Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore โปสเตอเนื้อหาการปฏิวัติ2475 14หน้า

โปสเตอเนื้อหาการปฏิวัติ2475 14หน้า

Published by tiparoomtana, 2021-08-30 03:58:40

Description: โปสเตอเนื้อหาการปฏิวัติ2475 14หน้า

Search

Read the Text Version

การปฏิวตั ิ 2475 ทีโรงเรยี นไมไ่ ด้สอน \"24 มถิ ุนายน 2475 \"อภิวัฒน์สยาม\" วันสําคัญแห่งการ เปลียนแปลงการปกครองแบบสมบรู ณาญาสิทธิราชย์ และสถาปนา ระบอบประชาธิปไตยทีกษตั ริยอ์ ยใู่ ต้รัฐธรรมนูญ\" \"อภิวัฒน์สยาม\" ในวันที 24 มถิ ุนายน 2475 เปนหนึง ในวันสําคัญทางประวัติศาสตร์ของประเทศไทย โดยเกิดเหตุการณ์ สําคัญคือ การเปลียนแปลงการปกครองแบสมบรู ณาญาสิทธิราชย์ และสถาปนาระบอบประชาธิปไตยทีกษตั ริยอ์ ยใู่ ต้รัฐธรรมนูญ โดย กลุ่ม \"คณะราษฎร\" ซึงนับว่าเปนการเปลียนแปลงครังใหญท่ ีส่งผล มาถึงปจจุบนั แม้ \"วันอภิวัฒน์สยาม\" ไมค่ ่อยถูกจดจํามากนัก เมอื เทียบกับเรืองราวทางประวัติศาสตร์อืนๆ แต่ถ้ามองในมมุ ความน่า สนใจทีคนไทยควรรู้ คงไมผ่ ดิ ถ้าจะบอกว่าวัน \"อภิวัฒน์สยาม\" น่า สนใจไมแ่ พว้ ันสําคัญอืนๆ เลย

1. \"วันอภิวัฒน์สยาม\" เกิดในสมยั รัชกาลที 7 เหตุการณ์วันอภิวัฒน์สยาม 24 มถิ ุนายน 2475 เกิดขนึ ในรัชสมยั ของ พระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยหู่ ัว รัชกาลที 7 โดยระหว่างทีเกิด เหตุการณ์ขนึ นัน พระองค์ได้เสด็จแปรพระราชฐานประทับอยทู่ ี พระราชวังไกลกังวล อําเภอหัวหิน จังหวัดประจวบคีรีขนั ธ์ ในคืนวันที 25 มถิ ุนายน พ.ศ. 2475 พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยหู่ ัว รัชกาลที 7 เสด็จกลับพระนครโดยรถไฟพระทีนังทีทางคณะผรู้ ักษา พระนครฝายทหารส่งไปรับ ในวันที 26 มถิ ุนายน พ.ศ. 2475 พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยหู่ ัวรัชกาล ที 7 ให้บคุ คลสําคัญของคณะราษฎรเขา้ เฝาและพระองค์ได้ทรงลง พระปรมาธิปไธยพระราชกําหนดนิรโทษกรรมแก่คณะผทู้ ําการ เปลียนแปลงการปกครองแผน่ ดิน ในวันที 27 มถิ ุนายน พ.ศ. 2475 พระบาทสมเด็จพระปกเกล้าอยหู่ ัวได้ พระราชทาน พระราชบญั ญตั ิธรรมนูญการปกครองแผน่ ดินสยาม ชัวคราวให้เปนกติกาการปกครองบา้ นเมอื งเปนการชัวคราวไปก่อน

2. \"คณะราษฎร\" คือใคร? คณะราษฎร คือกลุ่มคนทีมอี ุดมการณ์ในการเปลียนแปลงระบอบการ ปกครองแบบสมบรู ณาญาสิทธิราชย์ สู่การสถาปนาระบอบ ประชาธิปไตยทีมพี ระกษตั ริยอ์ ยใู่ ต้รัฐธรรมนูญ ซึงถือเปนอุดมการณ์ ทางการเมอื งแบบใหมใ่ นยคุ สมยั นัน แรกเริมกลุ่มคณะราษฎรก่อตังขนึ จากกลุ่มนักเรียนไทยในฝรังเศส เมอื พ.ศ.2467 โดยมผี รู้ ่วมเขา้ ประชุม ได้แก่ 1. นายปรีดี พนมยงค์, 2. ร.ท.แปลก ขตี ตะสังคะ, 3.นายประยรู ภมร มนตรี, 4. ร.ท.ทัศนัย นิยมศึก, 5. นายตัว ลพานุกรม, 6. นายแนบ พหลโยธิน, 7. หลวงศิริราชไมตรี (จรูญ สิงหเสนี) จากนันกระบวนการหาสมาชิกเพมิ ของกลุ่มคณะราษฎรก็ได้ขยาย แวดวงเขา้ มาถึงกลุ่มนายทหารชันผใู้ หญ่ และในป พ.ศ. 2475 จึง ทําการอภิวัฒน์ระบบการปกครอง โดยมี พ.อ.พระยาพหลพล พยหุ เสนา เปนหัวหน้าผกู้ ่อตังคณะผรู้ ักษาพระนครฝายทหาร ทีมนี าย ทหารระดับนายพนั เอก 3 คน คือ พระยาพหลพลพยหุ เสนา พระยา ทรงสุรเดช และพระยาฤทธิอัคเนย์ ควบคุมการอภิวัฒน์ ทังนีในกลุ่มคณะราษฎรก็ไมไ่ ด้มแี ต่นักเรียนนอก แต่ยงั มที ังกลุ่ม นักเรียนในประเทศ ขา้ ราชการ และกลุ่มพลเรือนอืนๆ อีก เนืองจาก ความคิดเรืองการเปลียนแปลงการปกครองเปนความคิดทีแพร่หลาย อยใู่ นกลุ่มสังคมหลายกลุ่ม ได้แก่ นักหนังสือพมิ พ์ นักเขยี น ผมู้ กี าร ศึกษา ครู ชนชันกลางในเมอื ง พอ่ ค้า และเจ้าของกิจการรายยอ่ ย

3. ปจจัยทีทําให้เกิดการ \"อภิวัฒน์สยาม\" ปจจัยด้านสถาบนั การเมอื ง ทีมกี ารผกู ขาดรวมศูนยอ์ ํานาจใน กลุ่มเจ้านายและขนุ นางชันสูง จนการบริหารราชการแผน่ ดิน ล่าช้าและขาดประสิทธิภาพ บวกกับความไมย่ ตุ ิธรรมในระบบ ราชการ ปจจัยด้านอุดมการณ์ ทีมกี ารแพร่หลายของแนวคิดใหมๆ่ ทําให้สามญั ชนเกิดจิตสํานึกตืนตัว และต้องการเห็นการ เปลียนแปลงเกิดขนึ ในประเทศ ไมว่ ่าจะเปนอุดมการณ์ ประชาธิปไตยและชาตินิยมของประชาชน ซึงท้าทาย อุดมการณ์แบบจารีตทีเน้นชาติกําเนิด บญุ บารมี และความไมเ่ ท่าเทียมทางชนชัน ปจจัยด้านการก่อตัวของชนชันใหม่ ทีมกี ารเติบโตของชนชัน ขา้ ราชการรุ่นใหม่ ชนชันกลาง ปญญาชน นักเรียนนอก นักเรียนใน นักหนังสือพมิ พ์ พอ่ ค้า และวิชาชีพสมยั ใหม่ อัน เนืองมาจากการเปดประเทศและพฒั นาเศรษฐกิจตังแต่ต้น รัตนโกสินทร์ สืบเนืองมาจนถึงสมยั รัชกาลที 5 กลุ่มคนใหมๆ่ เหล่านีมาพร้อมกับจิตสํานึกใฝหาเสรีภาพ ความทันสมยั และ ความเสมอภาคเท่าเทียม

ปจจัยด้านเศรษฐกิจ ได้แก่ วิกฤติการคลังตกทอดมาจากสมยั รัชกาลที 6 บวกกับวิกฤติเศรษฐกิจโลกในช่วงป 2472-2475 รัฐบาลตัดสินใจแก้ ปญหานีโดยการจัดทํางบประมาณขาดดุลและปรับขา้ ราชการชันกลาง และล่างออกหลายระลอก (แต่ปกปองชนชันสูงและขนุ นาง) ขนึ ภาษรี ายได้ กระทบคนชันกลางและราษฎร สร้างความเดือดร้อนให้กับคนระดับล่าง จน เกิดกระแสไมพ่ อใจต่อรัฐบาล ปจจัยสภาพแวดล้อมภายนอก ทีเกิดการล่มสลายของระบอบ สมบรู ณาญาสิทธิราชยท์ ัวโลก ไล่มาตังแต่จีน รัสเซีย เยอรมนี ออสเตรีย- ฮังการี

4. \"อภิวัฒน์สยาม 2475\" แบง่ เปน 2 ระลอก ความวุ่นวายหลังการอภิวัฒน์ 2475 ระลอกแรกเกิดจากฝายขนุ นาง เก่าทีต้องการเปลียนแปลงระบอบรัฐธรรมนูญและยอื แยง่ อํานาจกลับ คืนจากคณะราษฎรไปสู่กลุ่มตน กระทังทําให้ระบอบประชาธิปไตย รัฐสภาหยดุ ชะงกั และระลอก 2 คือการรัฐประหาร 2476 ของพระยา มโนปกรณ์นิติธาดา ทีเปนจุดเริมต้นของการต่อสู้ระหว่างฝายคณะ ราษฎรทีต้องการพทิ ักษร์ ักษามรดกของการอภิวัฒน์ กับฝายขนุ นาง อนุรักษนิยมทีต้องการทําลายคณะราษฎรและเปลียนแปลงระบอบ ประชาธิปไตยทีมกี ารแบง่ แยกอํานาจภายใต้รัฐธรรมนูญกลับไปสู่ ระบอบกึงสมบรู ณาญาสิทธิราชย์

5. เปนชนวนให้เกิดกบฏบวรเดช เหตุการณ์ของการอภิวัฒน์สยามระลอก 2 เปนชนวนและส่งผลให้เกิด กบฏบวรเดช เปนความพยายามก่อการรัฐประหารด้วยกําลังอาวุธเพอื โค่น ล้มรัฐบาลของคณะราษฎรในป 2476 ภายใต้ชือปฏิบตั ิการอยา่ งเปน ทางการว่า คณะกู้บา้ นกู้เมอื งคณะกู้บา้ นกู้เมอื ง ประกอบไปด้วยเจ้านาย และขนุ นางทีจงรักภักดีต่อพระมหากษตั ริยใ์ นระบอสมบรู ณาญาสิทธิราชย์ อาทิ พระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าบวรเดช ซึงเปนผนู้ ําในการกบฏครังนัน ได้ ยนื คําขาดแก่รัฐบาลคณะราษฎรให้ใช้การปกครองในรูปแบบของระบอบรา ชาธิปไตย โดยใช้กําลังทหารจากหัวเมอื งเปนกําลังหลัก กระทังเกิดการ ปะทะกันในเดือนตุลาคม 2476

6. ผลกระทบหลังจากเกิดการ \"อภิวัฒน์สยาม\" ด้านการเมอื ง เกิดการปรับโครงสร้างอํานาจ สถาปนาการปกครองโดย รัฐธรรมนูญทีมกี ารแบง่ แยกอํานาจเปนสามฝาย (นิติบญั ญตั ิ บริหาร และตุลาการ) มกี ารสร้างสถาบนั ทางการเมอื งใหม่ อาทิ รัฐสภา คณะ รัฐมนตรี สมาคมการเมอื ง กลุ่มผลประโยชน์วิชาชีพ การเลือกตัง ฯลฯ ที เปดให้คนหน้าใหมแ่ ละสามญั ชนเขา้ มามสี ่วนร่วมในการใช้อํานาจ สาธารณะมากขนึ นอกจากนันยงั มกี ารกระจายอํานาจสู่ท้องถิน การ ขยายระบบราชการและปรับวิธีการทํางาน ทังยงั มกี ารปฏิรูประบบ กฎหมาย มกี ารแก้ไขสนธิสัญญาทีเสียเปรียบกับต่างชาติ ทําให้ประเทศ มเี อกราชทีสมบรู ณ์ ด้านสังคม มกี ารจัดระบบการศึกษา ระบบการแพทยแ์ ละสาธารณสุข ระบบคมนาคมทีทันสมยั ให้ครอบคลุมและเสมอภาคมากขนึ โดยรัฐบาล ดําเนินบทบาทหน้าทีแบบรัฐสมยั ใหมม่ ากขนึ พยายามจัดหาสินค้าและ บริการสาธารณะให้ถึงมอื ประชาชน เกิดการขยายตัวของโรงเรียนและ มหาวิทยาลัย โรงพยาบาลทังในและนอกกรุงเทพฯ และถนนหนทาง เชือมต่อการเดินทางและขนส่งสินค้า สามญั ชนมโี อกาสในการเลือนชัน ทางสังคมมากขนึ

ด้านเศรษฐกิจ รัฐเขา้ ไปมบี ทบาทมากขนึ ในการวางนโยบายและพฒั นา ระบบการค้าและการลงทุนในภาคเกษตรกรรม บริการ และ อุตสาหกรรม มกี ารวางโครงสร้างพนื ฐานต่างๆ ขนึ มารองรับระบบ เศรษฐกิจสมยั ใหม่ เขา้ ไปจัดหางานและส่งเสริมอาชีพต่างๆ ด้านวัฒนธรรมและความคิด เกิดการเฟองฟขู องหนังสือพมิ พ์ นิตยสาร วัฒนธรรมการพมิ พ์ ละคร และวัฒนธรรมทีอยนู่ อกภาครัฐ เกิดการถก เถียงทางอุดมการณ์อันหลากหลายเขม้ ขน้ ทังทีสนับสนุนและต่อต้านรัฐ มี ทังแนวคิดประชาธิปไตย รัฐธรรมนูญ อนุรักษนิยม รอยลั ลิสต์ สังคมนิยม รวมถึงชาตินิยมแบบต่างๆ แพร่หลาย เกิดพนื ทีทางปญญา และวัฒนธรรมใหมๆ่ มากมาย ทีอยนู่ อกเหนือการควบคุมของรัฐ

7. อิทธิพลจากกระแสการเมอื งโลก การอภิวัฒน์สยามทีเกิดขนึ ในช่วงป พ.ศ. 2475 นัน ได้รับอิทธิพลมา จากกระแสการเมอื งโลกตังแต่หลัง พ.ศ. 2465 ทีมกี ารพงั ทลายของ สมบรู ณาญาสิทธิราชยท์ ัวโลก ประเทศมหาอํานาจทีเคยปกครองแบบ สมบรู ณาญาสิทธิราชย์ ไมว่ ่าจะเปนเยอรมนี ออสเตรีย-ฮังการี รัสเซีย และตุรกี ต่างก็ถูกโค่นลงทุกประเทศ ส่วนประเทศทียงั มรี ะบอบกษตั ริย์ ในยโุ รปต่างก็เปลียนเปนระบอบกษตั ริยใ์ ต้รัฐธรรมนูญ มรี ัฐธรรมนูญ และรัฐสภาจากการเลือกตัง กลายเปนปรากฏการณ์ธรรมดาของยคุ สมยั นันไปโดยปริยาย ส่วนประเทศในทวีปเอเชีย พบว่าระบอบกษตั ริยข์ องจีนถูกโค่น ล้มตังแต่ พ.ศ. 2454 ส่วนญปี ุนก็เปลียนเปนระบอบกษตั ริยใ์ ต้ รัฐธรรมนูญและมรี ัฐสภาเกิดขนึ ในป พ.ศ. 2474 และสเปนก็มกี าร ปฏิวัติโค่นระบอบกษตั ริยก์ ลายเปนระบอบสาธารณรัฐ

8. รัฐธรรมนูญในช่วงแรกของไทยหลัง \"อภิวัฒน์สยาม\" พระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยหู่ ัวและคณะราษฎรได้เริม จัดการให้มรี ัฐธรรมนูญฉบบั แรกแก่ประชาชน พระราชบญั ญตั ิ ธรรมนูญชัวคราวมกี ารลงพระปรมาภิไธยประกาศใช้เมอื วันที 27 มถิ ุนายน พ.ศ. 2475 ถือว่าเปนรัฐธรรมนูญฉบบั แรกของสยาม \"ประชาธิปไตย\" สําหรับสยามนัน ถูกมอบให้แก่ประชาชนในรูป ของการผอ่ น โดยสามารถแบง่ ออกได้เปนสามช่วง ได้แก่ ช่วงแรก : สมาชิกรัฐสภาทังหมดจะถูกแต่งตังโดยสีทหารเสือ เท่านัน (ซึงเปนฝายทหาร) สมาชิกรัฐสภาเหล่านีจะใช้อํานาจแทน ประชาชน และสมยั แรกมกี ําหนดวาระการทํางานไว้ 6 เดือน

ช่วงทีสอง : เปนช่วงทีประชาชนส่วนใหญย่ งั ขาดความรู้ จําเปนต้องเรียนรู้ เกียวกับหลักประชาธิปไตยและการเลือกตัง รัฐสภาถูกเปลียนให้ต้อง ประกอบด้วยสมาชิกทีได้รับการแต่งตังอยกู่ ึงหนึง และอีกกึงหนึงได้รับ การเลือกตังเขา้ มาตามแบบประชาธิปไตยทางอ้อม แต่ผลู้ งสมคั รรับเลือก ตังจะต้องได้รับการตรวจสอบจากคณะราษฎรก่อนการเลือกตังทุกครัง ช่วงทีสาม : พระราชบญั ญตั ิธรรมนูญบญั ญตั ิว่าการเปนตัวแทน ประชาธิปไตยเต็มตัวในรัฐสภานันจะบรรลุได้เฉพาะเมอื เวลาผา่ นไปแล้ว สิบปหรือประชากรมากกว่ากึงหนึงสําเร็จการศึกษาเกินกว่าระดับประถม ศึกษา แล้วแต่ว่าอยา่ งไหนจะเกิดก่อน

9. มรดกคณะราษฎร มรดกทางวัฒนธรรมของคณะราษฎร มที ังศิลปวัตถุและสถาปตยกรรม แบง่ เปน 3 ลักษณะ ดังนี - รูปแบบสถาปตยกรรมสมยั ใหม่ (Modern Architecture) เรียบ เกลียง หลังคาแบน ไมข่ นึ เปนจัวทรงสูง ไร้ลวดลายไทย สือถึงความเสมอภาค และ การลดเลิกฐานานุศั กดิ/ชนชั นทางสั งคม - ปรับเปลียนการออกแบบผงั เมอื งให้เปนสมยั ใหม่ เช่น การก่อสร้างถนน กว้าง สร้างวงเวียน วางผงั เมอื งเปนตารางสีเหลียม สือถึงการปกครองสมยั ใหม่ - ใช้สัญลักษณ์พานรัฐธรรมนูญ สือว่าอํานาจอธิปไตยได้เคลือนจากการรวม ศูนยไ์ ว้ทีกษตั ริยม์ าอยทู่ ีตัวรัฐธรรมนูญ ทังนีศิลปวัตถุทีโด่งดังมที ังหมดุ คณะราษฎร, อนุสาวรียป์ ราบกบฏ, รูปปน จอมพลป. ฯลฯ จัดแสดงไว้ทีสถาบนั วิชาการปองกันประเทศ พพิ ธิ ภัณฑ์พล เอกพระยาพหลพลพยหุ เสนา และตึกเทเวศประกันภัย

10. รัฐบาลคณะราษฎรล่มสลาย ป 2501 รัฐบาลคณะราษฎรล่มสลายเมอื จอมพลสฤษดิ ธนะรัชต์ ก้าวขนึ สู่ อํานาจด้วยการรัฐประหารในป 2501 ทังนีขบวนการโจมตีคณะ ราษฎรเกิดขนึ ตังแต่ป 2490 โดยสัมพนั ธ์กับการพฒั นาและเติบโตของ ขบวนการอนุรักษนิยมในสังคมไทย โยงกับฝายนิยมเจ้าทีหมดบทบาท ไปหลังป 2476 แต่ได้รับการฟนฟบู ทบาทอีกครังในยคุ ประชาธิปไตย ภายใต้การนําของนายปรีดี พนมยงค์ และมบี ทบาทสูงมากเมอื จอมพล ป.พบิ ลู สงคราม สมาชิกคณะราษฎรคนสุดท้ายถูกรัฐประหาร อา งอิง: 24 มถิ นุ ายน พ.ศ. 2475, www.bbc.com, www.the101.world


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook