Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore สมุนไพรใกล้ตัว พว 02021 ระดับ ม.ต้น

สมุนไพรใกล้ตัว พว 02021 ระดับ ม.ต้น

Published by Patong. CLC., 2020-04-26 08:46:47

Description: หนังสือวิชาสมุนไพรใกล้ตัว พว 02021 ระดับ มัธยมศึกษาตอนต้น นี้สำหรับ นักศึกษา กศน. ใช้ค้นคว้าเพื่อหาคำตอบในการเรียนรู้ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2563

Search

Read the Text Version

  หนงั สอื เรยี นสาระความรู้พน้ื ฐาน รายวชิ าเลอื ก  สมุนไพรใกลต้ วั รหสั วชิ า พว02021 ระดบั ประถมศกึ ษา มธั ยมศกึ ษาตอนต้น มธั ยมศกึ ษาตอนปลาย ตามหลกั สูตรการศกึ ษานอกระบบระดบั การศกึ ษาขนั้ พน้ื ฐาน พุทธศกั ราช 2551 สํานักงานส่งเสริมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศัยจงั หวดั เชียงใหม่ สํานักงานส่งเสริมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศัย สํานักงานปลดั กระทรวงศึกษาธิการ กระทรวงศึกษาธิการ ห้ามจาํ หน่าย หนงั สือเรียนเล่มน้ีจดั พมิ พด์ ว้ ยเงินงบประมาณแผน่ ดินเพอ่ื การศึกษาตลอดชีวิตสาํ หรับประชาชน ลิขสิทธ์ิเป็นของสาํ นกั งาน กศน.จงั หวดั เชียงใหม่

 ก คํานํา หนังสือเรียนรายวิชาเลือก วิชา สมุนไพรใกล้ตัว รหัสวิชา พว02021 ตามหลักสูตรการศึกษา นอกระบบระดับการศึกษาขั้นพ้ืนฐานพุทธศักราช 2551 ระดับประถมศึกษา มัธยมศึกษาตอนต้น และ มัธยมศึกษาตอนปลาย จัดทําขึ้นเพ่ือให้ผู้เรียนได้รับความรู้และประสบการณ์ ซึ่งเป็นไปตามหลักการปรัชญา การศึกษานอกโรงเรียน และพระราชบัญญตั สิ ง่ เสริมการศกึ ษานอกระบบและการศกึ ษาตามอัธยาศัย พ.ศ.2551 ให้ผู้เรียนมีคุณธรรมจริยธรรม มีสติปัญญา มีศักยภาพในการประกอบอาชีพและสามารถดํารงชีวิตอยู่ในสังคม ไดอ้ ยา่ งมีความสุข เพื่อให้การจัดกระบวนการเรียนรู้ของสถานศึกษามีประสิทธิภาพ สถานศึกษาต้องใช้หนังสือเรียนที่มี คุณภาพ สอดคล้องกับสภาพปัญหาความต้องการของผู้เรียน ชุมชน สังคม และคุณลักษณะอันพึงประสงค์ของ สถานศึกษา หนังสือเล่มน้ีได้ประมวลสาระความรู้ กิจกรรมเสริมทักษะ แบบวัดประเมินผลการเรียนรู้ไว้อย่าง ครบถ้วน โดยองค์ความรู้น้ันได้นํากรอบมาตรฐานการเรียนรู้ตามที่หลักสูตรกําหนดไว้ นํารายละเอียดเน้ือหา สาระมาเรียบเรียงอย่างมีมาตรฐานของการจัดทําหนังสือเรียน เพ่ือให้ผู้เรียนสามารถอ่านเข้าใจง่ายและศึกษา ค้นคว้าดว้ ยตนเองได้อยา่ งสะดวก คณะผ้จู ัดทําหวังเป็นอย่างย่งิ วา่ หนังสอื เรียนรายวชิ าสมุนไพรใกล้ตัว รหัสวิชา พว02021 เล่มน้ีจะเป็น สื่อท่ีอํานวยประโยชน์ต่อการเรียนรู้ตามหลักสูตรการศึกษานอกระบบระดับการศึกษาขั้นพ้ืนฐาน พุทธศักราช 2551 เพอ่ื ให้ผูเ้ รยี นสัมฤทธิผ์ ลตามมาตรฐาน ตวั ชวี้ ดั ทีก่ ําหนดไวใ้ นหลักสูตรทกุ ประการ คณะผูจ้ ดั ทํา สํานักงาน กศน.จงั หวัดเชียงใหม่

  ข สารบัญ หน้า ก เรอ่ื ง ข คาํ นํา ค สารบัญ ง คําอธิบายรายวชิ า 1 วธิ ีการศึกษาวิชา 1 บทท่ี 1 ความหมายและประเภทของสมุนไพร 2 3 แผนการเรียนรูป้ ระจาํ บท 9 เรื่องที่ 1 ความหมายของสมนุ ไพร 9 เร่ืองท่ี 2 ประเภทของสมุนไพร 11 บทท่ี 2 ประโยชน์ของสมุนไพร 12 แผนการเรียนร้ปู ระจําบท 13 เร่อื งที่ 1 ประโยชนข์ องสมนุ ไพร 15 เร่ืองท่ี 2 ประโยชนข์ องสมุนไพรอาหาร 19 เรอื่ งที่ 3 ประโยชน์ของสยี ้อมผา้ จากสมนุ ไพร 29 เรอ่ื งที่ 4 ประโยชน์ของสผี สมอาหารจากสมุนไพร 29 เรื่องท่ี 5 ประโยชนข์ องยารักษาโรคจากสมุนไพร 31 บทที่ 3 วิธกี ารนําสมุนไพรมาใช้ 31 แผนการเรยี นรปู้ ระจาํ บท 34 เรื่องที่ 1 การเตรยี มวตั ถดุ ิบสมนุ ไพร 35 เรอ่ื งท่ี 2 การปรงุ ยาสมนุ ไพร 37 เรื่องท่ี 3 ความหมายของคําทคี่ วรรู้ 37 เรอ่ื งที่ 4 การป้องกนั อันตรายทอี่ าจเกิดขนึ้ จากการใช้ยา 38 บทท่ี 4 สมนุ ไพรรอบบา้ น (ตามท้องถิน่ ) 47 แผนการเรียนร้ปู ระจาํ บท 47 เรื่องท่ี 1 ลกั ษณะ คณุ สมบตั พิ ชื สมนุ ไพรรอบบา้ น (ตามท้องถ่นิ ) 49 บทท่ี 5วธิ ปี ลกู พืชสมนุ ไพร 53 แผนการเรยี นรู้ประจาํ บท 53 เร่อื งท่ี 1 การปลกู พชื สมนุ ไพร 55 เรอ่ื งที่ 2 การดูแลรกั ษาพืชสมุนไพร 56 เรอ่ื งท่ี 3 การเก็บเกี่ยวพืชสมนุ ไพร 57 บรรณานุกรม คณะผูจ้ ัดทาํ คณะบรรณาธกิ าร/ปรบั ปรงุ แก้ไข

1ค  คําอธิบายรายวิชา สมนุ ไพรใกลต้ ัว พว02021 ระดบั ประถมศกึ ษา มัธยมศึกษาตอนตน้ และมัธยมศกึ ษาตอนปลาย จํานวน 1 หนว่ ยกิต (40 ชัว่ โมง) 1. คาํ อธบิ ายวิชา สมุนไพรใกล้ตัว ความหมายของสมุนไพร ประเภทสมุนไพร ประโยชน์ของสมุนไพร วิธีการนําสมุนไพร มาแปรรูป สมุนไพรรอบบ้าน (ตามท้องถ่ิน) วิธีปลูกสมุนไพร เน่ืองจากการท่ีเราได้รับความรู้และการทดลอง หลักการจากวิชาน้ีแล้ว เราสามารถนําประโยชน์ของสมุนไพร หรือเอามาปรับใช้ในชีวิต ประจําวันได้ และยัง บอกคณุ สมบตั ิสมุนไพรรอบบ้าน (ตามท้องถ่นิ ) ในการรกั ษาโรคได้ 2. วัตถุประสงค์ 1. เพ่อื ให้มีความรู้ความเขา้ ใจเกีย่ วกับสมุนไพรใกลต้ วั ความหมายของสมุนไพร ประเภท สมนุ ไพร ประโยชน์ของสมุนไพร วิธกี ารนําสมุนไพรใช้ สมนุ ไพรรอบบ้าน (ตามทอ้ งถิน่ ) วิธี ปลกู สมุนไพร 2. เพ่ือใหผ้ ู้เรยี นสามารถศกึ ษาคน้ คว้า ทดลอง จาํ แนก อธิบาย อภปิ ราย นําเสนอดว้ ยการจัด กระบวนการเรียนรูโ้ ดยการพบกลมุ่ การเรยี นรแู้ บบทางไกล แบบชัน้ เรียน ตามอัธยาศยั การ เรียนรดู้ ้วยตนเอง การทาํ รายงานการศึกษาจากแหล่งเรียนรู้ ประสบการณ์โดยตรง ใช้ สถานการณ์จรงิ ประสบการณ์การเรียน และการเรียนรดู้ ว้ ยโครงงาน รายชื่อบทที่ บทที่ 1 ความหมายและประเภทของสมนุ ไพร บทท่ี 2 ประโยชน์ของสมุนไพร บทที่ 3 วธิ ีการนําสมุนไพรมาใช้ บทท่ี 4 สมนุ ไพรรอบบ้าน (ตามทอ้ งถนิ่ ) บทท่ี 5 วิธีปลูกพชื สมุนไพร

ง2    วธิ ีการศกึ ษาวิชา สมนุ ไพรใกลต้ วั รหัสวชิ า พว02021 ระดบั ประถมศกึ ษา มัธยมศึกษาตอนต้น และมัธยมศึกษาตอนปลาย จาํ นวน 1 หนว่ ยกิต (40 ชัว่ โมง) ความเปน็ มา การจัดการเรียนการสอนตามหลักสูตรการศึกษานอกระบบระดับการศึกษาข้ันพ้ืนฐานพุทธศักราช 2551 เป็นหลักสูตรที่เป็นไปตามหลักการและปรัชญาการศึกษานอกโรงเรียนได้ปรับไปตามบริบทและความ ต้องการของผู้เรียนท่ีอยู่นอกระบบโรงเรียน เพ่ือต้องการศึกษาสมุนไพรใกล้ตัว ความหมายของสมุนไพร ประเภทสมนุ ไพร ประโยชนข์ องสมุนไพร วธิ กี ารนําสมุนไพรมาแปรรูป สมุนไพรรอบบ้าน (ตามท้องถ่ิน) วิธีปลูก สมนุ ไพร การจัดทาํ หลักสตู รรายวิชาเลอื ก หลกั สูตรวิชา วิชาสมุนไพรใกล้ตัว ซึ่งอยู่ในสาระความรู้พื้นฐาน เป็น หลักสูตรที่ต้องการให้ผู้เรียน ศึกษาสมุนไพรใกล้ตัว ความหมายของสมุนไพร ประเภทสมุนไพร ประโยชน์ของ สมุนไพร วิธีการนําสมุนไพรมาแปรรูป สมุนไพรรอบบ้าน (ตามท้องถิ่น) วิธีปลูกสมุนไพร เนื่องจากการท่ีเรา ไดร้ บั ความรูแ้ ละการทดลองหลกั การจากวิชานี้แล้ว เราสามารถนําประโยชน์ของสมุนไพร หรือเอามาปรับใช้ใน ชีวติ ประจําวันได้ และยงั บอกคณุ สมบัตสิ มนุ ไพรรอบบา้ น (ตามท้องถน่ิ ) ในการรักษาโรคได้ ดงั น้นั จงึ ได้ทาํ หลักสูตรวิชา วิชาสมุนไพรใกลต้ วั เพือ่ เปน็ หลกั สตู รวิชาเลอื กให้กับผู้เรียน เพอ่ื เปน็ การ ยกระดับความสามารถในการใช้วิชาวิทยาศาสตร์ของคนในท้องถิ่น เพ่ือให้สนองตอบกับความต้องการของ ท้องถ่ิน อน้ เปน็ ประโยชน์ในดา้ นการลดคา่ ใชจ้ า่ ยตอ่ ท้องถิน่ และครัวเรอื นและผู้สนใจทุกท่าน ให้สารถนําความรู้ ดังกล่าวไปใช้ประโยชนใ์ นชวี ติ ประจําวนั ได้ หลักการ เป็นหลักสตู รวิชาเลือกที่สามารถให้ผู้เรียนในระดับประถมศึกษา มัธยมศึกษาตอนต้น และมัธยมศึกษา ตอนปลายเลอื กเรียนได้ตามความสนใจ วตั ถุประสงค์ 1. อธิบายความหมายและแยกประเภทของสมนุ ไพรได้ 2. อธิบายประโยชน์ของสมนุ ไพรดา้ นต่างๆ ได้ 3. อธบิ ายลักษณะ คณุ สมบัติ ฯลฯ และวธิ ีปลกู พืชสมนุ ไพรรอบบา้ น (ตามท้องถ่ิน) ได้ 4. อธิบายวิธีการนําสมนุ ไพรมาใชป้ ระโยชนแ์ ละการปลกู พืชสมุนไพรในครวั เรอื นได้ 5. เพือ่ นําความรู้ท่ไี ดไ้ ปประยกุ ต์ใช้ในชีวิตประจําวัน ระยะเวลาเรยี นและจาํ นวนหน่วยกติ ใช้เวลาเรียน 40 ชว่ั โมง มีค่าเท่ากับ 1 หน่วยกิต ท้ังน้ีผ้เู รยี นตอ้ งลงทะเบียนเรยี นในสถานศึกษาอยา่ ง นอ้ ย 1 ภาคเรยี น  

3จ    รายละเอยี ดเนอ้ื หา 1. ความหมายและประเภทของสมุนไพร - บอกความหมายของสมุนไพร - แยกประเภทของสมนุ ไพร เช่น พืช สัตว์ แรธ่ าตุ 2. ประโยชนข์ องสมุนไพร - วธิ กี ารนําสมนุ ไพรมาใชป้ ระโยชน์ เช่น อาหาร สยี อ้ มผา้ สีผสมอาหาร ยารกั ษาโรค 3. วธิ ีการนาํ สมนุ ไพรมาใช้ - วธิ ีการนําสมนุ ไพรมาใช้ เชน่ ต้ม เค่ียว ชง สกดั 4. สมุนไพรรอบบ้าน (ตามทอ้ งถน่ิ ) - บอกลกั ษณะ คุณสมบัติ สมนุ ไพร (ตามทอ้ งถิน่ ) เชน่ ข่า ตะไคร้ มะกรดู มะรมุ ขงิ ขมิ้น 5. วิธีปลูกพชื สมุนไพร - วธิ ีการปลูกพืชสมุนไพรในครวั เรือน กระบวนการเรียนรู้ การจัดกระบวนการเรียนรู้ตามหลักสูตรการศึกษานอกระบบระดับการศึกษาข้ันพ้ืนฐานพุทธศักราช 2551 มุ่งพัฒนาให้ผู้เรียนมีความรู้ ความสามารถในการเรียนรู้โดยเน้นการพัฒนาทักษะการแสวงหาความรู้ ประยุกต์ใช้ความรู้และสร้างองค์ความรู้สําหรับตนเอง ชุมชน และสังคม ซ่ึงกําหนดรูปแบบการจัดกระบวนการ เรยี นรู้ ดงั น้ี 1. กําหนดสภาพหวั ข้อเนื้อหาของหลักสูตรท่กี าํ หนด 2. แสวงหาข้อมลู และจดั การเรียนรทู้ เ่ี ชอื่ มโยงความรู้ใหมก่ ับความร้เู ดิม 3. ปฏบิ ตั ิโดยประยกุ ตใ์ ห้สอดคลอ้ งกับสถานการณ์ท่เี หมาะสม 4. ประเมินผลการเรียนร้โู ดยให้มีการประเมินทบทวนแกไ้ ขขอ้ บกพรอ่ ง สอ่ื การเรียนรู้ 1. เอกสารการสอน 2. ใบงาน 3. หนงั สอื 4. รปู ภาพ 5. อนิ เทอรเ์ นต็ 6. บคุ คล/ผู้รู้ การวดั ผลประเมินผล 1. ประเมนิ ผลตนเองก่อนเรยี นและหลังเรยี น 2. ประเมินผลจากการสังเกตพฤติกรรมการมสี ว่ นรว่ ม 3. ประเมนิ ผลจากการสอบประจาํ ภาคการศกึ ษา  

1 บทที่ 1 ความหมายและประเภทของสมนุ ไพร แผนการเรยี นรปู้ ระจาํ บท บทที่ 1ความหมายและประเภทของสมุนไพร สาระสําคญั ความหมายของสมนุ ไพร ประเภทของสมุนไพร เชน่ พชื สัตว์ และแร่ธาตุ ผลการเรียนรทู้ ี่คาดหวัง 1. อธบิ ายความหมายของสมุนไพรได้ 2. สามารถแยกประเภทของสมุนไพรได้ ขอบข่ายเนือ้ หา 1.ความหมายของสมุนไพร 2. ประเภทของสมุนไพร เช่น พชื สตั ว์ และแร่ธาตุ กจิ กรรมการเรยี นรู้ 1. ทาํ แบบประเมินผลตนเองก่อนเรยี น บทท่ี 1 2. ศกึ ษาเอกสารการสอน บทท่ี 1 3. ปฏิบัตกิ จิ กรรมตามที่รับมอบหมายในเอกสารการสอน 4. ทาํ แบบประเมินผลตนเองหลงั เรยี น บทที่ 1 ส่อื การสอน 1. เอกสารการสอน บทท่ี 1 2. ใบความรู้ 3. ใบงาน 4. หนงั สือ ประเมนิ ผล 1. ประเมินผลตนเองก่อนเรียนและหลังเรียน 2. ประเมินผลจากการสอบประจาํ ภาคการศึกษา 3. ประเมนิ ผลจากการสังเกตพฤติกรรมการมสี ่วนรว่ ม  

2 เรือ่ งท่ี 1 ความหมายของสมนุ ไพร สมุนไพร ตามพจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ.2525 หมายถึง พืชท่ีใช้ ทําเป็นเคร่ืองยา สมุนไพรกําเนิดมา จากธรรมชาติและมีความหมายต่อชีวิตมนุษย์โดยเฉพาะ ในทางสุขภาพ อันหมายถึงท้ังการ ส่งเสริมสุขภาพและการรักษาโรค ความหมายของยาสมุนไพรในพระราชบัญญัติยา พ.ศ.2510 ได้ระบุว่า ยา สมุนไพร หมายความว่า ยาที่ได้จากพฤกษาชาติ สัตว์ หรือแร่ธาตุ ซึ่งมิได้ผสมปรุงหรือแปรสภาพ เช่น พืชก็ยัง เปน็ สว่ นของราก ลําต้น ใบ ดอก ผล ฯลฯ ซ่ึงมไิ ดผ้ า่ นขั้นตอนการแปร รูปใดๆ แต่ในทางการค้า สมุนไพรมักจะ ถูกดัดแปลงในรูปแบบต่างๆ เช่น ถูกหั่นให้เป็นชิ้นเล็กลง บดเป็นผงละเอียด หรืออัด เป็นแท่งแต่ในความรู้สึก ของคนทัว่ ไปเม่ือกล่าวถงึ สมนุ ไพร มกั นึกถงึ เฉพาะต้นไมท้ ่ีนํามาใช้เปน็ ยาเท่าน้นั สมุนไพร หมายถึง พืชที่มีสรรพคุณในการรักษาโรค หรืออาการเจ็บป่วยต่างๆ การใช้สมุนไพรสําหรับ รักษาโรค หรือ อาการเจ็บป่วยต่างๆ นี้ จะต้องนําเอาสมุนไพรต้ังแต่สองชนิดขึ้นไปมาผสมรวมกันซึ่งจะเรียกว่า \"ยา\" ในตํารับยา นอกจากพืช สมุนไพรแล้วยังอาจประกอบด้วยสัตว์และแร่ธาตุอีกด้วย เราเรียกพืช สัตว์ หรือ แร่ธาตุท่ีเป็นส่วนประกอบของยาน้ีว่า \"เภสัช วัตถุ\" พืชสมุนไพรบางชนิด เช่น เร่ว กระวาน กานพลู และ จันทน์เทศ เป็นต้น เป็นพืชที่มีกล่ินหอมและมีรสเผ็ดร้อน ใช้เป็นยา สําหรับขับลม แก้ท้องอืด ท้องเฟ้อ พืช เหล่านี้ถ้านํามาปรุงอาหารเราจะเรียกว่า \"เคร่ืองเทศ\" ในพระราชบัญญัติยาฉบับท่ี 3 ปี พุทธศักราช 2522 ได้ แบง่ ยาทไี่ ดจ้ ากเภสชั วตั ถุนไี้ ว้เปน็ 2 ประเภทคอื 1. ยาแผนโบราณ หมายถึง ยาท่ใี ช้ในการประกอบโรคศิลปะแผนโบราณหรือในการบาํ บัดโรคของสัตว์ ซงึ่ มปี รากฏอยู่ใน ตํารายาแผนโบราณท่รี ัฐมนตรีประกาศ หรือยาท่ีรัฐมนตรีประกาศให้เป็นยาแผนโบราณ หรือ ไดร้ บั อนญุ าตใหข้ ึน้ ทะเบียนตํารับ ยาเป็นยาแผนโบราณ 2. ยาสมุนไพร หมายถึง ยาท่ีได้จากพืชสัตว์แร่ธาตุที่ยังมิได้ผสมปรุงหรือแปรสภาพสมุนไพรนอกจาก จะใช้เป็นยาแล้วยังใช้ประโยชน์เป็นอาหาร ใช้เตรียมเป็นเคร่ืองด่ืม ใช้เป็นอาหารเสริม เป็นส่วนประกอบใน เคร่ืองสําอาง ใช้แต่งกล่ิน แต่งสีอาหาร และยา ตลอดจนใช้เป็นยาฆ่าแมลงอีกด้วย ในทางตรงกันข้าม มี สมุนไพรจํานวนไม่น้อยที่มีพิษ ถ้าใช้ไม่ถูกวิธีหรือใช้เกินขนาด จะมีพิษถึงตายได้ ดังนั้นการใช้สมุนไพรจึงควรใช้ ด้วยความระมัดระวังและใช้อย่างถูกต้อง ปัจจุบันมีการต่ืนตัวในการนํา สมุนไพรมาใช้พัฒนาประเทศมากข้ึน สมุนไพรเป็นส่วนหนึ่งในแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ กระทรวงสาธารณสุขได้ ดําเนิน โครงการ สมุนไพรกับสาธารณสุขมูลฐาน โดยเน้นการนําสมุนไพรมาใช้บําบัดรักษาโรคใน สถานบริการสาธารณสุขของ รัฐมากขึ้น และ ส่งเสริมให้ปลูกสมุนไพรเพ่ือใช้ภายในหมู่บ้านเป็นการสนับสนุนให้มีการใช้สมุนไพรมากยิ่งข้ึน อันเป็นวิธีหน่ึงท่ี จะช่วยประเทศชาติประหยัดเงินตราในการส่ังซ้ือยาสําเร็จรูปจากต่างประเทศได้ปีละเป็น จํานวนมาก สมุนไพร หมายถึง “พืชที่ใช้ทําเป็นเครื่องยา” ส่วน ยาสมุนไพร หมายถึง “ยาท่ีได้จากส่วนของพืช สัตว์ และแร่ ซ่ึงยังมิได้ผสมปรุง หรือ แปรสภาพ” ส่วนการนํามาใช้ อาจดัดแปลงรูปลักษณะของสมุนไพรให้ ใช้ได้สะดวกขึ้น เช่น นํามาหั่นให้มี ขนาดเล็กลง หรือ นํามาบดเป็นผงเป็นต้นมีแต่พืชเพียงอย่างเดียวหามิได้ เพราะยังมีสัตว์และแร่ธาตุอ่ืนๆอีกสมุนไพร ท่ีเป็นสัตว์ ได้แก่ เขา หนัง กระดูก ดี หรือเป็นสัตว์ท้ังตัวก็มี เช่น ต๊กุ แก ไสเ้ ดอื น มา้ นาํ้ ฯลฯ \"พืชสมุนไพร\" นั้นต้ังแต่โบราณก็ทราบกันดีว่ามีคุณค่าทางยามากมายซึ่ง เช่ือกันอีกด้วยว่า ต้นพืช ต่างๆ ก็เป็นพืชท่ีมี สารท่ีเป็นตัวยาด้วยกันท้ังสิ้นเพียงแต่ว่าพืชชนิดไหนจะมีคุณค่าทางยามากน้อยกว่ากัน เท่าน้นั \"พชื สมนุ ไพร\" หรือวตั ถธุ าตุนี้ หรือตวั ยาสมนุ ไพรน้ี แบง่ ออกเป็น 5 ประการ คิอ  

3 1. รูป ได้แก่ ใบไม้ ดอกไม้ เปลอื กไม้ แกน่ ไม้ กระพ้ีไม้ รากไม้ เมลด็ 2. สี มองแลว้ เห็นว่าเป็นสเี ขยี วใบไม้ สีเหลือง สีแดง สีส้ม สีม่วง สนี ํ้าตาล สดี ํา 3. กลิ่น ให้รูว้ า่ มกี ลนิ่ หอม เหมน็ หรือกลิ่นอยา่ งไร 4. รส ใหร้ ูว้ ่ามีรสอยา่ งไร รสจืด รสฝาด รสขม รสเค็ม รสหวาน รสเปรีย้ ว รสเย็น 5. ชื่อ ต้องรู้ว่ามีช่ืออะไรในพืชสมุนไพรน้ันๆ ให้รู้ว่า ขิงเป็นอย่างไร ข่าเป็นอย่างไร ใบขี้เหล็กเป็น อย่างไร ปัจจุบันมีผู้พยายามศึกษาค้นคว้าเพื่อพัฒนายาสมุนไพรให้สามารถนํามาใช้ในรูปแบบที่สะดวกย่ิงขึ้น เช่น นํามาบดเป็นผง บรรจุแคปซูล ตอกเป็นยาเม็ด เตรียมเป็นครีมหรือยาข้ีผ้ึงเพ่ือใช้ทาภายนอก เป็นต้น ใน การศึกษาวิจัยเพื่อนําสมุนไพรมาใช้เป็น ยาแผนปัจจุบันน้ัน ได้มีการวิจัยอย่างกว้างขวาง โดยพยายามสกัดสาร สําคัญจากสมุนไพรเพื่อให้ได้สารที่บริสุทธ์ิ ศึกษาคุณสมบัติทางด้านเคมี ฟิสิกส์ของสารเพ่ือให้ทราบว่าเป็นสาร ชนิดใด ตรวจสอบฤทธิ์ด้านเภสัชวิทยาในสัตว์ทดลองเพ่ือดูให้ ได้ผลดีในการรักษาโรคหรือไม่เพียงใด ศึกษา ความเปน็ พิษและผลขา้ งเคยี ง เม่ือพบวา่ สารชนิดใดให้ผลในการรักษาที่ดี โดยไม่มีพิษหรือมีพิษข้างเคียงน้อยจึง นาํ สารนน้ั มาเตรียมเปน็ ยารปู แบบทเ่ี หมาะสมเพอ่ื ทดลองใช้ตอ่ ไป เรอ่ื งท่ี 2 ประเภทของสมนุ ไพร สมุนไพรแบ่งตามหลักวิชาออกเป็น 2 สาขา คือ สมุนไพรแผนโบราณ และสมุนไพรแผนปัจจุบัน สมุนไพรแผนโบราณ คือ พืช สัตว์ หรือแร่ธาตุ ที่เภสัชกร หรือแพทย์แผนโบราณ และประชาชนนํามาใช้เป็น อาหาร เคร่ืองดื่ม ยา หรือเคร่ืองสําอาง สําหรับป้องกัน รักษาโรค บํารุงสุขภาพ หรือเสริมสวย ตามหลักวิชา ของแพทย์และเภสัชกรรมไทยแผนโบราณแผนโบราณ หรือจากความรู้ และประสบการณ์ท่ีบรรพบุรุษในอดีต เคยใช้สบื ตอ่ กันมา 1. สมุนไพรแผนปัจจุบัน คือ พืช สัตว์ หรือแร่ธาตุ ท่ีแพทย์และเภสัชกรแผนปัจจุบันนักวิทยาศาสตร์ หรือนักโภชนาการนํามาศึกษาค้นคว้า ทดลอง วิจัย แล้วสกัดเอาสารบางชนิดจากพืช สัตว์ หรือแร่ธาตุ ออกมา ใช้เป็นอาหาร เครื่องดื่ม ยา หรือเคร่ืองสาํ อาง สําหรับป้องกนั รักษาโรค บาํ รุงสุขภาพ หรือ เสริมสวย ตามหลัก และกรรมวิธีทางวิทยาศาสตร์ โดยอาศัยข้อมูล ความรู้พ้ืนฐาน หรือประสบการณ์เดิมของแพทย์และเภสัชกร แผนโบราณ หรือประชาชนที่เคยรู้และเคยใช้กันมาตั้งแต่อดีตเป็นแนวทางในการศึกษาวิจัยว่า ในพืช สัตว์ หรือ แร่ธาตุน้ันๆ มีสารเคมอี ะไรจึงมีสรรพคุณตามทีค่ นโบราณกล่าวไว้ โดยนํามาทดลองทั้งด้านเภสัชวิทยา และทาง คลนิ ิก คอื ทดลองใช้กบั สัตว์และคนทีเ่ จ็บปว่ ย 2. สมนุ ไพรแผนโบราณในประเทศไทยแบง่ ออกเป็น 2 ประเภท คือ สมุนไพรไทยแผนโบราณ และ สมนุ ไพรจีนแผนโบราณ สมุนไพรไทยแผนโบราณคอื สมนุ ไพรที่มอี ยู่ในประเทศไทยและบางชนดิ ก็ต้องนาํ เข้ามาจากต่างประเทศ ซึง่ แพทยแ์ ละเภสัชกรไทยแผนโบราณนาํ มาปรุงเปน็ อาหาร เคร่ืองดื่ม ยา หรอื เคร่อื งสําอาง สาํ หรบั ปอ้ งกัน รักษาโรค บาํ รุงสขุ ภาพ รักษาโรค บาํ รงุ สขุ ภาพ หรอื เสรมิ สวย ตามทฤษฎี หรือหลักวิชาของแพทย์และเภสัช กรรมไทยแผนโบราณ สมนุ ไพรจนี แผนโบราณ คอื สมนุ ไพรทม่ี อี ยูใ่ นประเทศจนี ทีแ่ พทยแ์ ละเภสัชกรจนี แผนโบราณนาํ มา ปรุงเป็นอาหาร เคร่ืองดื่ม ยา หรือเครื่องสาํ อาง สําหรับป้องกัน รกั ษาโรค บาํ รงุ สขุ ภาพ หรอื เสรมิ สวย ตาม ทฤษฎีหรอื หลกั วชิ าของแพทย์และเภสัชกรรมจีนแผนโบราณ  

4 เภสชั วัตถุ คอื วัตถุธาตุนานาชนดิ ท่ีนาํ มาใชป้ ระกอบเปน็ ยารักษาโรค จําแนกออกไดเ้ ป็น 3 ประเภท ประเภทท่ี 1 พืชวัตถุ ได้แก่ พรรณไมต้ า่ งๆ จําแนกออกได้เปน็ พชื จําพวกต้น พืชจาํ พวกเถา-เครือ พชื จําพวกหัว- เหงา้ พืชจําพวกผัก และพืชจาํ พวกหญ้า ซ่งึ จะต้องรู้จักสว่ นต่างๆ ของพชื ที่นาํ มาใชเ้ ป็นยา ได้จาก ต้น แก่นใบ หวั เหงา้ ราก กระพ้ี เน้อื ไม้ ยางไม้ เปลือกตน้ เปลือกลกู เปลือกเมล็ด ดอกเกสร กิ่ง กา้ น ฯลฯ พชื วตั ถุ แบ่งเปน็ - จาํ พวกตน้ เชน่ กระเจยี๊ บ กระถนิ ไทย กระดงั งาไทย กระทอ่ ม กานพลู ฯลฯ - จําพวกเถา-เครอื เชน่ กระทกรก หนอนตายหยาก ชะเอมไทย ตําลึง ฯลฯ - จาํ พวกหัว-เหง้า เช่น กระชาย กระเทียม กระวาน กลอย ขงิ บา้ น ฯลฯ - จาํ พวกผัก เชน่ ผักกะเฉด ผักบ้งุ จีน ผกั หวานบา้ น ผกั กาด ผกั เบ้ยี ฯลฯ - จําพวกหญา้ เช่น หญ้ากระต่ายจาม หญา้ คา หญ้างวงชา้ ง หญา้ แห้วหมู ฯลฯ - จําพวกเหด็ แบ่งเป็น เหด็ ทีเ่ ป็นอาหารและประกอบเปน็ ยาได้ และเหด็ เบ่ือเมา - เหด็ ที่เปน็ อาหารและเปน็ ยา เชน่ เห็ดหูหนู เห็ดฟาง เห็ดโคน ฯลฯ - เห็ดท่เี บื่อเมา เช่น เห็ดงูเหา่ เห็ดตาล เหด็ มะขาม ฯลฯ ลกั ษณะของพชื สมนุ ไพร \"พืชสมนุ ไพร\" โดยท่วั ไปน้ัน แบ่งออกเป็น 5 ส่วนสาํ คญั ดว้ ยกนั คือ 1. ราก 2. ลาํ ตน้ 3. ใบ 4. ดอก 5. ผล \"พืชสมุนไพร\" เหล่านี้มีลักษณะลําต้น ยอด ใบ ดอก ที่แตกต่างกันไปตามสายพันธ์ุ แต่ส่วนต่างๆ ก็ทํา หน้าท่ีเชน่ เดยี วกนั เช่นรากก็ทาํ หน้าทีด่ ูดอาหาร มาเลีย้ งลําตน้ กงิ่ ก้านต่างๆและใบกบั ส่วนตา่ งๆนั่นเอง ใบทําหน้าท่ีปรุงอาหารดูดออกซิเจน คายคาร์บอนไดออกไซด์ออกมา ดอก ผล เมล็ด ก็ทําหน้าที่ สืบพันธ์ุกันต่อไป เพ่ือทําให้พืชพันธ์ุน้ีแพร่กระจายออกไปเรื่อยๆไม่มีที่สิ้นสุดส่วนต่างๆของพืชที่ใช้เป็นพืช สมนุ ไพร 1. ราก รากของพืชมีมากมายหลายชนิดเอามาเป็นยาสมุนไพรได้อย่างดี เช่นกระชายขมิ้นชัน ขิง ข่า เรว่ ขมิน้ อ้อยเป็นตน้ รปู รา่ งและลักษณะของราก แบ่งออกเป็น 2 ชนดิ คอื 1.1 รากแก้ว ต้นพืชมากมายหลายชนิดมีรากแก้วอยู่นับ ว่าเป็นรากท่ีสําคัญมากงอกออกจาก ลําต้นส่วนปลายรูปร่างยาวใหญ่ เป็นรูปกรวยด้านข้างของรากแก้วจะแตกแยกออกเป็นรากเล็กรากน้อยและ  

5 รากฝอยออกมาเป็นจํานวนมากเพื่อทําการดูดซึมอาหารในดินไปบํารุงเลี้ยงส่วนต่างๆของต้นพืชที่มีรากแก้ว ได้แก่ ต้นข้ีเหล็ก ตน้ คนู เปน็ ตน้ 1.2 รากฝอย รากฝอยเปน็ ส่วนท่ีงอกมาจากลาํ ต้นของพืชท่ีส่วนปลายงอกออกมาเป็นรากฝอย จํานวนมากลักษณะรากจะกลมยาวมีขนาดเท่าๆกันต้นพืชที่มีใบเลี้ยงเดี่ยวจะมีรากฝอย เช่น หญ้าคา ตะไคร้ เปน็ ต้น 2. ลําต้น นับว่าเป็นโครงสร้างที่สําคัญของต้นพืชทั้งหงายท่ีมีอยู่สามารถคํ้ายันเอาไว้ได้ไม่ให้โค่นล้มลง โดยปกติแล้วลําต้นจะอยู่ บนดินแต่บางส่วนจะอยู่ใต้ดินพอสมควร รูปร่างของลําต้นนั้นแบ่งออกได้เป็น 3 ส่วน ด้วยกัน คือ ตา ข้อ ปล้อง บริเวณเหล่าน้ีจะมีกิ่งก้าน ใบดอกเกิดขึ้นอีกด้วยซ่ึงจะทําให้พืช มีลักษณะท่ีแตกต่าง กันออกไปชนดิ ของลาํ ต้นพชื แบ่งตามลักษณะภายนอกของลาํ ตน้ ไดเ้ ป็น 1. ประเภทไมย้ ืนตน้ 2. ประเภทไมพ้ ุ่ม 3. ประเภทหญ้า 3. ใบ ใบเป็นส่วนประกอบท่ีสําคัญของต้นพืชท่ัวไป มีหน้าท่ีทําการสังเคราะห์แสง ผลิตอาหารและ เป็นส่วนท่ีแลกเปลี่ยนนํ้า และอากาศให้ต้นพืชใบเกิดจากการงอกของก่ิงและตาใบไม้โดยท่ัวไปจะมีสีเขียว (สีเขียวเกิดจากสารท่ีมีช่ือว่า\"คอลโรฟิลล์\"อยู่ในใบของพืช)ใบของพืชหลายชนิดใช้เป็นยาสมุนไพรได้ดีมาก รูปรา่ งและลกั ษณะของใบน้นั ใบทส่ี มบูรณ์มสี ่วนประกอบรวม 3 ส่วนดว้ ยกันคอื 1. ตัวใบ 2. กา้ นใบ 3. หใู บ ชนดิ ของใบ แบง่ ออกไดเ้ ป็น 2 ชนิด คอื 1. ชนดิ ใบเลย้ี งเด่ยี ว หมายถึงกา้ นใบอนั หนงึ่ มีเพียงใบเดียว เช่น กานพลู ขลู่ ยอ กระวาน 2. ชนดิ ใบประกอบ หมายถงึ ต้ังแต่ 2 ใบขนึ้ ไป ท่เี กดิ ขึน้ กา้ นใบอนั เดยี ว มีมะขามแขก แคบ้าน ขี้เหล็ก มะขาม เป็นต้น 4. ดอก ส่วนของดอกเป็นส่วนท่ีสําคัญของพืชเพื่อเป็นการแพร่พันธ์ุของพืชเป็นลักษณะเด่นพิเศษของ ต้นไม้แต่ละชนิดส่วนประกอบของดอกมีความแตกต่างกันตามชนิดของพันธ์ุไม้และลักษณะท่ีแตกต่างกันน้ีเป็น ข้อมูลสาํ คญั ในการจาํ แนกประเภทของต้นไม้รูปร่างลักษณะของดอกจะต้องมีส่วนประกอบที่สําคญั 5 ส่วนคอื 1. กา้ นดอก 2. กลบี รอง 3. กลีบดอก 4. เกสรตัวผู้ 5. เกสรตวั เมีย 5. ผล ผลคอื ส่วนหนึ่งของพืชทเี่ กดิ จากการผสมเกสรตัวผกู้ บั เกสรตวั เมียในดอกเดยี วกนั หรือคนละดอก ก็ได้ มีลักษณะรูปร่างท่ีแตกต่างกันออกไปตามประเภทและสายพันธุ์รูปร่างลักษณะของผลมีหลายอย่าง ตาม ชนิดของต้นไม้ที่แตกตา่ งกัน แบ่งตามลักษณะของการเกิดไดร้ วม 3 แบบ 1. ผลเดีย่ ว หมายถึง ผลทีเ่ กิดจากรงั ไขอ่ ันเดยี วกัน 2. ผลกลุม่ หมายถึง ผลท่ีเกดิ จากปลายช่อของรงั ไขใ่ นดอกเดยี วกนั เช่น นอ้ ยหนา่ 3. ผลรวม หมายถึง ผลทเ่ี กดิ มาจากดอกหลายดอก เช่น สับปะรด  

6 มกี ารแบ่งผลออกเปน็ 3 ลกั ษณะคอื 1. ผลเน้ือ 2. ผลแหง้ ชนิดแตก 3. ผลแห้งชนดิ ไมแ่ ตก ประเภทที่ 2 สัตวว์ ตั ถุ ได้แก่ รา่ งกายและอวยั วะของสัตว์ท้ังหลาย จําแนกสัตวอ์ อกได้เปน็ สตั ว์บก สัตวน์ ํา้ และสตั ว์อากาศ ซงึ่ จะต้องรจู้ ักสว่ นต่างๆ ทนี่ าํ มาใชเ้ ปน็ ยา ได้จากสตั วท์ กุ ชนดิ และอวยั วะของสัตวท์ ั้งหลาย เช่น ขน หนงั เขา นอ เขีย้ ว งา ฟนั กราม ดี หวั เลบ็ กีบ กระดูก เน้ือ เอ็น เลอื ด น้าํ มัน มูล ฯลฯ สตั ว์วตั ถแุ บง่ ออกเปน็ - จาํ พวกสัตวบ์ ก เชน่ กวาง (เขาแก่ เขาอ่อน) งเู หา่ (หวั กระดกู ด)ี แรด (เลอื ด หนงั นอ กบี เทา้ ) คางคก (ท้งั ตวั ) แมลงสาบ (มลู ) แมงมุม (ตายซาก) ฯลฯ - จาํ พวกสัตว์นา้ํ เชน่ ปลาชอ่ น (ดี หาง เกลด็ ) ปลาไหล (หาง หัว) ปลาหมกึ (กระดอง หรือ ล้นิ ทะเล) ปูมา้ (ก้าม กระดอง) ฯลฯ - จําพวกสตั ว์อากาศ เชน่ อีกา หรือ นกกา (หัวกระดกู ขน) นกยูง (กระดูก แววหาง ขน หาง) ผ้งึ (น้าํ ผ้งึ ) นกนางแอน่ (รงั ) นกกระจอก (ใชท้ ้ังตวั ถอนขนออก) ฯลฯ - จาํ พวกสตั วค์ รึ่งบกครง่ึ นํ้า เชน่ หอยโขง่ (เปลอื ก) เต่านา (หัว กระดอง อก) จระเข้ (ด)ี ปทู ะเล(กา้ ม) ปูนา (ทงั้ ตวั ) กบ (นํา้ มัน กระดกู ) ฯลฯ ประเภทท่ี 3  

7 ธาตุวัตถุ ได้แก่ แร่ธาตุต่างๆ ที่เกิดขึ้นเอง หรือสิ่งท่ีประกอบข้ึนจากแร่ธาตุ หรือส่ิงสังเคราะห์ข้ึน จําแนกธาตอุ อกได้เป็นธาตุที่สลายตวั ไดง้ า่ ย และธาตทุ ี่สลายตัวได้ยากซงึ่ จะต้องรู้จักแร่ธาตุนั้นๆ ว่ามีรูป สี กล่ิน รส และมีช่ือเรียกอย่างไร ธาตวุ ัตถแุ บ่งได้เป็น - จําพวกสลายตัวงา่ ย (หรือสลายตัวอยู่แลว้ ) เช่น กํามะถันเหลือง สารส้ม กํามะถันแดง ดีเกลือ จุนสี พิมเสน ฝรัง่ นํา้ ซาวข้าว ปรอท การบรู ฯลฯ - จําพวกสลายตวั ยาก เชน่ เหลก็ (สนมิ ) ทองแดง ทองเหลอื ง ทองคํา เงนิ ฯลฯ - จําพวกท่แี ตกตวั เชน่ ดินสอพอง น้ําตาลทรายขาว น้าํ ตาลกรวด ดนิ เหนียว ฯลฯ หลักสรรพคุณสมุนไพรไทย เราจะทราบว่า สมุนไพรชนิดใด มีสรรพคุณอย่างไร เราจําเป็นต้องรู้ว่า สมุนไพรมีรสอะไร ถ้าเรารู้รสของสมุนไพรแล้ว เราก็จะทราบสรรพคุณของมัน เพราะรสของสมุนไพรจะแสดง สรรพคุณเอาไว้ รสของสมนุ ไพรแบ่งออกเป็น 10 รส คอื 1. รสฝาด : ช่วยสมานแผล แก้ท้องร่วง บิด บํารุงธาตุ เช่น ยอดจิก ยอดมะม่วงหิมพานต์ ผลมะตูม ออ่ นมะเด่อื อทุ ุมพร ยอดฝรัง่ ผกั กระโดน ยอดเสม็ด 2. รสหวาน : ซึมซาบไปตามเนือ้ ช่วยใหช้ มุ่ ชื่น บํารุงกาํ ลัง แกอ้ อ่ นเพลีย เช่น เห็ด บกุ หนอ่ ไม้ เต่ารงั้ หญ้าหวาน อ้อย น้าํ ตาลกรวด น้ําตาลทรายแดง นาํ้ ผ้ึง 3. รสขม : บํารงุ โลหิตและดี เช่น ฝักเพกา มะระข้นี ก ดอกขเ้ี หล็ก ใบยอ สะเดา ผกั โขม มะเขือ ยอด มะรุม บอระเพด็ 4. รสเผด็ ร้อน : แก้ลมจุกเสยี ด แน่นเฟอ้ ขบั ผายลม บํารงุ ธาตุ เชน่ ดีปลี ใบแมงลัก ผกั คราดหวั แหวน ใบกระเพรา ใบชะพลู ขิง ข่า 5. รสหอมเยน็ : บาํ รุงหัวใจ ทําให้สดชน่ื ครรภ์รกั ษา แกเ้ สมหะโลหติ แกอ้ ่อนเพลยี เชน่ เตยหอม บัว พิกุล มะลิ แกว้ สารภี บนุ นาค 6. รสเปร้ียว : แก้ทางเสมหะ ฟอกโลหติ ชว่ ยระบาย เชน่ มะขาม มะนาว มะเฟือง ชะมวง มะดนั 7. รสมนั : แก้เสน้ เอ็นพกิ าร บํารุงไขขอ้ บํารุงเส้นเอน็ เปน็ ยาอายวุ ฒั นะ บาํ รุงเยอื่ กระดูก เชน่ เมล็ดบวั แห้วหมู ถ่วั ผกั กระเฉด สะตอ เนียง ถั่วพู ฟกั ทอง 8. รสเมาเบอ่ื : แก้พษิ ตา่ งๆ ขบั พยาธิ แกโ้ รคมะเร็ง เช่น เล็บมอื นาง ทองพันชงั่ สลอด กลอย หนอน ตายอยาก 9. รสเค็ม : แก้โรคทางผวิ หนงั ชาํ ระเมือกมนั ในลาํ ไส้ ฟอกโลหติ ดับพิษร้อน แก้รํามะนาด แกเ้ สมหะ เหนียว แกน้ ํ้าเหลอื งเสีย เช่น มะเกลือป่า เกลือแกง เกลอื สินเธาว์ เบย้ี จั่น ตน้ เหงือกปลาหมอ 10. รสมนั : แกเ้ ส้นเอน็ บาํ รงุ เสน้ เอ็น แก้ปวดเม่อื ยร่างกาย แก้ไขพ้ กิ าร แก้ปวดเข่าปวดข้อ http://site.google.com/site/ploy8768/.../smunphir-baeng-pen-ki-p-1 (23/09/58)  

8 ใบงาน จงตอบคาํ ถามตอ่ ไปนี้ 1. สมุนไพร หมายถึง........................................................................................................................................ .......................................................................................................................................................................... .......................................................................................................................................................................... .......................................................................................................................................................................... 2. ยาโบราณ หมายถงึ ........................................................................................................................................ .......................................................................................................................................................................... .......................................................................................................................................................................... .......................................................................................................................................................................... 3. เภสัชวตั ถุ มกี ี่ประเภทอะไรบ้าง จงอธิบาย................................................................................................... .......................................................................................................................................................................... .......................................................................................................................................................................... .......................................................................................................................................................................... 4. ธาตวุ ตั ถุหมายถงึ ............................................................................................................................................ .......................................................................................................................................................................... .......................................................................................................................................................................... 5. ลกั ษณะของพชื สมนุ ไพร ไดแ้ ก.่ ................................................................................................................... .......................................................................................................................................................................... .......................................................................................................................................................................... .......................................................................................................................................................................... 6. ลักษณะของราก มีก่ชี นิดอะไรบ้าง จงอธบิ าย.............................................................................................. .......................................................................................................................................................................... .......................................................................................................................................................................... .......................................................................................................................................................................... 7. รสฝาดของสมุนไพร มสี รรพคณุ อย่างไร จงอธิบาย..................................................................................... .......................................................................................................................................................................... .......................................................................................................................................................................... ..........................................................................................................................................................................  

9 บทท่ี 2 ประโยชนข์ องสมนุ ไพร แผนการเรียนรปู้ ระจาํ บท บทที่ 2 ประโยชน์ของสมุนไพร สาระสําคัญ 1. ประโยชนข์ องสมุนไพร 2. ประโยชนข์ องสมนุ ไพรอาหาร 3. ประโยชนข์ องสียอ้ มผา้ จากสมุนไพร 4. ประโยชนข์ องสผี สมอาหารจากสมุนไพร 5. ประโยชน์ของยารักษาโรคจากสมุนไพร ผลการเรยี นทีค่ าดหวัง 1. ทราบถึงประโยชนข์ องสมุนไพรในดา้ น - อาหาร - สยี ้อมผา้ - สีผสมอาหาร - ยารกั ษาโรค ขอบข่ายเนือ้ หา เมื่อศกึ ษาบทท่ี 1 จบแล้ว ผเู้ รียนสามารถ 1. อธบิ ายประโยชน์ ของสมนุ ไพรได้ 2. สามารถบอกประโยชน์ ในดา้ น ต่างๆ ของสมุนไพรได้ กจิ กรรมการเรียนรู้ 1. ทาํ แบบประเมนิ ผลตนเองก่อนเรียน บทท่ี 2 2. ศกึ ษาเอกสารการสอน บทที่ 2 3. ปฏบิ ตั กิ ิจกรรมตามทร่ี บั มอบหมายในเอกสารการสอน 4. ทาํ แบบประเมินผลตนเองหลังเรียน บทท่ี 2 สือ่ การสอน 1. เอกสารการสอน บทท่ี 2 2. ใบความรู้ 3. ใบงาน 4. หนงั สือ  

10 ประเมนิ ผล 1. ประเมินผลตนเองกอ่ นเรียนและหลังเรยี น 2. ประเมินผลจากการสอบประจําภาคการศกึ ษา 3. ประเมนิ ผลจากการสังเกตพฤติกรรมการมีส่วนรว่ ม  

11 เรือ่ งที่ 1 ประโยชนข์ องสมุนไพร 1. ใช้สกัดนํ้ามันหอมระเหย สมุนไพรในกลุ่มน้ีเป็นพวกท่ีมีนํ้ามันหอมระเหยอยู่ในตัว สามารถนํามา สกัดโดยวิธี นํามากล่ัน ซึ่งจะมีกลิ่นและปริมาณที่แตกต่างกันออกไป ข้ึนอยู่กับชนิดของสมุนไพร สมุนไพรที่ นํ้ามันหอมระเหยท่ีรู้จัก กันดี ได้แก่ ตะไคร้หอม น้ํามันตะไคร้หอมนํามาใช้ในอุตสาหกรรมผลิตสบู่ แชมพู นํา้ หอม และสารไล่แมลง ไพล นํ้ามันไพล ใชใ้ นผลติ ภณั ฑ์ครีมทาภายนอก ลดการอักเสบฟกชํ้า กระวาน นํ้ามัน กระวานใช้แต่งกล่ินเหล้า เคร่ืองดื่มต่างๆ และอุตสาหกรรมน้ําหอม พลู นํ้ามันพลู ใช้ในอุตสาหกรรม เครอ่ื งสาํ อาง หรอื เจลทาภายนอกแก้อาการคัน 2. ใช้เป็นยารับประทาน มีสมุนไพรหลายชนิดท่ีสามารถนํามาใช้รับประทานเพ่ือรักษาอาการของโรค ต่าง ๆ เช่น ได้แก่ แก้ไข เจ็บคอ บอระเพ็ด ฟ้าทะลายโจร แก้ท้องอึด ท้องเฟ้อ กระเพรา ไพล ขิง ระงับ ประสาท ขี้เหลก็ ไมยราพ ลดไขมนั ในเสน้ เลอื ด คาํ ฝอย กระเจ๊ียบแดง กระเทยี ม 3. ใช้เป็นยาทาภายนอก เป็นสมุนไพรที่มีสรรพคุณบําบัดโรคที่เกิดตามผิวหนัง รวมทั้งแผลท่ีเกิดใน ช่องปาก ได้แก่ รักษาแผลในปาก บัวบก หว้า โทงเทง ระงับกลิ่นปาก ฝรั่ง กานพลู แก้แพ้ ผักบุ้งทะเล เสลดพังพอน ตําลงึ เท้ายายม่อม รักษาแผลนาํ้ ร้อนลวก บัวบก ยาสูบ วา่ นหางจระเข้ งูสวดั ตําลึง พุดตาน ว่าน มหากาฬ เสลดพังพอน 4.ใช้ทาํ เปน็ สว่ นผสมของอาหารและเครื่องดื่ม เป็นเครื่องดื่มที่สกัดจากธรรมชาติท่ียังให้ประโยชน์ใน การรักษาโรค ควบคู่ไปด้วย ได้แก่ บุก ให้ประโยชน์ในการดูดจับไขมันจากเส้นเลือด ลดน้ําหนัก ส้มแขก ดูด ไขมัน ลดนาํ้ หนัก หญา้ หนวดแมว ลดน้ําหนกั บาํ รงุ สุขภาพ 5. ใช้ทําเครื่องสําอาง มีสมุนไพรหลายชนิดในปัจจุบันท่ีนิยมใช้เป็นส่วนผสมของเคร่ืองสําอาง และ ได้รับความนิยมอย่างดี เนื่องจากผู้ใช้ม่ันใจว่าปลอดภัยมากกว่าการใช้สารเคมี ได้แก่ ว่านหางจระเข้ อัญชัน มะคําดีควาย โดยนาํ มา ใช้เปน็ ส่วนผสมของแชมพู ครมี นวดผม สบู่ โลชั่นบํารงุ ผวิ 6. ใช้เป็นผลิตภัณฑ์ป้องกันกําจัดศัตรูพืช มักเป็นสมุนไพรจําพวกที่มีฤทธิ์เบื่อเมา หรือมีรสขม ข้อดี คือไม่มีฤทธิ์ตกค้าง ที่เป็นพิษต่อสิ่งแวดล้อม ได้แก่ สะเดา ยาสูบ ตะไคร้หอม ไพล เป็นต้น 7. ใช้บริโภคเป็นอาหารและเครื่องเทศ สมุนไพรในกลุ่มน้ีจัดว่าเป็นพืชผักสมุนไพร นั่นเองสามารถ นํามารับประทาน ให้คุณค่าทางอาหาร เพ่ิมรสชาติ ดับกล่ินคาว และยังช่วยย่อยอาหาร ได้แก่ กระเพรา โหระพา แมงลัก ผักชี สะระแหน่ ขิง ข่า กระชาย บางชนิดเป็นพืชผักสมุนไพรเมืองหนาว เช่น พาร์สเร่ย์ หรือ ผักชีฝร่ัง เฟนเนล (ผักชีลาว) เปบเปอร์ม้ินท์ ออริกาโน่ ทีม ไชฟ์ ดิล มาร์เจอร์แรม เซจ ซึ่งส่วนใหญ่เป็นพืชพุ่ม เต้ีย ใชส้ ว่ นของใบมาทานสด หรอื เป็นเครื่องเทศ ชูรส เปน็ ตน้ 8.ปลอดภัย สมุนไพรส่วนมากมีฤทธิ์อ่อน ไม่เป็นพิษหรือมีอาการข้างเคียงมาก แตกต่างกับยาแผน ปัจจุบันท่ีบางครง้ั จะมฤี ทธิ์เฉยี บพลนั ถา้ บริโภคเกนิ ขนาดเพียงเล็กน้อยอาจเสยี ชวี ิตได้ 9. ประหยัด ราคาของสมุนไพรถูกกว่ายาแผนปัจจุบันมาก เนื่องจากเป็นทรัพยากรที่มีอยู่แล้ว จึง ควร อย่างยิ่งที่เราจะนํามาใช้ให้เป็นประโยชน์เพิ่มมากข้ึน ทั้งยังช่วยกันลดดุลการค้าที่เสียเปรียบต่างประเทศ เป็น การสอดคล้องกับภาวะเศรษฐกิจของชาตอิ กี ด้วย 10. เหมาะสําหรับผู้ที่อยู่ห่างไกล คนไข้ที่อยู่ตามชนบท บางครั้งไม่สามารถมารับบริการจากสถาน บริการทางการแพทย์แผนปัจจุบันได้ควรใช้สมนุ ไพรที่เชอ่ื ถือได้รกั ษาโรค 11. ไม่ต้องกลัวปัญหาขาดแคลนยา ปัจจุบันมียาหลายตัวที่ทํามาจากวัตถุเคมีท่ีได้จากผลิตผลของ นํ้ามัน ซึ่งปัจจุบันน้ํามันก็เร่ิมจะขาดแคลนทําให้ทุกสิ่งทุกอย่างถูกกระทบกระเทือนรวมไปถึงการรักษาโรค เรา จึงต้องศึกษาเก่ียวกบั ยาสมนุ ไพรและนาํ มาใช้ใหเ้ ป็นประโยชนม์ ากขน้ึ  

12 12. เป็นพืชเศรษฐกิจ ส่งเสริมการปลูกสมุนไพรที่ใช้ในประเทศ และเพื่อการส่งออกอย่างจริงจัง และ ต้องคํานึงถึงผลผลิตท่ีมีคุณภาพดีและต้นทุนต่ําสําหรับการส่งออกในรูปของสารสกัด ทําให้ได้ราคาดีกว่าการ สง่ ออกในรูปวตั ถุดบิ 13. เป็นการอนรุ ักษม์ รดกไทย ให้ประชาชนในแต่ละท้องถ่ิน รู้จักช่วยตนเองในการ นําพืชสมุนไพรใน ท้องถ่นิ ของตนมาใชใ้ ห้เกิดประโยชน์ตามแบบแผนโบราณ 14. ทําใหค้ นเหน็ คณุ คา่ และกลบั มาดาํ เนินชีวิตใกล้ชดิ ธรรมชาติยิ่งข้นึ 15. ทําใหเ้ กดิ ความภมู ใิ จในวฒั นธรรม และคณุ ค่าของความเป็นไทย เร่ืองท่ี 2 ประโยชน์ของสมนุ ไพรอาหาร 1. สามารถรักษาโรคบางชนิดได้ โดยไม่ต้องใช้ยาแผนปัจจุบัน ซึ่งบางชนิดอาจมีราคาแพง และต้องเสีย ค่าใช้จา่ ยมาก อกี ท้ังอาจหาซอ้ื ได้ยากในทอ้ งถ่นิ น้นั 2. ให้ผลการรกั ษาไดด้ ีใกลเ้ คยี งกับยาแผนปจั จบุ ัน และใหค้ วามปลอดภยั แก่ผู้ใช้มากกวา่ แผนปัจจบุ ัน 3. สามารถหาไดง้ ่ายในทอ้ งถน่ิ เพราะส่วนใหญ่ได้จากพชื ซ่งึ มีอยทู่ ่วั ไปทัง้ ในเมืองและ ชนบท 4. มีราคาถกู สามารถประหยดั ค่าใช้จ่ายในการซ้ือยาแผนปจั จบุ ัน ที่ตอ้ งสง่ั ซื้อจากต่างประเทศเปน็ การลด การขาดดุลทางการค้า 5. ใช้เปน็ ยาบาํ รุงรกั ษาใหร้ ่างกายมีสขุ ภาพแข็งแรง 6. ใช้เปน็ อาหารและปลูกเปน็ พืชผกั สวนครัวได้ เช่น กะเพรา โหระพา ขิง ข่า ตาํ ลึง 7. ใช้ในการถนอมอาหารเชน่ ลกู จนั ทร์ ดอกจนั ทร์และกานพลู 8. ใช้ปรุงแต่ง กล่ิน สี รส ของอาหาร เช่น ลูกจันทร์ ใช้ปรุงแต่งกลิ่นอาหารพวก ขนมปัง เนย ไส้กรอก แฮม เบคอน 9. สามารถปลูกเป็นไม้ประดบั อาคารสถานทีต่ า่ ง ๆ ใหส้ วยงาม เชน่ คูน ชุมเห็ดเทศ 10. ใช้ปรุงเป็นเครอ่ื งสําอางเพื่อเสริมความงาม เชน่ ว่านหางจระเข้ ประคําดคี วาย 11. ใช้เป็นยาฆา่ แมลงในสวนผัก, ผลไม้ เช่น สะเดา ตะไคร้ หอม ยาสูบ www.angelfire.com/ri2/rangsan/important.html (23/09/2558)  

13 สมุนไพรให้สี เร่อื งท่ี 3 ประโยชนข์ องสีย้อมผา้ จากสมนุ ไพร การย้อมสีเขียวจากเปลือกต้นเพกา เอาเปลือกเพกามาหั่น หรือสับให้เป็นช้ินเล็กๆนําไป ต้ม 20 นาที ชอ้ นเอาเปลือกออก ต้มเถาถ่ัวแปบเอาแต่น้ําใสเติมลงไปใส่นํ้ามะเกลือกเล็กน้อย ใส่ปูนขาวและ ใบส้มปอ่ ยผสมลงไป ท้งิ ไวส้ ักพกั แล้วกรองใหเ้ หลือแต่น้าํ สพี รอ้ มท่ีจะยอ้ ม นําเอานํ้าย้อมตั้งไฟพออุ่น นําด้าย ฝ้ายซ่ึงซุบนํ้าบิดพอหมาด จุ่มลงในอ่างย้อม ต้มต่อไปนาน 20 นาทีจนได้สีที่ต้องการ ยกด้ายฝ้ายออก ซัก นาํ้ สะอาดใสร่ าวกระตุกตากจนแห้ง จะได้สเี ขียวตามต้องการ การย้อมสีดําจากเปลือกสมอ ให้เอาเปลือกสมอมาต้มเค่ียวให้แห้งจนงวดพอสมควร รินเอาแต่นํ้าใส่ หม้อดิน เอาด้ายฝา้ ยท่ีเตรยี มไวล้ งย้อมขณะทนี่ า้ํ สยี งั ร้อนอยู่ จะไดส้ ดี ําแกมเขียวเขม้ ถา้ ต้องการไดส้ ีเขยี ว ใช้ ด้ายฝ้ายท่ผี า่ นการย้อมสีครามมายอ้ มจะได้สีเขยี วตามตอ้ งการ การย้อมสีเขียวจากเปลือกสมอ เอาเปลือกสมอมาต้มเค่ียวให้แห้งพอสมควร รินเอาแต่นํ้าใส่หม้อ ดิน เอาด้ายฝ้ายท่ีผ่านการย้อมครามมาครั้งหนึ่งแล้ว ลงไปย้อมในนํ้าสีที่ยังร้อนอยู่ ต้มต่อไปประมาณ 1 ช่วั โมง หมัน่ กลบั ด้ายฝ้ายไปมา เพื่อให้สีดูดซึมอย่างสม่ําเสมอ พอได้สีตามต้องการยกด้ายฝ้ายข้ึนกระตุก ตาก ให้แห้งจะไดส้ เี ขียวตามตอ้ งการ การยอ้ มสจี ากเปลือกรกฟ้า โดยการแช่เปลือกต้นรกฟ้าในปริมาณพอสมควรไว้นาน 3 วันแล้วตั้งไฟ ต้มให้เดือด จนเห็นว่าสีออกหมดดีแล้ว จึงเทนํ้าย้อมใส่ลงในอ่างย้อมหมักแช่ไว้ 1 คืน นําเอาเปลือกไม้ผึ่ง แดดจนแห้ง เกบ็ ไวใ้ ชต้ อ่ ไป สเี ปลือกไมน้ ถี้ า้ ถูกตม้ จะกลายเป็นสดี ําได้ การย้อมสีกากีแกมเขียวจากเปลือกเพกากับแก่นขนุน เอาเปลือกเพกาสดๆมาล้างน้ํา ผ่ึงแดด สัก 2-3 แดด พักท้ิงไว้ เอาแก่นขนุนหั่นหรือไสให้เป็นช้ินบาง ๆ แบ่งเอามา 1 ส่วน ผสมกับเปลือก เพกา 3 ส่วน ต้มเค่ียวให้น้ําเดือดแล้วกรองเอาแต่นํ้า เวลาย้อมเติมนํ้าสารส้มเล็กน้อยเพ่ือให้สีติดดีและ ทนทาน การย้อมเอาด้ายฝ้ายซ่ึงชุบนํ้าแล้วบิดพอหมาดลงในอ่างย้อมหม่ันกลับด้ายฝ้ายไปมาเพ่ือให้สีติด สม่าํ เสมอ ไม่ดา่ ง จึงยกดา้ ยฝา้ ยขึน้ ซักนํ้าให้สะอาดบดิ กระตกุ ตาก  

14 การย้อมสีน้ําตาลแก่จากเปลือกไม้โกงกาง นําเอาเปลือกไม้โกงกางที่แห้งพอหมาด มาล้างน้ําให้ สะอาด แช่น้ําไว้ 1 คืน แล้วต้มเคี่ยวไว้ 2 วัน กรองเอาแต่น้ําย้อมใส่สารเคมีไฮโดรเจนซัลไฟต์ ผสมลงใน น้ําย้อมเล็กน้อย เพ่ือให้สีติดดีขึ้น เอาด้ายฝ้ายท่ีชุบนํ้าพอหมาดจุ่มลงในน้ําย้อม ต้ังไฟต้มนาน 30 นาที ยก ด้ายฝา้ ยข้นึ ซักนํ้า บดิ ใหแ้ ห้ง กระตุกด้ายฝา้ ยใหก้ ระจาย ตากแดด การยอ้ มสเี ปลอื กไมโ้ กงกาง แช่เปลือกไม้โกงกางในปริมาณพอสมควรไว้นาน 3 วัน แล้วตั้งไฟต้มให้ เดือด จนเห็นว่าสีออกหมดดีแล้ว จึงเทน้ําย้อมใส่ลงใสอ่างย้อม หมักแช่ไว้ 1 คืน นําเอาเปลือกไม้ผ่ึงแดด จนแหง้ เก็บไวใ้ ชต้ ่อไป สเี ปลือกไมน้ ถี้ ้าถูกตม้ จะกลายเป็นสีดาํ ได้ แตท่ นนํา้ เค็ม การย้อมสีด้วยรากยอ เอารากยอแห้งที่มีอายุสักหน่อย เพื่อจะให้ได้สีเข้มมาสับหรือหั่นเป็นช้ินเล็ก ๆ นําไปต้มนํ้าเดือด น้ําสีจะเป็นสีแดงจึงยกลง กรองเอาแต่นํ้าสี นําเอาด้ายฝ้ายซ่ึงเตรียมจะย้อมชุบน้ําให้เปลือก พอหมาดลงแช่ในนํ้าสีประมาณ 30 นาที หรือกว่านั้น หม่ันยกด้ายฝ้ายกลับไปกลับมาเพ่ือให้สีติดด้ายฝ้าย อย่างทั่วถึง แล้วนําด้ายฝ้ายที่ย้อมข้ึนจากหม้อบิดพอหมาด นําไปล้างน้ําสะอาด แล้วผ่ึงให้แห้ง จะได้ด้าย ฝ้ายทย่ี อ้ มเปน็ สแี ดงตามตอ้ งการ การย้อมสีด้วยเมล็ดคําแสด วิธีเตรียมสีจากเมล็ดคําแสด แกะเมล็ดออกจากผลท่ีแก่จัด แช่น้ําร้อน หมักทิ้งไว้หลาย ๆ วัน จนสารสีตกตะกอน แยกเมล็ดออก นํานํ้าสีท่ีได้ไปเคี่ยวจนงวดเกือบแห้งแล้วนําไปตาก แดด จนแหง้ เปน็ ผงเก็บไวใ้ ช้ วิธีย้อมสีผ้าฝ้าย ละลายสีเช่นเดียวกับการย้อมผ้าฝ้าย แต่นําผ้าไหมท่ีต้องการย้อมแช่ไว้ ประมาณ 1 ชั่วโมง และเติมสบู่ลงเล็กน้อยลงไปในสีที่ใช้ย้อม ถ้าต้องการให้ผ้ามีสีเหลืองเพิ่มขึ้นให้เติม กรด tataric ลงไปเลก็ น้อย ผ้าท่ีย้อมด้วยสีจากเมลด็ คําแสดท่ีจะไมต่ กง่ายเม่อื ถกู บั สบู่ หรอื กรดอ่อน ๆ การย้อมสีดําจากลูกมะเกลือ นําเอาลูกมะเกลือมาตําละเอียด แล้วแช่ในนํ้า ในน้ําที่แช่น้ีเอาราก ลําเจียก หรือต้นเบงตําปนกับลูกมะเกลือ แล้วเอาด้ายฝ้ายท่ีลงนํ้าแล้วบิดพอหมาดลงย้อมในนํ้าย้อม สัก 3-4 ครั้ง การย้อมทุกคร้ังต้องตากแดดให้แห้งจนเห็นว่าดําสนิทดี ถ้าต้องการให้ผ้าเป็นเงาใช้งาดําตํา ละเอยี ด นาํ ดา้ ยฝ้ายมาคลุกเคลา้ ใหท้ วั่ ผ่ึงไวส้ กั พกั กระตุกตาก การย้อมอีกวิธีหน่ึงคือ เอาลูกมะเกลือที่แช่นํ้าทิ้งไว้นั้นในปริมาณที่ต้องการมาตําให้ละเอียดพร้อมกับ ใบหญ้าฮ่อมเก่ียวแล้วเอาไปแช่ในน้ําด่าง (ได้จากต้นมะขามเผาไฟให้เป็นข้ีเถ้า แล้วละลายนํ้ากรอง เอานํ้าใสๆ จะได้น้ําย้อมที่ต้องการ) นําเอาด้ายฝ้ายที่ลงนํ้าบิดพอหมาด จุ่มลงในอ่างย้อม ใช้มือช่วยบีบฝ้าย เพ่ือให้สดี ูดซมึ อย่างทวั่ ถึง ปล่อยท้ิงสกั พักแล้วยกข้นึ จากอา่ งน้ําย้อม ซักให้สะอาดกระตุกตากใหแ้ ห้ง การยอ้ มสแี ดงจากดอกคาํ ฝอย นาํ ดอกคําฝอยมาตาํ ให้ละเอียด ห่อดว้ ยผา้ ขาวบางผสมนํ้าด่างเพ่ือให้ เกดิ สี (นาํ้ ดา่ งได้จากการนําต้นผักขมหนามที่แก่จนเป็นสีแดงหรือน้ําตาลมาตากให้แห้งสนิทแล้วนําไปเผาไฟให้ เป็นขเ้ี ถ้า ผสมกับนํ้าทิ้งให้ตกตะกอน รินเอาแต่น้ําใส ๆ มาผสมกับสี) ส่วนวิธีย้อมทําโดยนําดอกคําฝอยมาต้ม ให้นํ้าออกมาก ๆ จนเหนียว เก็บน้ําสีไว้ จากน้ันเอาแก่นไม้ฝางมาไสด้วยกบบาง ๆ แล้วต้มให้เดือดนาน ประมาณ 6 ชั่วโมง ช้อนกากทิ้ง เวลาจะย้อมฝ้าย นําเอานํ้าย้อมท่ีต้มแล้วท้ังสองอย่างมาเทรวมเข้า ดว้ ยกัน แลว้ เตมิ สารส้มลงไปเล็กนอ้ ย คนให้เขา้ กันดีนาํ ฝ้ายทช่ี บุ นํา้ และตีเสน้ ใหก้ ระจายลงยอ้ มในอา่ งย้อม การย้อมสีเขียวจากใบหูกวาง เอาใบหูกวางมาตําค้ันเอาแต่น้ําสีกรองให้สะอาดต้มให้เดือดเอาฝ้ายที่ เตรียมไว้ ลงย้อมจะได้เป็นสีเขียวอ่อน หมั่นยกด้ายฝ้ายกลับไปกลับมา เพ่ือไม่ให้ด้ายฝ้ายด่าง และสีย้อมจะ ไดต้ ิดทวั่ ถึง พอได้ความเข้มของสีตดิ ดา้ ยฝ้ายตามต้องการจงึ ยกข้นึ บิดพอหมาด ซักน้าํ สะอาดผ่งึ ใหแ้ ห้ง การย้อมสีจากคราม ตัดต้นครามมาม้วนและมัดเป็นฟ่อน ๆ นําไปแช่นํ้าไว้ในภาชนะที่เตรียมไว้ ประมาณ 2-3 วัน จนใบครามเปื่อย จึงแก้มัดครามออกเพ่ือให้ใบครามหลุดออกจากลําต้น นําลําต้นทิ้งไป เอาปูนขาวในอัตราส่วนที่เหมาะสมกันกับนํ้าที่แช่ครามผสมลงไปแทนต้นคราม จากน้ันนําเอาขี้เถ้าซ่ึงได้จาก  

15 เหง้ากลว้ ยเผาจนดํา ผสมลงไป ท้งิ ไว้ประมาณ 2-3 คนื จนกว่านาํ้ ทกี่ วนใส รนิ น้ําท่ใี สออกท้งิ จะได้นํ้าสีคราม ตามต้องการ อาจใช้ผ้าขาวบางกรองเพ่ือจะได้น้ําสีครามท่ีละเอียด นําด้ายไปขยําในหม้อคราม พยายามอย่า ให้ด้ายฝ้ายพันกัน ให้นํ้าสีกินเข้าไปในเน้ือด้ายฝ้ายอย่างท่ัวถึง จนกระทั่งได้สีเข้มตามต้องการ จึงยกด้ายฝ้าย ขึ้นจากหมอ้ บดิ ใหห้ มาดลา้ งนํา้ สะอาด นาํ ไปขน้ึ ราวตากใหแ้ ห้ง การย้อมสีชมพูจากต้นมหากาฬและต้นฝาง เอาเปลือกของต้นมหากาฬมาสับให้ละเอียดต้มในน้ํา เดือดประมาณ 1 ชั่วโมง แล้วช้อนเอาเปลือกออก เติมไม้ฝางซ่ึงผ่าเป็นช้ินเล็ก ๆ ลงไปต้มในน้ําเดือด นาน 1 ช่วั โมง เตมิ ใบสม้ ปอ่ ยลงไปอกี 1 กาํ ต้มต่อไปอีกเล็กน้อย ช้อนเอากากออกแล้วเติมนํ้าด่างลงไป จะได้ นาํ้ ยอ้ มสชี มพูจึงเอาด้ายฝ้ายที่ชุบน้ําบิดพอหมาด จุ่มลงไปในอ่างย้อม ตั้งไฟต้มนาน 30 นาที ยกขึ้นจากอ่าง ย้อมนําไปซกั นํ้าบดิ ให้แหง้ กระตกุ ให้เสน้ ดา้ ยกระจายตากแดด การย้อมสีเหลืองจากแก่นขนุน นําแก่นขนุนท่ีแห้งแล้วมาห่ันหรือไสด้วยกบเบา ๆ ใช้มือขยําให้ป่น ละเอียด ห่อด้วยผ้าขาวบาง แล้วต้มประมาณ 4 ชั่วโมง ดูว่าสีนั้นออกตามความต้องการหรือยังเม่ือใช้ได้ช้อน เอากากท้ิงกรองเอานํ้าใสเติมนํ้าสารส้มเล็กน้อย เพ่ือให้สีติดดี เอาด้ายฝ้ายซึ่งชุบนํ้าพอหมาด จุ่มลงในอ่างย้อม กลบั ด้ายฝา้ ยไปมานาน 1 ชว่ั โมง เอาข้นึ จากอ่างยอ้ ม ซักนํ้าสะอาดกระตกุ ตาก การย้อมสีเหลืองจากแก่นแกแล ใช้ส่วนของแก่นแกเลย้อมผ้าจะได้สีเหลือง ซึ่งจะมีสารสีเหลือง ชื่อ Morin อยู่ประมาณ 1% ให้นําเอาแก่นแกแลมาตากให้แห้งแล้วผ่าให้เป็นชิ้นเล็กๆ ใส่หม้อต้มเดือด จนนํ้า ต้มสีเป็นสีเหลืองจึงยกลง และนําเอาไปกรองเก็บน้ําสีไว้ เอาแกแลท่ีกรองไว้ไปต้มน้ําให้เดือดต่อไปจนได้น้ําสี จากแกแล ซึ่งสีอ่อนกว่าหม้อแรก เก็บนํ้าสีไว้ทําแบบเดียวกัน จนได้นํ้าสีครบ 3 หม้อ จะได้นํ้าสีอ่อนสุดถึงแก่ สุด นําเอาด้ายฝ้ายท่ีเตรียมไว้ลงย้อมในน้ําสีหม้อที่ 3 ซึ่งเป็นสีอ่อนสุดยกด้ายฝ้ายกลับไปกลับมาเพ่ือให้นํ้าสี เข้าไปในเน้ือฝ้ายได้ท่ัวถึงไม่ด่าง ทิ้งไว้สักพักจึงยกด้ายฝ้ายข้ึนบิดพอหมาด นําไปย้อมในหม้อท่ี 2 และหม้อ ที่ 1 ทําแบบเดยี วกัน จนย้อมไดค้ รบ 3 หมอ้ นําด้ายฝ้ายข้ึนซักน้ําสะอาดจนสีไม่ตก เอาเขา้ รางผงึ่ ให้แห้ง สีย้อมผ้าจากกระเพรา การใช้กะเพรามาสกัดเป็นสีย้อมผ้าในสิ่งทอสามารถใช้ได้ท้ังส่วนของ ต้น ใบ ยกเว้นรากเท่านั้น น้ําที่สกัดได้จะได้สีโทนสีเขียวหลายเฉดแตกต่างกันไป ตามลักษณะของใบและต้นกะเพราท่ี นําไปสกัดสีที่ได้สามารถย้อมได้ทั้งผ้าไหมผ้าฝ้าย ย้อมได้ท้ังผ้าที่ทอแล้ว และเส้นใยสีท่ีได้จะให้สีตามธรรมชาติ ทั้งนี้เม่ือนําไปทดสอบประสิทธิภาพด้วยการซัก ความทนต่อแดด และการขัดถูก็พบว่าอยู่ในระดับดีท่ีสําคัญสีท่ี สกดั และการย้อมสีจากการสกัดกะเพรานัน้ ไม่ทาํ ลายสง่ิ แวดลอ้ ม เรอื่ งท่ี 4 ประโยชนข์ องสผี สมอาหารจากสมุนไพร ในอาหารหรือขนมที่เรารับประทานเข้าไปทุกๆ วันนี้ เคยสังเกตกันไหมว่าสีสวยๆ เหล่าน้ันมาจากสาร ปรุงแตง่ หรือเกิดจากธรรมชาติ ทกุ วนั นอ้ี าหารที่มีสีสันสวยงามเกือบทกุ อยา่ งโดยเฉพาะขนมต่าง ๆ ล้วนจะเป็น สีท่ีได้จากผลิตภัณฑ์ที่สังเคราะห์ข้ึนมาเกือบท้ังน้ัน และเป็นภัยต่อร่างกายของมนุษย์โดยเฉพาะเด็กๆ ท่ีมี ภูมิต้านทานตํ่า ถ้ารับประทานไปมากๆ จะสะสมในร่างกายเป็นภัยร้ายอีกอย่างหนึ่งท่ีน่ากลัว เราควรจะ หลีกเลี่ยงสีเหล่าน้ัน ถ้ายังยึดติดสีสันเหล่าน้ัน เราควรจะหันมาใช้สีจากพืชสมุนไพรกันดีกว่า ปลอดภัยและให้ คุณค่าทางอาหาร พืชสมนุ ไพรท่ใี หส้ นี ้ันมีดงั นี้ 1. กระเจี๊ยบแดง สมุนไพรรสเปร้ียว ชื่อของสมุนไพรชนิดนี้บอกชัดเจนว่าให้สีอะไร ส่วนการได้มาซ่ึงสี แดงนน้ั ไมย่ าก เพยี งแค่นํากระเจี๊ยบแดงทเี่ กบ็ มาจากตน้ ลา้ งนํ้าให้สะอาด เอาฝุ่นออก ตัดกลีบเลี้ยงท้ิง พักไว้ให้ สะเดด็ น้ํา ต้มนาํ้ ร้อนใหเ้ ดอื ดหลงั จากน้ันนํากระเจ๊ยี บท่ีล้างเตรียมไว้ใส่ลงไป ทิ้งไว้สักครู่จนน้ําเดือด ก็จะได้นํ้าสี แดงสด นํามากรองเอาเศษฝุ่น หรือเศษจากกลีบกระเจ๊ียบออกไป นํ้าท่ีได้สามารถนําไปผสมในอาหารได้เลย  

16 หรือจะนาํ มาต้มตอ่ ใส่นาํ้ ตาล ปรงุ รสตามความชอบจะได้นํ้ากระเจ๊ียบรสชาดเปร้ียวอมหวาน เอาไว้ทําเคร่ืองดื่ม เยน็ ไว้ด่มื ดบั กระหาย คลายร้อนได้ สรรพคุณ: กระเจ๊ยี บนัน้ ชว่ ยขับปัสสาวะ, ลดความดัน, ชว่ ยในการระบาย ป้องกนั เลือดออกตามไรฟัน 2. คําแสด ใครหลายๆ คนเมื่อได้ยินชื่อแล้วคงจะสงสัยว่าต้นไม้พุ่ม ดอกสวยต้นนี่ จัดเป็นสมุนไพรให้สีได้ อย่างไร ไม่ต้องแปลกใจ คําแสดมีผล เป็นรูปสามเหล่ียมปลายแหลม มีขนสีแดงเข้มหนาทึบคล้ายผลเงาะ เมื่อ ผลแกจ่ ดั จะแตกเปน็ 2 ซีกจะพบวา่ ภายในผลท่ีแตกนั้นมีเมล็ดกลมๆ เลก็ ๆ สีน้าํ ตาล มเี นื้อหุ้มเมล็ดสีแดงหรือสี แสด ส่วนน้ีท่ีจะให้สี ซึ่งสีท่ีได้น้ันก็คือ สีแดงค่อนไปทางส้ม หรือสีแสด วิธีการทําสีจากคําแสดนั้นคือ แกะเมล็ด ออกจากผลท่ีแก่จัด นํามาแช่น้ําร้อนแล้วหมักทิ้งไว้ (ไม่กําหนดระยะเวลาแน่นอน) จนสีท่ีออกมาตกตะกอน หลังจากนั้นแยกเมล็ดออก และนําน้ําสีที่ได้ไปตั้งไฟ เค่ียวจนนํ้างวดจนเกือบแห้ง หลังจากนั้นนําน้ําไปตากแดด จนแห้งเป็นผง สามารถเกบ็ ผงนัน้ ไว้สาํ หรับใชต้ ่อไป สรรพคุณ: - เมล็ด มคี ณุ สมบตั เิ ป็นยาระบายออ่ นๆ ชว่ ยลดไข้ฝาดสมาน - ดอก สามารถใชเ้ ปน็ ยาบํารุงเลอื ด แกโ้ ลหติ จาง แกแ้ สบรอ้ นคัน ตามผวิ หนงั และยังชว่ ย รกั ษาโรคไตผิดปกติ แก้อาการบิด แก้พิษฝากสมาน - ใบ ใชแ้ ก้โรคดีซ่าน แก้เจบ็ คอ ช่วยลดไข้ แก้โรคบิดและชว่ ยขบั ปัสสาวะ - เนือ้ ห้มุ เมล็ด ใชเ้ ป็นยาระบายและขบั พยาธิ แกโ้ รคผวิ หนงั ใชแ้ ต่งสอี าหาร และเนย - เปลือกราก ใช้ปอ้ งกนั ไข้มาเลเรีย ลดไข้ และโรคหนองใน นอกจากจะนาํ สีท่ไี ด้มาทําสผี สมอาหารแล้ว ยังสามารถนําใช้สาํ หรบั ยอ้ มผ้าฝ้ายและผ้าไหมไดอ้ กี ดว้ ย  

17 3. ฝาง สมุนไพรชนิดนี้ให้สีแดงเช่นเดียวกับกระเจี๊ยบ แต่เดิมนั้นคนโบราณใช้สีแดงจากฝางใน ชีวิตประจาํ วนั กันอยู่แล้ว เพราะสีทีไ่ ด้สามารถใชบ้ ริโภคก็ได้ หรือจะนํามาทําสีสําหรับย้อมผ้าก็ได้เช่นกัน ส่วนที่ ใหส้ ีแดงก็คือ แกน่ ไม้ หรือ เนอ้ื ไม้ใช้วิธีนํามาตม้ ใหอ้ อกสี และนาํ สีนนั้ ไปใชง้ านต่อ สแี ดงจากฝางน้ันแทรกซึมอยู่ ในชีวิตประจําวันของใครหลายคนมานานแล้ว น่ันก็คือสีแดงในน้ํายาอุทัย ที่ใช้หยดใส่น้ําด่ืม เพื่อเพิ่มความสด ช่ืน อีกทั้งบริษัทที่ผลิตสิ่งน้ีได้เจาะตลาดเครื่องสําอาง โดยการผลิตเคร่ืองสําอางแต่งแต้มสีปาก สีแก้ม ให้สวย สดใส ไรพ้ ิษภัย สรรพคณุ : ช่วยบาํ รงุ โลหิตสตรชี ่วยให้ประจําเดือนมาปกติ, แก้อาการปอดพกิ าร, แก้โรคคดุ ทะราด, ช่วยทาํ ใหโ้ ลหิตเยน็ , แก้โลหติ ออกทางทวารหนักและทวารเบา, แกอ้ าการเลือดกําเดา, แกอ้ าการตกเลือด, บรรเทาอาการทอ้ งร่วง, แก้ไอ, ชว่ ยรักษาโรคผวิ หนงั บางชนดิ , ช่วยขับเสมหะ, แกไ้ ข, แกอ้ าการหอบ, ฟกช้าํ , ชว่ ยฟอกโลหิต 4. อญั ชัน สมุนไพรข้างร้ัว ไม้เล้ือยให้ดอกสีสวย น่ารัก สมุนไพรพื้นบ้านท่ีใครหลายๆ คนรู้วิธีสกัดเอา สีออกมาใชก้ นั อยู่แลว้ ซึ่งสที ีไ่ ด้ก็คอื สนี ํ้าเงิน ตั้งแต่โบราณมา จะนําดอกอัญชัญมาต้มในนํ้าเดือด แล้วกรอกเอา ดอกที่หมดสีแล้วออก หลังจากน้ันจะนําสีที่ได้จากดอกอัญชันมาผสมในอาหารคาว และอาหารหวาน หรือไม่ก็ นํามาใช้ด่ืมได้ทันที โดยการเติมน้ําเช่ือมเพ่ือเพ่ิมความหวาน และหากบีบมะนาวลงไปเพียงเล็กน้อยจะได้ เครื่องดื่มสีม่วงสวยแก้วพิเศษอีกด้วย หรือจะนําน้ําสีม่วงที่ได้มาผสมในขนมก็ได้ นอกจากน้ันยังใช้เป็น ยา สระผม เพราะอัญชันชว่ ยให้สผี มดกดํา ภูมิปญั ญาน้ีไดถ้ ูกนําไปปรบั ใช้กับเด็กทารก พ่อแม่นิยมนําดอกอัญชันมา ขยี้ให้เกดิ สี แล้วนํามาทาค้วิ ของเดก็ เพราะเชื่อว่าจะทําให้เด็กมีขนคิว้ ดกดาํ สรรพคุณ: ชว่ ยดับกระหาย, บาํ รงุ สายตา, แก้อาการตาฟาง, ตามวั เป็นยาระบายออ่ นๆ, ช่วยขับ ปัสสาวะ  

18 5. กรรณิการ์ สมุนไพรดอกจ๋ิว น่ารัก กลิ่นหอมแรงขัดแย้งกับขนาดดอก เห็นเป็นดอกไม้สีขาวเล็กๆ น่าทะนถุ นอมแบบนี้ กลบั ให้สีแสดสดใสได้อยา่ งไมน่ ่าเชื่อ เพราะส่วนทใ่ี ห้สีนน้ั อยู่บริเวณก้านดอก ต้ังแต่โบราณ มานั้นนิยมนําสีที่ได้จากดอกกรรณิการ์มาทําผสมในอาหารหรือขนม อีกทั้งยังนําไปเป็นสีสําหรับย้อมผ้า ทําให้ ไดผ้ า้ สสี ดสวย แปลกตา อกี ดว้ ย สรรพคุณ: กรรณิการ์มีสรรพคุณรอบต้นตั้งแต่ใบยันราก ใบช่วยบํารุงน้ําดี ดอกช่วยแก้ไข้ แก้อาการ วิงเวียน รากช่วยบํารงุ ธาตุ บํารงุ กําลงั แก้ผมหงอก ช่วยบาํ รงุ ผวิ หนงั ให้สดใส 6. ขมิ้น สมุนไพรหลังบ้าน ปลูกง่าย ใช้ง่าย ทราบกันดีอยู่แล้วว่าขม้ินนั้นให้สีเหลือง โดยท่ีได้นั้นมา จากแก่น เหง้า หรือหัวขมิ้นน่ันเอง โดยคนโบราณจะนําขมิ้นมาตําให้แหลก แล้วคั้นเอาแต่น้ํา นํามาย้อมผ้า จะ ได้ผ้าสีเหลืองสด นอกจากน้ียังมาใช้เป็นส่วนผสมในเครื่องแกงสําหรับทําแกงเหลือง หรือนําไปทําอาหารชนิด อ่ืนๆ และเพื่อความงาม ยังสามารถนําขมิ้นมาผสมในเคร่ืองประทินผิว เช่น ดินสอพอง หรือมะขามเปียก ใช้ สาํ หรับขดั และพอกผวิ เพราะขม้นิ จะชว่ ยขบั ใหผ้ ิวนวล ใส สรรพคุณ: ขม้ินสามารถช่วยฆ่าเช้ือแบคทีเรีย เช้ือรา ลดการอักเสบของแผล นอกจากนี้ยังมีฤทธิ์ ช่วยขบั ลม ลดอาการปวดท้อง จกุ เสียด ชว่ ยแกโ้ รคผิวหนัง แก้ผ่ืนคนั ได้  

19 7. เตย สมนุ ไพรกล่ินหอม เลี้ยงงา่ ย ปลูกง่าย ใบเตย สมนุ ไพรทขี่ ึ้นงา่ ย อยงู่ ่าย ไมต่ ้องดูแลมาก แตม่ ี ใบให้กล่ินหอม ให้สีเขียวสวย สรรพคุณมากเหลือเกิน ในท่ีน้ีคงไม่มีใครท่ีไม่เคยทานอาหารที่มีส่วนผสมจาก ใบเตย อาทิเช่น วุ้นใบเตย น้ําหวานใบเตย หรือขนมต่างๆ ท่ีตกแต่งสีจากน้ําใบเตย นอกจากจะให้สีสวยแล้ว ยงั ให้กลิน่ ทเ่ี ป็นเอกลักษณ์ เพียงแคน่ ําใบเตยสดมาตาํ ให้ละเอียด ใส่นา้ํ ผสมลงไปแลว้ กรอกด้วยผ้าขาวบาง หลัก จากนั้นจงึ คอ่ ยนาํ ไปผสมอาหาร หรอื จะนํานํ้าท่ีได้มาต้มแล้วใส่เติมนํ้าตาลเพิ่มความหวาน เอาไว้ดื่มแก้กระหาย ก็ได้ หากจะไม่ใช้รับประทานก็สามารถนําใบเตยมามัดเป็นช่อ วางไว้ตามมุมอับของห้อง ในตู้เย็น หรือไว้ใน รถยนต์ เพอ่ื ช่วยลดกล่นิ อับกย็ ังได้ สรรพคุณ: ใบเตยมสี รรพคุณชว่ ยบํารงุ หวั ใจ ช่วยดับกระหายและยังใช้เปน็ ยาขับปัสสาวะได้อกี ดว้ ย เรือ่ งที่ 5 ประโยชนข์ องยารักษาโรคจากสมุนไพร วา่ นหางจระเข้ ไมล้ ม้ ลกุ ใบใหญ่หนาเปน็ ทร่ี ูจ้ ักกนั ดี แมถ้ ่ินกาํ เนิดจะอยู่ไกลถงึ ฝัง่ เมดิเตอรเ์ รเนียน และแอฟรกิ า แต่ใน ประเทศไทยกม็ ีการปลูกวา่ นหางจระเข้อยา่ งแพร่หลาย ซึ่งในตํารับยาไทยก็ใช้ว่านหางจระเขบ้ าํ บัดอาการต่าง ๆ ไดม้ ากมายจนเป็นทรี่ ู้จกั ว่าเปน็ พืชอัศจรรยท์ ม่ี ีสรรพคณุ สารพดั ประโยชน์ โดย \"วุ้นในใบสด\" สามารถนํามาบรรเทาอาการปวดศีรษะได้ แต่สรรพคุณเด่น ๆ ที่ทุกคนน่าจะรู้จักก็ คือ นาํ มาพอกแผลนํ้าร้อนลวก ไฟไหม้ แก้ปวดแสบปวดร้อน แผลเรื้อรงั รักษาผิวที่ถูกแดดเผา แผลในกระเพาะ อาหาร และช่วยถอนพิษได้ เพราะว่านหางจระเข้มีสรรพคุณช่วยสมานแผล แต่มีข้อแนะนําว่า ก่อนใช้ควร ทดสอบดกู ่อนว่าแพ้หรือไม่ โดยเอาวุน้ ทาบรเิ วณทอ้ งแขนดา้ นใน ถ้าผิวไม่คันหรอื แดงกใ็ ชไ้ ด้ นอกจากส่วนวุน้ ใน  

20 ใบสดแล้ว ส่วน \"ยางในใบ\" ก็สามารถนํามาทําเป็นยาระบายได้ และส่วน \"เหง้า\" ก็นําไปต้มนํ้ารับประทาน แกโ้ รคหนองในไดด้ ้วย ขมนิ้ ชนั เรียกกันทั่วไปว่า \"ขมิ้น\" เป็นไม้ล้มลุกมีสีเหลืองอมส้ม มีเหง้าอยู่ใต้ดิน มีกลิ่นหอม คนนิยมนํา\" เหง้า\" ท้ังสดและแห้งมาใช้รักษาอาการที่เกี่ยวกับกระเพาะอาหาร รวมท้ังแก้ท้องเสีย ท้องร่วง จุกเสียดแน่น ท้อง และสามารถนาํ ขมิ้นชันมาทาภายนอก เพือ่ ใช้รักษาแผลเร้ือรัง แผลสด โรคผวิ หนัง พุพอง รักษาชันนะตุได้ นอกจากน้ัน \"ขมิ้นชัน\" ยังอุดมไปด้วยวิตามินเอ วิตามินซี วิตามินอี และสารต้านอนุมูลอิสระ\"คูเคอร์ มิน\" ที่ช่วยป้องกันการเกิดมะเร็งตับ อีกท้ังยังสร้างภูมิคุ้มกันให้ผิวหนัง หรือใครที่มีแผลอักเสบ \"ขม้ินชัน\" ก็มี สรรพคุณช่วยให้แผลหายเร็วขึ้น เพราะมีฤทธิ์ไปลดการอักเสบ ฆ่าเชื้อแบคทีเรียท่ีทําให้เกิดหนอง และหาก รับประทานขมิ้นชันทุกวัน ตามเวลาจะช่วยให้ความจําดีข้ึน ไม่อ่อนเพลียยามตื่นนอน และช่วยให้ระบบขับถ่าย ดขี ึ้นดว้ ย ทองพันชง่ั เป็นสมุนไพรที่มีคุณค่าไม่ต่างไปจากช่ือ \"ทองพันช่ัง\" หลายพ้ืนที่อาจเรียกว่า \"ทองคันชั่ง\" หรือ \"หญ้า มันไก่\" เป็นไม้พุ่มขนาดเล็ก ออกดอกสีขาว ส่วนที่ใช้ทํายาคือ ใบและราก ที่หากนําปริมาณ 1 กํามือมาต้ม รับประทานเช้าเย็น จะช่วยดับพิษไข้ รักษาโรคผิวหนัง ริดสีดวงทวารหนัก แก้ไอเป็นเลือด ฆ่าพยาธิ นอกจากน้นั ยงั สามารถนําใบและรากมาตําละเอยี ด เพือ่ รกั ษาโรคกลาก เกล้อื น ไดด้ ้วย นอกจากสรรพคุณข้างต้นแล้ว มีการศึกษาวิจัยเพ่ิมเติมพบว่า \"ทองพันช่ัง\" มีฤทธิ์ยับย้ังมะเร็งเย่ือบุช่อง ปาก มะเร็งเต้านม และมะเร็งมดลูกได้ รวมท้ังช่วยขับปัสสาวะ ลดความดันโลหิตสูง แก้ผมร่วง รักษาโรคน่ิว ฯลฯ แต่ขอ้ ควรระวงั คือ ผู้ทเ่ี ปน็ โรคโลหิตจาง โรคหัวใจ โรคหดื โรคความดันโลหิตต่ํา โรคมะเร็งในเม็ดเลือด ไม่ ควรรบั ประทาน  

21 กะเพรา แม้จะเป็นผักท่ีคนไทยนิยมส่ังมารับประทานเวลาท่ีนึกไม่ออก แต่ก็มีน้อยคนท่ีจะรู้ว่า กะเพรา มี สรรพคุณอะไรบ้าง ท่ีเห็นชัด ๆ เลยก็คือ ใบกะเพรา มีฤทธิ์ขับลม ช่วยแก้จุดเสียด แน่นท้อง แก้ปวดท้อง อุจจาระ สว่ นนาํ้ สกัดท้ังต้น สามารถรักษาแผลในกระเพาะอาหาร สําหรับเมล็ดกะเพรา ก็สามารถพอกตาให้ผง หรือฝุ่นท่ีเข้าตาหลุดออกมาได้อย่างง่ายดาย นอกจากน้ันแล้ว รากกะเพราแห้ง ๆ ยังนํามาชงกับนํ้าร้อนด่ืมแก้ โรคธาตพุ ิการได้ด้วย และสรรพคุณเดด็ ของกะเพราอีกประการก็คือ ช่วยขับไขมันและน้าํ ตาล เคยสงสัยบ้างไหม ว่า ทําไมอาหารตามส่ังต้องมีเมนูผัดกะเพราเน้ือ กะเพราไก่ กะเพราหมู นั่นก็เพราะนอกจากใบกะเพราจะช่วย ดับกลิ่นคาวของเนื้อสัตว์ได้แล้ว ยังมีฤทธ์ิขับไขมัน และนํ้าตาลส่วนเกินออกจากร่างกาย อีกท้ัง กะเพราจะช่วย ขับนํ้าดีในตับออกมาให้ช่วยย่อยไขมันได้ดีขึ้นด้วย เพราะฉะน้ัน หากบอกว่า รับประทานกะเพราแล้วจะช่วย ปอ้ งกนั โรคความดันโลหิตสงู โรคเบาหวาน โรคหลอดเลอื ดอดุ ตนั โรคหวั ใจ กระชายดาํ สมุนไพรแสนมหศั จรรย์ของทา่ นชาย เพราะสรรพคณุ ของกระชายดาํ ทไ่ี ด้รบั การกลา่ วขานกันมากคือ สรรพคณุ เพ่มิ พลงั ทางเพศ หรือแกโ้ รคกามตายดา้ น เนอื่ งจากฤทธขิ์ องกระชายดาํ จะไปบาํ รุงกําลงั เพิ่มฮอรโ์ มน ให้เพศชาย ทาํ ให้สมรรถภาพทางเพศเพม่ิ ข้ึน กระชายดํา ใช่ว่าจะมีประโยชน์แค่เร่อื งเพ่ิมพลงั ทางเพศเท่านั้น เพราะกระชายดํายงั สรรพคุณมากมาย ท้ังบาํ รุงหัวใจ บํารงุ กาํ ลัง เป็นยาเจริญอาหาร และบํารงุ ธาตุ แก้หัวใจสนั่ หวิว แก้ลมวงิ เวียนแนน่ หน้าอก แผล ในปาก ชว่ ยใหโ้ ลหิตหมนุ เวยี นดขี ึน้ ผิวพรรณผ่องใส ขับปัสสาวะ แกโ้ รคกระเพาะ ฯลฯ และดว้ ยสรรพคุณ อนั แสนมหศั จรรย์มากมายขนาดนี้ กระชายดาํ จึงถูกขนานนามวา่ เปน็ \"โสมไทย\" ซ่งึ นยิ มปลูกมากจนกลายเปน็ พชื เศรษฐกิจของจงั หวัด  

22 วา่ นชักมดลูก พืชสมุนไพรสําหรับสภุ าพสตรี คอื เหงา้ ของว่านชักมดลกู มสี รรพคุณชว่ ยขบั ประจาํ เดือนในสตรที ่ี ประจําเดอื นมาไมป่ กติ ส่วนผู้หญงิ ทเี่ พิง่ คลอดบุตร วา่ นชักมดลกู ก็จะชว่ ยบบี มดลกู ใหเ้ ขา้ อเู่ ร็วขนึ้ ขบั นาํ้ คาวปลา และรกั ษาโรคมดลูกพกิ ารปวดบวคึ ไั ด้ นอกจากนน้ั วา่ นชกั มดลูก ยงั แก้รดิ สดี วงทวาร แก้ไสเ้ ลื่อน แกโ้ รคลม รกั ษาอาการอาหารไม่ยอ่ ย ขณะทรี่ ากของวา่ นชกั มดลูกสามารถใช้แก้ทอ้ งอืดเฟ้อได้อกี ด้วย กระเจ๊ียบแดง หลายคนนาํ ใบและยอดของกระเจี๊ยบแดงไปใส่ในแกง ซงึ่ นอกจากจะชว่ ยเพม่ิ รสเปรี้ยวในอาหารแลว้ ใบกระเจย๊ี บแดงยังแกโ้ รคพยาธติ วั จ๊ีด แก้ไอ ละลายเสมหะ ส่วนดอกใชแ้ ก้โรคนิ่วในไต นิ่วในกระเพาะปสั สาวะ ขดั เบา ละลายไขมนั ในเสน้ เลอื ด แตส่ ่วนท่ีมีสรรพคณุ มากเปน็ พเิ ศษกค็ อื ส่วนกลีบเลยี้ งของดอก หรอื กลีบทเี่ หลืออยู่ทผ่ี ล สามารถ ชว่ ยลดไขมันในเส้นเลอื ด ลดน้าํ หนัก ลดความดนั โลหติ นําไปทาํ เปน็ นํ้ากระเจีย๊ บด่ืมชว่ ยให้ร่างกายสดชืน่ ลด ความเหนียวขน้ ของเลอื ด ขับปัสสาวะ ป้องกันต่อมลูกหมากโตได้อีกด้วย และมีการศกึ ษาทางวทิ ยาศาสตร์ พบว่า หากรบั ประทานกระเจย๊ี บแดงตอ่ เนื่อง 1 เดอื น จะทาํ ใหร้ ะดบั นา้ํ ตาลในเลือดลดลง ระดบั ไขมนั ในเลือด ทั้งคอเลสเตอรอล ไตรกลีเซอไรด์ ไขมนั เลว (LDL) ลดลง และยงั เพม่ิ ไขมันชนิดดคี ือ HDL ไดด้ ้วย มะขามปอ้ ม เป็นไม้ยืนต้นขนาดเล็ก-กลางท่ีจัดเป็นยาอายุวัฒนะ เพราะมีสรรพคุณเพียบในแทบทุกส่วนของต้น แต่ ท่ีรู้จักกันดีก็คือ ผลของมะขามป้อมจะมีรสเปรี้ยวจัด แต่ก็ชุ่มคอ และให้วิตามินซีสูงมากเช่นกัน ดังนั้น จึงมีคน นําผลมะขามป้อมสดมาใช้เป็นยาแก้หวัด แก้ไอ ละลายเสมหะ รักษาโรคเลือดออกตามไรฟัน นอกจากน้ันแล้ว ส่วน \"ราก\" ยังแก้พิษตะขาบกัด แก้ร้อนใน ลดความดันโลหิต แก้โรคเร้ือน ส่วน เปลอื ก แก้โรคบดิ และฟกชาํ้ ส่วนปมก้าน ใชเ้ ป็นน้าํ ยาบ้วนปาก แก้ปวดฟัน \"ผลแห้ง\" ใช้รักษาอาการท้องเสีย หนองใน เย่ือบุตาอักเสบ แก้ตกเลือด และส่วน \"เมล็ด\" ก็สามารถนําไปเผาไฟผสมกับนํ้ามันพืช ทาแก้คัน แก้ หืด หรือจะตาํ เมลด็ ให้เป็นผง ชงกับนํ้าร้อนดื่มแก้โรคเบาหวาน หอบหดื หลอดลมอักเสบ  

23 ฟ้าทะลายโจร ฟา้ ทะลายโจร เปน็ ไม้ลม้ ลกุ สงู ประมาณ 30-70 เซนติเมตร ทุกสว่ นมรี สขม สรรพคุณ ท่รี จู้ ักกนั ดีคือ ใชเ้ ป็นยาแก้ไข้ แกไ้ ข้หวัดใหญ่ แกร้ ้อนใน เพราะมีฤทธิ์ชว่ ยสร้างภูมคิ ุม้ กนั ให้แก่ร่างกาย หากรบั ประทานบอ่ ย ๆ จะช่วยปอ้ งกนั ไม่ให้เป็นหวดั ง่าย นอกจากเรอ่ื งหวัดแล้ว ฟา้ ทะลายโจรยงั ระงับอาการอักเสบ ตอ่ มทอนซลิ อักเสบ ขับเสมหะ รกั ษาอาการท้องเสีย ลําไส้อกั เสบ รกั ษาโรคตบั เบาหวาน โรคงสู วัด รดิ สีดวงทวาร และรส ขมของฟ้าทะลายโจรยงั ช่วยใหเ้ จริญอาหารอกี ด้วย ข้อควรระวัง กค็ ือ คนทม่ี อี าการเจบ็ คอเนื่องจากติดเชอ้ื Streptococcus group A , ผู้ที่เปน็ โรคหวั ใจ รหู ม์ าตคิ , มีอาการเจ็บคอ เนอ่ื งจากมกี ารตดิ เช้อื แบคทีเรีย, เปน็ ความดันต่าํ และสตรีมคี รรภ์ ไมค่ วรทานฟา้ ทะลายโจร และหากใครทานแลว้ เกิดปวดท้อง ปวดเอว วิงเวยี นศีรษะใจส่ัน ควรหยดุ ใชฟ้ า้ ทะลายโจร นอกจากนนั้ แล้ว ยังไม่ควรรับประทานตอ่ เนือ่ งนานเกินไป เพราะอาจทําให้แขนขามอี าการชา หรือออ่ นแรงได้ ย่านาง ยา่ นางเปน็ สมนุ ไพรรสจดื เปน็ ยาเยน็ มฤี ทธิ์ดับพษิ รอ้ น คนจึงนาํ ใบย่านางไปคนั้ เปน็ น้ําคลอโรฟลิ ล์ เพ่ือเพม่ิ ความสดชืน่ ปรบั อณุ หภูมใิ นรา่ งกาย และยงั นาํ ใบย่านางไปชว่ ยดบั พิษไข้ ดับพษิ ของอาหาร แก้อาการผดิ สาํ แดง แก้พษิ เมา แกเ้ ลือดตก แก้กําเดา ลดความร้อนได้ดว้ ย นอกจากใบแลว้ ส่วนอน่ื ๆ ของย่านางก็มีประโยชนเ์ ชน่ กัน ทงั้ \"ราก\" ท่ี ใช้แกไ้ ข้พษิ ไขห้ ัด ไขฝ้ ดี าษ ไขก้ าฬ ไขท้ บั ระด\"ู เถายา่ นาง\" ใชแ้ ก้ไข ลดความรอ้ นในรา่ งกาย ขณะที่ข้อมลู ทางเภสชั วทิ ยาระบวุ ่า ยา่ นาง ยงั ช่วยตา้ นมาลาเรยี ยับยง้ั การหดเกรง็ ของลาํ ไส้ ตา้ น ฮีสตามนี ส่วนข้อมูลทางโภชนาการระบุว่า ยา่ นางมเี บต้าแคโรทีนในปริมาณสูง ซ่งึ จะชว่ ยต่อตา้ นอนมุ ลู อิสระ ช่วยชะลอความเสื่อมของเซลลใ์ นรา่ งกาย แถมยังอดุ มไปดว้ ยเสน้ ในอาหาร แคลเซยี ม เหล็ก ฟอสฟอรสั ย่านาง จึงเป็นหนึง่ ในจํานวนผักพน้ื บา้ นที่นักวิจัยแนะนําใหน้ าํ มาใช้ในรปู แบบอาหารเพื่อรักษาโรคมะเรง็ มะรุม พชื สมุนไพรสดุ แสนมหศั จรรย์ เพราะนอกจากจะนาํ มาปรุงอาหารรับประทานแล้วได้รับสารอาหาร อยา่ งวิตามนิ เอ วติ ามินซี แคลเซียม โพแทสเซยี ม ใยอาหาร แล้ว มะรมุ ยงั เปน็ ยาวเิ ศษรกั ษาทีท่ กุ สว่ นสามารถ ใช้รกั ษาได้สารพัดโรค เริม่ จาก \"ราก\" ทีจ่ ะชว่ ยบาํ รุงไฟธาตุ แกอ้ าการบวม \"เปลอื ก\" ใช้ประคบแกโ้ รคปวดหลงั ปวดขอ้ รบั ประทานเป็นยาขับลมในลาํ ไส้ \"กระพี้\" ใชแ้ กไ้ ขสันนิบาด \"ใบ\" มแี คลเซียม วติ ามนิ ซี และสารตา้ นอนุมูล อสิ ระสงู มาก ใช้แก้เลือดออกตามไรฟัน แก้อกั เสบ มีฤทธิเ์ ป็นยาระบายอ่อน ๆ \"ดอก\" ช่วยบาํ รุงร่างกาย ขบั ปัสสาวะ ขบั น้ําตา ใช้ต้มทําน้ําชาดม่ื ช่วยให้นอนหลับสบาย \"ฝกั \" ใช้แกไ้ ขห้ วั ลม\"เมลด็ \" นํามาสกดั เปน็ นาํ้ มัน  

24 ใชร้ ักษาโรคปวดขอ้ โรคเกาท์ รักษาโรคผวิ หนังจากเช้อื รา และ \"เนือ้ ในเมล็ดมะรมุ \" ใช้แก้ไอได้ดี รวมทงั้ ยงั เพิ่มภมู ิต้านทานใหร้ ่างกายไดด้ ้วย หากรบั ประทานเป็นประจํา แตส่ ําหรับคนทีเ่ ปน็ โรคเลือด G6PD ไมค่ วร รับประทานมะรุม ชุมเห็ดเทศ ไมพ้ มุ่ ขนาดกลาง มดี อกสีเหลอื ง จัดเป็นอีกหน่งึ สมุนไพรที่มสี รรพคุณทางยามาก โดยชุมเหด็ เทศท้งั ต้น มีฤทธขิ์ บั พยาธิในลําไส้ รักษาซาง โรคผิวหนงั ถา่ ยเสมหะ รกั ษาอาการฟกช้าํ บวม รกั ษารดิ สีดวง ดซี า่ น และฝี ส่วนลําตน้ จะใชเ้ ปน็ ยารกั ษาคุดทะราด กลากเกลอ้ื น ช่วยขบั พยาธิ ขับปัสสาวะ รักษาอาการทอ้ งผกู นอกจากต้นแลว้ ใบชุมเห็ดเทศก็ไดร้ บั ความนิยมในคนทีม่ ีอาการท้องผกู เชน่ กนั เพราะสามารถนาํ ใบซ่ึง มฤี ทธ์ิเปน็ ยาระบายอ่อน ๆ ไปตม้ น้ํากนิ ได้ หรอื จะใชอ้ มบ้วนปากก็ไดเ้ ช่นกัน อยา่ งไรกต็ าม ไมค่ วรใช้ตดิ ต่อกัน เป็นเวลานาน เพราะจะทาํ ใหท้ ้องเสีย ซ่ึงสง่ ผลใหม้ ีการสญู เสียนํ้าและเกลอื แร่มากโดยเฉพาะโปตัสเซียม รวมทงั้ อาจทาํ ให้ดอ้ื ยาได้ดว้ ย บอระเพ็ด เม่อื เอ่ยชือ่ \"บอระเพด็ \" หลายคนคงรูส้ กึ \"ขม\" ขึ้นมาทนั ที แตเ่ พราะความที่บอระเพ็ดมีรสขม ถงึ ทําให้ เต็มเป่ียมไปดว้ ยสรรพคุณทางยามากมายดงั สาํ นวนทวี่ า่ \"หวานเปน็ ลม ขมเปน็ ยา\" อย่างเชน่ \"ราก\" สามารถนาํ ไปดบั พิษรอ้ น แก้ไขพ้ ษิ ไขจ้ ับส่ัน ชว่ ยใหเ้ จริญอาหาร \"ตน้ \" ก็ชว่ ยแกไ้ ข้ ได้เชน่ กัน และยงั ช่วยบาํ รุงกาํ ลัง บาํ รุงธาตุ แก้ร้อนใน แกส้ ะอกึ แก้เลือดพกิ าร สว่ น \"ใบ\"นอกจากจะชว่ ยแก้ไข้ ได้เหมือนสว่ นอื่น ๆ แลว้ ยังชว่ ยแกโ้ ลหิตค่งั ในสมอง ขับพยาธิ แก้ปวดฝี ช่วยลดความรอ้ น ทาํ ใหผ้ วิ พรรณผอ่ ง ใสรกั ษาโรคผวิ หนงั ผดผ่นื คันตามร่างกาย มาถึง \"ดอก\" ช่วยฆา่ พยาธิในท้อง ในฟัน ในหู \"ผล\" ใชแ้ กเ้ สมหะเป็นพิษ แก้สะอกึ ไดด้ ี แตถ่ า้ นาํ ทั้ง 5 ส่วน คอื ราก ตน้ ใบ ดอก ผล มารวมกัน \"บอระเพ็ด\" จะกลายเป็นยาอายุวฒั นะเลยทเี ดียว เพราะแก้อาการได้ สารพดั โรค รวมทัง้ โรครดิ สีดวงทวาร ฝีในมดลูก เบาหวาน ฯลฯ  

25 เสลดพงั พอน \"เสลดพงั พอน\" มี 2 ชนิด คอื \"เสลดพังพอนตัวผู้\" และ \"เสลดพงั พอนตวั เมยี \" ซึ่งทงั้ สองชนิดมี สรรพคณุ เดน่ ๆ คอื ใช้ถอนพิษ แต่ \"เสลดพังพอนตวั ผ\"ู้ จะมีฤทธอ์ิ ่อนกว่า และส่วนใบจะมีรสขมกว่า ลองไปดสู รรพคุณของ \"เสลดพงั พอนตวั ผ\"ู้ กันก่อน \"ราก\" ชว่ ยแก้ตาเหลือง ตัวเหลือง กนิ ขา้ วไมไ่ ด้ ถอนพิษงู แมลงสัตวก์ ดั ตอ่ ย แกป้ วดฟัน ส่วน \"ใบ\" ก็ช่วยถอนพษิ แมลงสัตวก์ ดั ตอ่ ย และยงั แก้ปวดแผล แผล จากของมคี มบาด แก้โรคฝี โรคคางทมู ไฟลามทุ่ง งสู วัด เรมิ ฝีดาษ แก้ฟกช้าํ นาํ้ รอ้ นลวก ยุงกัด แก้ปวดฟนั เหงือกบวม สว่ น \"เสลดพังพอนตวั เมยี \" จะนํารากมาปรงุ เปน็ ยาขบั ปสั สาวะ ขับประจําเดอื น แก้ปวดเม่อื ยทเี่ อว ส่วน \"ใบ\" ซง่ึ มีรสจดื จะนาํ มาสกัดทาํ เปน็ ยาใชร้ ักษาแผลผิวหนังชนดิ เริม แผลร้อนในในปาก แผลนาํ้ รอ้ นลวกได้ นอกจากนน้ั สว่ นท้งั 5 คอื ราก ตน้ ใบ ดอก ผล สามารถใชถ้ อนพษิ ตา่ ง ๆ ไดด้ ี ทัง้ พิษแมลงสตั ว์กดั ต่อย ตะขาบ แมลงปอ่ ง รักษาอาการอักเสบ งสู วดั ลมพษิ แผลน้าํ ร้อนลวก มะแว้ง มที ้งั \"มะแวง้ ตน้ \" และ \"มะแวง้ เครอื \" ทม่ี สี รรพคณุ เด่น ๆ คือ ใช้เปน็ ยาแกไ้ อ ขับเสมหะ เราจงึ มัก เหน็ มะแวง้ ถูกนาํ มาผสมเป็นยาอมชว่ ยแก้ไอ ซ่ึงตามตํารบั ยาแกไ้ อแลว้ สามารถใชไ้ ด้ทง้ั ราก ใบ ผล นอกจากนัน้ ยงั ชว่ ยลดน้าํ ลายเหนียว บํารุงธาตุ รกั ษาวณั โรค แกค้ อแหง้ ขับปัสสาวะ รกั ษาโรคทางไตและ กระเพาะปัสสาวะแกโ้ ลหิตออกทางทวารหนกั และแก้โรคหอบหดื ได้ดว้ ย นอกจากน้ัน ลกู มะแว้งเครอื สามารถนําไปปรงุ อาหาร ทานเปน็ ผกั ได้ สว่ นลกู มะแวง้ ตน้ ก็ใช้ปรงุ อาหาร ไดเ้ ชน่ กนั แตค่ นนิยมนอ้ ยกว่าลูกมะแว้งเครือ รางจดื เมอื่ พูดถึงสมนุ ไพรถอนพษิ หลายคนนึกถึง \"รางจืด\" หรอื \"วา่ นรางจืด\" ทนั ที เพราะสว่ นใบและราก ของรางจืดสามารถปรงุ เป็นยาถอนพษิ ยาฆ่าแมลงได้ มปี ระโยชน์ในเวลาท่หี ากใครเกดิ เผลอทานยาฆา่ แมลง ยาพษิ หรอื ยาเบือ่ เข้าไปโดยไม่ได้ตั้งใจ และอย่ไู กลโรงพยาบาล การทานรากรางจดื ก็จะชว่ ยบรรเทาพิษใน เบ้อื งตน้ ได้  

26 นอกจากนั้นแล้ว รางจดื ยงั สามารถปรุงเป็นยาถอนพิษไข้ พิษแอลกอฮอล์ พษิ สาํ แดง บรรเทาอาการ เมาคา้ ง บรรเทาอาการผนื่ แพ้ เป็นยาแก้ร้อนใน กระหายนา้ํ ได้ แล้วรู้ไหมวา่ ยังมงี านวิจยั จากกลุม่ หมอ พน้ื บา้ นพบวา่ การนาํ รางจดื ไปตม้ แล้วนาํ มาอาบจะช่วยทาํ ใหผ้ วิ พรรณผุดผอ่ ง และหากนาํ รากรางจืดมาฝน กบั น้าํ ซาวขา้ วแลว้ นาํ ไปทาหนา้ จะทาํ ใหห้ น้าขาว ไมม่ สี ิวฝ้า กระวาน เป็นสมุนไพรไทยทมี่ ชี อื่ เสียงมากในตา่ งประเทศ มกั พบขน้ึ อยูต่ ามป่าที่มคี วามช้นื สงู เชน่ ป่าแถบเขา สอยดาว จังหวัดจนั ทบุรี รวมทัง้ แถบจงั หวัดตราด จังหวดั ประจวบครี ขี นั ธ์ มสี รรพคุณหลัก ๆ คือ ใชเ้ ปน็ ยาขับ ลม บํารงุ ธาตุ แกท้ ้องอืด ท้องเฟอ้ ผสมในยาถ่ายเปน็ ใช้ชว่ ยถา่ ยท้องได้ นอกจากน้นั \"ราก\" ยังช่วยฟอกโลหิต แกล้ ม รกั ษาโรครํามะนาด \"เมล็ด\" ชว่ ยบํารุงธาตุ แก้ธาตุ พกิ าร \"เหง้าออ่ น\" ใช้รบั ประทานเป็นผกั \"หัวและหนอ่ \" ช่วยขับพยาธใิ นเนอื้ ใหอ้ อกทางผิวหนัง\"แก่น\" ใช้ขบั พิษ รกั ษาโรคโลหิตเป็นพษิ \"กระพ\"้ี รกั ษาโรคผวิ หนัง บาํ รงุ โลหติ ส่วน \"ใบ\" ใช้แกล้ มสนั นิบาต ขับ เสมหะ แก้ไขเ้ ซอื่ งซมึ แก้จกุ เสยี ด บาํ รงุ กาํ ลงั \"ผลแก่\" มรี สเผ็ดร้อนและมีกลิ่นหอมคลา้ ยการบรู มีฤทธิ์ขับลม ยบั ยง้ั การเจรญิ ของเชอ้ื แบคทีเรยี บางชนิด กานพลู สมนุ ไพรทชี่ ่วยรกั ษาอาการปวดฟันได้เปน็ อยา่ งดี โดยตามตํารับยา ให้นําดอกท่ีตมู ไปแชเ่ หล้าขาว แลว้ เอาสาํ ลไี ปชบุ นํา้ มาอดุ รฟู ัน จะชว่ ยบรรเทาอาการปวดฟันได้ เพราะนาํ้ มันหอมระเหยในกานพลูมฤี ทธเิ์ ปน็ ยาชาเฉพาะที่ หรอื จะเค้ยี วทั้งดอกแลว้ อมไว้ตรงบริเวณทปี่ วดฟัน นอกจากนน้ั ยังนาํ ไปผสมน้ําเป็นนาํ้ ยาบ้วน ปากชว่ ยลดกลน่ิ ปากแก้เลอื ดออกตามไรฟันแก้รํามะนาดได้ กานพลูยังมีฤทธล์ิ ดการบบี ตวั ของลําไส้ ฉะนน้ั ถ้ามีอาการปวดท้อง กานพลู จะชว่ ยลดอาการปวดท้อง ขบั ลม ลดอาการท้องอืดทอ้ งเฟ้อ จุกเสียดจากการย่อยอาหารได้ เพราะจะไปชว่ ยขับนาํ้ ดีมาย่อยไขมนั ไดม้ าก ข้นึ แถมยังกระตนุ้ การหลง่ั เมือก และลดภาวะกรดเกินในกระเพาะอาหารไดด้ ว้ ย  

27 หญา้ หนวดแมว ไมล้ ้มลุกขนาดเลก็ ทม่ี สี รรพคณุ ไมน่ ้อย โดย \"ราก\" สามารถใชข้ บั ปัสสาวะได้ \"ใบ\" ใชร้ ักษาโรคไต ช่วย ขบั กรดยูริกออกจากไต รักษาโรคเบาหวาน อาการปวดหลัง ไขขอ้ อกั เสบ ลดความดนั โลหิต \"ต้น\" ก็ใชแ้ กโ้ รค ไต ขับปสั สาวะได้เชน่ กนั และยงั ชว่ ยรักษาโรคนวิ่ โรคเยอื่ จมกู อักเสบได้ โดยนาํ ต้นสด หรอื ต้นแหง้ หรือใบออ่ น หรือใบตากแหง้ ไปชงกบั นํา้ 1 แก้ว ด่มื วนั ละ 3 ครง้ั กอ่ นอาหาร ห้ามนําไปต้ม และไมค่ วรใชใ้ บแก่ หรอื ใบสด เพราะมีฤทธิก์ ดหวั ใจ ทาํ ใหใ้ จสัน่ และคล่ืนไส้ได้ ขอ้ ควรระวังคือ ผู้ทีเ่ ป็นโรคหัวใจ ไต ห้ามรับประทาน เพราะในหญา้ หนวดแมวมโี พแทสเซยี มสงู มาก และไม่ควรรบั ประทานหญา้ หนวดแมวร่วมกับแอสไพริน เพราะจะยิ่งทาํ ให้ยาจําพวกแอสไพรินไปจบั กล้มเนื้อ หวั ใจมากขึน้ บัวบก หลายคนอาจเคยดมื่ นํ้าใบบัวบก ทเ่ี มื่อดม่ื เข้าไปแลว้ ช่วยแก้ร้อนใน แกช้ ํา้ ใน ลดการกระหายนํ้าไดด้ ี ซ่งึ นอกจากใบบวั บกจะนาํ มาค้ันนํา้ ด่ืมไดแ้ ลว้ ยังสามารถนาํ ไปทาแผล ช่วยบรรเทาอาการฟกชาํ้ ของแผลได้ ดว้ ย เพราะในใบมีกรดมาดีคาสสิค (madecassic acid) และกรดเอเซียตกิ (asiatic acid) ทม่ี ฤี ทธ์ิสมานแผน ไม่ว่าจะเป็นแผลสด แผลเร้ือรงั แผลไฟไหม้ นํ้าร้อนลวก หรอื แผลหลังผ่าตดั ใบบวั บกจะชว่ ยการอกั เสบและทํา ให้แผลหายเร็วข้นึ ท่ีมา http://www.com/tech/tech01/mat-coloring-f-plant.html (23/09/2558) นอกจากน้ัน ใบบวั บกยังชว่ ยฆ่าเช้ือแบคทีเรยี ท่ีเป็นสาเหตทุ ําให้เกิดเช้อื เปน็ หนองในได้ วิธีการใชก้ ็ งา่ ยๆ นําใบบัวบกสดทง้ั ต้น 1 กาํ มอื ลา้ งนาํ้ ให้สะอาด แล้วตาํ ให้ละเอยี ด เอาน้าํ มาทาบรเิ วณที่เป็นแผลเปน็ บ่อย ๆ ใชก้ ากพอกดว้ ยกไ็ ด้ จะชว่ ยลดอาการอักเสบและทําใหแ้ ผลหายเร็วขนึ้ ส่วนต้นของใบบัวบก มีสรรพคณุ ทางยามากมาย โดยสามารถใช้เป็นยาบาํ รงุ กําลงั บาํ รุงหวั ใจ แก้ ออ่ นเพลีย เมือ่ ยล้า แก้พิษงูกดั แก้ปวดศีรษะข้างเดียว ช่วยขบั ปสั สาวะ แกเ้ จ็บคอ ใช้เปน็ ยาห้ามเลือด ใส่แผล สด แกโ้ รคผวิ หนัง ลดความดนั แกช้ า้ํ ในไดเ้ ชน่ กนั และในการทาํ อาหาร ใสใ่ บบวั บกลงผสมลงไปดว้ ย เพราะใน ใบบวั บกมสี ารอาหารมากมาย โดยเฉพาะวิตามินเอท่ีมีสูง และยงั ให้คารโ์ บไฮเดรต แคลเซยี ม ฟอสฟอรสั เหลก็ วิตามินบี 1 วิตามินบี 2 วิตามนิ และไนอาซนี  

28 ใบงาน จงตอบคําถามดงั ต่อไปนี้ 1. ให้บอกประโยชนข์ องสมนุ ไพรท่ีได้ศกึ ษามาพอเข้าใจ .......................................................................................................................................................... .......................................................................................................................................................... .......................................................................................................................................................... .......................................................................................................................................................... ............................................................................................................... 2. ประโยชนส์ ว่ นใดของขิงที่นาํ มาใช้เปน็ สมนุ ไพรมากทีส่ ดุ พรอ้ มท้ังอธบิ าย .......................................................................................................................................................... .......................................................................................................................................................... .......................................................................................................................................................... .......................................................................................................................................................... ............................................................................................................... 3. ใหบ้ อกประโยชนข์ องขมิน้ ชนั ว่ามสี รรพคุณอย่างไรและแกโ้ รคอะไรได้บา้ งจงอธิบาย .......................................................................................................................................................... .......................................................................................................................................................... .......................................................................................................................................................... .......................................................................................................................................................... ............................................................................................................... 4. จงบอกประโยชน์ของสมนุ ไพรทีม่ ผี ลตอ่ การดําเนินชีวิตประจําวนั ของนักศกึ ษา ............................................................................................................................................................. ............................................................................................................................................................. ............................................................................................................................................................. ............................................................................................................................................................. ....................................................................................................................................  

29 บทที่ 3 วธิ ีการนําสมุนไพรมาใช้ แผนการเรียนร้ปู ระจาํ บท บทท่ี 3 วิธกี ารนําสมนุ ไพรมาใช้ สาระสาํ คญั 1. วิธีการเก็บเก่ยี วของสมุนไพรตอ้ งเกบ็ อย่างถูกตอ้ งเพ่อื ใหไ้ ด้ยาที่มีคณุ ภาพสูงสดุ 2. วธิ กี ารปรุงยาสมนุ ไพร ประกอบด้วย การตม้ การชง การดอง การฝน และยาลกู กลอน 3. การ ช่งั ตวง วัด ของการทํายาสมนุ ไพรตอ้ งเป็นไปตามตํารา ซง่ึ แตล่ ะประเภทจะไม่เหมือนกนั 4. วิธกี ารกนิ ยาสมนุ ไพร จะมกี ารขนาดทก่ี าํ หนด การกินยาปรงุ สมนุ ไพรต้องดูท่ีตวั บคุ คลด้วย ผลการเรียนรู้ทีค่ าดหวงั 1. บอกวธิ ีการเตรยี มวัตถดุ บิ ในการปรุงยาสมนุ ไพรได้ 2. อธบิ ายการปรุงยาสมุนไพรโดยวธิ ีการต่างๆ ได้ 3. อธบิ ายความหมายคาํ เฉพาะของการปรุงยาสมนุ ไพรได้ 4. อธิบายอันตรายที่เกดิ จากการใช้ยาได้ ขอบข่ายเน้อื หา 1. การเตรียมวตั ถดุ บิ สมุนไพร 2. การปรงุ ยาสมุนไพร 3. การป้องกันอนั ตรายที่อาจเกิดขน้ึ จากการใชย้ า 4. ความหมายของคาํ ท่คี วรรู้ กจิ กรรมการเรียนรู้ 1. ทาํ แบบประเมินผลตนเองกอ่ นเรียน บทที่ 3 2. ศึกษาเอกสารการสอน บทที่ 3 3. ปฏิบัตกิ ิจกรรมตามที่รับมอบหมายในเอกสารการสอน 4. ทาํ แบบประเมนิ ผลตนเองหลังเรียน บทท่ี 3  

30 สื่อการสอน 1. เอกสารการสอน บทที่ 3 2. ใบความรู้ 3. ใบงาน 4. หนงั สือ ประเมนิ ผล 1. ประเมินผลตนเองก่อนเรียนและหลงั เรียน 2. ประเมินผลจากการสอบประจาํ ภาคการศึกษา 3. ประเมินผลจากการสงั เกตพฤตกิ รรมการมสี ว่ นรว่ ม  

31 เรอื่ งที่ 1 การเตรียมวตั ถุดบิ สมนุ ไพร 1. เกบ็ เก่ยี วสมุนไพรใหถ้ กู ต้น ถูกส่วน ถกู อายุ ถกู เวลา ถกู ฤดูกาล เพื่อให้ไดย้ าทีม่ คี ุณภาพสูงสุด 2. ลดจาํ นวนเชือ้ จุลินทรยี แ์ ละสง่ิ ปนเปื้อน โดยลา้ งวตั ถดุ ิบสมุนไพรใหส้ ะอาด อาจใช้การผึง่ หรอื ลวกดว้ ยนํ้า ร้อนเพื่อฆ่าเชื้อโรค โดยเฉพาะสมุนไพรที่นาํ ไปบดผงปน้ั เป็นลูกกลอน 3. นําไปย่อยขนาด สบั หัน่ เปน็ ช้ินเล็กๆ ใหเ้ หมาะกบั การใช้งาน(ชิ้นเลก็ ๆ จะทําให้สกดั สารได้ดกี วา่ ช้ิน ใหญๆ่ ) ควรทาํ ในขณะท่ียังสด ถ้าปล่อยใหแ้ ห้งแลว้ จะสบั หรือห่นั ยากกวา่ มาก 4. นาํ ไปทาํ ให้แห้งด้วยการอบหรอื ตาก พืชทม่ี นี ้ํามนั หอมระเหยควรตากในทร่ี ่มหรืออบที่อุณหภูมติ ่ําไมเ่ กนิ 40 องศา ถ้าตอ้ งการทําเป็นผง ใหน้ ําชนิ้ วตั ถุดิบท่ีตากแห้งดีแล้วไปบดให้ได้ขนาดทีเ่ หมาะสมต่อไป 5. เกบ็ วัตถดุ บิ สมุนไพรทแี่ ห้งดีแลว้ ไวใ้ นภาชนะที่สะอาด แหง้ ป้องกันฝุน่ ผง ความชื้น หรือ ใส่ถงุ ตาข่าย แขวนไวใ้ นท่โี ปรง่ มีอากาศถา่ ยเทสะดวก หรอื ใส่กลอ่ งสญุ ญากาศเก็บไว้ในตูเ้ ยน็ เพือ่ ใหเ้ กบ็ ได้นานขน้ึ เรือ่ งที่ 2 การปรุงยาสมนุ ไพร 1. การตม้ ยา 1.1 การตม้ ยาทว่ั ไป การตม้ ยาของหมอพ้ืนบ้านโดยทั่วไป จะนําสมุนไพรใสใ่ นหม้อแล้วเติมนาํ้ ใหส้ งู กวา่ ระดับสมนุ ไพรสอง เท่า (โดยกดยาลงแลว้ ใสน่ ํ้าใหท้ ว่ มขน้ึ มา 1 เท่า) ต้มให้เดือดดว้ ยไฟปานกลาง แลว้ ต้มตอ่ อีกประมาณ 15 นาที รินเอานาํ้ มารับประทานตามท่ีระบไุ วใ้ นตํารับ ยาบาํ รุงของไทยโดยท่ัวไปจะกินคร้งั ละ 1 แก้ว วันละ 2 คร้ัง หรอื กินต่างนาํ้ หมายถึงกินเม่ือหิวนาํ้ แทน การกินน้าํ เมอื่ จะรบั ประทานยาครั้งตอ่ ไปใหเ้ อานํา้ เท่ากับปรมิ าณทล่ี ดลงไปจากการตม้ คร้งั กอ่ นเตมิ ลงไป แล้ว ตม้ ใหมใ่ ห้เดือด ทําเชน่ เดียวกับการต้มครัง้ ก่อน โดยปกติจะอุ่นยาวันละครง้ั ตม้ กนิ ตดิ ตอ่ กนั 5-7 วัน หรอื ท่ี เรียกว่า ตม้ จนยาจดื  

32 หม้อทใ่ี ชต้ ม้ นยิ มใช้หม้อดินหรือหมอ้ เคลอื บ ไมน่ ยิ มใชห้ มอ้ สแตนเลสหรอื หมอ้ อลมู เิ นยี ม โดยเฉพาะ หมอ้ อลูมเิ นียมไมค่ วรใช้ เน่อื งจากอาจมโี ลหะหนักผสมในตัวยาจากการกัดกร่อนของนํา้ ยาตม้ ได้ ขนาดของสมนุ ไพรทใี่ ช้ตม้ ยาโดยท่ัวไปใช้ประมาณ 1 กํามือของเจ้าของ(ประมาณ 10 กรมั หรอื หนง่ึ ใน สบิ ของหน่งึ ขีด) ตม้ กับน้าํ 1 กา(ประมาณ 1 ลติ ร) หากมสี มุนไพรหลายชนดิ ผสมอยดู่ ว้ ยกัน ใหเ้ ขา้ ใจว่าใชใ้ น สัดส่วนทีเ่ ท่ากนั 1.2 การตม้ เคยี่ ว การตม้ เคย่ี วคือการเอาสมนุ ไพรใสใ่ นหมอ้ แบบการต้มทวั่ ไป เติมนํ้าลงไปสามเท่าของปรมิ าณทีต่ ้องการ รบั ประทาน เช่น ประมาณ 3 แก้ว(แกว้ ละ 250 ซซี ี) ต้มใหเ้ ดอื ดและต้มเคีย่ วต่อไปอยา่ ใชไ้ ฟแรง ควรให้ยา ค่อยๆ เดอื ด ใหป้ ริมาณนา้ํ เหลือ 1 แก้ว นาํ น้าํ ยามารับประทานครั้งเดียวให้หมด หรือแบ่งรบั ประทานแล้วแต่ ปริมาณของสมุนไพรทใ่ี ช้ 2. การชง การชงยานิยมใชก้ ับสมุนไพรแหง้ ท่บี ดเป็นผงหยาบมีขนาดเลก็ กว่าสมุนไพรท่ีใชต้ ม้ โดยนําไปใส่ในถงุ ชงหรือผา้ ขาวบาง สมนุ ไพรบางชนิดจะใช้ใบสดชงกไ็ ด้ หากใช้ใบสดนิยมนวดใบให้ชาํ้ กอ่ นชง ใช้วธิ ีชง เชน่ เดยี วกบั ชา โดยชงในนํ้ารอ้ นปิดฝาท้ิงไว้ประมาณ 15-20 นาทีแลว้ จงึ รับประทาน(แตถ่ ้าเป็นชาจีนที่ดื่มกนั โดยทั่วไปจะใช้เวลาประมาณ 6 นาท)ี สมุนไพรทใ่ี ชม้ ีท้ังสมนุ ไพรเดี่ยวหรือตํารับ นาํ้ ที่ใช้เป็นน้ํารอ้ นอุณหภูมิไม่ เกนิ 100 องศาเซลเซียส สดั ส่วนของผงสมุนไพรและนา้ํ ร้อนที่ใช้จะแตกตา่ งกนั ตามชนิดของสมุนไพร โดยทว่ั ไป จะใชส้ มนุ ไพรประมาณ 1 หยบิ มอื (1-2 กรมั ) ต่อนํา้ 1 แกว้ (200-250 ซซี )ี 3. ยาดอง ยาดอง หมายถงึ การปรุงยาโดยการหมกั สมนุ ไพรกบั สารละลายที่ตอ้ งการ เพ่อื จะสกดั ตวั ยาออกจากสมุนไพรและ สามารถควบคมุ เชือ้ จุลินทรยี ไ์ มใ่ หเ้ จรญิ เติบโต ทําใหย้ าดอง สามารถเกบ็ ได้นานขน้ึ ท้งั ยังเหมาะกบั ตวั ยาที่โอสถสารสลายตวั ดว้ ยความร้อน วิธกี ารดองยานัน้ มีอยู่หลายวิธี เช่น การดองสุรา การดองน้ําผง้ึ การดองเกลือ การดองเปร้ยี ว การดองนาํ้ มตู ร การ ดองขา้ วหมาก เป็นต้น ในทนี่ ข้ี อยกตัวอยา่ งยาดองสุรา ยาดอง นํา้ ผงึ้ ยาดองเปรย้ี ว  

33 3.1 การดองสรุ า ยาดองสรุ าเปน็ การนําเอาสมนุ ไพรท่ีผ่านการลา้ ง หั่น ตากหรือผงึ่ ให้แห้ง(การใชส้ มนุ ไพรสดทยี่ ังมี ความชื้นสูงอาจทาํ ใหย้ าดองนั้นเน่าได้)มาห่อดว้ ยผ้าขาวบาง แล้วใส่โหลสําหรับดองทีแ่ ห้งสะอาด จากนนั้ นํา เหล้าโรงหรือเหล้าขาวรนิ ใสล่ งไปพอท่วมตวั ยา แลว้ กดใหห้ อ่ ยาสมุนไพรจมลงในน้ําเหล้าไวส้ ักครู่ ปดิ ฝาขวด โหลให้สนทิ โดยใช้ผ้าคลุมปากโหล กอ่ นปิดฝา(เกลยี ว) หรอื ใช้ผ้าคลมุ มดั ฝาโหล(ฝาแกว้ ) จะทาํ ให้ปิดไดส้ นิท ยง่ิ ขึน้ ท้งิ ไวป้ ระมาณ 30 วนั อาจนาํ เอาโหลยาดองไปตากแดด หรอื เอาไปหมกไวใ้ นยุ้งข้าวเปลือก จะทาํ ให้ อุณหภมู ิสงู ข้ึน ช่วยใหก้ ารสกดั สารดว้ ยแอลกอฮอล์ทําไดด้ ีข้นึ ในกรณีน้ใี ช้เวลาประมาณ 15 วัน กส็ ามารถ นาํ มาด่มื เป็นยาดองเหล้าได้แลว้ การเปิดโหลคนบอ่ ยๆ หรอื การใชว้ ัตถุดิบสมุนไพรทยี่ อ่ ยขนาดใหเ้ ลก็ ลง จะทาํ ใหก้ ารสกัดสารทาํ ไดด้ ีขน้ึ เช่นกัน ข้อระวงั 1. สตรมี ีครรภ์ ผปู้ ่วยดว้ ยโรคความดันโลหติ สงู ผู้ปว่ ยดว้ ยโรคหวั ใจ ไมค่ วรด่มื ยาดองสรุ า 2. ไม่ควรด่ืมเกิน 2 ถว้ ยตะไลต่อวนั 3.2 การดองนา้ํ ผึง้ ทําเชน่ เดยี วกบั การดองสุราแต่ใช้นาํ้ ผึ้งแทน ไมน่ ิยมห่อตวั ยาด้วยผ้าขาวบาง นาํ้ ผงึ้ สามารถใชด้ องยาได้ เพราะนํ้าผ้งึ จะควบคมุ เชื้อจลุ ินทรียไ์ มใ่ ห้เจรญิ เติบโต จงึ นิยมใช้นํ้าผง้ึ ดองผลไม้สมนุ ไพร เชน่ กลว้ ย ยอ สมอ มะขามปอ้ ม เป็นต้น 3.3 การดองเปร้ียว เป็นการสกัดโอสถสารจากสมนุ ไพรดว้ ยนํ้า แต่ใช้การคมุ เชือ้ ดว้ ยความเปรี้ยว ซึ่งความเปร้ียวอาจมา จากมะขาม มะกรดู สารสม้ หรือสมนุ ไพรรสเปรี้ยวอ่นื ๆ วีธีการดองเปร้ยี วนี้จะต้มสมนุ ไพรซง่ึ มีสมนุ ไพรที่มีรส เปรย้ี วรวมอยดู่ ว้ ยกอ่ น แล้วตง้ั ทงิ้ ไว้ระยะหนง่ึ เช่น 7 หรอื 15 วันแล้วแตต่ ํารับ หรือบางตํารบั ใหด้ วู า่ ผลมะกรูด เป่ือย  

34 4. การฝน การฝน คอื การนําสมุนไพรมาฝนกบั หนิ ลับมดี และละลายด้วยนํ้ารับประทาน สมนุ ไพรทใี่ ชส้ ว่ นใหญไ่ ด้ จากแกน่ หรอื ราก ในตาํ รับยาทใ่ี ช้มักประกอบดว้ ยสมนุ ไพรหลายชนดิ โดยสัดส่วนของสมนุ ไพรทีใ่ ชอ้ าจเทา่ กนั หรือต่างกนั ก็ได้ นอกจากนยี้ ังมีการฝนยาอีกประเภทหนงึ่ ท่ไี มไ่ ดใ้ ชส้ มุนไพรทเี่ ป็นชนิ้ ใหญ่ๆ ฝนกับนํา้ กระสาย แต่ได้จากสมุนไพรท่บี ดเป็นผงละเอียดแลว้ นาํ มาผสมกบั สารยดึ เกาะ เช่น น้าํ ผึ้ง แลว้ ทาํ เปน็ แท่ง เมอ่ื จะใช้ก็ นาํ มาฝนกบั นา้ํ กระสายยารับประทาน 5. ยาลกู กลอน ยาลกู กลอนทาํ โดยบดสมุนไพรแหง้ ให้เป็นผงละเอยี ดในขนาดทีพ่ ร้อมจะถกู สกัดด้วยน้าํ ย่อยภายใน กระเพาะอาหารและลาํ ไส้ แลว้ นําผงยานัน้ มาผสมกับสารยดึ เกาะเพ่ือให้ปั้นเปน็ ลกู กลอนไดแ้ ละแตกตวั ไดด้ ีเม่อื เข้าสู่ระบบทางเดนิ อาหาร สารยดึ เกาะที่ดีท่สี ุดคอื นาํ้ ผ้ึง เมอื่ ผสมผงยากบั น้าํ ผึง้ แลว้ ใหท้ ดลองปั้นดู หากปน้ั แล้วแตกให้เตมิ น้าํ ผึง้ แตถ่ ้าป้นั แล้วเหนียวตดิ มือ ให้ผสมผงยาเพม่ิ จนสามารถปัน้ เป็นกอ้ นไม่ตดิ มือ จากนัน้ นํา ลกู กลอนท่ปี ้นั ได้ไปผ่งึ แดดประมาณ 2 วนั หรืออบท่ี 50 องศา 48 ชว่ั โมง เก็บในขวดสะอาดและแหง้ สนิท ปิด ฝาเก็บไว้ในท่แี ห้ง โปร่ง ไมม่ แี ดดส่อง เรื่องที่ 3 ความหมายของคาํ ที่ควรรู้ กํามือ คือ ขนาดของสมุนไพรท่ีกําไว้ในมือ โดยให้ปลายน้ิวหัวแม่มือจรดกับปลายน้ิวชี้ เช่น ต้นบานไม่รู้โรย 1 กํามือ หมายถึง เอาต้นบานไม่รู้โรยมาขดทับกันเป็นท่อนขนาด 1 กํามือ ยาวประมาณ ครงึ่ ฝ่ามือ แลว้ เอาตอกหรือเชอื กมดั ไว้ ถา้ เป็นรากไม้ เช่น รากยา่ นาง 1 กํามือ หมายถึง เอารากมาหั่นเป็นท่อน ยาวประมาณคร่ึงฝ่ามอื นาํ มามดั รวมกันไดข้ นาด 1 กํามือ หยิบมือ คอื ขนาดทใ่ี ช้น้วิ หัวแมม่ ือ นวิ้ ชี้ และกลาง หยิบขนึ้ มา ทัง้ หา้ หมายถงึ ใชท้ ัง้ ต้น ราก ใบ ดอก ผล ส่วน หมายถงึ ส่วนของการตวง(ปริมาตร) ไมใ่ ชก่ ารชั่ง(น้าํ หนัก) กระสายยา หมายถึง ตัวทาํ ละลายยา เชน่ ใชน้ ้ําเปน็ กระสายยา คือใชน้ า้ํ เป็นตวั ทาํ ละลายยา แก้ว หมายถงึ แก้วธรรมดารปู ทรงกระบอกทใ่ี ชด้ มื่ นํา้ กันทว่ั ไป ขนาดบรรจุ 250 ซซี ี 1 ถว้ ยตะไลเทา่ กับ 30 ซซี ี 1 ช้อนโตะ๊ เทา่ กับ 15 ซซี ี  

35 เรือ่ งที่ 4 การปอ้ งกนั อันตรายทอี่ าจเกดิ ขน้ึ จากการใช้ยา 1. ถ้ายาใดไมเ่ คยกินมาก่อนเลย ควรเริ่มกินในขนาดทีน่ ้อยๆ ก่อน เช่น กนิ เพียงครึง่ หน่ึงของขนาดที่ กาํ หนด ให้รอดูวา่ มสี ่ิงผิดปกตเิ กดิ ขึ้นในร่างกายหรือไม่ ถ้าไม่มจี งึ คอ่ ยกินต่อไป 2. อย่าใช้ยาเข้มข้นเกนิ ไป เชน่ ยาทบี่ อกวา่ ใหต้ ม้ กนิ ธรรมดาห้ามใช้วิธตี ้มเคีย่ วกนิ เพราะยาจะเขม้ ข้น เกินไปจนทําให้เกิดพษิ ได้ เช่น ยาขับน้าํ นม ถ้าต้มเค่ียวจะทําใหย้ าร้อนเกินไปจนนา้ํ นมแห้งได้ 3. ควรร้พู ิษของยากอ่ นใช้ เพราะไม่มียาอะไรที่ไมม่ ีพษิ การรู้จักพษิ จะทําให้มีความระมดั ระวงั ในการใช้ มากขึน้ 4. ในการกนิ ยารกั ษาโรค ไมค่ วรกินยาตวั เดียวทุกวันเป็นเวลานานๆ โดยไม่จาํ เปน็ โดยทัว่ ไปไมค่ วรกิน ยาอะไรตดิ ต่อกนั เกินหนงึ่ เดือน 5. คนทอ่ี ่อนเพลียมาก เด็กออ่ นและคนชราหา้ มใชย้ ามาก เพราะคนเหล่านี้มีกําลงั ตา้ นทานยานอ้ ย จะทาํ ใหย้ าเกดิ พษิ ไดง้ ่าย  

36 ใบงาน จงตอบคาํ ถามดงั ตอ่ ไปน้ี 1. ใหบ้ อกวิธีการเตรียมวัตถดุ ิบสมนุ ไพร .......................................................................................................................................................... .......................................................................................................................................................... .......................................................................................................................................................... .......................................................................................................................................................... ............................................................................................................... 2. จงอธิบายการตม้ ยาสมนุ ไพรว่ามีข้อดอี ยา่ งไร .......................................................................................................................................................... .......................................................................................................................................................... .......................................................................................................................................................... .......................................................................................................................................................... ............................................................................................................... 3. วธิ กี ารนําสมุนไพรมาใช้ ในทอ้ งถ่ินของตนเองมีกว่ี ิธี อะไรบา้ ง จงอธิบาย .......................................................................................................................................................... .......................................................................................................................................................... .......................................................................................................................................................... .......................................................................................................................................................... ............................................................................................................... 4. คาํ วา่ หยิบมือ มีความหมายวา่ อยา่ งไร .......................................................................................................................................................... .......................................................................................................................................................... .......................................................................................................................................................... .......................................................................................................................................................... ...............................................................................................................  

37 บทท่ี 4 สมนุ ไพรรอบบ้าน (ตามทอ้ งถ่ิน) แผนการเรียนรู้ประจาํ บท บทที่ 4 สมนุ ไพรรอบบา้ น (ตามทอ้ งถน่ิ ) สาระสําคญั 1. ลกั ษณะ คณุ สมบตั ิ สมุนไพรรอบบ้าน (ตามทอ้ งถิน่ ) ผลการเรียนรูท้ ี่คาดหวงั ทราบถึงลกั ษณะ คุณสมบัติ สมนุ ไพรรอบบ้าน (ตามทอ้ งถิน่ ) เชน่ ข่า ตะไคร้ มะกรดู มะรมุ ขงิ ขมนิ้ ฯลฯ ขอบข่ายเนอื้ หา เมือ่ ศึกษาบทที่ 1 จบแล้ว ผู้เรยี นสามารถ 1. อธบิ ายลักษณะ สมุนไพรรอบบ้าน (ตามทอ้ งถ่ิน)ได้ 2. อธิบายคณุ สมบัติ สมุนไพรรอบบา้ น (ตามทอ้ งถ่ิน)ได้ กจิ กรรมการเรยี นรู้ 1. ทําแบบประเมินผลตนเองกอ่ นเรียน บทที่ 4 2. ศกึ ษาเอกสารการสอน บทที่ 4 3. ปฏิบตั ิกิจกรรมตามที่รับมอบหมายในเอกสารการสอน 4. ทาํ แบบประเมนิ ผลตนเองหลังเรยี น บทที่ 4 ส่ือการสอน 1. เอกสารการสอน บทที่ 4 2. ใบความรู้ 3. ใบงาน 4. หนังสอื ประเมนิ ผล 1. ประเมินผลตนเองก่อนเรยี นและหลงั เรยี น 2. ประเมนิ ผลจากการสอบประจาํ ภาคการศึกษา 3. ประเมินผลจากการสังเกตพฤติกรรมการมสี ่วนร่วมผลการเรยี นรู้  

38 เรื่องท่ี 1 ลกั ษณะ คุณสมบัติ สมุนไพรรอบบ้าน (ตามท้องถ่ิน) วิถชี วี ติ คนไทยมกี ารใชส้ มนุ ไพรมานาน อาหารไทยส่วนใหญ่มีสมนุ ไพรเป็นส่วนประกอบคนไทยจึงมัก ปลกู สมุนไพรหลายชนิดไวใ้ นเขตรั้วบา้ นเพ่อื เป็นพืชผกั สวนครัวใช้ในการประกอบอาหารในชีวิตประจาํ วนั และ ใช้แก้อาการตา่ ง ๆ ยามจาํ เปน็ ชอื่ ลักษณะ สรรพคณุ ข่า ต้นข่าจัดเป็นไมล้ ม้ ลุก มคี วามสูงของลําต้น ใบ – ใช้สําหรับแกโ้ รคกลากเกลอ้ื น แกป้ วดเม่ือยบรเิ วณข้อ ตะไคร้ ประมาณ 1.5 – 2 เมตร บริเวณส่วนของเหงา้ ต่างๆ และช่วยในการฆ่าพยาธิ ให้รสเผ็ดร้อน จะมีขอ้ และปล้องค่อนข้างชัดเจนทเี ดียว ส่วน ดอก – ใช้สาํ หรับแก้โรคกลากเกลอื้ น ให้รสเผ็ดร้อน ใบเป็นใบเด่ียวออกเรยี งสลับ ลักษณะทรงรี ผล – ช่วยแกอ้ าการปวดทอ้ ง คล่ืนไสอ้ าเจยี น แก้บิด หรือ และดอกจะออกท่ีบริเวณยอดของข่า มดี อก ท้องอืดท้องเฟอ้ และชว่ ยใหก้ ระเพาะยอ่ ยอาหารได้ดขี ้ึน ให้รส ยอ่ ยขนาดเล็ก สขี าว สว่ นปลายจะแยก เผ็ดร้อนฉุน ออกเปน็ 3 กลบี และบรเิ วณโคนตดิ กนั คล้าย หนอ่ – ชว่ ยในการบํารงุ ธาตุไฟ และแก้ลมแน่นหน้าอก ให้รส หลอดส้ันๆ เป็นใบประดับรปู รีหรือไข่ และผล เผด็ ร้อนหวาน เป็นทรงกลมเม่ือผลแหง้ จะแตกไดง้ ่าย เหงา้ – ใชต้ ํากับมะขามเปียกและเกลอื ใหส้ ตรีรบั ประทานหลัง คลอด ชว่ ยขับเลือดคาวปลา แก้อาการตกเลือด หรือขับรก ตน้ ตะไครจ้ ดั เปน็ พชื ลม้ ลุก มีความสงู ของลําต้น นอกจากนย้ี งั ช่วยแก้อาการปวดท้อง หรือจกุ เสียดแนน่ ช่วย ประมาณ 4 – 6 ฟตุ ซง่ึ ลาํ ตน้ น้นั จะมกี าบหอ่ หมุ้ ขบั ลมให้กระจาย แก้พษิ แกบ้ ดิ แก้อาการฟกชาํ้ แก้ลมป่วง อยรู่ อบใบ สว่ นใบน้ันจะมีลักษณะยาวเรียว ชว่ ง แกส้ นั นิบาตหนา้ เพลงิ และแก้โรคกลากเกล้อื น ให้รสเผด็ รอ้ น ปลายจะมขี นหนาม ลักษณะลาํ ต้นรวมกันเป็นกอ ขม และมกี ล่ินหอม และในใบของตน้ ตะไคร้น้แี หละที่ ตน้ แก่ – ใช้ตําผสมกับนํา้ มันมะพร้าว ชว่ ยในการแก้อาการ อดุ มด้วยนา้ํ มนั หอมระเหย สาํ หรบั ดอกของตน้ ปวดเมือ่ ยตามกล้ามเน้ือต่างๆ หรือข้อ และแก้ตะครวิ ให้รส ตะไคร้น้ันจะออกเปน็ ช่อยาวและมีดอกเล็กๆ เผด็ รอ้ นซ่า ฝอยๆ อยูม่ ากมาย โดยสว่ นตน้ หวั มกั จะนําไป ราก – ช่วยแก้อาการเหน็บชา แกเ้ สมหะและโลหิต และชว่ ย ประกอบอาหาร ซงึ่ เป็นพืชท่อี ยูใ่ นตระกูลหญา้ ขับเลอื ดลมให้เดินสะดวก ให้รสเผ็ดร้อนปรา่ สามารถขึ้นและเจรญิ เติบโตไดง้ า่ ย ใบ – ชว่ ยแกอ้ าการไข้ และลดความดนั โลหติ ให้รสหอมปรา่ ตน้ – ช่วยแก้โรคทางเดินปสั สาวะ ชว่ ยขับลม แก้นิ่ว รวมทง้ั ดบั กล่นิ คาว และชว่ ยให้เจริญอาหาร ใหร้ สหอมปร่า เหง้า – ช่วยบาํ รุงไฟธาตุ แก้กระษัย ชว่ ยขบั ลมในลาํ ไส้ รวมท้ังแกอ้ าการเบ่อื อาหาร แก้ขัดปสั สาวะ และแก้ปัสสาวะ พิการ โรคนว่ิ ให้รสหอมปร่า ทัง้ ต้น – ชว่ ยขับเหงอ่ื บํารงุ ธาตุ รวมทั้งขบั ปัสสาวะ แก้อาการ ปวดท้อง และแก้หดื ให้รสหอมปร่า  

39 ชอื่ ลักษณะ สรรพคณุ ขงิ สาํ หรับตน้ ขงิ น้ันเปน็ ไมล้ ้มลกุ มีเหงา้ อยู่ใต้ดินสี เหง้า – ชว่ ยในการกระตุ้นการบีบตวั ของกระเพาะอาหารและ ขมน้ิ ชนั นํ้าตาลอมเหลือง สว่ นเนือ้ ในจะเป็นสีนวลๆ มี ลาํ ไส้ ช่วยขบั เสมหะ แกโ้ รคบิด ช่วยเจริญอากาศธาตุ กลิ่นอันเป็นเอกลกั ษณข์ องขิง ขึน้ โดยการแทง ตลอดจนขับลม ช่วยแก้ท้องอดื จุกเสียด แนน่ ทอ้ ง หอบไอ หน่อหรอื ลําตน้ เทียมขึ้นมาบนดิน สว่ นใบเปน็ และคลน่ื ไส้อาเจยี น ให้รสหวานเผ็ดรอ้ น ใบเด่ยี วออกแบบเรยี งสลับกนั เปน็ รปู ขอบ ตน้ – ชว่ ยแกอ้ าการทอ้ งร่วงหรือจุกเสียด ชว่ ยขบั ลมให้ผาย ขนาน แผน่ ใบสีเขียวเข้ม ขอบเรยี บ และดอก เรอ ใหร้ สเผ็ดร้อน นัน้ จะออกเปน็ ช่อสเี หลอื งอมเขียว แทง ใบ – ชว่ ยแก้อาการนวิ่ ฟกชาํ้ บาํ รุงกาํ เดา รวมท้ังชว่ ยขับ ออกมาจากเหงา้ ใต้ดิน สว่ นผลจะมีลักษณะ ปสั สาวะ ฆ่าพยาธิ และแก้โรคเกี่ยวกับตา ให้รสเผ็ดร้อน กลมและแหง้ ขา้ งในมีเมล็ดมากมาย ดอก – ช่วยในการย่อยอาหาร แก้อาการปัสสาวะขดั และช่วย แก้โรคอาการประสาทที่ทาํ ให้จิตใจขนุ่ มัว ใหร้ สเผ็ดร้อน ราก – ชว่ ยในการเจริญอาหาร แก้แน่น ช่วยขบั เสมหะใน ลําคอ แกล้ ม แก้พรรดกึ และช่วยบาํ รงุ เสียงใหก้ ังวานไพเราะ ใหร้ สหวานเผ็ดร้อนและขม ผล – เปน็ ยาอายวุ ัฒนะ ชว่ ยแก้อาการไข้ บํารุงน้ํานม แก้ไอ เจ็บคอ คอแห้ง ตลอดจนตาฝา้ ฟาง ให้รสหวานและเผ็ด ตน้ ขมิ้นชันเปน็ พืชล้มลกุ ชนดิ หนงึ่ จดั อยู่ใน เหงา้ – ชว่ ยในการแกไ้ ขเพ่อื ดี หรือเพอ้ คลงั่ ตลอดจนเปน็ ไข้ ตระกลู เดียวกับขิง มอี ายไุ ด้หลายปี ความสงู เรอ้ื รัง ชว่ ยแกป้ ัญหาโรคผิวหนังต่างๆ อาการผอมเหลือง แก้ ลาํ ตน้ ประมาณ 30 – 95 เซนติเมตร มี เสมหะและโลหิต รวมทงั้ ชว่ ยสมานแผล แก้ธาตพุ ิการ ช่วย รากเหง้าอยูใ่ ต้ดินเป็นรูปทรงไข่ อวบและสั้น สมานแผล แก้ผืน่ คนั ไปจนถงึ โรคทอ้ งร่วง ขบั ผายลม และมแี ขนงรปู ทรงกระบอกแตกออกเปน็ 2 ตลอดจนชว่ ยคมุ ธาตุ ขับกลิน่ และสิง่ สกปรกภายในรา่ งกาย ด้าน สว่ นเนื้อในของเหง้านั้นมกี ลิ่นหอมฉุน ของเราออกมา และรกั ษาบาดแผลในกระเพาะอาหารไดอ้ ีก แบบเฉพาะตวั สเี หลอื งอมส้ม หรือเหลือง ด้วย นอกจากนีย้ ังสามารถนํานา้ํ ทค่ี นั้ ไดจ้ ากเหงา้ สดมาหยอด จําปาอมแสด เปน็ ใบเดยี่ ว ตรงกลางใบมสี แี ดง ตา แก้อาการตาบวมหรอื แดงได้ด้วย รวมทัง้ แก้แผลถลอก ลด เขม้ เหงา้ เรียงตวั เป็นวงซ้อนทับกัน และดอก อาการอักเสบ แกโ้ รคผิวหนังจากผ่ืนคัน ช่วยให้ผวิ พรรณเปล่ง แทงออกมาจากเหงา้ รปู ทรงกระบอก กลบี ปล่ัง ใหร้ สฝาดหวานเอียน ดอกสีเหลืองอ่อน ส่วนใบประดับสีเขียวอ่อนๆ ผงขมิน้ – ชว่ ยแก้เมด็ ผดผน่ื คนั บรเิ วณผวิ หนังได้ โดยการ และส่วนผลมดี ้วยกนั 3 พู เป็นรูปทรงกลม นาํ ไปเคย่ี วกับนํา้ มนั พชื แลว้ ผสมนํา้ เพอ่ื ทาผวิ บริเวณทม่ี ผี ดผ่ืน คัน หรือใชส้ ําหรับแผลสดก็ได้ ขม้ินสด – นําไปตาํ ผสมกบั ดนิ ประสิวเพียงเล็กน้อย และนํ้า ปนู ใส ใช้สาํ หรบั พอกบาดแผล และแก้อาการเคลด็ ขัดยอกได้ดี หรือสามารถนาํ มารับประทานแกท้ อ้ งร่วง หรือบิด โดยการ นําไปเผาไฟแล้วโขลกผสมกับนาํ้ ปนู ใสรบั ประทาน  

40 ชื่อ ลักษณะ สรรพคุณ กระชาย เปน็ ไมล้ ้มลุก ไม่มีลําต้นบนดิน มเี หง้าใตด้ ิน ซึ่ง เหงา้ – ชว่ ยในการบาํ รุงกาํ ลัง แกล้ าํ ไส้ใหญ่อกั เสบ โรคต่างๆ กระเทยี ม แตกรากออกไป เปน็ กระจุกจาํ นวนมาก อวบ อันเกดิ ในปาก ปากเป่อื ย แกล้ มในกองหทัยวาต รวมท้ังใจสั่น มะกรูด นา้ํ ตรงกลางพองกว้างกวา่ สว่ นหวั และท้าย ใบ บดิ ปวดเบง่ ปวดมวนในช่องท้อง ตลอดจนขบั ระดู แก้มุตกิด เดยี่ ว เรียงสลับในระนาบเดียวกนั รปู ขอบ (อาการตกขาว) ใหร้ สขม และเผด็ รอ้ น ขนานแกมรูปไข่ ตรงกลางดา้ นในของก้านใบมี ราก (นมกระชาย)– มสี รรพคุณคลา้ ยกับโสม ช่วยในการบํารงุ รอ่ งลกึ ดอกชอ่ ออกแทรกอยู่ระหว่างกาบใบที่ รา่ งกายให้กระชุ่มกระชวยกระปร้ีกระเปรา่ รวมทงั้ คลายความ โคนตน้ กลบี ดอกสีขาวหรอื ชมพูออ่ น ใบ กําหนดั ทางกามารมณ์ แก้โรคกามตายด้าน เสรมิ สรา้ ง ประดบั รูปใบหอก สมี ่วงแดง ดอกยอ่ ยบาน สมรรถภาพทางเพศ ให้รสขม และเผด็ รอ้ น คร้งั ละ 1 ดอก ผลของกระชายเป็นผลแหง้ กระเทียมเปน็ พชื ลม้ ลุกประเภทกินหัว ลําต้น ประโยชนข์ องกระเทยี มในทางตรงก็คอื เปน็ ส่วนประกอบของ สงู 1-2 ฟตุ มหี ัวลกั ษณะกลมแปน้ ขนาดเส้น อาหารคาวได้หลากหลายมาก ท้งั ตม้ ผดั แกง ทอด ส่วน ผา่ นศนู ยก์ ลาง 1-2 น้ิว ภายนอกของหวั ประโยชนท์ างอ้อมกค็ ือสรรพคณุ ของกระเทียมในด้านยาและ กระเทียมมีเปลือกบางๆหมุ้ อยู่หลายชั้น การปอ้ งกนั รักษาโรคนนั่ เอง ซึ่งกระเทียมสามารถให้ประโยชน์ ภายในหัวประกอบแกนแข็งตรงกลาง ดา้ น ตอ่ ร่างกายของเราในหลายๆดา้ นอยา่ งไมน่ า่ เช่อื อีกทงั้ คน นอกเปน็ กลีบเล็กๆ จํานวน 10-20 กลีบ เนื้อ โบราณยังใช้กระเทยี มในการรักษาโรคผิวหนังจําพวกกลาก กระเทียมในกลบี มสี เี หลืองอ่อนและใส มีนํา้ เกลื้อน ประโยชน์ของกระเทียมเพม่ิ เติมคือช่วยรักษาแผลทเ่ี นา่ เป็นองค์ประกอบสูง มกี ลน่ิ ฉนุ จดั เปอื่ ยและเปน็ หนอง ป้องกนั โรคเบาหวาน และช่วยขจัดพษิ สารตะกั่ว มะกรูดเปน็ ไมย้ ืนตน้ ขนาดเล็ก แตกก่ิงกา้ น ผวิ ผลสดและผลแห้ง รสปรา่ หอมร้อน สรรพคุณแกล้ มหน้ามืด ลาํ ต้นและกิ่งมหี นามแข็ง ใบ เป็นใบประกอบท่ี แก้วงิ เวยี น บาํ รงุ หวั ใจ ขับลมลาํ ไส้ ขบั ระดู มีใบยอ่ ยใบเดียว สเี ขยี วหนา มีลกั ษณะคอดกวิ่ ผล รสเปรีย้ ว มสี รรพคุณเปน็ ยาขับเสมหะ แกไ้ อ แก้น้าํ ลาย ทก่ี ลางใบเป็นตอนๆ มีก้านแผ่ออกใหญ่เท่ากบั เหนยี ว ฟอกโลหิต ใชส้ ระผมทาํ ใหผ้ มดกดาํ ขจดั รังแค แผ่นใบ ทําให้เห็นใบเป็น 2 ตอน ใบสีเขยี วแก่ ราก รสเยน็ จืด แกพ้ ษิ ฝีภายใน แก้เสมหะ แกล้ มจุกเสยี ด ค่อนขา้ งหนา มกี ลน่ิ หอมมากเพราะมตี อ่ ม นํ้ามะกรดู รสเปรีย้ ว กัดเสมหะ ใชด้ องยามสี รรพคณุ เป็นยา นํา้ มันอยู่ ดอก ออกเป็นกระจกุ 3–5 ดอก ฟอกโลหิตสาํ หรับสตรี กลบี ดอกสขี าว ร่วงงา่ ย ผล มหี ลายแบบ ใบ รสปร่าหอม แกไ้ อ แกอ้ าเจยี นเปน็ โลหิต แกช้ าํ้ ใน และดบั แล้วแต่พนั ธุ์ผลเลก็ เทา่ มะนาว ผิวขรุขระน้อย กลิ่นคาว กวา่ และไม่มีจุกที่หัว  

41 ชอ่ื ลกั ษณะ สรรพคุณ มะนาว ไมพ้ ุ่ม สูง 2-4 เมตร ก่งิ อ่อนมีหนาม ใบ ใชน้ ้ํามะนาวและผลดองแหง้ เปน็ ยาขับเสมหะแก้ไอ แกโ้ รค ประกอบชนดิ มีใบยอ่ ยใบเดียว เรียงสลับ รปู ไข่ เลอื ดออกตามไรฟนั เพราะมวี ติ ามนิ ซี นํา้ มะนาวเปน็ กระสาย รปู วงรหี รอื รปู ไข่แกมขอบขนานกว้าง 3-5 ซม. ยาสําหรับสมนุ ไพรที่ใชข้ ับเสมหะเช่นดปี ลโี ดยกินรว่ มกบั ยาขบั ยาว 4-8 ซม. เน้ือใบมีจุดนาํ้ มันกระจาย กา้ น ลม เช่น ขงิ ใบมคี รบี เล็ก ๆ ดอกเด่ียวหรือชอ่ ออกทปี่ ลาย ก่งิ และทีซ่ อกใบ กลีบดอกสขี าว กลนิ่ หอม ร่วง ง่าย ผลเปน็ ผลสด กลมเกลี้ยง ฉ่ํานาํ้ กระเพรา กะเพราน้ันเป็นไมล้ ้มลกุ แตกกง่ิ ก้าน ลําตน้ สูง ใบ – ช่วยในการบํารงุ ไฟธาตุ ขับลม ผายลม ช่วยให้เรอ แก้ ใบแมงลัก ประมาณ 30 – 60 เซนติเมตร จัดเป็นพชื สวน คลน่ื เหียนอาเจียน แก้ลมตานซาง ปวดทอ้ ง จุกเสียด สว่ นใบ ครัว ใช้สาํ หรบั เป็นสว่ นประกอบของอาหาร สดหรอื แห้งสามารถนาํ ไปชงนาํ้ รอ้ นดื่มขบั ลมในเดก็ อ่อน และ ลาํ ตน้ ค่อนข้างแขง็ มขี น เปน็ ใบเดย่ี ว เรียงเป็น บํารุงธาตุ ตลอดจนน้ําท่ีค้นั จากใบสามารถรับประทานแกไ้ ข้ รูปรี ปลายแหลมมน ส่วนโคนแหลม ขอบจัก ช่วยขับเหงอ่ื ขบั เสมหะ ทารกั ษาโรคผิวหนังอยา่ งกากเกล้ือน ฟันเลือ่ ยเปน็ คลน่ื บรเิ วณแผ่นใบมขี น ส่วน และสามารถหยอดหูช่วยแก้อาการปวดหูไดด้ ว้ ย ให้รสเผ็ดรอ้ น ดอกออกเปน็ ชอ่ และดอกย่อยคล้ายระฆงั รากและต้น – ช่วยแก้พิษตานซาง จุกเสียด ท้องอืดทอ้ งเฟอ้ ขนาดเลก็ มีสีขาวหรือขาวอมม่วงแดง ส่วน ตลอดจนช่วยบํารุงธาตุ และแกโ้ รคสนั นบิ าต ใหร้ สเผ็ดรอ้ น โคนกลีบเชอื่ มติดกนั และปลายแยกออกเป็น 2 เมล็ด – ช่วยบาํ รุงผิวให้ชมุ่ ชื้น ให้รสเผด็ รอ้ น ส่วน กลบี เลีย้ งเนอ้ื แขง็ สีแดงอมนาํ้ ตาลแกม น้าํ มันหอมระเหย – ชว่ ยในการยับยัง้ การเจริญเติบโตของวณั มว่ ง ก้านดอกย่อยมสี เี ขียว โรค และมีฤทธช์ิ ่วยฆ่าแมลงและยุง สารสกดั จากนาํ้ หรอื แอลกอฮอลช์ ว่ ยคลายกล้ามเนอ้ื รกั ษาแผลในกระเพาะอาหาร และช่วยลดระดับนํ้าตาลในเลอื ดได้ แมงลกั มลี ักษณะทรงต้น ใบ ดอก และผล ตาํ รายาไทยมักเรียกผลแมงลักว่าเมด็ แมงลัก ใชเ้ ป็นยาระบาย คลา้ ยโหระพา ต่างกันที่กลิ่น ใบสเี ขยี วอ่อน ชนิดเพ่มิ กาก เพราะเปลือกผลมีสารเมือกซง่ึ สามารถพองตัวใน กวา่ กลีบดอกสีขาวและใบประดับสีเขยี ว นาํ้ ได้ 45 เทา่ เหมาะสาํ หรับ ผู้ทไี่ ม่ชอบกินอาหารท่ีมกี ากเช่น ผกั ผลไม้ ใชผ้ ลแมงลกั 1-2 ชอ้ นชา แชน่ ้ํา 1 แกว้ จนพองตวั เตม็ ที่ กินกอ่ นนอน ถ้าผลแมงลกั พองตัวไมเ่ ต็มท่จี ะทําให้ ทอ้ งอืดและอจุ จาระแขง็ จากการทดลองพบวา่ แมงลกั ทําให้ จาํ นวนครัง้ ในการถ่ายและปรมิ าณอุจจาระเพิม่ ข้ึน รวมท้ังทํา ใหอ้ ุจจาระอ่อนตัวกวา่ ปกติ นอกจากนีใ้ บและตน้ สดมฤี ทธิ์ขับ ลม เนื่องจากมนี ้ํามันหอมระเหย  

42 ชอ่ื ลักษณะ สรรพคณุ บัวบก ฟกั ทอง ตน้ ใบบวั บกจดั เปน็ จัดเป็นพืชล้มลกุ ทีม่ อี ายุได้ ท้ังตน้ – ช่วยบาํ รุงกาํ ลงั บํารุงหัวใจ แกอ้ าการออ่ นเพลยี แก้ ยอ หลายปี มักจะเลื้อยแผ่ไปตามดิน โดยเฉพาะ ชํ้าใน รวมทัง้ ชว่ ยขับปสั สาวะ แก้ร้อนในกระหายนํา้ ชว่ ยรกั ษา ในบรเิ วณที่มคี วามชื้นแฉะ ซงึ่ จะมีการแตก บาดแผล ตลอดจนแกโ้ รคเรอื้ น กามโรค ปวดศีรษะข้างเดียว รากฝอยตามขอ้ ตา่ งๆ ส่วนใบของต้นใบบัวบก และแกอ้ าการตับอกั เสบ ให้รสหอมเย็น น้ันจะออกเป็นใบเดี่ยวแบบเรียงสลับดูคลา้ ยๆ เมล็ด – ชว่ ยแก้อาการไข้ ปวดศีรษะ และแก้โรคบดิ ให้รสขม กบั รปู ไตของคน โดยมีขอบหยัก และบริเวณ เย็น กา้ นดอกจะค่อนขา้ งยาวเลยทีเดยี ว และมีดอก สมี ว่ งออกเปน็ ช่อๆ อยูต่ ามซอกใบ มขี นาด เลก็ ๆ ประมาณ 2 – 3 ดอก โดยมีผลเป็นผล แห้งสามารถแตกออกได้ เป็นพืชลม้ ลกุ มีเถายาวเล้ือยปกคลมุ ดิน ลาํ ตน้ เนื้อฟักทองประกอบด้วยแปง้ โปรตีน ไขมนั ฟอสฟอรัส มลี กั ษณะกลมหรอื เปน็ เหลย่ี มมน ผวิ เปน็ รอ่ ง แคลเซยี ม เหล็ก และ สารเบตา้ - แคโรทนี ซึ่งเปน็ สารท่ี ตามความยาว มีขนอ่อน ๆ มีหนวดสาํ หรบั ยดึ ร่างกายนําไปสรา้ งวติ ามิน เอ เมลด็ มฟี อสฟอรัสในปริมาณสูง เกาะยึดบริเวณข้อ ใบเป็นใบเดี่ยว มีขนาดใหญ่ รวมทง้ั แป้ง โปรตีน และน้ําประมาณรอ้ ยละ 40 ส่วนเมลด็ แห้ง ออกเรียงสลบั กนั โคนใบเวา้ คล้ายรูปหวั ใจ มสี ารคิวเคอรบ์ ทิ ีน (Cucurbitine) เป็นสารสําคญั ซ่งึ มฤี ทธิ์ฆา่ ขอบใบหยักเป็นเหลยี่ ม 5 เหล่ียม มีขน พยาธไิ ด้ผลดี นอกจากน้นั ฟกั ทองสามารถกระตนุ้ การหล่งั ทง้ั 2 ดา้ นของตวั ใบดอกเป็นดอกเดี่ยวสีเหลอื ง อนิ ซลู นิ ซ่งึ ชว่ ยป้องกนั โรคเบาหวาน ความดันโลหติ ควบคมุ มีขนาดใหญ่ ลกั ษณะคลา้ ยระฆังหรือกระดงิ่ ระดับนํ้าตาลในเลอื ด บาํ รงุ นยั น์ตา ตับและไต เมล็ดใชเ้ ป็นยา ออกบรเิ วณง่ามใบผลมีขนาดใหญ่ มลี ักษณะ ขบั พยาธติ ัวตืด ป้องกันการเกดิ นิว่ ในกระเพาะปสั สาวะ และ เปน็ พูเลก็ ๆ โดยรอบเปลอื กนอกขรขุ ระและ ชว่ ยดับพษิ ปอดบวม รากช่วยแก้พษิ แมลงสัตวก์ ดั ตอ่ ย ยางชว่ ย แขง็ มีสเี ขียวและจะเปลีย่ นเป็นสีเขียวอ่อน แกพ้ ิษผื่นคนั เริม และงูสวัด และ สีเหลืองเขม้ และสเี หลืองตามลําดบั เน้อื ภายในมีสเี หลืองอมเขียว สเี หลือง และสีส้ม เมลด็ มจี าํ นวนมากซง่ึ อย่ตู รงกลางผลระหว่าง เนื้อฟู ๆ มีรปู รา่ งคลา้ ยไข่ แบน มีขอบนนู อยู่ โดยรอบ ไมย้ นื ต้น สงู 2-6 เมตร ใบเด่ียว เรยี งตรงข้าม ตํารายาไทยใช้ผลสดดิบหรือหา่ ม ฝานเปน็ ช้ินบาง ย่างหรือค่วั รูปวงรี กวา้ ง 8-15 ซม. ยาว 10-20 ซม. หูใบ ไฟอ่อน ๆ ให้เหลอื ง ตม้ หรือชงกับนาํ้ ดื่มแกค้ ลน่ื ไส้อาเจยี น อยู่ระหวา่ งโคนก้านใบ ดอกชอ่ ออกที่ซอกใบ ฐานดอกอัดกนั แน่นเป็นรูปทรงกลม กลบี ดอก สขี าว ผลเป็นผลสด เชื่อมติดกันเปน็ ผลรวม ผิวเปน็ ตมุ่ พอง  

43 ชอ่ื ลักษณะ สรรพคณุ มะแวง้ ต้น ไม้พุ่ม สูง 1-1.5 เมตร ลาํ ตน้ มีขนน่มุ ใบเด่ียว ตาํ รายาไทยใชผ้ ลสดแกไ้ อขบั เสมหะ รักษาเบาหวาน เรยี งสลับรูปไขห่ รือรูปขอบขนาน กว้าง 4- ขบั ปัสสาวะ มีการทดลองในสตั ว์ พบวา่ นาํ้ สกัดผลมีฤทธิล์ ด 10 ซม. ยาว 6-12 ซม. ขอบใบเว้า ผิวใบมขี น นํา้ ตาลในเลือด แต่มีฤทธน์ิ อ้ ยและระยะเวลาการออกฤทธส์ิ ้ัน นุม่ ทง้ั สองด้าน ดอกชอ่ ออกตามกิ่งหรอื ท่ีซอก พบสเตยร์ อยดป์ ริมาณค่อนข้างสงู จึงไม่ควรใช้ติดตอ่ กันเป็น ใบ กลีบดอกสมี ่วง ผลเปน็ ผลสด รปู กลม ผล เวลานาน มะแว้งต้นเป็นสว่ นผสมหลัก ในยาประสะมะแวง้ ซ่ึง ดิบสเี ขียวอ่อน ไมม่ ีลาย เมอื่ สกุ สีสม้ องค์การเภสัชกรรมผลิตขึ้นตามตํารบั ยาสามญั ประจาํ บ้านแผน โบราณ ดปี ลี สําหรับต้นดีปลีนน้ั เป็นไมเ้ ถาทมี่ ีรากฝอยอยู่ ใบ – ชว่ ยแก้เส้นสมุ นา (เส้นศูนย์กลางของทอ้ ง) ใหร้ สเผ็ดร้อน ตรงข้อเพือ่ ใช้สําหรับยึดเกาะหรือเลอื้ ยพนั ซงึ่ ผล – มกั เรียกวา่ ดอกดปี ลี ช่วยแกอ้ าการอักเสบ แก้ปวด เถานจ้ี ะเหนียวและแข็ง แตกกง่ิ ก้านมาก ส่วน กลา้ มเนื้อ ช่วยขับพยาธิ รวมทั้งขับระดู ทําให้แท้ง ขับนํ้าดี แก้ ใบของตน้ ดีปลนี ้ันเป็นใบเด่ียวรูปทรงไขส่ เี ขยี ว อาการลมบ้าหมู ไปจนถึงแกอ้ าการนอนไมห่ ลบั แกห้ ลอดลม เข้มๆ ปลายแหลม โคนมน ขอบเรยี บ อาจเปน็ อกั เสบ ชว่ ยให้เจรญิ อาหาร แก้คดุ ทะราด แกเ้ ป็นลมวงิ เวียน คลน่ื เลก็ น้อย และดอกกับผลสดเป็นสีเขยี ว แก้รดิ สีดวงทวาร ตลอดจนแกห้ ืดไอ ชว่ ยขบั ลมในลําไส้ แก้ แตเ่ ม่อื สุกจะกลายเปน็ สีแดง โดยผลจะอัดกัน อาการท้องร่วง และแกป้ ถวธี าตุพิการ ให้รสเผด็ ร้อนขม แนน่ เปน็ ช่อเนอ้ื ผิวจะออกหยาบๆ หน่อย มี เถา – ช่วยลดอาการเกร็งของกลา้ มเน้อื เรียบ รวมทัง้ ชว่ ยให้ เมลด็ เดียวเปน็ เมล็ดขนาดเล็กมากๆ รูปทรง เจรญิ อาหาร แก้ลม แก้อาการรดิ สีดวงทวาร แกป้ วดท้อง จุก กลมและแข็ง สีนํา้ ตาล รวมท้งั มีกลิ่นหอมทม่ี ี เสยี ด และแกป้ วดฟนั แกเ้ สมหะพกิ าร ใหร้ สเผด็ ร้อน เอกลักษณ์เฉพาะตัว นิยมนาํ มาทําเป็นยาโดย ราก – ช่วยแกอ้ าการลาํ ไส้ใหญ่อักเสบ บาํ รงุ ธาตุ แกเ้ สมหะ การตากแดดให้แหง้ กอ่ น แต่ไมเ่ หมาะกับ แกอ้ าการปวดท้อง รวมท้งั แกเ้ ป็นลมวงิ เวยี น แก้หืดไอ ชว่ ยดับ ผู้หญงิ ท่ีกําลังตง้ั ครรภ์อยู่ พิษปัตคาด และแกเ้ ส้นอมั พฤกษ์อัมพาต ใหร้ สเผ็ดร้อนขม เตยหอม สาํ หรับตน้ เตยหอมนัน้ จดั ว่าเป็นไม้ยืนต้นพุ่ม ใบ – ชว่ ยดบั พิษไข้ และบาํ รุงหวั ใจ ชกู าํ ลัง ใหร้ สหวานเยน็ เลก็ ลําตน้ เปน็ ขอ้ ๆ ขึ้นอยู่เปน็ กอๆ โดยลําตน้ หอม ของต้นเตยหอมจะอยูใ่ ต้ดนิ สว่ นใบน้นั จะเปน็ ราก, ต้น – ช่วยขบั ปัสสาวะ แกก้ ระษัย ไตพิการ รวมทงั้ แกไ้ ข้ ใบเดีย่ ว คลา้ ยใบหอก มีกล่ินหอม โดย ทีม่ ีพษิ ร้อน แกพ้ ิษตานซาง และแก้อาการรอ้ นในกระหายนา้ํ ออกแบบเรยี งสลับเวียนกันข้นึ ไปจนถงึ ยอดใบ สเี ขม้ และแขง็ บรเิ วณปลายใบจะแหลม และ ขอบใบนัน้ จะเรียบ เป็นพชื ใบเลี้ยงเดีย่ ว เม่อื เจริญเตบิ โตแล้วจะมรี ากคอยค้ําไว้ชว่ ยในการ พยงุ ลําตน้ ไว้  

44 ชือ่ ลักษณะ สรรพคุณ กล้วยนํา้ ว้า กล้วยนา้ํ วา้ เป็นไมล้ ้มลกุ ลําต้นสงู ประมาณ ราก – ใชต้ ม้ ด่ืมแกไ้ ข้ ร้อนใน กระหายน้าํ ตลอดจนชว่ ยสมาน 3.5 เมตร กาบเรียงซ้อนกนั เปน็ ลาํ ต้น สเี ขยี ว แผลภายใน และอาการท้องเสยี ผน่ื คัน หรือบดิ ให้รสฝาดเย็น อ่อน เปน็ ใบเด่ียวขนาดใหญ่ เรียงสลบั กนั รปู ใบ – นาํ ไปปิง้ ไฟสามารถปดิ แผลที่เกดิ จากไฟไหม้ หรือต้มอาบ ขอบขนาน ปลายมน ขอบและแผ่นใบเรยี บ แก้ผ่นื คันใหร้ สเย็นจืด กา้ นใบเป็นร่องแคบๆ สว่ นดอกจะออกเปน็ ช่อ ยาง – ชว่ ยในการหา้ มเลือด และสมานแผล ให้รสฝาด ตรงปลายห้อยลง หรือทเ่ี รยี กกันว่า หัวปลี ผลดบิ – สามารถนําไปหั่นบดเป็นผง หรอื ชงน้ํารอ้ น และผลเปน็ รูปทรงรี ยาวประมาณ 11 – 13 รบั ประทาน ช่วยแก้อาการทอ้ งเสียเรอื้ รงั ทเี่ ปน็ สาเหตุให้ เซนติเมตร ผวิ เรียบ เนอ้ื ในขาว ผลดบิ มีสเี ขยี ว อาหารไม่ย่อย และช่วยรกั ษาแผลที่เกดิ ในกระเพาะอาหารได้ เมอ่ื สกุ จะเป็นสเี หลือง รสชาติหวาน อร่อย ใหร้ สฝาด โดยใน 1 หวี มผี ลอยู่ประมาณ 10 – 16 ผล ผลสกุ – ใช้เป็นยาระบาย ช่วยในการขับถ่ายอุจจาระ ชว่ ย บาํ รุงร่างกายใหแ้ ขง็ แรง และรกั ษาแผลในกระเพาะอาหารได้ ใหร้ สหวาน หัวปลี – ชว่ ยแก้โรคโลหิตจาง ลดระดบั นาํ้ ตาลในเลอื ด และ แก้กระเพาะอาหารในลาํ ไส้ ใหร้ สฝาด นาํ้ ค้นั จากหัวปลี – ชว่ ยบาํ รงุ โลหิต แกอ้ าการถ่ายเปน็ มูก เลือด ให้รสฝาดเยน็ วา่ นหางจระเข้ ไม้ล้มลุกอายุหลายปี สูง 0.5-1 เมตร ข้อและ วุ้นสดภายในใบที่ฝานออกใช้ปิดพอกรกั ษาแผลสด แผลเรือ้ รัง ปล้องสนั้ ใบเดี่ยว เรียงรอบต้น กว้าง 5- แผลไฟไหม้นํ้ารอ้ นลวก แผลไหมเ้ กรยี ม กินรักษาแผลใน 12 ซม. ยาว 0.3-0.8 เมตร อวบน้ํามาก สี กระเพาะอาหาร และใช้เปน็ ส่วนผสมในเคร่อื งสําอาง น้าํ ยางสี เขยี วอ่อนหรอื สีเขยี วเข้ม ภายในมีวุ้นใส ใตผ้ วิ เหลอื งจากใบเค่ียวให้แหง้ เรียกวา่ ยาดํา เปน็ ยาระบายชนดิ สีเขยี วมีนาํ้ ยางสเี หลือง ใบออ่ นมีประสขี าว เพ่ิมการบบี ตวั ของลําไสใ้ หญ่ ดอกชอ่ ออกจากกลางต้น ดอกย่อย เป็นหลอด หอ้ ยลง สีส้ม บานจากลา่ งข้ึนบน ผลแหง้ แตก ได้ ขี้เหล็ก ไม้ยืนตน้ สงู 10-15 เมตร ใบประกอบแบบขน ตํารายาไทยใช้ดอกเปน็ ยานอนหลับ ลดความดนั โลหิตดอกตูม นก เรียงสลับใบยอ่ ยรูปขอบขนาน กวา้ ง และใบอ่อนเปน็ ยาระบาย ใบแก้ระดูขาว แกน้ ่ิว ขับปัสสาวะ ประมาณ 1.5ซม. ยาว 4 ซม. ใบออ่ นมขี นสี แกน่ แกไ้ ข้ ทาํ ใหน้ อนหลบั รกั ษากามโรค ใบอ่อนและแก่นมี นํ้าตาลแกมเขยี ว ดอกช่อ ออกท่ีปลายก่งิ กลบี สารกลมุ่ แอนทราควิโนนหลายชนิด จึงมีฤทธ์ิเป็นยาระบายใช้ ดอกสีเหลือง ผลเปน็ ฝักแบนยาวและหนา ใบออ่ นครงั้ ละ 2-3 กํามอื ตม้ กับน้ํา 1-1.5 ถว้ ย เติมเกลอื เลก็ นอ้ ย ด่ืมก่อนอาหารเชา้ คร้ังเดียว นอกจากนใ้ี นใบออ่ นและ ดอกตมู ยงั พบสารซึ่งมฤี ทธ์กิ ดประสาทสว่ นกลางทําใหน้ อน หลบั โดยใชว้ ิธีดองเหล้าดมื่ ก่อนนอน  


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook