกวาสามพันบาท ไมวาจะระบุเปนของสวนตัวหรือไม แตมีเหตุผลความจําเปน ทจ่ี ะตอ งรบั ไวเพอื่ รักษาไมตรี มิตรภาพ หรือความสัมพันธอันดีระหวางบุคคล ใหเจาหนาที่ของรัฐผูนั้นรายงาน รายละเอียดขอเท็จจริงเก่ียวกับการรับทรัพยสิน หรือประโยชนดังกลาวใหผูบังคับบัญชาทราบโดยเร็ว หากผูบงั คับบัญชาเห็นวา ไมม เี หตทุ ีจ่ ะอนญุ าตใหเจาหนา ทีผ่ ูนนั้ ยดึ ถือทรพั ยส นิ หรือประโยชนดงั กลา วนน้ั ไวเปน ประโยชนส ว นบคุ คล ใหเจา หนา ทขี่ องรฐั ผูนัน้ สงมอบทรพั ยสนิ ใหหนวยงานของรฐั ท่ีเจา หนาทข่ี องรัฐผนู น้ั สงั กดั ทนั ที ขอ 7 การรับทรัพยสนิ หรือประโยชนอ่ืนใดท่ีไมเปนไปตามหลักเกณฑหรือมีราคาหรือมีมูลคา มากกวา ทีก่ าํ หนดไวในขอ 5 ซ่ึงเจา หนาที่ของรัฐไดรับมาแลวโดยมีความจําเปนอยางยิ่งท่ีตองรับไวเพื่อรักษา ไมตรี มติ รภาพ หรือความสมั พนั ธอ ันดรี ะหวา งบุคคล เจาหนาที่ของรัฐ ผูนั้นตองแจงรายละเอียดขอเท็จจริง เกี่ยวกับการรับทรัพยสินหรือประโยชนน้ันตอผูบังคับบัญชา ซ่ึงเปนหัวหนาสวนราชการ ผูบริหารสูงสุดของ รัฐวิสาหกิจ หรือผูบริหารสูงสุดของหนวยงาน สถาบัน หรือองคกรที่เจาหนาที่ของรัฐผูน้ันสังกัด โดยทันที
23 ทสี่ ามารถกระทาํ ได เพ่ือใหวินิจฉัยวา มเี หตุผลความจาํ เปน ความเหมาะสม และสมควรท่จี ะใหเ จาหนา ที่ของรัฐ ผนู ้ันรับทรัพยส ินหรอื ประโยชนนั้นไวเ ปน สิทธิของตนหรือไม ในกรณีท่ีผูบงั คบั บญั ชาหรือผูบ ริหารสูงสุดของรัฐวิสาหกิจ หนวยงานหรือสถาบันหรือองคกร ท่ีเจาหนาท่ีของรัฐผูนั้นสังกัด มีคําส่ังวาไมสมควรรับทรัพยสินหรือประโยชนดังกลาว ก็ใหคืนทรัพยสินหรือ ประโยชนนั้นแกผูใหโดยทันที ในกรณีท่ีไมสามารถคืนใหได ใหเจาหนาที่ของรัฐผูนั้นสงมอบทรัพยสินหรือ ประโยชนด งั กลา วใหเ ปนสทิ ธิของหนวยงานทีเ่ จา หนา ท่ขี องรฐั ผูนัน้ สังกดั โดยเรว็ เม่ือไดดาํ เนนิ การตามความในวรรคสองแลว ใหถือวาเจา หนาทีข่ องรัฐผูนั้น ไมเคยไดรับทรัพยสิน หรือประโยชนด ังกลา วเลย ในกรณีทเ่ี จา หนา ทขี่ องรัฐผไู ดรับทรพั ยสินไวตามวรรคหน่ึงเปนผูดํารงตําแหนงผูบังคับบัญชา ซ่ึงเปนหัวหนาสว นราชการระดับกระทรวงหรือเทียบเทา หรือเปนกรรมการหรือผูบริหารสูงสุดของรัฐวิสาหกิจ หรือเปนกรรมการหรือผูบริหารสูงสุดของหนวยงานของรัฐ ใหแจงรายละเอียดขอเท็จจริงเกี่ยวกับการรับ ทรัพยส นิ หรอื ประโยชนนัน้ ตอผูม ีอาํ นาจแตง ตงั้ ถอดถอน สว นผูที่ดํารงตําแหนงประธานกรรมการและกรรมการ ในองคกรอิสระตามรัฐธรรมนูญหรือผูดํารงตําแหนงท่ีไมมีผูบังคับบัญชาที่มีอํานาจถอดถอนใหแจงตอ คณะกรรมการ ป.ป.ช. ทงั้ นี้ เพือ่ ดําเนนิ การตามความในวรรคหน่ึงและวรรคสอง ในกรณที ่ีเจา หนาทข่ี องรัฐผไู ดร ับทรัพยสินตามวรรคหน่ึง เปนผูดํารงตําแหนงสมาชิกสภาผูแทน ราษฎร หรือสมาชกิ วฒุ สิ ภา หรอื สมาชิกสภาทองถ่ิน ใหแจงรายละเอียดขอเท็จจริงเกี่ยวกับการรับทรัพยสิน หรอื ประโยชนเทา นัน้ ตอ ประธานสภาผูแทนราษฎร ประธานวฒุ ิสภา หรือประธานสภาทองถ่นิ ที่เจาหนาท่ีของ รฐั ผนู ั้นเปนสมาชกิ แลว แตกรณี เพือ่ ดาํ เนินการตามวรรคหนง่ึ และวรรคสอง ขอ 8 หลักเกณฑการรบั ทรัพยส ินหรือประโยชนอ่ืนใดของเจาหนา ที่ของรัฐ ตามประกาศฉบบั น้ี ใหใ ชบ ังคับแกผูซ่งึ พน จากการเปนเจาหนา ทขี่ องรัฐมาแลวไมถึงสองปด ว ย 5. ระเบียบสํานักนายกรัฐมนตรีวา ดว ยการเรยี่ ไรของหนวยงานของรัฐ พ.ศ. 2544 ขอ 4 ในระเบยี บนี้ “การเรี่ยไร” หมายความวา การเก็บเงินหรือทรัพยสิน โดยขอรองใหชวยออกเงินหรือทรัพยสิน ตามใจสมัคร และใหหมายความรวมถึงการซื้อขาย แลกเปลี่ยน ชดใชหรือบริการซ่ึงมีการแสดงโดยตรงหรือ โดยปริยายวา มใิ ชเ ปนการซอ้ื ขาย แลกเปลย่ี น ชดใชหรือบริการธรรมดา แตเพื่อรวบรวมเงินหรือทรัพยสินท่ี ไดม าทง้ั หมด หรือบางสว นไปใชใ นกจิ การอยางใดอยางหนึง่ นนั้ ดว ย “เขา ไปมสี วนเกยี่ วขอ งกับการเรยี่ ไร” หมายความวา เขา ไปชวยเหลือโดยมสี วนรวมในการจัดให มีการเรยี่ ไรในฐานะเปนผูรวมจัดใหมีการเรี่ยไร หรือเปนประธานกรรมการ อนุกรรมการ คณะทํางานท่ีปรึกษา หรอื ในฐานะอน่ื ใดในการเรยี่ ไรนั้น
24 ขอ 6 หนวยงานของรัฐจะจดั ใหม กี ารเร่ยี ไรหรอื เขา ไปมสี วนเกีย่ วขอ งกบั การเร่ียไรมิได เวนแต เปน การเรีย่ ไร ตามขอ 19 หรอื ไดร บั อนมุ ตั จิ ากคณะกรรมการควบคุมการเรี่ยไรของหนวยงานของรัฐ (กคร.) หรอื กคร.จงั หวดั แลว แตก รณี ทง้ั นี้ ตามหลกั เกณฑท่กี าํ หนดไวใ นระเบียบนี้ หนว ยงานของรัฐซึ่งจะตองไดรับอนุญาตในการเร่ียไรตามกฎหมายวาดวยการควบคุมการเร่ียไร นอกจากจะตองปฏิบตั ติ ามกฎหมายวา ดว ยการควบคุมการเรีย่ ไรแลว จะตอ งปฏบิ ตั ติ ามหลกั เกณฑท่กี ําหนดไว ในระเบียบนด้ี วย ในกรณนี ้ี กคร. อาจกาํ หนดแนวทางปฏบิ ตั ขิ องหนวยงานรฐั ดงั กลาวใหสอดคลอ งกบั กฎหมายวา ดว ยการควบคุมการเรี่ยไรก็ได ขอ 8 ใหมีคณะกรรมการควบคุมการเรี่ยไรของหนวยงานของรัฐ เรียกโดยยอวา “กคร.” ประกอบดวย รองนายกรัฐมนตรีที่นายกรัฐมนตรีมอบหมาย เปนประธานกรรมการ ผูแทนสํานักนายกรัฐมนตรี ผูแทนกระทรวงกลาโหม ผูแทนกระทรวงการคลัง ผูแทนกระทรวงมหาดไทย ผูแทนกระทรวงศึกษาธิการ ผแู ทนกระทรวงสาธารณสุข ผูแทนสาํ นักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา ผูแทนสํานักงานคณะกรรมการปองกัน และปราบปรามการทุจรติ แหงชาติ ผแู ทนสํานักงานการตรวจเงินแผนดิน และผูทรงคุณวุฒิซ่ึงนายกรัฐมนตรี แตงตั้งอีกไมเกินสี่คนเปนกรรมการ และผูแทนสํานักงานปลัดสํานักนายกรัฐมนตรีเปนกรรมการและ เลขานุการ กคร. จะแตง ตัง้ ขาราชการในสํานักงานปลดั สํานกั นายกรัฐมนตรจี าํ นวนไมเ กินสองคนเปนผูชว ยเลขานกุ าร กไ็ ด ขอ 18 การเร่ยี ไรหรอื เขา ไปมสี ว นเกย่ี วของกบั การเรย่ี ไรที่ กคร. หรอื กคร.จงั หวัด แลว แตก รณี จะพิจารณาอนมุ ตั ิใหตามขอ 6 ไดนน้ั จะตอ งมลี กั ษณะและวัตถปุ ระสงคอยา งหนึง่ อยางใดดงั ตอ ไปนี้ (1) เปน การเร่ยี ไรท่หี นว ยงานของรัฐเปน ผูดาํ เนนิ การ เพ่ือประโยชนแ กหนวยงานของรัฐน้นั เอง (2) เปน การเร่ยี ไรที่หนว ยงานของรฐั เปน ผูด ําเนินการ เพ่ือประโยชนแ กการปองกันหรือพัฒนา ประเทศ (3) เปนการเรี่ยไรทห่ี นวยงานของรฐั เปนผูดาํ เนนิ การ เพอ่ื สาธารณประโยชน (4) เปน กรณีท่ีหนว ยงานของรัฐเขาไปมีสวนเก่ียวของกับการเร่ียไรของบุคคลหรือนิติบุคคลท่ีไดรับ อนญุ าตจากคณะกรรมการควบคมุ การเรีย่ ไรตามกฎหมายวา ดว ยการควบคุมการเร่ยี ไรแลว ขอ 19 การเร่ียไรหรือเขาไปมีสวนเกี่ยวของกับการเรี่ยไรดังตอไปนี้ใหไดรับยกเวน ไมตอง ขออนมุ ตั จิ าก กคร. หรือ กคร.จังหวดั แลว แตก รณี (1) เปนนโยบายเรง ดว นของรัฐบาล และมมี ตคิ ณะรัฐมนตรีใหเรีย่ ไรได (2) เปนการเรย่ี ไรทรี่ ัฐบาลหรอื หนว ยงานของรฐั จําเปน ตอ งดําเนินการเพื่อชวยเหลือผูเสียหาย หรือบรรเทาความเสียหายท่ีเกิดจากสาธารณภยั หรือเหตกุ ารณใ ดทสี่ าํ คัญ (3) เปนการเรีย่ ไรเพือ่ รว มกันทําบญุ เนื่องในโอกาสการทอดผาพระกฐนิ พระราชทาน
25 (4) เปน การเร่ียไรตามขอ 18 (1) หรือ (3) เพ่ือใหไดเงินหรือทรัพยสินไมเกินจํานวนเงินหรือ มูลคาตามท่ี กคร. กาํ หนดโดยประกาศในราชกิจจานเุ บกษา (5) เปนการเขาไปมีสวนเก่ียวของกับการเรี่ยไรตามขอ 18 (4) ซึ่ง กคร. ไดประกาศในราชกิจจา - นเุ บกษา ยกเวน ใหห นวยงานของรัฐดําเนนิ การไดโดยไมตอ งขออนมุ ตั ิ (6) เปน การใหค วามรวมมอื กับหนวยงานของรฐั อน่ื ที่ไดร บั อนมุ ัติ หรือไดรับยกเวนในการขออนุมัติ ตามระเบยี บนี้แลว ขอ 20 ในกรณที ี่หนว ยงานของรัฐไดร ับอนมุ ตั หิ รือไดรบั ยกเวน ตามขอ 19 ใหจัดใหมีการเรี่ยไร หรือเขาไปมีสวนเก่ยี วของกบั การเร่ยี ไร ใหหนวยงานของรัฐดาํ เนินการดังตอ ไปน้ี (1) ใหกระทําการเรย่ี ไรเปนการทวั่ ไป โดยประกาศหรอื เผยแพรตอ สาธารณชน (2) กําหนดสถานท่หี รือวิธีการทจี่ ะรับเงนิ หรอื ทรพั ยสินจากการเรี่ยไร (3) ออกใบเสร็จหรือหลักฐานการรบั เงนิ หรือทรัพยส ินใหแกผบู รจิ าคทกุ คร้ัง เวน แตโดยลักษณะ แหงการเรยี่ ไรไมสามารถออกใบเสรจ็ หรือหลกั ฐานดังกลาวได ก็ใหจดั ทําเปนบัญชกี ารรบั เงินหรือทรัพยสินนั้น ไวเพอื่ ใหส ามารถตรวจสอบได (4) จัดทาํ บัญชีการรับจายหรือทรัพยสินท่ีไดจากการเร่ียไรตามระบบบัญชีของทางราชการ ภายในเกาสิบวันนับแตวนั ทส่ี นิ้ สดุ การเร่ยี ไรหรอื ทกุ สามเดือน ในกรณีท่ีเปนการเร่ียไรที่กระทําอยางตอเนื่อง และปดประกาศเปดเผย ณ ที่ทําการของหนวยงานของรัฐท่ีไดทําการเร่ียไร ไมนอยกวาสามสิบวัน เพื่อให บุคคลทั่วไปไดทราบ และจัดใหม เี อกสารเก่ียวกับการดําเนนิ การเรี่ยไรดังกลาวไว ณ สถานที่สําหรับประชาชน สามารถใชใ นการคนหาและศึกษาขอ มูลขาวสารของราชการดวย (5) รายงานการเงินของการเร่ียไรพรอมทั้งสงบัญชีตาม (4) ใหสํานักงานการตรวจเงินแผนดิน ภายในสามสิบวนั นับแตวนั ทีไ่ ดจัดทาํ บัญชตี าม (4) แลวเสร็จ หรือในกรณที ่ีเปนการเรยี่ ไรทีไ่ ดก ระทําอยา งตอเนื่อง ใหรายงานการเงิน พรอ มท้ังสง บญั ชดี งั กลา วทุกสามเดอื น ขอ 21 ในการเร่ียไรหรือเขาไปมสี ว นเกย่ี วขอ งกับการเรยี่ ไร หา มมใิ หหนวยงานของรัฐดําเนินการ ดังตอไปน้ี (1) กําหนดประโยชนที่ผูบริจาคหรือบุคคลอ่ืนจะไดรับ ซ่ึงมิใชประโยชนท่ีหนวยงานของรัฐ ไดป ระกาศไว (2) กําหนดใหผ ูบริจาคตองบริจาคเงินหรือทรัพยสินเปนจํานวนหรือมูลคาที่แนนอน เวนแต โดยสภาพมีความจําเปน ตอ งกําหนดเปน จาํ นวนเงนิ ทแี่ นน อน เชน การจาํ หนายบตั รเขา ชมการแสดง หรือบัตร เขา รว มการแขง ขนั เปนตน
26 (3) กระทําการใด ๆ ที่เปนการบังคับใหบุคคลใดทําการเรี่ยไรหรือบริจาค หรือกระทําการ ในลกั ษณะท่ีทําใหบ ุคคลนน้ั ตองตกอยูในภาวะจํายอมไมสามารถปฏิเสธ หรือหลีกเลย่ี งท่จี ะไมชวยทาํ การเร่ียไร หรือบรจิ าคไมว า โดยทางตรงหรอื ทางออม (4) ใหเจาหนาที่ของรัฐออกทําการเร่ียไร หรือใช ส่ัง ขอรอง หรือบังคับใหผูใตบังคับบัญชา หรือบุคคลอ่นื ออกทําการเร่ยี ไร ขอ 22 เจาหนา ทข่ี องรัฐที่เขาไปมีสวนเกี่ยวของกับการเร่ียไรของบุคคลหรือนิติบุคคลท่ีไดรับ อนุญาตจากคณะกรรมการควบคุมการเร่ียไรตามกฎหมายวาดวยการควบคุมการเรี่ยไร ซึ่งมิใชหนวยงาน ของรัฐจะตองไมก ระทําการดงั ตอ ไปนี้ (1) ใชหรือแสดงตําแหนงหนาท่ีใหปรากฏในการดําเนินการเรี่ยไรไมวาจะเปนการโฆษณา ดวยส่งิ พิมพตามกฎหมายวาดว ยการพมิ พหรอื สอ่ื อยา งอื่น หรือดว ยวธิ กี ารอนื่ ใด (2) ใช ส่งั ขอรอ ง หรอื บังคบั ใหผ ใู ตบ งั คบั บญั ชา หรือบคุ คลใดชวยทําการเร่ียไรให หรือกระทํา ในลกั ษณะทีท่ ําใหผ ใู ตบังคับบญั ชาหรือบุคคลอนื่ นั้นตอ งตกอยูในภาวะจาํ ยอมไมสามารถปฏเิ สธ หรือหลีกเล่ียง ท่ีจะไมช วยทาํ การเรย่ี ไรใหไ ดไมว า โดยทางตรงหรือทางออม
27 กิจกรรม คาํ ชีแ้ จง 1. ใหผูเ รยี นศกึ ษาเนอ้ื หาตามบทเรียน 2. ใหผ เู รยี นดูคลปิ วิดีโอ ตอน สนิ บน ตาม QR Code 3. ใหผ ูเรยี นตอบคาํ ถามตอ ไปนี้ 3.1 ใหอธบิ ายความหมายของคําตอไปน้ี พรอมยกตัวอยางการกระทําของบุคคลในคลิปวิดีโอ ทมี่ กี ารกระทาํ ดงั กลาว 3.1.1 สินบน 3.1.2 ติดสนิ บน 3.1.3 เรียกรับสนิ บน 3.1.4 สว ย 3.1.5 กินตามนํ้า 3.2 จากกรณตี ัวอยาง พฤตกิ รรมของนายกินมาก นายกินไมหยุด นายรีดไถ และนางสาวกินเรียบ ขดั ตอ กฎหมายวา ดวยการปองกนั และปราบปรามการทจุ ริตขอ ใด อยางไร
28 เร่อื งที่ 4 การคดิ เปน ในชวี ิตประจําวนั ทกุ คนตอ งเคยพบกบั ปญหาตาง ๆ ไมวาจะเปนปญหาการเอารัดเอาเปรียบ การงาน การเงนิ หรือแมแตก ารเลน กฬี าหรอื ปญ หาอ่ืน ๆ เชน ปญ หาขัดแยงของเด็ก หรือปญหาการแตงตัวไปงานตาง ๆ เปนตน เม่ือเกิดปญหาก็เกิดทุกข แตละคนก็จะมีวิธีแกไขปญหา หรือแกทุกขดวยวิธีการที่แตกตางกันไป ซงึ่ แตละคน แตล ะวธิ ีการอาจเหมอื นหรือตา งกัน และอาจใหผลลัพธท่ีเหมือนกันหรือตางกันก็ได ทั้งนี้ ข้ึนอยูกับ พืน้ ฐานความเชื่อ ความรู ความสามารถและประสบการณของบุคคลนั้น หรืออาจะข้ึนอยูกับทฤษฎีและหลักการ ของความเช่อื ทต่ี างกัน เหลา นน้ั 1. ปรัชญา “คิดเปน” อยูบนพื้นฐานความคิดที่วา ความตองการของแตละบุคคลไมเหมือนกัน แตทุกคนมีจุดรวมของความตองการที่เหมือนกัน คือ ความสุข คนเราจะมีความสุขเม่ือตนเองและสังคม ส่งิ แวดลอมประสมกลมกลนื กนั ได โดยการปรบั ตัวเราเองใหเ ขา กับสงั คมหรือส่ิงแวดลอม หรือโดยการปรับสังคม และสิ่งแวดลอมใหเขากับตัวเรา หรือปรับทั้งตัวเราและส่ิงแวดลอมใหประสมกลมกลืนกัน หรือเขาไปอยูใน ส่งิ แวดลอมท่เี หมาะสมกบั ตน คนที่สามารถทําไดเชนน้ีเพื่อใหตนเองมีความสุขน้ัน จําเปนตองเปนผูมีการคิด สามารถคิดแกปญหา รูจักตนเอง รูจักสังคมและสิ่งแวดลอม และมีองคความรูที่จะนํามาคิดแกปญหาได จงึ จะเรยี กไดวาผูนั้นเปนคนคดิ เปน “คิดเปน” เปนคําไทยสัน้ ๆ งา ย ๆ ที่ ดร.โกวทิ วรพิพัฒน ใชเพื่ออธิบายถึงคณุ ลกั ษณะทีพ่ ึงประสงค ของคนในการดํารงชีวิตอยูในสังคมที่มีการเปลี่ยนแปลงอยางรวดเร็ว รุนแรงและซับซอนไดอยางปกติสุข “คดิ เปน” มาจากความเชื่อพืน้ ฐานเบอื้ งตน ที่วา คนมีความแตกตางกันเปนธรรมดาแตทุกคนมีความตองการ สูงสุดเหมือนกันคือความสุขในชีวิต อยางไรก็ตามสังคม สิ่งแวดลอมไมไดหยุดนิ่งแตจะมีการเปลี่ยนแปลง อยา งรวดเรว็ และรุนแรงอยูตลอดเวลากอใหเกิดปญหา เกิดความทุกขความไมสบายกายไมสบายใจข้ึนไดเสมอ กระบวนการปรับตนเองกบั สังคมสง่ิ แวดลอ มใหผสมกลมกลนื จึงตอ งดําเนินไปอยางตอเน่ืองและทันการ คนที่ จะทําไดเชนนีต้ องรจู ักคิด รูจักใชส ติปญญา รูจักตวั เองและธรรมชาติ สังคมส่งิ แวดลอ มเปน อยางดีสามารถแสวงหา ขอมูลท่ีเก่ียวของอยางหลากหลายและพอเพียงอยางนอย 3 ประการ คือ ขอมูลทางวิชาการขอมูลทางสังคม สงิ่ แวดลอ ม และขอมูลที่เกย่ี วขอ งกับตนเอง มาเปนหลักในการวิเคราะหป ญหา เพอ่ื เลอื กแนวทางการตดั สินใจทดี่ ี ท่ีสุดในการแกปญหา หรือสภาพการณท่ีเผชิญอยูอยางรอบคอบ จนมีความพอใจแลวก็พรอมจะรับผิดชอบ การตัดสินใจนั้นอยางสมเหตุสมผล เกิดความพอดีความสมดุลในชีวิตอยางสันติสุข เรียกไดวา“คนคิดเปน” กระบวนการคิดเปน อาจสรุปตามผังไดดงั นี้
29 “คดิ เปน” ปญ หา กระบวนการคิดเปน ความสุข ขอ มลู ที่ตองนํามาพจิ ารณา ไมพ อใจ ตนเอง สังคม วชิ าการ พอใจ ลงมอื ปฏบิ ัติ การวเิ คราะหแ ละสังเคราะหข อ มูล ท่ีหลากหลายและเพยี งพออยา งละเอยี ดรอบคอบ ประเมินผล ประเมินผล ลงมอื ปฏบิ ตั ิ การตัดสนิ ใจเลือกแนวทางปฏบิ ัติ จากแผนภูมิดังกลา วน้ี จะเห็นวา คดิ เปนหรอื กระบวนการคิดเปนน้ันจะตองประกอบไปดวยองคประกอบตาง ๆ ดงั ตอไปนี้ 1. เปน กระบวนการเรียนรูที่ประกอบดวยการคิด การวิเคราะหและสังเคราะหขอมูลประเภทตาง ๆ ไมใ ชก ารเรียนรจู ากหนงั สอื หรอื ลอกเลยี นจากตํารา หรอื รับฟง การสอนการบอกเลาของครูแตเพียงอยางเดียว 2. ขอ มลู ท่นี าํ มาประกอบการคิด การวเิ คราะหต า ง ๆ ตองหลากหลาย เพียงพอ ครอบคลุมอยางนอย 3 ดาน คือ ขอ มูลทางวชิ าการ ขอ มูลเกยี่ วกบั ตนเอง และขอมลู เก่ียวกบั สังคมส่ิงแวดลอ ม 3. ผูเรียนเปน คนสําคญั ในการเรยี นรู ครเู ปนผูจัดโอกาสและอํานวยความสะดวกในการจัดการเรียนรู 4. เรียนรูจากวิถีชีวิตจากธรรมชาติและภูมิปญญา จากประสบการณและการปฏิบัติจริงซึ่งเปน สวนหนึ่งของการเรยี นรูตลอดชวี ิต 5. กระบวนการเรียนรูเปนระบบเปดกวาง รับฟงความคิดของผูอื่นและยอมรับความเปนมนุษยท่ี ศรทั ธาในความแตกตางระหวางบุคคล ดังนนั้ เทคนคิ กระบวนการท่ีนํามาใชในการเรียนรูจึงมักจะเปนวิธีการ สานเสวนา การอภิปรายถกแถลง กลมุ สัมพันธเพือ่ กลมุ สนทนา
30 6. กระบวนการคิดเปนน้ัน เมื่อมีการตัดสินใจลงมือปฏิบัติแลวจะเกิดความพอใจ มีความสุข แตถาลงมือปฏิบัติแลวยังไมพอใจก็จะมีสติ ไมทุรนทุราย แตจะกลับยอนไปหาสาเหตุแหงความไมสําเร็จ ไมพงึ พอใจกับการตัดสินใจดงั กลา ว แลว แสวงหาขอ มลู เพ่ิมเติม เพื่อหาทางเลือกในการแกป ญหา แลวทบทวน การตัดสนิ ใจใหมจ นกวา จะพอใจกับการแกปญ หาน้ัน “คิดเปน” เปนคําเฉพาะท่ีหมายรวมทุกอยางไวในตัวแลว เปนคําที่บูรณาการเอาการคิด การกระทํา การแกปญ หา ความเหมาะสม ความพอดี ความเชื่อวัฒนธรรม ประเพณี คุณธรรม จริยธรรม มารวมไวใ นคาํ วา “คิดเปน ” หมดแลว น่ันคอื ตองคดิ เปน คิดชอบ ทําเปน ทําชอบ แกปญหาไดอยางมีคุณธรรมและความรับผิดชอบ ไมใชเ พยี งแคค ดิ อยา งเดยี ว กระบวนการเรยี นรูตามทิศทางของ “คิดเปน” น้ี ผูเรียนสําคัญที่สุด ผูสอนเปนผูจัดโอกาส จัดกระบวนการ จัดระบบขอมูล และแหลงการเรียนรู รวมทั้งการกระตุน ใหกระบวนการคิด การวิเคราะหได ใชขอมูล อยางหลากหลาย ลึกซ้ึง และพอเพียง นอกจากนั้น “คิดเปน” ยังครอบคลุมไปถึงการเคารพคุณคาของความ เปนมนุษยของคนอยา งเทาเทียมกนั การทาํ ตัวเปนสามญั เรียบงาย ไมมมี มุ ไมมีเหล่ียม ไมมีอัตตา ใหเกียรติผูอ่ืน ดวยความจริงใจ มองในดี - มเี สีย ในเสยี - มดี ี ในขาว - มดี ํา ในดาํ - มขี าว ไมมีอะไรทข่ี าวไปทั้งหมดและไมมีอะไร ทด่ี าํ ไปท้งั หมด มองในสวนดขี องผูอ น่ื ไวเ สมอ 2. กระบวนการและขั้นตอนการแกปญหาของคนคิดเปน คนคิดเปนเชื่อวาทุกขหรือปญหาเปนความจริงตามธรรมชาติที่เกิดขึ้นไดก็สามารถแกไขได ถา รูจกั แสวงหาขอ มูลทีห่ ลากหลายและพอเพียงอยางนอย 3 ดาน คือ ขอมูลทางวิชาการ ขอมูลเก่ียวกับสภาวะ แวดลอมทางสังคมในวิถีชีวิต วิถีวัฒนธรรมประเพณี วิถีคุณธรรมจริยธรรมและขอมูลที่เกี่ยวกับตนเอง รูจัก ตนเองอยา งถองแท ซง่ึ ครอบคลมุ ถงึ การพง่ึ พาตนเองและความพอเพียง พอประมาณมาวิเคราะหและสังเคราะห ประกอบการคิดและการตดั สนิ ใจแกปญหา คนคิดเปนจะเผชิญกับทุกขหรือปญหาอยางรูเทาทัน มีสติไตรตรอง อยางละเอยี ดรอบคอบในการเลอื กวิธีการแกป ญหาและตัดสินใจแกป ญหาตามวธิ กี ารทเ่ี ลอื กแลว วา ดที สี่ ดุ กจ็ ะมี ความพอใจและเตม็ ใจรับผิดชอบกับผลการตัดสินใจเชนนั้น อยางไรก็ตาม สังคมในยุคโลกาภิวัตนเปนสังคม แหง การเปล่ยี นแปลงทรี่ วดเรว็ และรนุ แรง ปญ หาก็เปล่ยี นแปลงอยตู ลอดเวลา ทกุ ขก็เกิดข้ึน ดาํ รงอยูและดบั ไป หรือเปลย่ี นโฉมหนา ไปตามกาลสมยั กระบวนทศั นใ นการดับทุกขก็ตองพัฒนารูปแบบใหทันตอการเปลี่ยนแปลง เหลาน้ันอยตู ลอดเวลาใหเหมาะสมกบั สถานการณที่เปล่ียนแปลงไปดวย กระบวนการดับทุกขหรือแกปญหา ก็จะหมนุ เวียนมาจนกวาจะพอใจอีกเปน เชนนอี้ ยอู ยา งตอเน่ืองตลอดชวี ติ
31 กระบวนการแกป ญ หาแบบคนคิดเปน อาจแบงไดดังน้ี 2.1 ข้ันทําความเขาใจกับทุกขและปญหา คนคิดเปนเช่ือวาทุกขหรือปญหาเปนเรื่องธรรมชาติ ที่เกิดขน้ึ กแ็ กไขไดดว ยกระบวนการแกป ญหา “ปญหา” ตามพจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตยสถาน หมายถึง ขอสงสัย ความสงสัย ส่ิงเขาใจยาก ส่ิงท่ีตนไมรูหรือคาํ ถาม อันไดแก โจทยในแบบฝกหัด หรือขอสอบเพื่อประเมินผล เปนตน ปญ หา จะหมายรวมถงึ ปญหาสว นตัว ปญ หาครอบครัว ปญ หาเพื่อนรว มงาน ปญหาจากผูบังคับบญั ชา ปญหา จากสภาวะส่ิงแวดลอ มและอ่ืน ๆ ปญ หาเกดิ ขึน้ ได 2 ทาง คอื 1) ปญหาท่ีเกิดจากปจจัยภายนอก เชน เมื่อเศรษฐกิจทรงตัวหรือซบเซา ทําใหรายได ของเราลดนอยลงคนในสังคมมีการดิ้นรนแกง แยง กัน เอาตัวรอด การลกั ขโมย จป้ี ลน ฆาตกรรม สงผลกระทบ ตอความเปนอยูและความปลอดภัยในชีวิตและทรัพยสิน ปญหาหลายเรื่องสืบเนื่องมาจากสุขภาพอนามัย ภัยจากสง่ิ เสพตดิ หรือปรากฏการณธ รรมชาติ เปนตน 2) ปญหาที่เกิดจากปจจัยภายใน คือปญหาท่ีเกิดจากกิเลสในจิตใจของมนุษย ซ่ึงมี 3 เรื่องสําคัญ คือ โลภะ ไดแก ความอยากได อยากมี อยากเปนมากขึ้นกวาเดิม มีการดิ้นรน แสวงหาตอไป อยางไมมีที่สิ้นสุด ไมมีความพอเพียง เม่ือแสวงหาดวยวิธีสุจริตไมไดก็ใชวิธีการทุจริต ทําใหเกิดความไมสงบ ไมสบายกาย ไมสบายใจ โทสะ ไดแก ความโกรธ ความอาฆาตพยาบาทคนอ่ืน ความคิดประทุษรายคนอื่น โมหะ ไดแ ก ความไมร ู หรอื รไู มจรงิ หลงเชอ่ื คําโกหก หลอกลวง ชกั ชวนใหห ลงกระทําสิ่งท่ีไมถูกตอง ทําเรื่อง เสียหาย หลงผิดเปนชอบ เห็นกงจักรเปนดอกบัว เปน ตน 2.2 ข้ันหาสาเหตขุ องปญหา ซ่งึ เปนข้ันตอนหน่ึงของกระบวนการแกปญหาเปนข้ันตอนท่ีจะ วเิ คราะหข อมูลตาง ๆ ทอ่ี าจเปนสาเหตุของปญหา เปนตัวตนตอของปญหาท้ังท่ีเปนตนเหตุโดยตรง และท่ีเปน สาเหตทุ างออ ม ทัง้ นี้ ตองวเิ คราะหจากสาเหตุที่หลากหลายและมีความเปนไปไดหลาย ๆ ทาง การวิเคราะห หาสาเหตขุ องปญหาอาจทําไดงา ย ๆ ใน 2 วิธี คอื 1) การวิเคราะหข อมูล โดยการนําเอาขอมูลทีห่ ลากหลายดานตา ง ๆ มาแยกแยะ และจัด กลุมของขอมลู สาํ คญั ๆ เชน ขอมูลดา นเศรษฐกจิ วฒั นธรรม สภาวะแวดลอม วิทยาการใหม ๆ นโยบายและ ทศิ ทางในการบริหารจัดการ ปจ จัยทางดานเทคโนโลยีฯลฯ ขอมูลท่ีนํามาวิเคราะหนี้เม่ือจําแนกแลว สาเหตุ ของปญ หาอาจมาจากขอ มูลอยา งนอ ย 3 ประการ คือ (1) สาเหตุสําคญั มาจากตนเอง จากพน้ื ฐานของชีวติ ตนเองและครอบครัว ความไมสมดุล ของการงานอาชีพท่ีพึงปรารถนา ปญหาดานเศรษฐกิจในครอบครัว ความโลภ โกรธ หลงในใจของตนเอง ความคับขอ งใจในการรักษาคณุ ธรรม จริยธรรมของตนเอง ฯลฯ
32 (2) สาเหตสุ ําคญั มาจากสงั คม ชมุ ชนและสภาวะแวดลอ ม ความไมพึงพอใจตอพฤติกรรม ไมพึงปรารถนาของเพื่อนรวมงาน การขาดแหลงเงินทุนในการประกอบอาชีพ ชุมชนมีการทะเลาะเบาะแวง ขาดความสามคั คี ฯลฯ (3) สาเหตุสําคญั มาจากการขาดแหลง ขอ มูล แหลง ความรคู วามเคลอ่ื นไหวท่ีเปนปจจุบัน ของวชิ าการและเทคโนโลยที เ่ี ก่ียวขอ งขาดภมู ปิ ญ ญาที่จะชวยเติมขอ มูลทางปญญาในการบรหิ ารจัดการฯลฯ 2) การวิเคราะหสถานการณโดยการนําเอาสภาพเหตุการณตาง ๆ มาพัฒนาหาคําตอบ โดยพยายามหาคําตอบในลักษณะตอไปนี้ใหมากที่สุด คืออะไร ที่ไหน เมื่อไรเพียงใด เชน วิธีการอะไร ที่กอใหเกิดสภาพเหตุการณเชนนี้ ส่ิงแวดลอมอะไรที่กอใหเกิดสภาพเหตุการณเชนน้ี บุคคลใดที่กอใหเกิด สภาพเหตุการณเ ชน นี้ ผลเสียหายเกดิ ข้ึนมาไดอ ยา งไร ทาํ ไมจงึ มีสาเหตเุ ชนนี้เกิดขน้ึ ฯลฯ จากนั้นจึงกระทําการจดั ลําดับความสาํ คัญของสาเหตุตา ง ๆ คอื หาพลงั ของสาเหตุที่กอใหเกิด ปญ หาทัง้ น้เี นอ่ื งจาก (1) ปญหาแตล ะปญ หาอาจเปน ผลเนื่องมาจากสาเหตหุ ลายประการ (2) ทุกสาเหตุยอ มมีอันดับความสําคัญหรือพลังของสาเหตุท่ีกอใหเกิดปญหาในอันดับ แตกตา งกนั (3) ทรพั ยากรมีจํากดั ไมว า จะเปนบคุ ลากร เงนิ เวลา วัสดุ ดงั น้ันจงึ ตองพิจารณาจัดสรร การใชทรัพยากรใหต รงกับพลงั ท่กี อ ปญหาสงู สุด 2.3 ขั้นวิเคราะหเสนอทางเลือกของปญหา เปนข้ันตอนที่ตองศึกษาหาขอมูลท่ีเกี่ยวของ อยางหลากหลายและทั่วถึง เพียงพอทั้งขอมูลดานบวกและดานลบ อยางนอย 3 กลุมขอมูล คือ ขอมูล ทางวิชาการ ขอ มลู เกย่ี วกบั ตนเอง และขอมูลท่ีเกี่ยวของกับสังคมสิ่งแวดลอม แลวสังเคราะหขอมูลเหลานั้น ขึน้ มาเปนทางเลือกในการแกไ ขปญหาหลาย ๆ ทางทมี่ คี วามเปนไปได 2.4 ข้ันการตัดสนิ ใจ เลือกทางเลือกในการแกป ญหาท่ีดีท่ีสุดจากทางเลือกทั้งหมดที่มีอยูเปนทางเลือก ท่ไี ดวเิ คราะหและสังเคราะหจากขอมูลทงั้ 3 ดา นดงั กลาวแลวอยา งพรอมสมบูรณ บางครั้งทางเลือกที่ดีที่สุด อาจเปนทางเลือกท่ีไดจากการพิจารณาองคประกอบที่ดีท่ีสุดของแตละทางเลือก นาํ มาผสมผสานกนั ก็ได 2.5 ข้นั นาํ ผลการตัดสนิ ใจไปสูการปฏิบัติ เมื่อไดตัดสินใจดวยเหตุผลและไตรตรองขอมูลอยาง รอบคอบพอเพยี งและครบถวนทั้ง3 ประการแลว นบั วา ทางเลือกท่ตี ัดสินใจนั้นเปน ทางเลอื กทด่ี ีทส่ี ุดแลว 2.6 ข้นั ติดตามประเมนิ ผล เมื่อตัดสินใจดําเนินการตามทางเลือกที่ดีท่ีสุดแลว พบวามีความพอใจ ก็จะมีความสุข แตถา นาํ ไปปฏิบตั แิ ลว ยังไมพอใจ ไมสบายใจ ยงั ขัดขอ งเปนทุกขอ ยูก็ตอ งกลับไปศึกษาคนควา หาขอมูลเพิ่มเติมดานใดดานหน่ึงหรือทั้ง 3 ดานที่ยังขาดตกบกพรองอยูจนกวาจะมีขอมูลที่เพียงพอทําให การตัดสนิ ใจคร้ังนน้ั เกิดความพอใจ และมีความสขุ กับการแกป ญหาน้นั
33 อยางไรก็ตาม สังคมในยุคโลกาภิวัตนเปนสังคมแหงการเปลี่ยนแปลงท่ีรวดเร็วและรุนแรง ปญ หากเ็ ปลี่ยนแปลงอยูตลอดเวลา ทุกขก็เกิดข้ึน ดํารงอยู และดับไป หรือเปล่ียนโฉมหนาไปตามกาลสมัย กระบวนทศั นในการดับทกุ ขก ็ตองพัฒนารปู แบบใหท นั ตอการเปลี่ยนแปลงเหลา นั้นอยตู ลอดเวลา ใหเ หมาะสม กบั สถานการณทีเ่ ปลีย่ นแปลงไปดว ยกระบวนการดับทุกขหรือแกปญหาก็จะหมุนเวียนมาจนกวาจะพอใจอีก เปนเชนนอี้ ยูอ ยางตอ เน่อื งตลอดชีวติ
1. ปญ หา กระบวนการและขนั้ ตอนการแกป ญ หาของคนคดิ เปน 34 กระบวนการแกป ญหา ความสขุ 2. วเิ คราะหห าสาเหตขุ องปญ หาจากขอมลู ทห่ี ลากหลายและพอเพยี ง อยางนอย 3 ประการ ตนเอง สงั คมสง่ิ แวดลอ ม วิชาการ 6. ประเมินผล 3. วเิ คราะหห าทางเลือกในการแกป ญ หาจากขอ มูลทหี่ ลากหลาย 6. ประเมินผล (ยังไมพ อใจ) อยา งนอย 3 ประการ (พอใจ) ขอมลู ขอมูลดานสงั คม เก่ยี วกบั ตนเอง สงิ่ แวดลอ ม ขอมูล ดานวชิ าการ 5. ปฏิบตั ิ 4. ตัดสินใจเลือกวธิ กี ารแกป ญ หาทด่ี ี 5. ปฏิบตั ิ
35 กจิ กรรม กรณศี กึ ษา “ เงนิ ทอนวดั หริ โิ อตตัปปะที่หลน หาย ” คาํ ชแ้ี จง ใหผูเ รียนอานบทความและตอบคําถาม ดังตอ ไปน้ี -- สํานักขาวสยามรฐั -- ภาพแหงความลมเหลวในการปราบปรามการทุจริตคอรรัปชัน ซึ่งมีการปลอยปละละเลยมา อยา งยาวนาน โดยเฉพาะขาวการทุจริตของสํานักงานพระพุทธศาสนาแหงชาติ(พศ.) ซึ่งมีเจาหนาที่ระดับสูงสุด และขาราชการในสังกัดทุจริตงบประมาณแผนดิน ใชเลหเหลี่ยมเพทุบายหักเปอรเซ็นตจากการอนุมัติ งบประมาณใหกบั วดั วาอารามตาง ๆ เขาพกเขาหอตัวเองและพรรคพวกชนิดเยยฟาทาดินไมยําเกรงตอบาป บุญคณุ โทษ จนเปนท่มี าของ\"เงินทอนวดั \" \"เงนิ ทอนวัด\" จริง ๆ แลว ไมใ ชเ ร่ืองแปลกใหม เพราะหากเปนคนในแวดวงจะรูกันดีวา การที่วัดใด วัดหน่ึงจะของบสนับสนุนจากสํานักงานพระพุทธศาสนาแหงชาติ (พศ.) ตองมีเงิน\"ปากถุง\"ติดปลายนวม ใหกับเจาหนาท่ี พศ. ถา พระสงฆองคเจา ไมเ ดินตามเกมตามน้าํ ก็อยา หวงั วาจะไดงบประมาณไปทํากิจการสงฆ หรือทํานุบํารุงสรางศาสนสถานใหเปนท่ียึดเหน่ียวจิตใจของพุทธศาสนิกชน หมากเกมอัปรียนี้สงผลให \"พระสงฆ\" บางรูปตกเปน \"จําเลย\" หรอื กาํ ลังจะกลายเปน \"ผตู องหา\" อยา งนอยประมาณ 4 รปู ดวยกนั หากมองเจาะลึกลงไปจะพบวา พระสงฆ คือ ฝา ยท่ีถกู มัดมอื ชกไมมสี ิทธิออกเสียงออกขาว เปนอยางน้ี มาชานานแลว คนไทยซึ่งสว นใหญนับถือศาสนาพทุ ธจะมใี ครรูล กึ ถึงปมประเด็นน้ีหรือไม ในขณะท่ีฝายปกครองสงฆ สูงสุด คอื มหาเถรสมาคม (มส.) ที่มผี ูอ ํานวยการสํานักงานพระพุทธศาสนาแหงชาติ เปนเลขาธิการโดยตําแหนง การเปนประหน่ึงแคสถาบัน \"ตรายาง\" ออนแอในเชิงโครงสรางอยางเห็นไดชัดเจน ถึงเวลาท่ีจะตองปฏิรูป มหาเถรสมาคม เพอื่ ใหเปนท่ีพ่งึ ท่ีหวังของคณะสงฆไ ดอยา งแทจ รงิ ไมใชเ ปน โครงสรางท่ีมีผูอํานวยการสํานักงาน พระพุทธศาสนาแหง ชาตเิ ปน เลขาธกิ าร เชนทกุ วนั นี้ การปรับโครงสรา งมหาเถรสมาคมจะเปนหนทางทที่ ําใหก ารทจุ ริตฉอโกงจากฝายขาราชการประจํา กระทําไดย ากขน้ึ จาํ เปน ตอ งสรางกลไก \"ถวงดุลอาํ นาจ\" โดยตัง้ คณะทํางานหรือคณะอนกุ รรมการ ซึ่งสามารถ สรรหาไดจากพระภิกษุที่มีความรูความสามารถการบริหารจัดการ ดานการเงินการคลัง มาตรวจสอบพิจารณา จดั สรรงบประมาณใหก ับวดั ตา ง ๆ อยา งเหมาะสมเทา เทยี ม ตามความจาํ เปนเรง ดวน นี่คือการปฏิรูปคณะสงฆ และเปนการทํานุบํารุงพระพุทธศาสนาอยางย่ังยืน การไลเช็กบิลพระ ทร่ี ว มกระทาํ หรือเจา หนาทโี่ กงกินเงนิ ทอนวดั คอื การแกปญ หาปลายน้ํา ถึงเวลาที่รัฐบาลจะตองปรับเปล่ียน โครงสรางทั้งหมดโดยเฉพาะผูบริหาร พศ. จําเปนตองไดรับการกล่ันกรองเปนพิเศษ มีความรูความเขาใจ
Search
Read the Text Version
- 1
- 2
- 3
- 4
- 5
- 6
- 7
- 8
- 9
- 10
- 11
- 12
- 13
- 14
- 15
- 16
- 17
- 18
- 19
- 20
- 21
- 22
- 23
- 24
- 25
- 26
- 27
- 28
- 29
- 30
- 31
- 32
- 33
- 34
- 35
- 36
- 37
- 38
- 39
- 40
- 41
- 42
- 43
- 44
- 45
- 46
- 47
- 48
- 49
- 50
- 51
- 52
- 53
- 54
- 55
- 56
- 57
- 58
- 59
- 60
- 61
- 62
- 63
- 64
- 65
- 66
- 67
- 68
- 69
- 70
- 71
- 72
- 73
- 74
- 75
- 76
- 77
- 78
- 79
- 80
- 81
- 82
- 83
- 84
- 85
- 86
- 87
- 88
- 89
- 90
- 91
- 92
- 93
- 94
- 95
- 96
- 97
- 98
- 99
- 100
- 101
- 102
- 103
- 104
- 105
- 106
- 107
- 108
- 109
- 110
- 111
- 112
- 113
- 114
- 115
- 116
- 117
- 118
- 119
- 120
- 121
- 122
- 123
- 124
- 125
- 126
- 127
- 128
- 129
- 130
- 131
- 132
- 133
- 134
- 135
- 136
- 137
- 138
- 139
- 140
- 141
- 142
- 143
- 144
- 145
- 146
- 147
- 148
- 149
- 150
- 151
- 152
- 153
- 154
- 155
- 156
- 157
- 158
- 159
- 160
- 161
- 162
- 163
- 164
- 165
- 166
- 167
- 168
- 169
- 170
- 171
- 172
- 173
- 174
- 175
- 176
- 177
- 178
- 179
- 180
- 181
- 182
- 183
- 184
- 185