Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore PCMSA206 Manual

PCMSA206 Manual

Published by ntporn, 2017-06-09 06:22:00

Description: PCMSA206 Manual

Search

Read the Text Version

คมู ือรายวชิ าวพมปค 206 วชิ าเลอื กเสรี (การทาํ อาหารไทย) นพท./นศพ.ชั้นปที่ 2 รนุ ท่ี 41 ภาคการศึกษาท่ี 2 ระหวางวันท่ี 12-16 มิ.ย. 60 กองการปกครอง วทิ ยาลัยแพทยศาสตรพระมงกุฎเกลา

1

รายวชิ า วพมปค 206 การทาํ อาหารไทยรหสั และช่ือรายวิชา วพมปค 206 วชิ าเลือกเสรี (การทําอาหารไทย) (0-2-1) ภาษาไทย PCMSA 206 ภาษาอังกฤษ 1 หนว ยกติ ปฏบิ ัติ 30 ชัว่ โมงจํานวนหนวยกิตหลกั สูตรและประเภทของรายวิชา แพทยศาสตรบัณฑติหลกั สูตรประเภทของรายวิชา หมวดวิชาเลือกอาจารยผ ูรบั ผดิ ชอบรายวชิ าและอาจารยผ สู อน1. อาจารยผรู ับผิดชอบรายวชิ า1.1 พ.อ. ยทุ ธพงษ อมิ่ สุวรรณ กองการปกครอง1.2 พ.ท. สรุ ภทั ร ศรีนนท กองการปกครอง2. อาจารยผ สู อน- ภาควิชาชีวเคมี กองการศึกษา 1) พ.อ.หญิง รศ. ดร. นันทพร วรี วฒั น- ฝายเกยี กกาย โรงพยาบาลพระมงกุฎเกลา 1) พ.ต.หญงิ ดร. กรกต วรี เธียร 2) ร.อ. หญิง วรวรรณ สทิ ธิเวช 3) อจ. ณิชาภัทร วารรี กั ษ 4) อจ. เดชคณุ พทิ ักษถริ คุณจุดมุงหมายของรายวิชา เพอ่ื ใหน ักเรยี นแพทยทหาร / นักศึกษาแพทย มีความรูความเขาใจเก่ียวกับวัฒนธรรมและเอกลักษณของอาหารไทย และรวมกันอนุรักษสบื สานวฒั นธรรมที่ดีงามของชาติไทย ฝก ทักษะในการทําอาหารคาว-หวานไทย และประพฤติตนไดเหมาะสมท้ังในดานอนามัยสวนบุคคลและจรรยาบรรณวิชาชีพของผูประกอบอาหารการนําอาหารไทยไปประยกุ ตใชก ับผูป วยในโรงพยาบาล 2

วัตถปุ ระสงค เพือ่ ให นพท./นศพ.วพม. 1. มีความรคู วามเขา ใจ เกย่ี วกับวฒั นธรรมและเอกลักษณของอาหารไทย 2. มีความเขาใจถงึ ลักษณะเฉพาะของอาหารไทย ทง้ั ในดา นคุณคา ทางโภชนาการและประโยชนเชิง สขุ ภาพ 3. บอกลักษณะที่ดีของผปู ระกอบอาหารได 4. สามารถประกอบอาหารคาว-หวานไทยได 5. บอกประโยชนของการนําอาหารไทยมาใชในการศึกษาดา นวชิ าชพี แพทยไดคําอธบิ ายรายวิชา การศึกษาวัฒนธรรม เอกลักษณ การแบง ประเภท คุณคาทางโภชนาการและประโยชนเชิงสขุ ภาพของอาหารไทย สวนประกอบและวิธกี ารปรงุ การใชเ คร่อื งมือและอปุ กรณในการประกอบอาหาร อนามัยสว นบคุ คลและจรรยาบรรณวชิ าชพี ของผปู ระกอบอาหาร การนาํ อาหารไทยไปประยุกตใ ชก บั ผปู วยในโรงพยาบาลการฝกทักษะปฏบิ ตั อิ าหารคาว-หวานไทยเปนข้ันตอนการวดั และประเมนิ ผลวดั และประเมินผลการเรยี นรตู ามทีก่ าํ หนดไวใ นหลักสูตร 6 ดา นดงั นี้ รอ ยละของสัดสว นของการ ผลการเรียนรู ประเมินผล1. ดา นคุณธรรมและจริยธรรม 102. ดานความรู 253. ทักษะปญญา4. ทักษะความสัมพันธระหวา งบคุ คลและความรบั ผดิ ชอบ 255. ทักษะการสือ่ สาร การใชเ ทคโนโลยสี ารสนเทศ 106. ทักษะพสิ ัย 30การตัดสินผลจะใชก ารอิงเกณฑ โดย MPL = 60.00 คะแนน A = 80.00 คะแนนข้ึนไป B+ = 75.00-79.99 คะแนน B = 70.00-74.99 คะแนน C+ = 65.00-69.99 คะแนน C = 60.00-64.99 คะแนน D+ = 55.00-59.99 คะแนน D = 50.00-54.99 คะแนน F = ต่าํ กวา 50.00 คะแนน 3

ตารางสอน รายวิชา วพมปค 206 การทาํ อาหารไทย นพท./นศพ.ช้ันปท ี่ 2 รนุ ที่ 41 ภาคการศึกษาที่ 2 ระหวางวนั ที่ 12-16 ม.ิ ย. 60 วัน เดือน ป หัวขอ/รายละเอียด ปฏบิ ัติ ผูสอนจ 12 มิ.ย. 60 0800-0900 น. แนะนาํ รายวชิ า วพมปค 206 วิชาเลือกเสรี 1 พ.ท.สุรภทั ร ศรีนนท 3 พ.อ.หญงิ รศ. นันทพร วีรวัฒน (การทําอาหารไทย) 0900-1200 น. มอบหมายงานกลมุ และนําเสนอขอมูล : วฒั นธรรมอาหารไทย 1300-1700 น. ดงู าน : ฝายเกียกกาย (งานโภชนาการ) 4 พ.ต.หญิง ดร. กรกต วีรเธยี ร โรงพยาบาลพระมงกุฎเกลา และคณะอ 13 มิ.ย. 60 0800-1200 น. มอบหมายงานกลมุ และนาํ เสนอขอมลู : 4 พ.อ.หญิง รศ. นันทพร วรี วัฒน การประกอบอาหารไทย - จรรยาวชิ าชพี พอ ครัว-แมครวั ไทย - อนามัยสว นบคุ คล - ขอ ควรปฏิบัติในการประกอบอาหารไทย 1300-1700 น. สาธิต : ทกั ษะเบอ้ื งตน ในการประกอบ 4 พ.ต.หญิง ดร. กรกต วรี เธยี ร อาหารไทย และคณะ 1. การเลอื กซื้อวตั ถดุ ิบอาหาร 2. การเตรยี มอาหารเบื้องตน 3. เครื่องเทศและสมุนไพรในอาหารไทย 4. การแกะสลักผักและผลไมพ 14 ม.ิ ย. 60 0800-1200 น. การฝก ปฏิบตั ิ : 4 พ.ต.หญงิ ดร. กรกต วรี เธียร การประกอบอาหารคาว-แกงเลียง และคณะ 1300-1600 น. การฝกปฏิบัติ : 3 พ.ต.หญิง ดร. กรกต วรี เธียร การแกะสลักผักและผลไม และคณะพฤ 15 มิ.ย. 60 0800-1200 น. การฝก ปฏิบตั ิ : 4 พ.ต.หญิง ดร. กรกต วีรเธียร การประกอบอาหารคาว-หอหมก และคณะ 1300-1600 น การฝกปฏิบตั ิ : 3 พ.ต.หญงิ ดร. กรกต วรี เธยี ร การประกอบอาหารหวาน-บวั ลอยเบญจรงค และคณะ ไขห วานศ 16 มิ.ย. 60 หยดุ วันสถาปนา วพม. 4

แผนการสอนรายวิชา วพมปค 206 การทาํ อาหารไทย นพท./นศพ.ชน้ั ปท ี่ 2 รุนที่ 41 ภาคการศึกษาท่ี 2คาบ หวั ขอ/รายละเอยี ด บรรยาย ปฏบิ ตั ิ SDL กิจกรรม ผูสอน1 แนะนาํ รายวชิ า - 1 - บรรยาย พ.ท.สุรภัทร ศรีนนท2 วฒั นธรรมอาหารไทย - 3 - มอบหมายงาน พ.อ.หญิง รศ. นนั ทพร วรี วฒั น 1) วฒั นธรรมอาหารไทย นําเสนอขอ มลู 2) ขาวไทย 3) วฒั นธรรมอาหารไทย 4 ภาค3 งานโภชนาการ รพ.รร.6 - 4- ดงู าน พ.ต.หญิง ดร. กรกต วีรเธยี ร4 การประกอบอาหารไทย - 4 - มอบหมายงาน พ.อ.หญงิ รศ. นนั ทพร วรี วัฒน 1. จรรยาวชิ าชีพพอครัว-แมครัว นาํ เสนอขอมูล ไทย 2. อนามัยสว นบคุ คล 3. ขอ ควรปฏบิ ัติในการประกอบ อาหารไทย5 ทักษะเบือ้ งตนในการประกอบ - 4 - สาธติ /ปฏิบตั ิ พ.ต.หญงิ ดร. กรกต วรี เธยี ร อาหารไทย ร.อ. หญงิ วรวรรณ สิทธิเวช 1. การเลือกซ้ือวตั ถดุ บิ อาหาร อจ. ณชิ าภทั ร วารีรกั ษ 2. การเตรียมอาหารเบอื้ งตน อจ. เดชคณุ พทิ ักษถริ คณุ 3. เครื่องเทศและสมุนไพรใน อาหารไทย 4. การแกะสลกั ผกั และผลไม6 การประกอบอาหารคาว-แกงเลียง - 4- ปฏบิ ตั ิ พ.ต.หญิง ดร. กรกต วรี เธยี ร 1. เครื่องปรงุ และคณุ คาตอ สขุ ภาพ ร.อ. หญงิ วรวรรณ สทิ ธิเวช 2. คุณคา ทางโภชนาการ อจ. ณิชาภัทร วารรี ักษ 3. วธิ กี ารประกอบอาหาร อจ. เดชคุณ พทิ กั ษถิรคุณ7 การแกะสลักผกั และผลไม - 3 - ปฏบิ ัติ พ.ต.หญิง ดร. กรกต วรี เธียร 1. วสั ดุอุปกรณทใี่ ช ร.อ. หญิง วรวรรณ สทิ ธิเวช 2. ลงมือปฏบิ ัติ อจ. ณิชาภัทร วารีรักษ8 การประกอบอาหารคาว-หอ หมก อจ. เดชคณุ พทิ กั ษถริ คณุ 1. เคร่ืองปรงุ และคุณคา ตอสขุ ภาพ - 4- ปฏบิ ัติ พ.ต.หญิง ดร. กรกต วรี เธยี ร 2. คณุ คา ทางโภชนาการ ร.อ. หญงิ วรวรรณ สิทธเิ วช 3. วิธกี ารประกอบอาหาร อจ. ณิชาภัทร วารีรกั ษ อจ. เดชคณุ พิทกั ษถ ริ คณุ9 การประกอบอาหารหวาน-บัว - 3- ปฏบิ ตั ิ พ.ต.หญงิ ดร. กรกต วรี เธยี ร ลอยเบญจรงคไขหวาน ร.อ. หญงิ วรวรรณ สทิ ธเิ วช 1. เคร่ืองปรงุ และคุณคา ตอ สุขภาพ อจ. ณิชาภัทร วารีรกั ษ 2. คณุ คา ทางโภชนาการ อจ. เดชคณุ พทิ ักษถิรคุณ 3. วิธกี ารประกอบอาหาร รวม - 30 - 5

แผนการสอนเรื่อง : วฒั นธรรมอาหารไทย การประกอบอาหารไทยวัน เวลา : จันทร 12 มถิ นุ ายน 2560 เวลา 0900-1200 น. องั คาร 13 มิถุนายน 2560 เวลา 0800-1200 น.สถานท่ี : หองบรรยาย 1 อาคารเจาฟาเพชรรัตน วพม.ผูเรียน : นพท./นศพ.วพม. ชั้นปท ่ี 2อาจารยผ สู อน : พ.อ.หญงิ รศ. นนั ทพร วีรวัฒนวตั ถปุ ระสงค : เม่ือจบการเรียนการสอน นพท./นศพ.วพม. 1. มีความรใู นเรื่องตอไปน้ี 1) วฒั นธรรมอาหารไทย 2) จรรยาวิชาชพี พอครัว-แมครัวไทย 3) อนามัยสว นบุคคล 4) ขอ ควรปฏิบัตใิ นการประกอบอาหารไทย 2. มคี วามตระหนกั และเห็นคณุ คาของอาหารไทยการจดั ประสบการณก ารเรียนรู 1. แนะนําวธิ ีการเรียนรู 10 นาที 2. แบง กลมุ นพท./นศพ. เปน 6 กลุม ยอย ศึกษา คน ควา และรว มกนั สรปุ 200 นาที ในหวั ขอ ที่ไดรับมอบหมาย 1) วัฒนธรรมอาหารไทย 2) ขา วไทย 3) วัฒนธรรมอาหารไทย: ภาคกลาง และภาคตะวันออกเฉยี งเหนือ 4) วัฒนธรรมอาหารไทย: ภาคเหนอื และภาคใต 5) จรรยาวิชาชพี พอ ครัว-แมค รวั ไทย 6) อนามยั สวนบคุ คลและขอควรปฏบิ ตั ใิ นการประกอบอาหารไทย 3. นาํ เสนอขอมลู 90 นาที 4. สรปุ และซกั ถาม และประเมินผลการเรยี นรู 50 นาทีส่อื การสอน : 1. Moodle รายวิชาการประกอบอาหาร 2. Notebook, Tablet, Mobile phoneเอกสารประกอบการสอน : 1. หนังสอื จดั ทาํ โดย คณะอนกุ รรมการขับเคล่ือนวัฒนธรรมอาหารเพื่อโภชนาการและสุขภาพ, คณะกรรมการอาหารแหงชาติ ดงั รายช่ือตอไปนี้ 1.1 วัฒนธรรมอาหารไทย ... จากอดีตสูปจจบุ ัน (พ.ศ. 2556) 1.2 วัฒนธรรมอาหารไทย: ภาคกลาง (พ.ศ. 2556) 1.3 วฒั นธรรมอาหารไทย: ภาคตะวนั ออกเฉียงเหนือ (พ.ศ. 2556) 1.4 วัฒนธรรมอาหารไทย: ภาคเหนือ (พ.ศ. 2556) 1.5 วัฒนธรรมอาหารไทย: ภาคใต (พ.ศ. 2556) 6

2. มหาวทิ ยาลัยเกษตรศาสตร. คมู ือการประกอบธุรกิจรานอาหารไทยในตางประเทศ เลม 1 การประกอบอาหารไทย. พ.ศ. 2548 3. สถาบนั อาหาร. อาหารไทย ... จากอดีตสปู จ จุบัน. พ.ศ. 2537แนวทางการพฒั นาผลการเรียนรูของผูเรยี น1. คุณธรรม จริยธรรม: คณุ ธรรม จรยิ ธรรม ทีต่ องพัฒนา 1.4. มคี วามตรงตอ เวลา มวี ินยั มคี วามรบั ผดิ ชอบตองานท่ีไดรับมอบหมายวิธีการสอน 6. ฝก การแสดงออกซงึ่ พฤติกรรม 15. ผูสอนปฏิบตั ิตนเปน แบบอยาง (role model)การประเมินผล 1. บันทกึ เขา เรยี นและการมีสวนรว ม2. ความรู : ความรู ท่ีตอ งพัฒนา 2.9 อน่ื ๆ วัฒนธรรมอาหารไทย และการประกอบอาหารไทยวธิ กี ารสอน 3. มอบหมายงานกลุม (คนควาขอ มลู รายงานโครงงาน) 4. นําเสนอขอ มูลวิธีการประเมนิ 13. การประเมนิ ผลงานกลมุ (เอกสาร รายงาน)3. ทักษะทางปญญา : ทักษะทางปญญาทต่ี องพัฒนา 3.2. สามารถวางแผนและแสวงหาวิธีการสรางและพัฒนาความรู ทกั ษะ เจตคติ และ พฤติกรรมท่เี หมาะสม 3.3. คิดวิเคราะหอยางเปนระบบ โดยใชองคความรทู างวิชาชีพและดา นอืน่ ๆ ที่เกยี่ วของวธิ ีการสอน 3. มอบหมายงานกลุม (คน ควาขอ มลู รายงานโครงงาน) 4. นําเสนอขอมลูวธิ ีการประเมิน 13. การประเมนิ ผลงานกลุม (เอกสาร รายงาน) 17. แฟมสะสมงาน (portfolio)4. ทักษะความสมั พันธระหวางบุคคลและความรบั ผดิ ชอบ: ทักษะความสมั พันธร ะหวา งบุคคลและความรับผดิ ชอบทตี่ อ งพัฒนา 4.1 สามารถปรบั ตัวเชิงวิชาชพี แพทย และมปี ฏสิ ัมพนั ธอ ยางสรางสรรคก บั ผูอ ืน่ 4.2 สามารถทาํ งานเปนทีมในบทบาทผูนาํ และสมาชกิ ในทีมดแู ลรักษา ทีมสุขภาพ และทีม ในชุมชน ของระบบบรกิ ารสาธารณสุข หรือคายทหาร ในบริบทหรือสถานการณท่ี แตกตางกนั 4.3 มีความรบั ผดิ ชอบตอหนาที่ ตอสงั คม และรับผิดชอบในการพัฒนาวชิ าชพี แพทย องคกร และ สงั คมวธิ กี ารสอน 3. มอบหมายงานกลมุ (คน ควาขอมลู รายงานโครงงาน) 4. นาํ เสนอขอ มลู 7

วธิ ีการประเมนิ 11. การประเมินโดยเพ่ือนรวมช้นั เรียนหรือกลมุ งาน5. ทกั ษะการวิเคราะหเ ชิงตัวเลข การสือ่ สาร และการใชเ ทคโนโลยสี ารสนเทศ : ทกั ษะการวิเคราะหเชิงตวั เลข การสอ่ื สาร และการใชเทคโนโลยสี ารสนเทศ ท่ตี อ งพฒั นา 5.2 สามารถส่ือสารไดอยางมีประสิทธิภาพท้ังการพูด การฟง การอาน การเขียน การ นาํ เสนอ และอวจั นภาษาหรือภาษาทาทาง (non-verbal communication) รวมทั้ง สามารถอา นตาํ รา และวารสารภาษาอังกฤษไดอ ยางเขาใจ 5.6 สามารถคนควาหาขอมูลจากแหลงตางๆ โดยใชเทคโนโลยีสารสนเทศ รวมทั้งมี วิจารณญาณในการประเมินขอมูล ดวยหลักการของวิทยาการระบาดคลินิก เวช ศาสตรเชิงประจักษแ ละเวชศาสตรท หาร 5.7 มีทักษะในการรับขอมูลอยางมีวิจารณญาณ และแปลงขอมูลใหเปนสารสนเทศที่มี คณุ ภาพ รวมทั้ง สามารถอาน วเิ คราะห และถายทอดขอมูลขาวสารแกผูอ่ืนไดอยาง เขา ใจ 5.8 สามารถเลอื กและใชรปู แบบการนาํ เสนอสารสนเทศ ตลอดจนใชเ ทคโนโลยีสารสนเทศ และการส่ือสารไดอ ยา งมีประสทิ ธภิ าพและเหมาะสมกับสถานการณ 5.10 สามารถถา ยทอดความรู ทกั ษะ และประสบการณ แกผ ูเ กย่ี วขอ งไดอ ยางเขาใจวิธีการสอน 3. มอบหมายงานกลุม (คนควาขอ มลู รายงานโครงงาน) 4. นําเสนอขอมลูวธิ กี ารประเมิน 11. การประเมนิ โดยเพ่ือนรว มชนั้ เรียนหรอื กลุมงาน 17. แฟมสะสมงาน (portfolio) 8

แผนการสอนเรื่อง : ฝา ยเกียกกาย (งานโภชนาการ) โรงพยาบาลพระมงกฎุ เกลาวัน เวลา : จนั ทร 12 มิถุนายน 2560 เวลา 1300-1700 น.สถานที่ : ฝายเกยี กกาย (งานโภชนาการ) โรงพยาบาลพระมงกฎุ เกลาผูเ รยี น : นพท./นศพ.วพม. ชัน้ ปท่ี 2อาจารยผูส อน : พ.ต.หญงิ ดร. กรกต วรี เธียรและคณะวตั ถุประสงค : เมื่อจบการเรยี นการสอน นพท./นศพ.วพม. มีประสบการณต รงเกย่ี วกับประโยชนของอาหาร ไทยตอการแพทยการจัดประสบการณก ารเรียนรู 1. ศกึ ษาดูงานการปฏบิ ตั ิงานของฝายเกียกกาย โรงพยาบาลพระมงกฎุ เกลา 170 นาที ในการจดั อาหารบรกิ ารผปู ว ยในโรงพยาบาล 2. สรุปและซักถาม 30 นาทีส่อื การสอน : สถานทจ่ี ริงและการปฏิบตั ิงานจริงของเจาหนา ท่ฝี า ยเกยี กกายเอกสารประกอบการสอน : -แนวทางการพฒั นาผลการเรยี นรูของผูเรียน1. คุณธรรม จริยธรรม: คุณธรรม จรยิ ธรรม ทตี่ องพฒั นา 1.4. มคี วามตรงตอเวลา มีวินัย มีความรับผดิ ชอบตองานที่ไดรับมอบหมายวิธกี ารสอน 6. ฝก การแสดงออกซง่ึ พฤติกรรม 15. ผูสอนปฏิบตั ิตนเปนแบบอยา ง (role model)การประเมนิ ผล 1. บนั ทึกเขา เรยี นและการมสี วนรวม2. ความรู : ความรู ทตี่ องพัฒนา 2.9 อื่น ๆ วัฒนธรรมอาหารไทย และการประกอบอาหารไทยวิธกี ารสอน 5. สาธติ / ดูงานวิธกี ารประเมนิ 1. บันทกึ เขาเรยี นและการมสี วนรว ม3. ทกั ษะทางปญญา : ทกั ษะทางปญ ญาที่ตอ งพฒั นา 3.2. สามารถวางแผนและแสวงหาวธิ ีการสรา งและพัฒนาความรู ทักษะ เจตคติ และ พฤติกรรมทเี่ หมาะสม 3.3. คดิ วเิ คราะหอ ยางเปนระบบ โดยใชอ งคความรทู างวิชาชีพและดา นอ่นื ๆ ท่เี กี่ยวของวิธกี ารสอน 5. สาธิต / ดูงานวธิ ีการประเมนิ 1. บันทกึ เขาเรยี นและการมีสวนรว ม 9

แผนการสอนเรอื่ ง : ทักษะเบ้ืองตนในการประกอบอาหารไทยวัน เวลา : องั คาร 13 มิถุนายน 2560 เวลา 1300-1700 น.สถานท่ี : หองอาหารช้นั ๓ อาคารประกอบเลย้ี ง วพม.ผูเรยี น : นพท./นศพ.วพม. ช้นั ปท ี่ 2อาจารยผ ูส อน : พ.ต.หญงิ ดร. กรกต วีรเธียรและคณะวตั ถปุ ระสงค : เมอ่ื จบการเรยี นการสอน นพท./นศพ.วพม. สามารถปฏิบตั ิไดอยา งเหมาะสมในเร่ืองตอไปน้ี 1) การเลอื กซ้ือวตั ถุดบิ อาหาร 2) การเตรยี มอาหารเบ้ืองตน 3) เคร่ืองเทศและสมนุ ไพรในอาหารไทย 4) การแกะสลักผักและผลไมการจดั ประสบการณการเรียนรู 1. แนะนาํ วิธีการเรยี นรู 10 นาที 2. แบงกลมุ นพท./นศพ. เปน 4 กลมุ ยอย ศึกษาและปฏบิ ัติงาน 160 นาที ตามสถานตี อไปนี้ (สถานลี ะ 40 นาท)ี  สถานที ี่ 1 เทคนิคการเลือกซ้ือวัตถดุ ิบอาหาร  สถานที ี่ 2 ทักษะการเตรยี มอาหารเบอื้ งตน เชน การลา งผัก การห่ันผักรูปแบบตาง ๆ การซอย การปอกเปลือก  สถานีที่ 3 เคร่ืองเทศและสมุนไพรในอาหารไทย  สถานท่ี 4 การแกะสลักผักและผลไม 3. สรปุ 30 นาทีส่ือการสอน : 1. สถานกี ารเรยี นรู 4 สถานี ๆ ละ 1 เรอ่ื ง 2. Moodle รายวชิ าการประกอบอาหารเอกสารประกอบการสอน :แนวทางการพฒั นาผลการเรียนรขู องผเู รยี น1. คณุ ธรรม จรยิ ธรรม: คณุ ธรรม จริยธรรม ท่ตี องพัฒนา 1.4. มีความตรงตอ เวลา มวี นิ ยั มีความรับผดิ ชอบตองานท่ีไดรับมอบหมายวิธกี ารสอน 6. ฝก การแสดงออกซึ่งพฤตกิ รรม 15. ผสู อนปฏิบตั ติ นเปนแบบอยา ง (role model)การประเมนิ ผล 1. บนั ทกึ เขาเรียนและการมีสวนรว ม2. ความรู : ความรู ทตี่ อ งพัฒนา 2.9 อื่น ๆ วฒั นธรรมอาหารไทย และการประกอบอาหารไทยวิธีการสอน 10

5. สาธติ / ดูงาน 9. การฝก ปฏบิ ตั ทิ างหอ งปฏิบตั กิ าร (laboratory study)วธิ ีการประเมิน 1. บนั ทึกเขา เรียนและการมีสวนรว ม 13. การประเมนิ ผลงานกลุม (ผลงานสาํ เรจ็ )3. ทกั ษะทางปญ ญา : ทกั ษะทางปญญาทต่ี องพัฒนา 3.2. สามารถวางแผนและแสวงหาวิธกี ารสรางและพฒั นาความรู ทกั ษะ เจตคติ และ พฤติกรรมทเ่ี หมาะสม 3.3. คิดวิเคราะหอยา งเปน ระบบ โดยใชอ งคความรทู างวิชาชีพและดา นอ่นื ๆ ทีเ่ กีย่ วของวธิ ีการสอน 5. สาธิต / ดูงาน 9. การฝกปฏบิ ตั ิทางหองปฏบิ ตั ิการ (laboratory study)วธิ กี ารประเมิน 1. บันทึกเขาเรยี นและการมีสวนรวม4. ทกั ษะความสมั พันธระหวางบคุ คลและความรบั ผดิ ชอบ: ทกั ษะความสัมพนั ธระหวางบคุ คลและความรบั ผิดชอบทตี่ อ งพฒั นา 4.1 สามารถปรับตวั เชงิ วิชาชพี แพทย และมปี ฏิสัมพันธอ ยางสรา งสรรคกับผูอ่ืน 4.2 สามารถทํางานเปนทีมในบทบาทผูน ําและสมาชิกในทีมดูแลรกั ษา ทีมสขุ ภาพ และทมี ในชมุ ชน ของระบบบรกิ ารสาธารณสุข หรอื คา ยทหาร ในบริบทหรอื สถานการณท่ี แตกตา งกนั 4.3 มีความรับผดิ ชอบตอหนาที่ ตอสงั คม และรับผดิ ชอบในการพฒั นาวิชาชีพแพทย องคกร และ สงั คมวิธกี ารสอน 9. การฝกปฏิบตั ทิ างหองปฏบิ ตั ิการ (laboratory study)วธิ ีการประเมนิ 15. การสังเกตการทํางานกลุม6. ทกั ษะพิสัย : ทกั ษะพิสัย ท่ีตองพฒั นา 6.6 อ่นื ๆ มีทกั ษะในการประกอบอาหารวิธีการสอน 5. สาธิต / ดูงาน 9. การฝก ปฏบิ ัติทางหองปฏบิ ัตกิ าร (laboratory study)วิธกี ารประเมิน 13. การประเมินผลงานกลุม (ผลงานสําเรจ็ ) 14. การสังเกตพฤติกรรมและประเมินการปฏบิ ตั งิ าน 15. การสังเกตการทาํ งานกลุม 11

เรอื่ ง : การประกอบอาหารคาว-หวาน แผนการสอนวัน เวลา : พธุ 14 มถิ นุ ายน 2560 0800-1600 น.พฤ 15 มิถุนายน 2560 0800-1600 น.สถานท่ี : หอ งอาหารช้ัน ๓ อาคารประกอบเล้ยี ง วพม.ผเู รียน : นพท./นศพ.วพม. ช้ันปท่ี 2อาจารยผ สู อน : พ.ต.หญงิ ดร. กรกต วรี เธยี รและคณะวตั ถปุ ระสงค : เมือ่ จบการเรยี นการสอน นพท./นศพ.วพม. สามารถ1. บอกเครื่องปรุงท่ีใชใ นการประกอบอาหารได2. บอกคุณคา ตอ สุขภาพและเอกลกั ษณของอาหารไทยได3. บอกคณุ คา ทางโภชนาการของอาหารไทยได4. ประกอบอาหารคาวและอาหารหวานไดการจัดประสบการณก ารเรียนรูพุธ แกงเลยี ง การแกะสลักผกั และผลไมพฤหัส หอ หมก บวั ลอยเบญจรงคไขหวาน 1. แบง กลมุ นพท./นศพ. เปน 3 กลมุ ยอย ศึกษาและปฏิบตั ิงาน 50 นาที - เครอ่ื งปรงุ ท่ีใช 150 นาที - คุณคา ของเคร่ืองปรงุ ตอ สุขภาพ - คณุ คาทางโภชนาการของอาหารคาว/หวาน 2. ลงมอื ปฏบิ ัติสอ่ื การสอน : วัตถุดบิ อาหารเอกสารประกอบการสอน : -แนวทางการพฒั นาผลการเรยี นรขู องผูเรยี น1. คุณธรรม จริยธรรม: คณุ ธรรม จรยิ ธรรม ทต่ี องพฒั นา 1.4. มคี วามตรงตอ เวลา มวี นิ ยั มคี วามรบั ผดิ ชอบตองานท่ีไดร ับมอบหมายวิธกี ารสอน 6. ฝก การแสดงออกซึง่ พฤตกิ รรม 15. ผูสอนปฏบิ ัตติ นเปน แบบอยาง (role model)การประเมินผล 1. บนั ทกึ เขา เรยี นและการมีสวนรว ม2. ความรู : ความรู ท่ตี องพัฒนา 2.9 อืน่ ๆ วฒั นธรรมอาหารไทย และการประกอบอาหารไทยวธิ กี ารสอน 9. การฝก ปฏิบตั ิทางหองปฏิบัตกิ าร (laboratory study) 12

วธิ กี ารประเมนิ 1. บันทึกเขาเรียนและการมีสวนรวม 13. การประเมนิ ผลงานกลุม (ผลงานสําเร็จ)3. ทกั ษะทางปญญา : ทกั ษะทางปญญาท่ตี องพฒั นา 3.2. สามารถวางแผนและแสวงหาวิธีการสรา งและพฒั นาความรู ทกั ษะ เจตคติ และ พฤติกรรมทเ่ี หมาะสม 3.3. คิดวิเคราะหอยางเปนระบบ โดยใชองคความรทู างวชิ าชพี และดา นอ่ืนๆ ทเ่ี กี่ยวของวธิ ีการสอน 9. การฝก ปฏบิ ัตทิ างหองปฏิบัตกิ าร (laboratory study)วธิ ีการประเมนิ 1. บนั ทึกเขา เรยี นและการมีสวนรวม4. ทกั ษะความสมั พันธร ะหวางบคุ คลและความรบั ผดิ ชอบ: ทักษะความสมั พันธระหวา งบคุ คลและความรบั ผิดชอบที่ตองพฒั นา 4.1 สามารถปรบั ตวั เชิงวิชาชพี แพทย และมีปฏสิ มั พันธอ ยางสรางสรรคก บั ผูอ ื่น 4.2 สามารถทาํ งานเปนทมี ในบทบาทผูนาํ และสมาชกิ ในทีมดูแลรักษา ทมี สขุ ภาพ และทีม ในชมุ ชน ของระบบบรกิ ารสาธารณสขุ หรือคา ยทหาร ในบริบทหรือสถานการณท่ี แตกตางกัน 4.3 มีความรับผดิ ชอบตอหนาท่ี ตอสังคม และรับผิดชอบในการพฒั นาวิชาชพี แพทย องคกร และ สังคมวธิ ีการสอน 9. การฝกปฏบิ ตั ิทางหองปฏบิ ัติการ (laboratory study)วิธกี ารประเมิน 15. การสังเกตการทาํ งานกลุม6. ทกั ษะพิสัย : ทกั ษะพสิ ัย ที่ตอ งพฒั นา 6.6 อนื่ ๆ มที ักษะในการประกอบอาหารวธิ ีการสอน 9. การฝกปฏบิ ัติทางหองปฏบิ ตั กิ าร (laboratory study)วิธกี ารประเมนิ 13. การประเมินผลงานกลมุ (ผลงานสําเรจ็ ) 14. การสงั เกตพฤติกรรมและประเมินการปฏิบตั ิงาน 15. การสังเกตการทํางานกลุม 13

รายวิชา วพมปค 206 การทําอาหารไทย รายชอ่ื นพท./นศพ.ชัน้ ปท ่ี 2 รนุ ที่ 41 (20 นาย) วัน .................... เดือน มถิ นุ ายน พ.ศ. 2560.ลําดบั เลขประจําตวั ช่อื นามสกลุ ลงเวลา ลงชอ่ื1 5841018 นพท.จุฑาวัฒน คูกนก2 5841021 นศพ.ชนกานต โฉมวไิ ลลกั ษณ3 5841022 นศพ. (ญ) ขนัญชิดา พวกนอย4 5841030 นศพ. (ญ) ณัฏฐนชิ ศฤงคารพูนเพมิ่5 5841032 นศพ. (ญ) ณฐั ณชิ กานต พาหา6 5841034 นศพ. (ญ) ณฐั วรา นนั ทผาสุข7 5841035 นศพ.ณัฐวุฒิ สบื สาย8 5841036 นศพ.ตฤณ เศรษฐอดุ ม9 5841041 นพท.ธีรโชติ ทัดมาลัย10 5841053 นศพ.พรษิ ฐ มฤคทัต11 5841054 นศพ.พศตุ ม แสงสงา12 5841059 นศพ. (ญ) พดั ชา เจนนพกาญจน13 5841060 นศพ.พัทธพล เปอรุณ14 5841063 นศพ. (ญ) พิรกานต อาชวะพาณิชย15 5841067 นศพ. (ญ) ภิษชั ชมม ภัทรกลุ16 5841068 นศพ.ภเู มธ เจยี รเดชาพร17 5841077 นศพ. (ญ) วรนั ธร ประสพสุขโชค18 5841084 นศพ.สทิ ธกิ านต ตลุ าการวงศ19 5841094 นพท.หรรษธร วเิ ศษพานชิ กิจ20 5841099 นศพ. (ญ) เอมมิกา หลิมสกลุ 14

รายวชิ า วพมปค 206 การทําอาหารไทย การแบงกลมุ นพท./นศพ.ชั้นปท ี่ 2 รุนที่ 41 (20 นาย)จันทร 12 มถิ ุนายน 2560 เวลา 0900-1200 น. วฒั นธรรมอาหารไทยอังคาร 13 มถิ ุนายน 2560 เวลา 0800-1200 น. การประกอบอาหารไทย กลมุ ท่ี ลาํ ดบั เลขประจาํ ตัว ชื่อ นามสกลุกลมุ ที่ 1 1 5841018 นพท.จฑุ าวัฒน คูกนก 7 5841035 นศพ.ณฐั วฒุ ิ สบื สาย 13 5841060 นศพ.พทั ธพล เปอรณุ 17 5841077 นศพ. (ญ) วรันธร ประสพสขุ โชค โฉมวไิ ลลกั ษณกลมุ ที่ 2 2 5841021 นศพ.ชนกานต เศรษฐอดุ ม 8 5841036 นศพ.ตฤณ อาชวะพาณิชย 14 5841063 นศพ. (ญ) พิรกานต ตลุ าการวงศ 18 5841084 นศพ.สิทธิกานต พวกนอ ย ทดั มาลยักลุมท่ี 3 3 5841022 นศพ. (ญ) ขนัญชดิ า หลิมสกุล 9 5841041 นพท.ธรี โชติ ศฤงคารพูนเพ่มิ 20 5841099 นศพ. (ญ) เอมมกิ า มฤคทตั ภทั รกลุกลมุ ที่ 4 4 5841030 นศพ. (ญ) ณัฏฐนชิ พาหา 10 5841053 นศพ.พรษิ ฐ แสงสงา 15 5841067 นศพ. (ญ) ภิษัชชมม เจยี รเดชาพร นนั ทผาสขุกลุมท่ี 5 5 5841032 นศพ. (ญ) ณัฐณชิ กานต เจนนพกาญจน 11 5841054 นศพ.พศตุ ม วเิ ศษพานิชกิจ 16 5841068 นศพ.ภเู มธกลุมที่ 6 6 5841034 นศพ. (ญ) ณฐั วรา 12 5841059 นศพ. (ญ) พดั ชา 19 5841094 นพท.หรรษธร 15

รายวชิ า วพมปค 206 การทําอาหารไทย การแบง กลมุ นพท./นศพ.ชั้นปท ี่ 2 รนุ ท่ี 41 (20 นาย)องั คาร 13 มิถนุ ายน 2560 เวลา 1300-1700 น. ทักษะเบ้ืองตนในการประกอบอาหารไทย 4 สถานีกลุม ท่ี ลําดบั เลขประจําตวั ชือ่ นามสกลุกลุม ที่ 1 1 5841018 นพท.จุฑาวฒั น คกู นก2 5841021 นศพ.ชนกานต โฉมวิไลลกั ษณ3 5841022 นศพ. (ญ) ขนญั ชดิ า พวกนอย4 5841030 นศพ. (ญ) ณัฏฐนชิ ศฤงคารพูนเพ่มิ5 5841032 นศพ. (ญ) ณัฐณชิ กานต พาหากลมุ ท่ี 2 7 5841035 นศพ.ณัฐวฒุ ิ สบื สาย6 5841034 นศพ. (ญ) ณัฐวรา นันทผาสุข8 5841036 นศพ.ตฤณ เศรษฐอดุ ม9 5841041 นพท.ธรี โชติ ทดั มาลยั10 5841053 นศพ.พริษฐ มฤคทัตกลมุ ที่ 3 11 5841054 นศพ.พศตุ ม แสงสงา12 5841059 นศพ. (ญ) พัดชา เจนนพกาญจน13 5841060 นศพ.พัทธพล เปอ รณุ14 5841063 นศพ. (ญ) พิรกานต อาชวะพาณิชย15 5841067 นศพ. (ญ) ภิษชั ชมม ภัทรกุลกลมุ ท่ี 4 16 5841068 นศพ.ภเู มธ เจียรเดชาพร17 5841077 นศพ. (ญ) วรนั ธร ประสพสุขโชค18 5841084 นศพ.สิทธกิ านต ตุลาการวงศ19 5841094 นพท.หรรษธร วิเศษพานชิ กิจ20 5841099 นศพ. (ญ) เอมมิกา หลมิ สกุล 16

รายวิชา วพมปค 206 การทําอาหารไทยการแบงกลมุ นพท./นศพ.ชั้นปท่ี 2 รนุ ท่ี 41 (20 นาย)พุธ 14 มิถุนายน 2560 เวลา 0800-1600 น. การประกอบอาหารคาว-หวานพฤหัส 15 มิถนุ ายน 2560 เวลา 0800-1600 น.กลุม ท่ี ลําดบั เลขประจาํ ตวั ช่อื นามสกลุ อาจารยประจาํ กลุมกลุมท่ี 1 1 5841018 นพท.จฑุ าวฒั น คกู นก ร.อ. หญงิ วรวรรณ สทิ ธเิ วช2 5841021 นศพ.ชนกานต โฉมวิไลลกั ษณ อจ. ณิชาภทั ร วารรี ักษ3 5841022 นศพ. (ญ) ขนญั ชิดา พวกนอ ย อจ. เดชคณุ พิทกั ษถ ริ คุณ4 5841030 นศพ. (ญ) ณัฏฐนชิ ศฤงคารพูนเพิม่5 5841032 นศพ. (ญ) ณฐั ณชิ กานต พาหา6 5841034 นศพ. (ญ) ณฐั วรา นันทผาสุข7 5841035 นศพ.ณฐั วุฒิ สบื สายกลมุ ที่ 2 8 5841036 นศพ.ตฤณ เศรษฐอุดม9 5841041 นพท.ธรี โชติ ทัดมาลยั10 5841053 นศพ.พรษิ ฐ มฤคทตั11 5841054 นศพ.พศตุ ม แสงสงา12 5841059 นศพ. (ญ) พดั ชา เจนนพกาญจน13 5841060 นศพ.พัทธพล เปอรณุ14 5841063 นศพ. (ญ) พิรกานต อาชวะพาณชิ ยกลมุ ที่ 3 15 5841067 นศพ. (ญ) ภิษชั ชมม ภัทรกุล16 5841068 นศพ.ภูเมธ เจียรเดชาพร17 5841077 นศพ. (ญ) วรนั ธร ประสพสุขโชค18 5841084 นศพ.สิทธิกานต ตุลาการวงศ19 5841094 นพท.หรรษธร วเิ ศษพานชิ กจิ20 5841099 นศพ. (ญ) เอมมิกา หลิมสกุล 17

แบบประเมนิ รายวชิ าเลือกเสรี 3 รายวิชาการทาํ อาหารไทย นพท./นศพ.ช้นั ปท ่ี 2 รุน ที่ 41 ปก ารศกึ ษา 2559 โปรดใสเครอ่ื งหมาย √ ลงในชองที่เหมาะสม หรอื ที่ทา นพงึ พอใจ5= ดมี าก/เหมาะสมมาก 4= ดี/เหมาะสม 3= ปานกลาง 2= พอใช 1= ควรปรับปรุง รายการ 54321 เหตุผลและขอเสนอแนะ1. เน้อื หาการเรยี นการสอนมกี ารผสมผสาน ----- -2. ระยะเวลาการเรียนการสอนที่เหมาะสม ----- -3. การจัดการเรยี นการสอน ----- - 3.1 บรรยาย ----- - 3.2 การเรยี นภาคปฏบิ ัติ ----- - 3.3 การสอนมกี ารสอดแทรกจรยิ ธรรม ----- - 3.4 การอภปิ รายปญ หา 3.5 การสาธติ การปฏบิ ตั ิ4. วธิ กี ารสอนของอาจารยผ สู อน5. คุณภาพการสอน 5.1 เอกสารประกอบการสอน 5.2 มแี ผนการสอน 5.3 มขี อ ความและภาพประกอบ Power Point 5.4 มีอปุ กรณเ พียงพอตอการเรยี นการสอน 5.5 ปจ จัยเก้อื หนนุ อน่ื ๆ6. การสอบ 6.1 การสอบขอเขียน 6.2 การสอบปฏบิ ตั ิ7. การประเมนิ ผลในภาพรวม8. ความสมั พนั ธระหวา ง อาจารยแ ละ นักเรยี น9. ความรูท่ีไดจ ากการเรียนการสอน10. ไดร บั ทักษะดานการประกอบอาหารไทยขอเสนอแนะ ....................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................

Evaluation Form PCM 4.1/54 . .. .. ( . .. 21 ) 5=5 =4 =3 =2 =1 ..: 1. . 5 4 32 11. 5 4 3 2 12. 5 4 3 2 13. 5 4 3 2 14. 5 4 3 2 15. 5 4 3 2 16. 5 4 3 2 17. 5 4 3 2 18. 5 4 3 2 19. 5 4 3 2 110. ./ . 5 4 3 2 111. 5 4 3 2 1 : 1. . .1. ................2. ..3.4. 543215. 543216. 543217. 543218. 543219. 54321 5432110. 54321 5432111. 54321 ./ . 5 4 3 2 1 54321 .

Evaluation Form PCM 5.1-2/54_Mod.ภชค.แบบประเมินเพ่อื น (SPBL – 1-2) (โดยนักเรียนแพทย)์ช่อื รายวิชา ……………………………………………………………………… กล่มุ ท…่ี ………………………………. วัน เดอื น ป…ี ………………………………กรุณาระบายเคร่ืองหมาย 5 ลงในช่องให้ตรงกบั ความสามารถของนักเรียนแพทย์ มากท่สี ุด = 5 มาก = 4 ปานกลาง = 3 นอ้ ย = 2 นอ้ ยที่สดุ = 1ระบชุ ่ือ นกั เรียนแพทย์ ………………………………………………………………………………………………………………………. หวั ขอ้ ประเมิน ระดบั ความสามารถ ตามมาตรฐานผลการเรียนรู้ 543214. ทกั ษะความสัมพันธร์ ะหว่างบุคคลและความรบั ผดิ ชอบ 54321 4.1 กระตุน้ ให้มกี ารอภิปรายในกลุม่ 54321 4.2 ให้ขอ้ มูลหรือเสนอความคิดเห็นทเี่ ปน็ ประโยชนต์ ่อกลุ่ม 54321 4.3 รับฟังความคดิ เห็นของเพ่อื น 54321 4.4 มนุษยสัมพนั ธ์ดแี ละใหค้ วามชว่ ยเหลอื เพื่อนในกลุ่ม 54321 4.5 ควบคมุ อารมณไ์ ด้เหมาะสม 54321 4.6 ลดความตงึ เครียดและแก้ไขความขัดแยง้ ของกล่มุ ได้เหมาะสม 54321 4.7 ความรบั ผดิ ชอบในงานทไ่ี ด้รับมอบหมาย 54321 543215. ทกั ษะวิเคราะหเ์ ชิงตวั เลข (สถติ ิ) การสือ่ สาร และการใช้เทคโนโลยสี าระสนเทศ 54321 5.1 สามารถวิเคราะหป์ ญั หาและตัง้ สมมตฐิ านได้เหมาะสม 54321 5.2 คน้ คว้าข้อมลู ไดเ้ หมาะสมและตรงประเด็น 5.3 เสนอขอ้ มลู ทีเ่ ชือ่ ถือได้ 5.4 อธบิ ายและถ่ายทอดความคดิ ใหก้ ลมุ่ เขา้ ใจได้ความคดิ เหน็ เพ่มิ เตมิ…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………...

แบบประเมนิ (อาจารยประเมินกลมุ ) วพมปค ๒๐๖ วิชาเลอื กเสรี (การทําอาหารไทย) นพท./นศพ.ชน้ั ปท่ี 2 รุนท่ี 41 ปก ารศึกษา 2559 โปรดใสเครื่องหมาย √ ลงในชอ งท่เี หมาะสม หรอื ที่ทานพงึ พอใจ5= ดมี าก/เหมาะสมมาก 4= ดี/เหมาะสม 3= ปานกลาง 2= พอใช 1= ควรปรับปรุงหัวขอ ประเมิน 54321 เหตผุ ลและขอเสนอแนะทักษะ 4 ความสมั พนั ธร ะหวางบคุ คลและความรบั ผดิ ชอบ1. ทาํ งานในกลุม อยางมปี ระสทิ ธภิ าพ รับผดิ ชอบงานทไ่ี ดร ับมอบหมาย2. มีมนษุ ยสมั พนั ธด ี และชวยสง เสริมสมาชกิ กลมุ3. กระตอื รือรน และสนใจตอกิจกรรมกลุม4. มีสวนรว มในการแสดงความคดิ เห็น5. ตอบคาํ ถามและอธิบายเพิ่มเติมไดด ีทักษะท่ี 6 ทักษะพสิ ยั ทีต่ อ งพฒั นา1. เลือกใชวตั ถุดบิ อาหารไดเหมาะสม2. เตรยี มวัตถุดิบอาหาร และประกอบอาหารไดถูกตอ งตามขนั้ ตอน3. วิเคราะหส าเหตุและแกไ ขปญ หาทีเ่ กดิ ขึ้นระหวา งการเตรยี มและประกอบอาหารไดอ ยา งถกู ตอง4. ลา ง ทําความสะอาด และจดั เก็บอปุ กรณไ ดถกู ตองตามหลักสขุ าภบิ าลอาหาร5. ผลงานสาํ เร็จตามทกี่ าํ หนด6. ปฏบิ ตั ติ นไดอยางถูกตองในเรื่องอนามยั สว นบคุ คลและสขุ นิสยั ทด่ี ีในการประกอบและปรงุ อาหารขอ เสนอแนะ .................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................... อาจารยผ ปู ระเมิน .................................................................. (.................................................................) วนั ทป่ี ระเมนิ ............................................


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook