Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore Guidelines-for-solving-pollution-problems-within-the-school (1)

Guidelines-for-solving-pollution-problems-within-the-school (1)

Published by 0979603906n, 2020-11-07 16:39:12

Description: Guidelines-for-solving-pollution-problems-within-the-school (1)

Search

Read the Text Version

การศึกษาคน้ คว้าองค์ความรู้เร่ือง การแกไ้ ขปัญหามลพษิ ภายในโรงเรยี น มแี นวความคิด ทฤษฎี Guidelines for solving pollution problems within the school คณะผจู้ ัดทา นายพชร ทีฆาวงค์ ชั้น ม.5/3 เลขที่ 2 นางสาวกชพร อ่นุ เครือ ชัน้ ม.5/3 เลขท่ี 3 นางสาวธนญั ญา สรุ ยิ ะ ชน้ั ม.5/3 เลขท่ี 15 นางสาวนิพาดา วรรณสมพร ชน้ั ม.5/3 เลขท่ี 16 นางสาวทอรกั ธนสู าร ชัน้ ม.5/3 เลขท่ี 34 ครูทป่ี รึกษา ครูดารงค์ คันธะเรศย์ เอกสารฉบบั น้เี ป็นส่วนหน่ึงของการศึกษาค้นควา้ และสร้างองค์ความรู้ (IS1) โรงเรียนปัว อาเภอปัว จังหวัดน่าน สานกั งานเขตพ้ืนท่กี ารศกึ ษามัธยมศึกษา เขต 37 ภาคเรยี นท่ี 1 ปีการศึกษา 2563

การศึกษาคน้ ควา้ องค์ความรูเ้ รอ่ื ง การแก้ไขปัญหามลพษิ ภายในโรงเรียน มีแนวความคดิ ทฤษฎี Guidelines for solving pollution problems within the school

คณะผจู้ ัดทา นายพชร ฑฆี าวงค์ ช้ัน ม.5/3 เลขท่ี 2 นางสาวกชพร อุ่นเครอื ชัน้ ม.5/3 เลขที่ 3 นางสาวธนัญญา สุริยะ ชัน้ ม.5/3 เลขท่ี 15 นางสาวนพิ าดา วรรณสมพร ชั้น ม.5/3 เลขที่ 16 นางสาวทอรัก ธนสู าร ช้ัน ม.5/3เลขท่ี 34 ครูทป่ี รึกษา ครดู ารงค์ คันธะเรศย์ เอกสารฉบบั น้ีเปน็ ส่วนหน่ึงของการศึกษาค้นควา้ และสร้างองคค์ วามรู้ (IS1) โรงเรยี นปัว อาเภอปวั จังหวัดนา่ น สานกั งานเขตพน้ื ท่ีการศกึ ษามธั ยมศึกษา เขต 37 ภาคเรียนท่ี 1 ปกี ารศึกษา 2563 ภาคเรียนท่ี 1 ปกี ารศกึ ษา 2563

ก ชอื่ เร่ือง : มลพิษ ผู้จดั ทา : นายพชร ฑฆี าวงค์ เลขท่ี 2 นางสาวกชพร อุ่นเครือ เลขที่ 3 นางสาวธนญั ญา สรุ ยิ ะ เลขท่ี 15 นางสาวนพิ าดา วรรณสมพร เลขท่ี 16 นางสาวทอรกั ธนสู าร เลขท่ี 34 ทีป่ รกึ ษา : ครูดารงค์ คันธะเรศย์ ปีการศกึ ษา : 2563 บทคดั ย่อ เรอื่ ง มลพษิ ในโรงเรียน มจี ดุ มุ่งหมายเพอ่ื การดาเนนิ ชวี ิตของคนไทยเก่ยี วกบั สมุนไพรพื้นบา้ น มี จุดมงุ่ หมายเพ่อื เปน็ แนวทางการศึกษาการดาเนินชีวติ ของคนและนกั เรยี น การศกึ ษาเก่ยี วกบั เรื่องของ สมนุ ไพรพนื้ บ้าน โดยการหาข้อมลู ในเรอ่ื งสมนุ ไพรพน้ื บา้ น หา คาตอบ และ ความคดิ เห็นตา่ งๆจากหลายๆ กระทู้ หาขอ้ มลู เพ่ิมเติมจากขา่ ว หนังสอื พิมพ์ และอนิ เทอร์เน็ตเมอื่ หาขอ้ มูลเสร็จสรรพก็นาข้อมูลมาจดั ทา แบบสอบถามเพอื่ ประเมินผล ผลสรุปพบวา่ นกั เรียนไดม้ ีการศึกษาคน้ ควา้ และมีการช่วยกันคดิ แนวทางในการ แกไ้ ขปญั หาตา่ งๆทุกคนรถู้ ึงการแก้ไขปัญหามลพิษในโรงเรียนศกึ ษาปญั หาของขยะในโรงเรยี น พบวา่ สาเหตุ การเพม่ิ ขึ้นของขยะภายในโรงเรียนทาให้เกดิ เปน็ มลพษิ มาการทง้ิ ขยะไม่เปน็ ท่ี ความมกั งา่ ยและขาดจติ สานึก การใช้ส่ิงของของนกั เรยี นท่ไี ม่คานึงถึงปริมาณขยะที่เพิม่ ขนึ้ ควรปลูกฝงั วิถีการดาเนินชีวิตทีเ่ ป็นมติ รตอ่ สิง่ แวดล้อมใหก้ บั นกั เรียน ให้นกั เรยี นตรรหนกั ถึงปัญหาน้ี และฝกึ การคดั แยกขยะทีส่ ามารถนากลบั มาใช้ ประโยชน์ใหม่ได้ หรือจะเปน็ การรณรงค์ให้นกั เรยี นมีจติ สานกึ ในการทิง้ ขยะให้เป็นท่ี กิตติกรรมประกาศ โครงงานฉบับน้ี สาเรจ็ ลงด้วยความกรณุ าเป็นอยา่ งดยี งิ่ จากคุณครู ดารงค์ คนั ธะเรศย์ ที่ได้ให้ คาแนะนาถ่ายทอดวิชาความรู้ แนวคดิ วิธกี ารดาเนินงานตรวจสอบความถูกตอ้ งสมบรู ณ์ของโครงงานและได้รบั

ข ความร่วมมอื ในการดาเนนิ การค้นหาสบื คน้ ข้อมูล และ บุคคลในโรงเรียนที่ให้ความรเู้ ร่ืองมลพษิ ส่งิ แวดล้อม ทาง คณะผจู้ ัดทาขอขอบพระคณุ เป็นอย่างสูงไว้ ณ โอกาสนี้ด้วย คณุ ค่าและประโยชนอ์ ันพึงประสงค์จากโครงงานฉบับน้ที างผจู้ ัดทาขอมอบเปน็ กตญั ญูบูชาแด่บิดา มารดา ครบู าอาจารย์และผู้ท่ีมีพระคณุ ทกุ ท่าน คณะผู้จัดทา นางสาว นิพาดา วรรณสมพร สารบญั เรอื่ ง หนา้ บทคดั ย่อ ก กิตตกิ รรมประกาศ ข สารบญั ค บทที่ 1 บทนา 1 1 1.1 ความเป็นมา 1 1.2 วตั ถปุ ระสงค์

1.3 ขอบเขต ค 1.4 ประโยชนท์ ่ีไดร้ บั 1 บทท่ี 2 ทฤษฎีทีเ่ กยี่ วข้อง 2 บทที่ 3 วธิ ดี าเนนิ งาน 3 14 3.1 วสั ดอุ ุปกรณ์ 14 14 3.2 วิธกี ารดาเนนิ การ 15 บทท่ี 4 ผลการศกึ ษาค้นควา้ 16 16 บทท่ี 5 สรปุ ผล อภิปรายผลและขอ้ เสนอแนะ 16 5.1 สรปุ ผล 16 5.2 ปญั หาและอปุ สรรคในการศกึ ษาคน้ คว้า 17 18 5.3 ขอ้ เสนอแนะและแนวทางในการพฒั นา 21 บรรณานุกรม ภาคผนวก ประวตั ิผู้ศึกษา

บทที่ 1 บทนา 1. ความเปน็ มา เนอ่ื งด้วยปัจจุบันนนั้ มปี ญั หามลพิษสงิ่ แวดล้อมเกิดขึน้ มากมายเป็นจานวนมาก นบั เป็น ปญั หาในระดับประเทศเลยกว็ ่าได้ ไมว่ ่าจะเป็นท่ีโรงเรียน ชุมชน หรือสถานท่ีต่างๆ กลุม่ ของเรานนั้ ได้ หาวิธีการแกไ้ ขปัญหามลพิษภายในโรงเรียนเกย่ี วกับขยะหรือส่ิงปฏกิ ูลตา่ งๆ เพือ่ ทีจ่ ะแกไ้ ขปัญหาและ ส่งเสรมิ ใหน้ ักเรียนร้จู ักรกั ความสะอาด มลพิษสง่ิ แวดลอ้ ม (Pollution Environment) คอื ภาวะท่ี มีสารมลพิษ (Pollutants) หรอื ภาวะแปลกปลอมอ่ืน ๆ ปะปนในส่งิ แวดลอ้ มในระดับท่เี ปน็ อันตราย ตอ่ ผ้บู รโิ ภค เปน็ ภาวะทผ่ี ิดปกติไปจากสภาพแวดลอ้ มธรรมชาติเดมิ เกินขีดมาตรฐานทช่ี วี ติ จะทนได้ ตามพระราชบัญญตั ิส่งเสริมและรกั ษาคณุ ภาพสิ่งแวดล้อมแห่งชาติ 2535 ไดใ้ ห้ความหมายของมลพษิ ไว้ว่า “ของเสยี วตั ถุอันตรายและมลสารอน่ื ๆ รวมทั้งกากตะกอนหรอื สิ่งตกคา้ งจากส่ิงเหลา่ นั้น ท่ี ปลอ่ ยทง้ิ จากแหลง่ กาเนดิ มลพิษหรือท่มี ีอยู่ในสง่ิ แวดล้อม ซ่ึงกอ่ ให้เกดิ หรอื อาจก่อให้เกิดผลกระทบ ตอ่ คณุ ภาพสิง่ แวดล้อมหรอื ภาวะทเ่ี ป็นพิษภยั อนั ตรายต่อสุขภาพอนามยั ของประชาชนได้และให้ หมายความถึงรังสี ความรอ้ น แสง เสยี ง คลืน่ ความสนั่ สะเทอื นหรอื เหตรุ าคาญอ่ืน ๆ ทเ่ี กิดหรือถกู ปลอ่ ยออกจากแหล่งกาเนิดมลพษิ ด้วย”ซึ่งส่ิงแวดล้อมตา่ งๆจึงคิดได้มาว่าแนวทางการแก้ไขปญั หา มลพษิ โรงเรียน 2. วตั ถุประสงค์ เพอ่ื ศกึ ษาสาเหตปุ ัญหามลพษิ สิง่ แวดล้อมในโรงเรยี นเรอ่ื งขยะและส่ิงปฏิกูลต่างๆ รวมถึง ชว่ ยกนั คดิ หาแนวทางการแกไ้ ขปญั หามลพษิ ทเ่ี กิด โดยการทาแบบสอบสารวจสอบถาม 3. ขอบเขต (ระบขุ อบเขตของงานที่ทา) 3.1 สถานท่ี โรงเรียนปวั 3.2 ระยะเวลา 18 สิงหาคม 2563 ถึง 13 พฤศจกิ ายน 2563 3.3 ตวั แปรหรือประชากรและกลุ่มตวั อยา่ ง(เลอื กตามวิธีการศึกษาคน้ คว้า) 3.1 ตวั แปรต้น คือ สาเหตทุ เ่ี กิดภาวะมลพิษ 3.2 ตวั แปรตาม คอื แนวทางารแกป้ ญั หาภายในโรงเรียน 3.3 ตวั แปรควบคุม คือ 3.1 ประชากร คือ .คนหรือประชาชน แต่หมายถึงส่ิงทเ่ี ราสนใจอยากรู้ ขอ้ มลู เชน่ สว่ นสูงของคน คาวา่ ประชากรกค็ อื ค่าสว่ นสงู ของคนหลายคน

2 มากๆ หรอื หมายถงึ หนว่ ยทง้ั หลายท่ีเราสนใจซึ่งสอดคลอ้ งกับปัญหาที่เรากาลงั ทาวิจยั ซ่ึง อาจเป็นคน สัตว์ หรือสง่ิ ของก็ได้ ไม่จาเป็นต้องเปน็ คนเสมอไป ประชากรท่ใี ช้ในการวิจัย แตล่ ะเรื่องจะมลี กั ษณะที่แตกต่างกันโดยเฉพาะประชากรทเี่ ป็นมนุษย์จะมคี วามแตกต่างกัน ทงั้ สังคม อารมณ์ สติปัญญา ฐานะ การศึกษา สภาพแวดล้อม ถ้าลกั ษณะของประชากรยิ่ง แตกต่างกันมากการสมุ่ ตัวอยา่ งเพื่อให้ได้กล่มุ ตวั อยา่ งทีด่ กี ็ซบั ซ้อนมากขึน้ การวิจยั บางเรอ่ื ง ผู้วิจยั เองก็มขี ้อจากดั หลายๆ อย่างเช่น ระยะเวลา งบประมาณ กาลงั คน ตลอดจนนโยบาย ทางการบรหิ าร จงึ ทาใหผ้ ู้วิจยั ไม่สามารถจะใชห้ ลักการสมุ่ ตวั อยา่ งโดยใชว้ ิธีการสมุ่ ตัวอยา่ ง ตามหลกั ความนา่ จะเปน็ ได้ จึงต้องใชว้ ิธีการสุม่ ตวั อยา่ งแบบไม่ใชห้ ลักความน่าจะเปน็ 3.2 กลมุ่ ตวั อยา่ ง คือ จานวนยอ่ ย หรอื กลุ่มย่อยทีเ่ ลอื กมาจากประชากรเพ่อื ใช้เปน็ ตวั แทนของประชากรในการทีจ่ ะให้ขอ้ มลู ต่างๆ เกยี่ วกับเรอ่ื งที่จะทาวจิ ยั ถา้ กลมุ่ ตัวอย่างทเ่ี ลือกมาเป็นตวั แทนที่ดีของประชากร ข้อมูลต่างๆ ท่ไี ด้จากกลุม่ ตัวอย่างกจ็ ะ เปรียบเสมอื นข้อมูลของประชากรดว้ 4. ประโยชนท์ ไี่ ด้รบั 1.โครงงานน้สี ามารถทาใหผ้ ้อู ่านได้เข้าถึงการรณรงคม์ ลพษิ และการได้เรียนรเู้ กย่ี วกับโทษ ของมลพิษสงิ่ แวดลอ้ ม 2.โครงงงานนี้ทาใหผ้ ู้คนที่ไมค่ ่อยรักษาธรรมชาติได้เห็นถึงการรักษาส่งิ มชี ีวติ ธรรมชาติ 3.โครงงานน้สี ามารถทาให้ผู้คนไดส้ นใจเก่ียวกับธรรมชาติมากขนึ้ 4.โครงงานนี้ทาให้สิ่งทมี่ นุษยไ์ ม่ค่อยเห็นคา่ กบั สงิ่ ทีม่ นุษยส์ ร้างความเดอื ดร้อนแก่ส่ิงแวดลอ้ ม ตา่ งๆและหันกลบั มารกั ษาส่ืงแวดลอ้ ม 5.โครงงานนที้ าใหเ้ ข้าถงึ เทคโนโลยีสมัยใหม่ในการทา e-book ในคอมพิวเตอร์

บทที่ 2 ทฤษฎที ี่เกี่ยวข้อง การศกึ ษาวจิ ยั เร่อื ง การแก้ไขปญั หามลพษิ ภายในโรงเรยี น มแี นวความคิด ทฤษฎี และงานวิจยั ทเี่ ก่ียวขอ้ ง ดงั นี้ 1. แนวคิดทฤษฎเี ก่ยี วกบั พฤติกรรม 2. แนวคิดเกย่ี วกบั การจดั การขยะมลู ฝอย 3. ขอ้ มลู ทัว่ ไปของโรงเรียน 4. งานวิจยั ท่เี กีย่ วข้อง โดยมรี ายละเอยี ด ดังนี้ ความหมายมลพษิ ส่งิ แวดล้อม มลพิษส่ิงแวดล้อม (Pollution Environment) คือ ภาวะที่มีสารมลพิษ (Pollutants) หรือภาวะแปลกปลอมอื่น ๆ ปะปนในสิ่งแวดล้อมในระดับที่เป็นอันตรายต่อผู้บริโภค เป็นภาวะที่ ผิดปกติไปจากสภาพแวดล้อมธรรมชาติเดิม เกินขีดมาตรฐานที่ชีวิตจะทนได้ตามพระราชบัญญัติ ส่งเสรมิ และรกั ษาคณุ ภาพสิ่งแวดล้อมแห่งชาติ 2535 ไดใ้ หค้ วามหมายของมลพษิ ไว้ว่า “ของเสีย วัตถุ อันตรายและมลสารอื่น ๆ รวมทั้งกากตะกอนหรือสิ่งตกค้างจากสิ่งเหล่าน้ัน ที่ปล่อยทิ้งจาก แหล่งกาเนิดมลพิษหรือท่ีมีอยู่ในส่ิงแวดล้อม ซ่ึงก่อให้เกิดหรืออาจก่อให้เกิดผลกระทบต่ อคุณภาพ สง่ิ แวดลอ้ มหรือภาวะท่ีเป็นพิษภัยอันตรายต่อสุขภาพอนามัยของประชาชนได้และให้หมายความถึง รงั สี ความร้อน แสง เสียง คลื่น ความสั่นสะเทือนหรือเหตุราคาญอ่ืน ๆ ที่เกิดหรือถูกปล่อยออกจาก แหล่งกาเนิดมลพิษด้วย” ลักษณะของปญั หามลพษิ ส่งิ แวดล้อม 1) เป็นผลจากการกระทาของมนุษยเ์ ปน็ ส่วนใหญ่ 2) มีสง่ิ เจอื ปนหรอื ปนเปื้อนในสิ่งแวดล้อมทั้งในรปู ของสสารและพลังงาน 3) มีปริมาณมากพอที่จะก่อให้เกิดอันตรายต่อสุขภาพอนามัยของมนุษย์หรือสิ่งมีชีวิต อนื่ ๆ ในระบบนเิ วศ 4) การเกดิ มลพิษจะดาเนนิ ไปตามวิถีทางของสารมลพิษจากแหล่งที่ผ่านสิ่งแวดล้อมต่าง ๆ จนกระทงั่ ถึง มนษุ ย์หรือส่งิ มีชีวติ ในระบบนิเวศ 5) ขนาดหรือระดับของปัญหาจะข้ึนอยู่กับผลกระทบต่อกลุ่มเปูาหมายต่าง ๆ ได้แก่ มนษุ ย์ทรพั ยากรธรรมชาติหรือระบบนเิ วศ ประเภทของสารมลพิษ สารมลพิษต่าง ๆในสง่ิ แวดล้อมได้ 3 ประเภทใหญ่ ได้แก่ 1. พวกที่สามารถย่อยสลายได้โดยวิธีการทางชีววิทยา (Degradable or Bio Degradable Pollutants) สารมลพษิ ประเภทนี้ ได้แก่ ของทิ้งเสีย (Waste) ทง้ั ของแข็งและของเหลวท่ีเป็นอินทรีย์

4 สารตา่ ง ๆ ช่น ขยะมูลฝอยท่ีเป็นอินทรียสาร น้าทิ้งจากชุมชน น้าทิ้งจากโรงงานแปรรูปอาหาร เป็น ตน้ 2. พวกท่ีไม่สามารถจะย่อยสลายได้โดยขบวนการทางชีววิทยา (Nondegradable or Nonbio Degradable Pollutants) สารมลพิษเหล่านี้ ได้แก่ สารปรอท ตะก่ัว สารหนู แคดเมียม ดดี ที ี เป็นตน้ 3. สารมลพษิ ท่ีเปน็ ก๊าซ ไดแ้ ก่ ก๊าซพิษตา่ ง ๆ เช่น คารบ์ อนมอนนอกไซด์ ซัลเฟอร์ไดออกไซด์ คลอรีน เปน็ ตน้ แนวคดิ ทฤษฎเี กย่ี วกบั พฤติกรรม ความหมายของพฤตกิ รรม วิมลสิทธิ์ หรยางกูร (2541) พฤติกรรมของมนุษย์ที่แสดงออกมาจากการความคิด ความร้สู ึกท่ีไดร้ บั ในสภาพแวดล้อมที่เปน็ พฤติกรรมภายนอก พฤติกรรมทางจิต หรือพฤติกรรมภายใน ปณิตา นิสสัยสุข (2552) พฤติกรรม หมายถึงการพัฒนาตนเป็นกระบวนการของการปรับเปลี่ยน พฤติกรรมของตวั เองใหไ้ ปสสู่ ภาวะที่ดีกว่า และเป็นท่ีต้องการมากกว่าแต่กระบวนการดังกล่าว ไม่ใช่ เรือ่ งง่าย ทัง้ นเ้ี พราะพฤตกิ รรมมนุษย์นัน้ ซบั ซ้อน อนนั ต์ ศริ พิ งศ์วัฒนา (2552) พฤติกรรม หมายถึง กิรยิ าอาการหรือปฏิกิริยาท่ีแสดงออก หรือเกิดข้ึนเม่ือเผชิญส่ิงเร้า ซ่ึงมาจากภายในร่างกายหรือภายนอกร่างกายก็ได้ และปฏิกิริยาท่ี แสดงออกนั้นมิได้เป็นพฤตกิ รรมทางกายนั้น แต่รวมถงึ พฤติกรรมท่เี ก่ยี วข้องกบั จิตใจดว้ ย บุษกร ชวี ะธรรมานนท์ (2552) พฤติกรรมเป็นความพร้อมที่บุคคลกระทา อันเป็นผลสืบ เนื่องมาจากความคิดความรู้สึกจะแสดงออกมาในรูปการประพฤติกรรมปฏิบัติโดยการยอมรับ หรือ ปฏเิ สธ ลกั ษณะพฤตกิ รรมมนุษยท์ เ่ี ก่ียวข้องกบั สังคม ได้แก่ การรับรู้ การเรียนรู้ การคิด อารมณ์และ เจตคติบุคคลเมื่อไ ด้รั บการ เรี ยน รู้ ที่เป็น ก าร เรียน รู้ ท่ีเป็ น ก าร เปล่ี ยน แปลง พ ฤติก ร ร มนั้น จะ ต้อง ประกอบด้วยการกระทากิจกรรมใด ๆ ผลทีเ่ กดิ ขนึ้ และปฏบิ ตั กิ ิริยาตอ่ ผลท่เี กดิ ขึ้นไมส่ มความคาดหวงั จากความหมายของพฤติกรรมในการวิจัยครั้งนี้ สรุปได้ว่า พฤติกรรม หมายถึงการ แสดงออกหรือการปฏิบัติของประชาชนในการจัดการขยะในโรงเรี ยนซ่ึงมีระดับในการแสดงออก แตกตา่ งกัน องค์ประกอบของพฤติกรรม ครอนบาค(Cronbach, 1951อ้างถึงใน บุษกร ชีวะธรรมานนท์,2552, หน้า 30) ได้ อธิบายว่าพฤติกรรมมนษุ ยม์ ีองคป์ ระกอบ 7 ประการ ไดแ้ ก่ 1. ความมุ่งหมาย (Goal) เปน็ ความต้องการหรือวัตถุประสงค์ท่ีทาให้เกิดกิจกรรมคนต้องทา กจิ กรรมเพอื่ สนองความตองการท่ีเกิดขึน้ กจิ กรรมบางอยา่ งก็ใหค้ วามพอใจหรือสนองความต้องการได้ ทันที แต่ความต้องการหรือวัตถุประสงค์บางอย่างก็ต้องใช้เวลานานจึงจะสามารถบรรลุผลสมความ ตอ้ งการทหี่ า่ งออกไปภายหลัง 2. ความพร้อม (Readiness) เปน็ ระดบั วุฒิภาวะหรือความสมารถท่ีจาเป็นในการทากิจกรรม เพื่อตอบสนองความต้องการ คนเราไม่สามารถสนองความต้องการได้หมดทุกอย่าง ความต้องการ บางอย่างอยนู่ อกเหนือความสามารถของเขา

5 3. สถานการณ์ (Situation) เป็นเหตุการณ์ท่ีเปิดโอกาสให้เลือกทากิจกรรมเพื่อสนองความ ต้องการ 4. การแปลความหมาย (Interpretation) ก่อนที่คนเราจะทากิจกรรมใดกิจกรรมหน่ึงลงไป เขาจะตอ้ งพจิ ารณาสถานการณ์เสยี กอ่ นแลว้ ตดั สินใจเลือกวิธที ี่คาดว่าจะไดร้ บั ความพอใจมากท่ีสดุ 5. การตอบสนอง (Response) เป็นการทากิจกรรมเพื่อสนองความต้องการโดยวิธีการที่ได้ เลือกแล้วในข้นั การแปลความหมาย 6. ผลทีไ่ ดร้ ับหรือผลท่ีตามมา (Consequence) เม่ือทากิจกรรมแล้วย่อมได้รับผลการกระท าน้ันผลท่ีได้รับอาจจะตามที่คาดคิดไว้ (Confirm) หรืออาจตรงกันข้ามกับความคาดหมาย (Contradict)กไ็ ด้ 7. ปฏกิ ิริยาต่อความคาดหวัง หากคนเราไม่สามารถสนองความต้องการได้ ก็กล่าวได้ว่าเขา ประสบกบั ความผดิ หวงั ในกรณีเช่นน้ีเขาอาจจะย้อนกลับไปแปลความหมายของสถานะเสียใหม่และ เลอื กวิธกี ารตอบสนองใหมก่ ็ได้ จากคานิยามข้างต้น สรุปได้ว่า พฤติกรรมหมายถึง การกระทาของคนและสัตว์ท้ังที่ สามารถสังเกตได้ และไม่สามารถสังเกตได้ เกิดจากทั้งที่ต้ังใจและไม่ต้ังใจ อาจสืบเนื่องมาจาก ความคิดความรู้สึกจะแสดงออกมาในรูปการประพฤติปฏิบัติโดยการยอมรับหรือปฏิเสธ ลักษณะ พฤติกรรมมนุษย์ที่เก่ียวข้องกับสังคม ได้แก่ การรับรู้ การเรียนรู้ การคิด อารมณ์และเจตคติ บุคคล เม่ือได้รับการเรียนรู้ท่ีเป็นการเปลี่ยนแปลงพฤติกรรม ซ่ึงการเปล่ียนแปลงพฤติกรรมน้ัน จะต้อง ประกอบด้วย การกระทาของมนุษย์หลายอย่างและอาจกล่าวได้ว่า พฤติกรรมในการจัดการขยะใน ครวั เรือนของประชาชน หมายถงึ การทป่ี ระชาชนมีวิธีในการปฏิบัติในการจัดการขยะในครัวเรือนทั้ง ในดา้ นพฤติกรรมในการเลอื กใช้สินคา้ ทเ่ี ป็นมิตรตอ่ สิง่ แวดล้อม พฤติกรรมการจัดการขยะในบ้านและ พฤติกรรมการกาจดั ขยะ ความสมั พนั ธ์ระหวา่ งความร้แู ละพฤตกิ รรม บลูม (Bloom, 1975อ้างถึงใน ธีระ กุลสวัสด์ิ,2544, หน้า 18) ได้กล่าวถึง พฤติกรรมและ ความสมั พนั ธร์ ะหว่าง พฤติกรรม เจตคติ และการปฏิบัติว่า เป็นกิจกรรมทุกประเภทที่มนุษย์กระทา อาจเป็นสงิ่ ทม่ี นษุ ย์สังเกตได้หรอื ไมไ่ ด้ และพฤติกรรมดงั กลา่ วนี้ ไดแ้ บง่ ออกเป็น 3 ส่วนคือ 1. พฤติกรรมด้านความรู้ (Cognitive Domain) พฤตกิ รรมดา้ นนี้มีขนั้ ตอนของความสามารถ ทางด้านความรู้ การให้ความคดิ และการพัฒนาทางด้านสติปัญญา จ าแนกตามล าดับช้ันจากง่ายไป หายากได้ ดังน้ี 1.1 ความรู้ (Knowledge) หมายถึง พฤติกรรมท่ีเก่ียวกับความรู้ ความจาระลึกได้ โดยรวมจากประสบการณ์ตา่ ง ๆ ทเ่ี คยได้รับรู้มา 1.2 ความเข้าใจ (Comprehension) หมายถึง ความสามารถในการแปลความหมาย ตีความหมาย คาดคะเน และขยายความในเรอ่ื งราวและเหตุการณ์ตา่ ง ๆ 1.3 การน าไปใช้ (Application) หมายถึง การนาวธิ กี าร ทฤษฎีหลักการกฎเกณฑ์ต่าง ๆไปใชเ้ พือ่ แกป้ ัญหา โดยการประยกุ ต์ใชใ้ ห้เหมาะสมกับสถานการณ์ใหม่ หรอื สถานการณจ์ ริง

6 1.4 การวิเคราะห์ (Analysis) หมายถึง ความสามารถในการพิจารณา จาแนกข้อมูล หรือเรื่องราวที่สมบูรณ์ออกเป็นส่วนย่อย ๆ ได้ และมองเห็นความสัมพันธ์ของส่วนประกอบต่าง ๆ เหล่านั้น รวมทั้งมองหลักการที่ส่วนประกอบย่อยน้ันจะมารวมกันและเกิดปัญหาหรือสถานการณ์ อย่างใดอยา่ งหน่งึ 1.5 การสังเคราะห์ (Synthesis) หมายถึง ความสามารถในการรวบรวมข้อมูลที่เป็น ส่วนยอ่ ย ๆ เขา้ มารวมกนั เปน็ ส่วนหนึ่งรวมทีม่ ีโครงสรา้ งใหม่ ๆ ซง่ึ มคี วามชัดเจนและมคี ณุ ภาพ 1.6 การประเมินผล (Evaluation) หมายถึง การตัดสินใจเก่ียวกับคุณค่าของความคิด วธิ ีการ แนวทาง และมาตรฐานตา่ ง ๆ ทถี่ กู น ามาใช้เพ่อื การตัดสินใจ ประเมินค่า เป็นการสามารถใน การวินจิ ฉยั 2. พฤติกรรมด้านทัศนคติ (Affertive Domain) พฤติกรรมด้านนี้ หมายถึง ความสนใจ ความรู้สึก ท่าที ความชอบในการให้คุณค่า หรือปรับปรุงค่านิยมท่ียึดถือเป็นพฤติกรรมท่ียากแก่การ อธิบายเพราะเปน็ ส่ิงท่ีเกดิ ขึน้ ภายในจติ ใจของคน การเกดิ พฤติกรรมดา้ นเจตคติ แบ่งข้นั ตอนดังน้ี 2.1 การรับหรือการให้ความสนใจ (Receiving of Attending) เป็นข้ันท่ีบุคคลถูก กระตุ้นใหท้ ราบว่าเหตุการณ์หรือส่ิงเร้าบางอย่างเกิดข้ึน และบุคคลน้ันมีความยินดีหรือมีภาวะจิตใจ พร้อมทจี่ ะรับหรือให้ความพอใจต่อส่งิ เร้านน้ั ในการยอมรบั นีป้ ระกอบดว้ ยความตระหนักความยินดีที่ ควรจะรบั และเลอื กรับ 2.2 การตอบสนอง (Responding) เป็นข้นั ตอนที่บุคคลถูกจูงใจให้เกิดความรู้สึกผูกมัด ต่อส่ิงเร้าเป็นเหตุให้บุคคลพยายามท าให้เกิดปฏิกิริยาตอบสนอง พฤติกรรมขั้นนี้ประกอบด้วยการ ยินยอม ความเต็มใจ และพอใจที่จะตอบสนอง 2.3 การให้ค่านิยม (Valuing) เป็นขั้นท่ีบุคคลมีปฏิกิริยา ซ่ึงแสดงให้เห็นว่าบุคคลน้ัน ยอมรับว่าเป็นสิ่งที่มีคุณค่าส าหรับตนเอง และได้น าไปพัฒนาเป็นตนอย่างแท้จริง พฤติกรรมขั้นนี้ ส่วนมากใช้ค าว่า “ค่านิยม” ซ่ึงการเกิดค่านิยมน้ีประกอบด้วยการยอมรับ ความชอบ และผูกมัด ค่านิยมเขา้ กบั ตนเอง 2.4 การจดั กลมุ่ ค่า (Organization) เป็นขั้นที่บุคคลจัดระบบของค่านิยมต่าง ๆ ให้เข้า กันโดยพิจารณาถงึ ความสัมพันธ์ระหว่างค่านิยมเหล่านี้ การจัดกลุ่มนี้ประกอบด้วย การสร้างแนวคิด เกี่ยวกบั ค่านิยม และจดั ระบบของค่านิยม 2.5 การแสดงลักษณะตามค่านิยมท่ียึดถือ (Characterization by Value Complex) พฤติกรรมข้ันน้ีถือว่า บุคคลมีค่านิยมหลายชนิด และจัดอันดับของค่านิยมเหล่าน้ันจากดีท่ีสุดไปถึง น้อยที่สุดและพฤติกรรมเหล่านี้จะเป็นตัวคอยควบคุมพฤติกรรมของบุคคล พฤติกรรมในขั้นนี้ ประกอบดว้ ย การวางแนวทางของการปฏบิ ัติ และการแสดงลกั ษณะท่จี ะปฏบิ ตั ิตามทางทเ่ี ขาก าหนด (Krathwohl, Bloom, & Masia,1964) 3. พฤติกรรมด้านการปฏบิ ตั ิ (Psychomotor Domain) เป็นพฤติกรรมท่ีใช้ความสามารถใน การแสดงออกของร่างกาย ซ่ึงรวมถึงการปฏิบัติท่ีอาจแสดงออกในสถานการณ์หนึ่ง ๆ หรืออาจเป็น พฤติกรรมที่คาดคะเนว่าอาจจะปฏบิ ัตใิ นโอกาสต่อไป พฤติกรรมด้านน้ีเป็นพฤติกรรมขั้นตอนสุดท้าย ซ่ึงต้องอาศัยด้านพุทธิปัญญา หรือเป็นพฤติกรรมที่สามารถประเมินผลได้ง่าย แต่กระบวนการท่ี

7 ก่อให้เกิด พฤตกิ รรมนีต้ ้องอาศัยเวลา และการตดั สนิ ใจในหลายข้ันตอน (Bloom, 1975อ้างถึงในธีระ กลุ สวัสด์ิ,2544, หน้า 18) สรปุ แล้วพฤตกิ รรมและความสมั พนั ธร์ ะหวา่ ง พฤตกิ รรม เจตคติ และการปฏิบัติเป็นกิจกรรม ทม่ี นุษย์กระทาข้นึ อาจเปน็ ส่งิ ท่ีมนุษยส์ งั เกตไดห้ รอื ไม่ได้ และพฤตกิ รรมดังกล่าวนี้ ได้แบ่งออกเป็น 3 ส่วน คือ พฤตกิ รรมดา้ นความรู้พฤตกิ รรมด้านทศั นคติและพฤติกรรมดา้ นการปฏบิ ัติ แนวคดิ เกี่ยวกบั การจัดการขยะมูลฝอย ความหมายของคาว่าขยะ ตามพจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ.2542ได้ให้คาจากัดความของค าว่า “ขยะ”หมายถึง หยากเย่ือ มูลฝอย และคาว่า “มูลฝอย” หมายถึง เศษของท่ีท้ิงแล้วจะเห็นว่า พจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตยสถานได้ให้ความหมายของคาสองคาน้ีเหมือนกันและใช้แทนกันได้ (พจนานกุ รมฉบับราชบณั ฑิตยสถาน,ออนไลน์, 2555) พระราชบัญญัติการสาธารณสุข พ.ศ. 2535ได้ให้ความหมายไว้ดังนี้ “มูลฝอย” หมายความว่า เศษกระดาษ เศษผ้า เศษอาหาร เศษสินค้า ถุงพลาสติก ภาชนะที่ใส่อาหาร มูลสัตว์ หรือซากสัตว์รวมถึงส่ิงอื่นใดที่เก็บกวาดจากถนนตลาดท่ีเล้ียงสัตว์หรือท่ีอ่ืน (พระราชบัญญัติการ สาธารณสุข,2535, หนา้ 28) ในทางวชิ าการจะใช้ค าว่า “ขยะมลู ฝอย” ซงึ่ หมายถึง บรรดาส่ิงของที่ไม่ต้องใช้แล้วซ่ึง ส่วนใหญ่เป็นของแข็งจะเน่าเป่ือยได้หรือไม่ก็ตาม รวมตลอดถึง เถ้า ซากสัตว์มูลสัตว์ฝุนละอองและ เศษวัตถทุ ี่ทงิ้ แล้วจากบ้านเรอื น ทีพ่ ักอาศยั สถานท่ีต่าง ๆ รวมถึงสถานท่ีสาธารณะตลาดและโรงงาน อตุ สาหกรรม ยกเว้น อุจจาระและปัสสาวะของมนุษย์ซ่ึงเป็นส่ิงปฏิกูลที่ต้องการเก็บและการกาจัดท่ี แตกตา่ งไป ตัวอย่าง ภาพขยะมลู ฝอยภายในโรงเรยี น ประเภทของขยะมูลฝอย ขยะมูลฝอยอาจมีขนาดต่าง ๆ กนั ต้ังแต่ใหญ่ขนาดตวั ถงั รถยนต์ไปจนถึงขนาดท่ีเลก็ จา พวกฝุน ละออง ซง่ึ กเ็ ปน็ ขยะมลู ฝอยท้งั สนิ้ การแบ่งประเภทของขยะมลู ฝอยนนั้ เดิมแบง่ เพียง 3 ประเภท คือ ขยะมูลฝอยเปียกขยะมูลฝอยแห้งและเถ้า (มหาวิทยาลัยเทคโนโลยพี ระจอมเกล้าธนบรุ ี,2549,หนา้ 9 -11)

8 1. ขยะมลู ฝอยเปียก(Garbage) หมายถงึ เศษวัสดุตา่ ง ๆ ท่ีเหลือจากการประกอบอาหารจากโรงครวั รา้ นอาหาร ทม่ี คี วามชืน้ สูง สามารถเน่าเป่อื ยส่งกลิน่ เหมน็ ได้ 2. ขยะมูลฝอยแห้ง (Rubbish) หมายถึง เศษวัสดุต่าง ๆ ทเี่ หลือใชท้ ัว่ ๆ ไปซ่งึ มีความช้นื ตา่ จาพวก เศษกระดาษ เศษผา้ ฯลฯ 3. เถา้ (Ash) หมายถึง สงิ่ ทเี่ หลอื จากการเผาไหม้ต่อมานักวชิ าการทางดา้ นนี้กา้ วหน้าขน้ึ มากจงึ ได้ แยกประเภทของขยะมูลฝอยตามลักษณะออกไปเปน็ ประเภทตา่ ง ๆ มากมายที่ส าคัญ ๆ ม1ี 0 ประเภท คอื 1. เศษอาหาร (Garbage) หมายถงึ ขยะจาพวกทไ่ี ด้จากห้องครวั การประกอบอาหารรวมถึงพวก เศษใบตอง เศษผลไมอ้ าหารท่ีเหลอื ทง้ิ ฯลฯ ขยะประเภทนมี้ สี ารอนิ ทรียซ์ ่ึงเป็นอาหารของแบคทีเรีย ทาให้เกิดการยอ่ ยสลาย บูดเน่าส่งกลนิ่ เหมน็ มีความชื้นสงู เป็นปัญหาในการเก็บรวบรวม รอการขน ถา่ ยและก่อเหตรุ าคาญในเร่อื งกล่ิน การคยุ้ เขี่ยของสัตว์เชน่ หนูสุนัข 2. ขยะที่ไม่เนา่ เหมน็ (Rubbish) หมายถงึ ขยะจ าพวกท่ีไมเ่ น่าบดู เนา่ ส่งกล่ินเหม็นเหมอื นประเภท แรกและมีความช้ืนต่าอาจจะเผาไดเ้ ชน่ เศษกระดาษ หรอื เผาไมไ่ ดเ้ ชน่ เศษแก้วขยะประเภทนีอ้ าจจะ เรียกว่าขยะแหง้ กไ็ ดพ้ วกเศษโลหะกระปอ๋ งลงั กระดาษ ลังไม้ก็จดั อยใู่ นขยะประเภทน้ี 3. เถ้าถ่าน (Ash) หมายถงึ เศษที่เหลอื จากการเผาไหม้ของเชอ้ื เพลิงจาพวกไมถ้ ่านหินซง่ึ ในแถบ ประเทศทม่ี อี ากาศรอ้ นจะมีปรมิ าณนอ้ ยมากไม่กอ่ ปญั หามากเท่ากับประเทศในแถบทีม่ ีอากาศหนาวที่ ตอ้ งใชค้ วามร้อนชว่ ยให้ความอบอ่นุ ซ่ึงใช้เชอ้ื เพลิงมาก ท าให้เกดิ ขยะประเภทน้ีเปน็ ปัญหาตอ่ การ เกบ็ ขน นอกจากน้ถี ้าการเกบ็ รวบรวมไมด่ ีแล้วทาใหฟ้ ูงุ กระจายเกดิ ปญั หาตามมาอีกมาก 4. มูลฝอยจากถนน (Street Sweeping) หมายถึง เศษส่ิงของต่าง ๆ ท่ีได้จากการกวาดถนนขยะมูล ฝอยประเภทนส้ี ว่ นมากเปน็ พวกเศษกระดาษ เศษสินค้าฝนุ ละออง เศษหิน อาจจะรวมถึงพวกซาก สัตว์ดว้ ยเปน็ บางคร้ัง 5. ซากสตั ว์(Dead Animals) หมายถึง สัตว์ที่ตายตามธรรมชาติตายดว้ ยอุบัติเหตหุ รอื ตายดว้ ยโรคต่าง ๆ แตไ่ ม่รวมถงึ สัตวห์ รอื ส่วนใดสว่ นหนง่ึ ของสตั ว์ที่ท้งิ จากโรงฆ่าสตั ว์เนื่องจากเปน็ โรคหนอนพยาธิซาก สตั ว์เหล่านอี้ าจนาไปสกดั เอาไขมนั ออกและเอาหนังไปฟอกใช้ประโยชน์ 6. ซากรถยนต์(Abandoned Vehicles) หมายถึงรถยนตห์ รอื ส่วนหน่งึ สว่ นใดของรถยนตท์ ไ่ี มใ่ ชแ่ ลว้ ถ้าปลอ่ ยทิง้ ไว้ทาใหเ้ กดิ ความไมน่ ่าดูจึงควรตอ้ งนาไปดาเนนิ การอย่างใดอย่างหนึ่งแตใ่ นประเทศไทยมี ปรมิ าณซากรถยนตไ์ มม่ ากนกั จงึ ไม่คอ่ ยเกดิ ปัญหาจากมลู ฝอยประเภทนี้ 7. มลู ฝอยจากโรงงาน (Industrial Refuse) หมายถงึ มลู ฝอยจากโรงงานอตุ สาหกรรมต่าง ๆ รวมทัง้ โรงฆ่าสัตวด์ ้วยเพราะได้จัดอยู่ในประเภทโรงงานอตุ สาหกรรม มลู ฝอยประเภทนข้ี ึ้นอยู่กับประเภทของ โรงงาน ถา้ โรงงานผลิตสนิ ค้าอาหาร มูลฝอยกเ็ ปน็ พวกเศษอาหารซ่ึงอาจจะก่อใหเ้ กดิ เหตุราคาญตา่ ง ๆ เชน่ มกี ลิ่นเน่าเหม็นได้ 8. เศษวสั ดกุ ่อสรา้ ง (Construction Refuse) หมายถึง เศษวัสดตุ ่าง ๆ ทไ่ี ดจ้ ากการก่อสร้างหรือรือ้ ถอนอาคารบา้ นเรอื น รวมถึงส่ิงทเี่ หลือจากการตกแตง่ บา้ นเรือนอกี ดว้ ย เชน่ เศษอิฐเศษปนู เศษ กระเบื้อง เศษไมห้ รือเศษวสั ดุจากสว่ นบา้ นเรอื น 9. ตะกอนจากน้ าโครก(Sewage Solids) หมายถึงของแขง็ ท่ีได้จากการแยกตะกอนออกจาก กระบวนการปรบั ปรุงสภาพน้าทิง้ รวมตลอดจนตะกอนท่ีได้จากการลอกทอ่ ระบายนา้ สาธารณะตา่ ง ๆ

9 ซ่ึงส่วนมากจะเป็นพวกเศษหิน ดิน ทรายไมส้ ามารถน าไปถมทีล่ ุ่มได้ยกเวน้ ตะกอนที่ได้จากถงั เกรอะ เพราะตะกอนพวกนย้ี งั มีแบคทเี รียปะปนอยู่มาก 10. ขยะมูลฝอยท่ีเป็นอันตราย (Hazard or Special Refuse)อาจจะกอ่ ใหเ้ กิดปัญหาในการเก็บขน การกาจัด ตลอดจนการจับต้องเช่น กระป๋องทม่ี ีการอดั ลม ใบมีดโกน ขยะมูลฝอยทไ่ี ดจ้ ากโรงพยาบาล ตา่ ง ๆ สารกมั มนั ตรงั สีเป็นตน้ ขยะมลู ฝอยประเภทน้ีตอ้ งไดร้ บั ความดแู ลระมดั ระวงั เปน็ พเิ ศษ ในการ เก็บขนและการกาจัด ระยะเวลาการยอ่ ยสลาย การกาจัดมลู ฝอย หลกั เกณฑ์ในการจดั การมูลฝอย 1. การคดั แยกมลู ฝอยทแี่ หล่งกาเนดิ เป็นการจาแนกประเภทของมูลฝอยทที่ ง้ิ โดยผู้ผลิตมลู ฝอย ณแห ล่งกาเนดิ 2. การเก็บรวบรวมมูลฝอย คอื การเก็บกกั มูลฝอยใสภ่ าชนะ รวมถงึ การรวบรวมมูลฝอยจากแหล่งต่าง ๆ แล้วนาไปใส่ยานพาหนะเพอื่ ขนส่งไปกาจดั หรือนาไปทาประโยชนอ์ ่นื ๆ ตอ่ ไป 3. การเก็บขน และขนส่งมูลฝอย เปน็ การนามูลฝอยทเี่ กบ็ รวบรวมจากชุมชนใส่ยานพาหนะไว้แล้วนน้ั ไปยงั สถานทกี่ าจดั หรอื ทาประโยชนอ์ ยา่ งอ่นื 4. การแปรสภาพมลู ฝอย เปน็ การเปลย่ี นแปลงคุณลักษณะ หรอื องค์ประกอบทางกายภาพ เคมี และ ชีวภาของขยะมูลฝอยเพอื่ ให้เกิดความสะดวกและความปลอดภัยในการขนส่ง การนากลบั ไปใช้ ประโยชน์ การเกบ็ รวบรวม การกาจดั หรือการลดปรมิ าตร

10 5. การกาจัด หรอื ทาลาย เป็นวิธีการกาจัดมูลฝอยขนั้ สุดทา้ ย เพือ่ ใหม้ ูลฝอยน้ัน ๆ ไม่กอ่ ใหเ้ กิดปัญหา มลพษิ ต่อสภาพแวดล้อม อันอาจสง่ ผลกระทบตอ่ มนษุ ย์ต่อไป ซง่ึ วธิ กี ารกาจดั มลู ฝอยได้แก่ การทาปุย๋ การเผาดว้ ยเตา และการฝังกลบแบบสุขาภิบาล วธิ ีการกาจัดขยะมูลฝอย การจดั การมลู ฝอยนั้นสามารถกระทาไดห้ ลายวิธี ทง้ั นี้ข้ึนอยู่กบั องค์ประกอบทเี่ กยี่ วข้องต่าง ๆ หลาย ด้าน การเลอื กใชว้ ิธกี ารแบบไหนกต็ ้องคานึงถึงความเหมาะสมดว้ ย ซงึ่ โดยท่วั ๆ ไปแล้ว วธิ ีการจัดการ มลู ฝอยท่ีสาคญั ๆ มี 5 วิธี ดงั น้ี 1.การถม (Dumping) หมายถงึ การทเ่ี รานาขยะมูลฝอยไปถมหรอื ทิง้ ไว้ตามสถานที่ตา่ ง ๆ โดยปล่อย ใหเ้ นา่ เป่ือยไปตมธรรมชาตวิ ธิ นี ้อี าจแบ่งได้ 2 วิธี คือ 1.1 ถมบนพ้นื ดนิ คือการถมมลู ฝอยไว้บนพ้นื ดินโดยถมในพื้นที่ที่ตา่ หรือท่ีล่มุ เพ่อื ต้องการให้ที่นั้น สูงขนึ้ เหมาะกบั มูลฝอยประเภท เกษตรกรรม อิฐหัก พวกใบไม้ ก่งิ ไม้ เปน็ ต้น ขอ้ ดีของการถมบน พนื้ ดนิ คือ เหมาะกบั การกาจดั มูลฝอยในชนบท ไม่ทาลายทรพั ยากร ไมต่ อ้ งใช้ความรมู้ ากในการ กาจัด เปน็ ต้น ส่วนข้อเสีย คอื ไม่สามารถใชก้ าจดั มลู ฝอยได้ทุกประเภท อาจเป็นแหล่งเพาะพนั ธข์ุ อง เชือ้ โรคได้ เปน็ ตน้ 1.2 ท้งิ ทะเล คอื การนาเอาขยะไปทิ้งทะเล ซึ่งก็มีขอ้ ดีคอื ไม่ตอ้ งเสยี งบประมาณในการใช้ท่ดี ิน ไม่ ต้องแยกประเภทของขยะมูลฝอย ขอ้ เสียคือ มูลฝอยที่ลอยนา้ ได้อาจพัดเข้าหาฝั่งได้ ขยะมลู ฝอยเกิด ผลกระทบตอ่ ระบบนิเวศใตน้ า้ เปน็ ตน้ 2.การฝงั (Burial) 2.1 การฝังโดยทว่ั ไป หมายถึงการนาเอาขยะมลู ฝอยไปฝังในดนิ วิธีนเี้ หมาะที่จะใชใ้ นชนบท เพราะมพี ืน้ ทีม่ ากและอาจนาเอามูลฝอยไปใชป้ ระโยชนไ์ ด้ เช่น ทาปยุ๋ เป็นต้น ซ่ึงการฝงั แบบนม้ี ีวธิ ใี น การดาเนินงานคอื ขดุ หลุมส่เี หลี่ยมกวา้ งด้านละประมาณ 0.5-1 เมตร ลึกประมาณ 1 เมตร แล้นาดิน ที่ขดุ ได้กองไวป้ ากหลมุ เม่ือมีขยะมลู ฝอยกเ็ ทเกลี่ยใหก้ ระจายทั่วหลุม จากนนั้ นาดินท่ีปากหลุมเกลี่ย ลงทับขยะประมาณ 10 เซนตเิ มตร กระแทกดินใหแ้ น่นพอสมควร ช้ันตอ่ ไปกท็ าเชน่ เดยี วกันจนเต็ม หลุม ช้ันบนสุดควรจะอดั แน่นและใหม้ ีความหนาประมาณ 1 ฟุตหรือ 30 เซนตเิ มตร เพือ่ ปอู งกันสตั ว์ เข่ีย ขอ้ ดีของการฝังคือ สามารถฝงั ขยะได้ทกุ ประเภท ถ้ากาจัดดี ๆ จะไมม่ กี ลน่ิ รบกวน ข้อเสีย คือตอ้ งมีพ้นื ท่ีพอสมควรในการฝงั มีข้อจากัดในเรอ่ื งนา้ ท่วม เปน็ ต้น 2.2 การฝังอย่างถกู หลกั สุขาภิบาล การฝังแบบนีค้ ลา้ ยกับการฝังแบบธรรมดา แต่ต่างกนั ตรงท่ตี ้องมี การบดอัดขยะมูลฝอยเพอ่ื ให้ยบุ ตัวแน่นและมีการเอาดนิ กลบชั้นบน ซึ่งมกี ารบดอัดอกี คร้งั หน่งึ เหมาะ กับชุมชน เมืองเพราะใชก้ บั พน้ื ทีท่ ตี่ ้องมปี รมิ าณขยะมาก ๆ โดยมวี ธิ ที า 4 ข้ันตอนดงั น้ี 1. ขดุ ดนิ ทาเปน็ รอ่ ง ใหข้ ุดร่องใหเ้ พยี งพอกับที่ท้ิงขยะในแตล่ ะวนั และความลึกจะไมม่ ีการกาหนด ทแี่ น่นอนจะขนึ้ อยูก่ ับว่าปรมิ าณขยะน้นั มีมากน้อยเพียงใด 2. เทขยะมูลฝอยลงรอ่ งที่ขุดไว้ เม่ือเทขยะลงร่องเรยี บร้อยแล้ว ก็กวาดขยะให้มคี วามลาดเอยี ง ประมาณ 45 องศา เพื่อความสะดวกแก่รถอดั ที่จะทางานช่วงต่อไป 3. บดอัดขยะมลู ฝอย เมอ่ื กวาดให้ลาดเอยี งตามขอ้ 2 แลว้ รถบดอดั ก็จะทาการบดอัดขยะ

11 4. ปดิ ขยะมูลฝอยด้วยดนิ เม่ือขยะมูลฝอยถูกบดอัดแน่นดแี ลว้ กเ็ กลีย่ ดนิ กลบแล้วใชร้ ถบดกดทับ อีกเพ่ือให้แนน่ ความหนาของช้ันระหว่างขยะมูลฝอยที่กั้นวันต่อวนั ความหนาควรไมน่ อ้ ยกว่า 6 น้วิ แตถ่ า้ เปน็ ช้ันบนสุดตอ้ งไมน่ ้อยกว่า 2 ฟุต ขอ้ ดี คอื เหมาะท่ีจะใช้กับชมุ ชนท่ไี มแ่ ออัด สามารถกาจัดมลู ฝอยได้เกอื บทกุ ประเภท ยกเว้น ยาง รถยนต์ ประหยัดค่าใชจ้ า่ ยในการแยกขยะมูลฝอย ข้อเสีย คือ เปน็ วธิ ีทใ่ี ช้อุปกรณ์ราคาแพง ไม่สามารถปลกู ส่งิ กอ่ สรา้ งท่ตี อ้ งรบั นา้ หนกั มาก ๆ ได้ 3.การเผา (Burning) • การเผากลางแจง้ หมายถงึ การนาเอาขยะมาเผาในทก่ี ลางแจง้ บนพืน้ ดนิ โดยไมต่ ้องมเี ตาเผา ขอ้ ดี คอื ใช้ไดด้ ีกับหมู่บา้ นในชนบท ควนั ไฟใชป้ ระโยชนไ์ ด้ เช่น ไลแ่ มลง นอกจากนีก้ เ็ ป็นวิธีที่ไมต่ ้อง ใชพ้ ้นื ทีม่ าก เปน็ ตน้ ข้อเสีย คือ อาจเกิดไฟไหมไ้ ด้ ขยะเมื่อเผาอาจส่งกล่นิ เหม็นได้ และถ้าไมม่ กี ารนาผงเถ้าเมอื่ เผาไหม้ เสร็จแล้วไปท้งิ ก็จะทาใหเ้ กิดการฟุูงกระจายได้ • การเผาด้วยเตาเผาขยะมลู ฝอย ในการเผาในเตาเผาจาเปน็ ท่จี ะตอ้ งมีการแยกประเภทของขยะทไี่ ม่ ไหม้ออกกอ่ น เพราะถา้ มีมูลฝอยที่ไม่ไหม้ไฟอยู่ในเตาเผากอ็ าจจะเกิดการอุดตนั ได้ ขอ้ ดี คอื ใชเ้ นื้อที่ในการกาจัดนอ้ ย อาจนาความร้อนท่ีไดไ้ ปใช้ประโยชนไ์ ด้ และเป็นวธิ ีท่ีเหมาะกับ ชุมชนเมอื ง เพราะเปน็ วธิ กี าจัดที่มิดชิดไม่ฟูงุ กระจาย เป็นตน้ ขอ้ เสยี คอื ค่ากอ่ สรา้ งค่อนข้างสงู เปลอื งคา่ ใช้จ่ายในการแยกประเภทขยะมูลฝอย และไม่เหมาะใน การเผาตอนฝนตก เป็นตน้ 4.การหมักขยะมลู ฝอยทาปุย๋ (Composting) หมายถึง การนาเอาขยะมูลฝอยพวกท่ยี ่อยสลายได้มา หมักทาป๋ยุ ในสภาวะทีม่ ีออกซิเจน ซ่งึ มวี ธิ ีการดงั ตอ่ ไปนี้ 1. การแยกขยะมลู ฝอย ซง่ึ จะแยกเอาแตม่ ลู ฝอยทสี่ ามารถยอ่ ยสลายได้ 2. สับขยะมูลฝอยใหเ้ ปน็ ชน้ิ เลก็ ๆ ขนาดไม่ควรเกนิ 2 นิ้ว 3. คลุกเคล้าขยะมูลฝอยให้เขา้ กัน 4. การหมกั เม่ือขยะมลู ฝอยคลกุ เคลา้ กนั ได้ดีแล้ว ก็นาไปหมกั โดยอาจกองบนพ้ืนหรอื หลุมตืน้ ๆ และกองสูงไม่นอ้ ยกว่า 3 ฟุต แตไ่ ม่ควรเกนิ 6 ฟุต อุณหภูมิทเี่ หมะสมควรอย่รู ะหวา่ ง 122-158 องศา ฟาเรนไฮต์ ระยะเวลาทหี่ มักประมาณ 15-21 วนั แตท่ กุ ๆ ช่วง 2-3 วัน ต้องมีการกลบั ขยะมลู ฝอยสกั คร้งั หนงึ่ เม่อื ครบกาหนดกจ็ ะไดป้ ุ๋ยหมกั ตามท่ีตอ้ งการ ข้อดี คือ สามารถลดปรมิ าณขยะลงได้ อีกทง้ั ยังสามารถใชป้ ระโยชน์จากมูลฝอยได้อกี ด้วย กระบวนการหมักไมต่ อ้ งใชอ้ ุปกรณ์มาก และไมม่ ผี ลกระทบตอ่ สงิ่ แวดล้อม เปน็ ตน้ ข้อเสีย คือ ป๋ยุ ทไี่ ดอ้ าจมคี ุณภาพต่ากวา่ ปยุ๋ เคมี 5.การนากลับมาใช้ใหม่ (recycling)หมายถึง การนาเอาขยะมลู ฝอยท่ียังสามารถนาไปใช้ประโยชนไ์ ด้ กลบั มาใช้อีกคร้งั ซ่งึ มูลฝอยที่นามา Recycle ไดแ้ ก่ • กระดาษ เชน่ การนากระดาษเก่ากลบั มาใช้ การทากระดาษสา เป็นตน้ • พลาสตกิ ได้แก่ การนามาข้นึ รปู ใหม่ เช่น ขน้ึ รูปใหมเ่ ป็นแจกัน ถังขยะ เป็นต้น • อลูมเิ นียม เช่น กระป๋องอลูมเิ นียมทีใ่ ช้แล้วสามารถทจ่ี ะนาเข้าสู่กระบวนการผลติ แลว้ นากลบั มาใช้ ใหมไ่ ด้

12 • แก้ว แกว้ กเ็ ปน็ อีกผลิตภณั ฑห์ นึ่งที่สามารถหลอมแล้วนากลับมาใช้ใหม่ได้ ข้อดี คือ สามารถลดขยะในสง่ิ แวดล้อมได้ ลดตน้ ทนุ ในการผลติ ได้ เป็นต้น ขอ้ เสยี คือ วสั ดุท่ีนากลบั มาใช้ใหมบ่ างชนดิ อาจมีการปนเป้อื นของสารพษิ อยู่ ถ้าไม่มกี ารฆา่ เชอื้ ให้ดี เชน่ พลาสติก หลักการทใี่ ช้ในการพจิ ารณาเลือกวธิ ีการกาจดั ขยะมลู ฝอย 1. ลักษณะและปรมิ าณของขยะมูลฝอย วิธกี ารกาจัดมูลฝอยแต่ละวิธีอาจใชไ้ ด้กบั ลกั ษณะมลู ฝอยอกี อย่างหน่ึง เช่น ขยะมูลฝอยที่เผาได้กเ็ หมาะกับขยะทตี่ อ้ งนามาเผา เป็นต้น 2. สถานท่ี การเลือกวิธที จ่ี ะกาจัดขยะมลู ฝอยควรคานงึ ถงึ สถานที่ด้วย เชน่ ถ้าเลือกวิธเี ผากลางแจ้ง ก็ ควรคานงึ ดว้ ยว่ากล่ินหรือควนั จากการเผาไหมม้ ันจะรบกวนประชาชนหรอื ไม่ เป็นตน้ 3. ค่าใช้จ่ายในการลงทุน ในการกาจัดขยะมลู ฝอยเราตอ้ งคานึงถึงราคาดว้ ยวา่ มนั เหมาะสมหรอื คุ้มทุน หรือไม่ 4. ค่าใชจ้ ่ายในกระบวนการกาจัด เชน่ ค่าใชจ้ า่ ยในการซื้อรถบดอัด ในการฝังกลบแบบสุขาภบิ าล 5. การนาผลผลิตจากการกาจัดขยะมูลฝอยไปใช้ประโยชน์ เชน่ ถ้าต้องการพลังงานความร้อนกค็ วร เลอื กวธิ ีเผาด้วยเตาเผาขยะ 6. ผลกระทบของการกาจดั ขยะมูลฝอยตอ่ สิง่ แวดลอ้ มและสุขภาพอนามยั ซ่งึ ถอื เป็นสง่ิ ท่ีสาคัญมาก เพราะในการทจ่ี ะกาจดั ขยะมลู ฝอยตอ้ งคานึงถงึ ผลกระทบเป็นอันดับแรก โดยเฉพาะอยา่ งย่ิง ผลกระทบต่อสิ่งแวดลอ้ มและสุขภาพอนามัย

บทท่ี 3 วธิ ีศึกษาค้นควา้ วธิ ีการดาเนินงาน วสั ดอุ ปุ กรณ์ 1. บอรด์ ประชาสมั พันธ์ 2. แบบสอบถาม วธิ ีการดาเนนิ งาน 1.จบั กลุ่มกับสมาชิก เพอื่ ปรึกษาหาเร่อื งทค่ี นในกลมุ่ สนใจ โดยเร่ิมจากการคดิ ปญั หาที่อย่ภู ายใน โรงเรียนและสามารถทาได้จรงิ จึงมีความเหน็ ว่าเป็นเรอื่ งของขยะภายในโรงเรยี นซง่ึ กอ่ ให้เกิดมลพิษ ภายในโรงเรยี น จึงตกลงทาโครงการนีข้ ึน้ 2.นาโครงการเกี่ยวกบั ขยะ ลดมลพิษทจี่ ะทาไปปรกึ ษาครูประจาวชิ า 3.คน้ หาข้อมูลเกย่ี วกบั ปัญหาขยะท่เี กดิ ข้นึ และวิธีการแก้ไขต่างๆ 4.นาเสนอโครงการทจี่ ะทาหนา้ ชัน้ เรียน 5.เตรียมอุปกรณ์จดั บอร์ดใหค้ วามรกู้ ารทง้ิ ขยะให้ถกู ที่ 6.ลงมอื ทาบอร์ดให้ความรกู้ ารทิง้ ขยะให้ถกู ที่ 7.ใหน้ กั เรยี นภายในโรงเรียนทาแบบประเมินเก่ียวกับโครงการ แลว้ เกบ็ รวบรวมขอ้ มลู ท่ีไดจ้ ากการให้ นักเรียนตอบแบบสารวจสอบถามผา่ นทางกระทูแ้ ลว้ นามาหาค่าเฉล่ียเพ่ือวัดประเมนิ ผลการทา โครงการ โดยใช้ Microsoft Excelในการหาค่าเฉลี่ย โดยเกณฑค์ ะแนนดงั น้ี พอใจ =5 ลาดับท่ี กจิ กรรม วัน/เดอื น/ปี ผรู้ ับผดิ ชอบ ๑ กาหนดชื่อโครง 18/08/2563 สมาชกิ คนในกลมุ่ ๒ แบ่งหวั ข้อใหส้ มาชกิ กล่มุ 18/08/2563 สมาชิกคนในกลมุ่ ๓ ศกึ ษาคน้ คว้าข้อมูลของแตล่ ะ่ หัวขอ้ 25/08/2563 สมาชกิ คนในกลุ่ม ๔ นาขอ้ ม,ู เรียบเรยี งตามหวั ขอ้ 25/08/2563 สมาชิกคนในกลุ่ม

15 บทที่ 4 ผลการศึกษาค้นคว้า ในการทาการศกึ ษาค้นคว้าองคค์ วามรูเ้ รอื่ งแนวทางการแกไ้ ขปัญหามลพิษภายในโรงเรยี นผ้จู ัดทา มีวัตถปุ ระสงคใ์ นการทาคือเพอ่ื ศึกษาสาเหตุปัญหามลพษิ ส่งิ แวดล้อมในโรงเรียนเรื่องขยะและส่งิ ปฏิกลู ต่างๆสมาชกิ ทกุ คนในกลุ่มช่วยกนั คิดหาแนวทางการแกไ้ ขปญั หาขยะทีเ่ กิดขน้ึ ในโรงเรียนแล้วให้ นกั เรยี นทุกคนทาแบบประเมินเก่ยี วกบั โครงการผา่ นทางกระทู้แบบสารวจสอบถาม ผลปรากฏวา่ นกั เรยี นให้ความร่วมมือในการทาแบบสอบถามกนั เปน็ จานวนมาก คดิ เป็นเปอร์เซ็นตอ์ ย่ทู ี่90เปอร์เซ็นต์จากคนในโรงเรยี น และไดผ้ ลจากแบบประเมินไปคานวณพบวา่ วธิ ที กี่ ลมุ่ ของพวกเราไดน้ าเสนอไปเกดิ ผลตอบรบั ท่ีดีและมปี ระสทิ ธิภาพ

16 บทท่ี 5 สรุป อภิปรายผลและข้อเสนอแนะ 5.1 สรปุ ผลการทดลอง จากศกึ ษาปญั หาของขยะในโรงเรียน พบว่าสาเหตกุ ารเพม่ิ ขึ้นของขยะภายในโรงเรียนทาใหเ้ กิดเปน็ มลพิษ มาการท้งิ ขยะไม่เปน็ ท่ี ความมักง่ายและขาดจติ สานึก การใช้สิ่งของของนักเรยี นทไ่ี มค่ านงึ ถงึ ปริมาณขยะทเ่ี พิม่ ข้ึน วิธีปูองกัน ควรปลกู ฝงั วถิ ีการดาเนนิ ชวี ติ ท่ีเป็นมิตรตอ่ สง่ิ แวดล้อมใหก้ บั นักเรียน ให้นักเรียนตรรหนักถงึ ปัญหาน้ี และฝกึ การคัดแยกขยะท่ีสามารถนากลบั มาใชป้ ระโยชนใ์ หม่ได้ หรือจะเปน็ การรณรงค์ให้นกั เรยี นมี จติ สานกึ ในการท้งิ ขยะใหเ้ ป็นท่ี ปญั หาและอปุ สรรคในการศกึ ษาคน้ ควา้ 1.การสือ่ สารในการทางานที่ค่อนขา้ งจะยาก 2.วางแผนการทางานคอ่ ยขา้ งทจ่ี ะนาน ขอ้ เสนอแนะและแนวทางในการพฒั นา - การศกึ ษาค้นคว้าท่ยี งั ไม่ละเอียด - สง่ิ ที่คาดวา่ เปน็ ไปได้ เพอื่ ใหส้ ามารถพัฒนาต่อไป ไดอ้ ย่างสมเหตสุ มผล

17 บรรณานกุ รม (1)http://www.mnre.go.th/reo13/th/news/detail/9373 (2)https://sites.google.com/site/panatchakornkesornsiri/khwam-hmay-khxng- mlphis-2 (3) http://sitinarak.blogspot.com/2016/10/2000-2000-2000-source-reduction-7-r-7- r.html (4) http://digital_collect.lib.buu.ac.th/dcms/files/53930111/chapter2.pdf (5) https://sites.google.com/site/sarocha113929/assignments ภาคผนวก

18

19

20

21 ประวตั ผิ ูจ้ ดั ทา ชอ่ื เร่ือง (ชอ่ื การศกึ ษาค้นคว้า) 1. .นายพชร ทฆี าวงค์ ประวัตสิ ว่ นตัว เกิดวันท่2ี 8 เดอื นธันวาคมพ.ศ.2546 ทอี่ ย(ู่ ปจั จุบัน) 55หม่3ู ต.ศลิ าแลง อ.ปวั จ.น่าน 55120 ประวตั กิ ารศกึ ษา ปี พ.ศ.2558 ช้นั ป.6 ร.ร.ไตรประชาวทิ ยา ปี พ.ศ.2561ช้ัน ม.3 ร.ร.ปัว ปี พ.ศ.2562 ชัน้ ม.5/3 เลขท2่ี 2.นางสาวกชพร อุ่นเครอื ประวตั ิสว่ นตวั เกิดวนั ที่4 เดอื นสงิ หาคมพ.ศ.2546 ทอ่ี ย(ู่ ปจั จุบัน) 155หม่6ู ต.สถานอ.ปวั จ.นา่ น 55120 ประวตั ิการศกึ ษา ปี พ.ศ.2558 ชั้น ป.6 ร.ร.บ้านนาฝาง ปี พ.ศ.2561ช้ัน ม.3 ร.ร.ปวั ปี พ.ศ.2563 ชน้ั ม.5/3 เลขท่ี3 3. นางสาว ธนญั ญา สรุ ิยะ ประวัตสิ ว่ นตวั เกดิ วนั ที่ 28 เดอื นเมษายน ป2ี 547 ทีอ่ ย(ู่ ปัจจบุ นั ) 41/7 ต.สถาน อ.ปัว จ.นา่ น 55120 อายุ16 ประวัตกิ ารศึกษา ปี พ.ศ. 2558 ชนั้ ป.6 บา้ นปรางค์ ปี พ.ศ. 2561 ชั้น ม.3 รร.ปวั ปี พ.ศ.2563 ชนั้ ม.5/3 เลขท่ี 15

22 4.นางสาว นพิ าดา วรรณสมพร ประวตั ิส่วนตัว เกดิ วันที่ 12 เดือน กุมภาพนั ธ์ ปี 2546 ท่ีอยู(่ ปัจจุบนั ) 143 บ้านขอน ต.ปัว อ.ปัว จ.นา่ น ประวตั ิการศกึ ษา ปี พ.ศ. 2558 ชนั้ ป.6 บ้านปรางค์ ปี พ.ศ. 2561 ชั้น ม.3 รร.ปวั ปี พ.ศ.2563 ช้นั ม.5/3 เลขท่ี 16 5.นางสาวทอรัก ธนสู าร ประวัติสว่ นตวั เกดิ วนั ท1่ี เดือน มกราคม พ.ศ.2547 ที่อย(ู่ ปัจจบุ ัน) 79 หมู่6 ต.วรนคร อ.ปวั จ.น่าน 55120 ประวัติการศกึ ษา ปี พ.ศ.2558 ชั้น ป.6 ร.ร.บา้ นปรางค์ ปี พ.ศ.2561ชั้น ม.3 ร.ร.ปวั ปี พ.ศ.2563 ช้ัน ม.5/3 เลขท่ี34


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook