History Of Europe Edit by : Phuripat Robru 3/1
พัฒนาการ ดา้ นการเมอื ง ของยุโรป
พฒั นาการด้านการเมอื งของยโุ รป (ในอดีต) โดยท่วั ไปกล่าวได้ว่าในอดีตดินแดนส่วนใหญ่ของทวปี ยุโรปมี กษัตรยิ เ์ ป็ นประมุขสูงสุด แมแ้ ตใ่ นสมยั กรีกเรืองอานาจเม่ือกว่า 500 ปี กอ่ นคริสตศ์ ักราช ระบอบการปกครองแบบกษตั ริยก์ ็เป็ นที่ รู้จักกันแพรห่ ลายแล้ว ในสมยั จักรวรรดโิ รมัน (27 ปี ก่อน คริสตศ์ ักราช-ค.ศ.476) พระประมุขสูงสุด เรยี กวา่ จักรพรรดิซึง่ ทรงปกครองอาณาบรเิ วณกวา้ งขวางครอบคลุมพืน้ ทใ่ี นยุโรปและ บางส่วนของเอเชยี และแอฟริกา แผนทจ่ี ักรวรรดโิ รมัน 1
พฒั นาการดา้ นการเมอื งของยุโรป (ในอดีต) เมอื่ จกั รวรรดโิ รมนั ลม่ สลายลงใน ค.ศ. 476 ยุโรปไดเ้ ข้าสู่สมยั กลาง Milddle Ages ค.ศ. 476-1492)ทร่ี ะยะแรกๆบา้ นเมอื งแตกแยกจากการเขา้ รุกรานของพวกอนารย ชนเผ่ากอท หรือชนเผ่าเยอรมันทอี่ พยพลงมาจากตอนเหนือ ระบอบการปกครองแบบ รวมศูนยอ์ านาจของโรมสลายตัว บา้ นเมอื งไร้ขอื่ แป ประมวลกฎหมายโรมันทใ่ี ช้บงั คบั ท่วั ทงั้ จกั รวรรดิถูกละทงิ้ เกดิ เป็ นระบอบการปกครองแบบฟิ วดัล หรือการปกครองแบบ กระจายอานาจการปกครองตกอยูใ่ นมอื ของขุนนางเจา้ ของทดี่ นิ และมีการใช้กฎหมาย จารีตประเพณี ของพวกอนารยชนแทนประมวลกฎหมายโรมนั อยา่ งไรกด็ ี กษัตริยก์ ย็ ังคง ได้รับการยกย่องว่าเป็ นเจ้าของแผ่นดินและได้รับการยกย่องว่าเป็ นพระประมุข (แต่ไมม่ ี อานาจ) แตใ่ นปลายสมัยกลางกษัตริยต์ า่ งสามารถสถาปนาอานาจปกครองแบบรวมศนู ย์ อานาจและสร้างรัฐชาติ (nation state) ทรี่ วมดนิ แดนต่างๆ เข้าเป็ นชาตเิ ดียวกันได้ ซ่งึ พระราชอานาจในการปกครองของกษัตริยใ์ นดินแดนต่างๆ มพี ฒั นาการทแ่ี ตกต่างกัน ดังนี้ รูปการตอ่ สใู้ นยคุ กลาง 2
พัฒนาการด้านการเมอื งของยุโรป (ในอดตี ) 1.1 ระบอบกษัตรยิ ภ์ ายใตร้ ฐั ธรรมนูญ ในอังกฤษ พระเจา้ จอหน์ (ค.ศ.1199-1212) ทรงยอมรับแมกนาคารต์ า (Magna Carta ค.ศ.1215) หรอื มหากฎบตั ร (Great Charter) ทข่ี นุ นาง พระ พอ่ คา้ และ ประชาชนรวมตวั กนั บีบบงั คับใหพ้ ระองคย์ อมรบั ขอ้ ตกลงทเ่ี ป็ นลายลกั ษณอ์ ักษรในการ จากัดพระราชอานาจไมใ่ หใ้ ช้พระราชอานาจเกนิ ขอบเขตในการเกบ็ ภาษอี ากร การ ลงโทษและอ่ืนๆ ตอ่ มาไดเ้ กิดรัฐสภา (parliament) ทปี่ ระกอบดว้ ย สภาขนุ นาง (House of Lords) และ สภาสามัญ (House of Commons) ทม่ี สี ่วนสาคญั ใน การลดอานาจสิทธขิ์ องกษัตริย์ House of lord หรือ สภาขุนนาง 3
พัฒนาการดา้ นการเมืองของยุโรป (ในอดตี ) 1.1 ระบอบกษตั รยิ ภ์ ายใตร้ ฐั ธรรมนูญ ตอ่ มาเมอื่ กษัตริยพ์ ยายามจะละเลยอานาจของรัฐสภา สภาและประชาชนไดร้ ว่ มกันก่อ การปฏวิ ัตอิ ันรุง่ โรจน์ (Glorious Revolution) ขนึ้ ใน ค.ศ.๑๖๘๘ ขบั กษตั รยิ อ์ อก จากบัลลังโดยไมม่ ีการนองเลอื ดและใหก้ ษตั รยิ พ์ ระองคใ์ หม่ยอมรบั ในอานาจของรัฐสภา นับเป็ นการสิน้ สุดของการพยายามใช้อานาจปกครองอยา่ งเดด็ ขาดของกษัตรยิ ์ และเป็ น จดุ เริ่มตน้ ของการปกครองแบบกษตั รยิ ภ์ ายใตร้ ัฐธรรมนูญอยา่ งแทจ้ ริง ทงั้ ยงั ยุตปิ ัญหา ความแตกแยกทางศาสนาภายในประเทศโดยกาหนดใหก้ ษัตริยต์ อ้ งทรงนับถือและเป็ น องคศ์ าสนูปถัมภกของนิกายแองกลิคนั (Anglicanism) หรอื นิกายองั กฤษ (Church of England) ภาพการปฏวิ ัตอิ นั รุง่ โรจน์ 4
พฒั นาการดา้ นการเมอื งของยโุ รป (ในอดีต) 1.2 ระบอบสมบรู ณาญาสิทธิราช ระบอบสมบูรณาญาสิทธริ าชเป็ นระบอบการปกครองทม่ี ีรากฐานมาจากความเช่อื ทาง ศาสนาคริสตว์ า่ กษตั รยิ เ์ ป็ นผู้ไดร้ ับเลือกมาจากพระเจา้ ดงั นั้นกษตั รยิ จ์ งึ มอี านาจเหนือ คนทุกคน ระบอบสมบรู ณาญาสิทธิราชรุ่งเรืองถงึ ขดี สุดในรัชสมยั ของพระเจา้ หลุยสท์ ่ี 14 ถงึ แม้จะเกดิ การปฏิวตั ฝิ ร่ังเศส แตร่ ะบอบสมบูรณาญาสิทธริ าชก็ยงั คงอยใู่ นยุโรป ระบอบนีส้ ่วนใหญถ่ ูกทาลายล้างไปพรอ้ มกบั สงครามโลกครงั้ ท่ี 1 และการปฏิวัตริ ัสเซยี ในตน้ ศตวรรษท่ี 20 ภาพการปฏวิ ัตใิ นฝร่ังเสศ 5
พัฒนาการด้านการเมืองของยุโรป (ในปัจจุบัน) 1.1 ระบอบประชาธิปไตย ระบอบประชาธปิ ไตย เป็ นระบอบทเี่ น้นความเป็ นปัจเจกบุคคลนิยม (individualism) เหตผุ ลนิยม (rationalism) และเสรีภาพ (freedom) หลักการสาคัญของแนวความคดิ ประชาธิปไตย คอื สทิ ธิ เสรีภาพของประชาชน ประชาชนเป็ นทม่ี าของอานาจอธปิ ไตย ทกุ คนมสี ทิ ธิ เสรภี าพ และความเสมอภาค ภายใตก้ ฎหมาย การปกครองระบอบประชาธิปไตยมีตน้ กาเนิดมาตงั้ แตส่ มยั กรกี โบราณ เมื่อกว่า 500 ปี กอ่ นครสิ ตศ์ กั ราช โดยนครรัฐเอเธนสเ์ ป็ นดนิ แดนแหง่ แรกทใ่ี หส้ ทิ ธิแก่ พลเมอื งเพศชายทเ่ี ป็ นเสรชี นทกุ คนมสี ิทธิในการเลอื กตงั้ และเขา้ น่ังในสภา ทงั้ ยงั ดารง ตาแหน่งผู้ปกครองได้ ระบอบการปกครองแบบประชาธิปไตยเป็ นระบอบการปกครองท่ี ประชาชนมอี านาจสงู สุด โดยมีรัฐสภาทาหน้าทเี่ ป็ นตวั แทนของประชาชน 6
พัฒนาการด้านการเมอื งของยุโรป (ในปัจจบุ นั ) 1.2 ระบอบเผดจ็ การคอมมิวนิสต์ เป็ นระบอบการปกครองทอี่ ้างอุดมการณข์ องลัทธมิ ากซใ์ นการสรา้ งสังคมทป่ี ราศจากชน ชนั้ และมคี วามเสมอภาคกันในดา้ นตา่ งๆ โดยชนชัน้ แรงงานเป็ นผปู้ กครองประเทศระ อบเผดจ็ การคอมมิวนิสตม์ ีพรรคการเมืองเพยี งพรรคเดยี ว ผู้นาพรรคคอมมวิ นิสตแ์ ละ ผ้นู ารัฐเป็ นคนเดยี วกนั สหภาพโซเวียตเป็ นประเทศแรกทม่ี กี ารปกครองในระบอบเผดจ็ การคอมมวิ นิสตภ์ ายหลงั การปฏิวตั ริ สั เซียในเดอื นตุลาคม ค.ศ. 1917 หลังสงครามโลก ครงั้ ที่ ๒ กม็ ีประเทศอื่นปกครองในระบอบเผดจ็ การคอมมวิ นิสตอ์ ีก 16 ประเทศ แตเ่ มอื่ สหภาพโซเวียตลม่ สลายลงใน ค.ศ. 1991 ก็เหลือเพยี งไม่ก่ปี ระเทศ เช่น จนี ควิ บา เกาหลีเหนือ เป็ นตน้ ส่วนบรรดาประเทศบรวิ ารของสหภาพโซเวยี ตเดมิ (รวมทงั้ รสั เซยี ) ก็ตอ้ งปฏิรูปการปกครองตนเองในแนวทางของระบอบการปกครองแบบประชาธปิ ไตย ดว้ ย ภาพคอมมวิ นิสต์ ใน ประเทศจนี 7
พัฒนา การดา้ น เศรษฐกิจ ของ ยโุ รป
พฒั นาการดา้ นเศรษฐกจิ ของยโุ รป ระหว่าง ค.ศ. 476-1050 หรอื สมัยกลางตอนตน้ ชาวไร่ชาวนาส่วนใหญ่ตา่ งสูญเสีย อสิ รภาพและกลายเป็ นทาสตดิ ทดี่ นิ (serf) ตอ้ งอยใู่ นสงั กดั ของขุนนางเจา้ ของทดี่ นิ และ ดารงชวี ติ อยใู่ นเขตแมเนอร์ (manor) การฟื้ นตวั ของเศรษฐกิจและสังคมของยโุ รป ส่วนหน่ึงเป็ นผลจากสงครามครูเสด (Crusades, ค.ศ.1092-1291) ทชี่ าวคริสตร์ บกบั ชาวมุสลิมในดนิ แดนตะวันออกกลาง และมีโอกาสนาเอาความรู้ ความเจรญิ และศลิ ปะวิทยาการของโลกตะวันออกกลบั มา เผยแพรใ่ หแ้ ก่โลกตะวันตกหลังจากทค่ี วามรู้ตา่ งๆ เหล่านีห้ ายไปในสมยั กลางตอนต้น ในชว่ งระยะเวลาดงั กล่าว เมอื ง (town, city) กลายเป็ นทต่ี งั้ ของศนู ยก์ ลางการคา้ และเศรษฐกจิ องคก์ รการคา้ และองคก์ รช่างฝี มอื แตล่ ะประเภท ซึง่ เรยี กวา่ กิลด์ (guild) กลายเป็ นทฝ่ี ึ กงานเพอ่ื พฒั นาฝี มือ เกิดระบบทุนนิยม (capitalism) โดยในปลายสมัยกลาง ชาวยุโรปไดส้ รา้ งนวัตกรรมการคิดคน้ สิ่งประดษิ ฐแ์ ละ เทคโนโลยที ส่ี าคญั คือ การประดษิ ฐป์ ื นใหญท่ เ่ี ปลยี่ นแปลงวธิ ีการรบ และเครือ่ งพมิ พท์ ี่ ผลิตหนังสอื ไดม้ ากและมรี าคาถูก ซึ่งสามารถกระจายความรู้ไดอ้ ยา่ งกวา้ งขวาง ทาให้ ชาวยุโรปหนั มาสนใจในเรอื่ งตา่ งๆ รวมทงั้ ความรู้ทางวทิ ยาศาสตร์ ภาพสงครามครูเสด 8
พัฒนาการดา้ นเศรษฐกจิ ของยโุ รป (อดตี สมยั กลาง) 1.1 .เศรษฐกิจแบบแมเนอร์ เป็ นระบบการผลติ เพอื่ เลยี้ งตวั เองในแตล่ ะแม เนอร์ มขี นุ นางเป็ นผปู้ กครอง โดยจดั แบง่ ทดี่ นิ ใหร้ าษฎรเชา่ ท าการเกษตรสว่ นหน่ึงและของขุนนางเองอกี ส่วนหนึ่ง มกี ารน าผลผลิตไปขายทงั้ ภายในแมเนอรแ์ ละนอกแมเนอร์ เศรษฐกิจแบบแมเนอร์ ท าใหก้ ารคา้ ทเ่ี คยรุ่งเรอื ง ในสมัย จกั รวรรดโิ รมันตอ้ งหยุดชะงกั กวา่ 500 ปี 9
พฒั นาการด้านเศรษฐกิจของยุโรป (สมัยใหม)่ 1.1 .เศรษฐกจิ แบบพาณิชยนิยม เศรษฐกจิ แบบพาณิชยนิยม เป็ นระบบเศรษฐกจิ ทเี่ กดิ ขนึ้ และพฒั นาพร้อมๆ กบั การก่อ ตวั ของรัฐชาติ เป็ นรูปแบบของเศรษฐกจิ คริสตศ์ ตวรรษที่ ๑๖-๑๘ โดยรฐั เขา้ ควบคุม อุตสาหกรรมและการค้าภายในประเทศ ส่งเสรมิ การดาเนินธุรกิจของพอ่ ค้า การส่ง สนิ ค้าออก และกีดกนั การนาเขา้ สินค้าจากตา่ งประเทศลทั ธพิ าณิชยนิยมเป็ นผลจาก ความเช่อื วา่ การควบคุมและการดาเนินธุรกจิ ตา่ งๆ จะทาใหร้ ฐั ม่นั คง เขม้ แขง็ ดงั นัน้ จงึ ถอื เป็ นหน้าทแ่ี ละความจาเป็ นของรัฐทจ่ี ะตอ้ งดาเนินการทกุ วิถีทางเพอ่ื เป็ นเจา้ ของ ทรัพยากรและโภคทรัพยต์ า่ งๆ และเขา้ ครอบครองดนิ แดนตา่ งๆ แลว้ จดั ตงั้ เป็ นอาณา นิคม เผยแผศ่ าสนา ทา้ ยทสี่ ุดก็ก่อใหเ้ กิดความขดั แยง้ กนั เองและเขา้ สสู่ งคราม กลายเป็ นสงครามทลี่ ุกลามในภมู ภิ าคอื่นๆ ของโลก เช่น สงครามเจด็ ปี Seven Years War 10
พฒั นาการด้านเศรษฐกิจของยุโรป (สมยั ใหม)่ 1.2 . ระบบทุนนิยม ในตอนปลายคริสตศ์ ตวรรษท่ี 18 เกิดแนวความคดิ การค้าแบบเสรี (Free Trade) โดยสนับสนุนใหเ้ อกชน เป็ นผู้ ประกอบธุรกิจการคา้ ทงั้ ในดา้ นอุตสาหกรรมและการเงนิ โดย รฐั ไม่เขา้ ไปแทรกแซง แตค่ วรปล่อยใหน้ ายทุนแขง่ ขนั กันอยา่ ง เสรี ซ่งึ จะนาความม่งั ค่งั มาสู่รฐั ไดเ้ ชน่ กนั พรี ะมิดแหง่ ระบบทนุ นิยม ภาพทเี่ ปรยี บเทยี บระบบทุนนิยมผ่านภาพวาด 11
พัฒนาการด้านเศรษฐกจิ ของยุโรป (สมยั ใหม)่ 1.3 . ระบบสังคมนิยม เป็ นระบบเศรษฐกิจทพี่ ฒั นามาจากแนวความคดิ ทางการเมอื งของคารล์ มากซ์ นักสงั คม นิยมทม่ี ีชอ่ื เสียงของยโุ รป เกดิ ขนึ้ กลางครสิ ตศ์ ตวรรษที่ ๑๙ เพอื่ ตอบโตก้ ารขยายตวั ของ ลทั ธทิ ุนนิยมและการเอารดั เอาเปรียบชนชนั้ แรงงาน เขาตอ้ งการสร้างระบบเศรษฐกจิ ท่ี เสมอภาค คือ การยกเลิกกรรมสิทธิท์ รัพยส์ ินส่วนบุคคล และใหม้ กี ารจดั การทางการ ผลติ โดยชนชนั้ แรงงาน ซึ่งชนชัน้ แรงงานจะใช้อานาจเผดจ็ การในการปกครองเพอ่ื ผลักดนั นโยบายสังคมนิยมใหบ้ รรลุผลสาเรจ็ 12
พัฒนา การด้าน ศลิ ปะ และ สงั คม ของ ยุโรป
พัฒนาการด้านสังคม (สมัยก่อน) 1.1 . ระบบฟิ วดัล หมายถึง ความสัมพนั ธ์ ระหว่างเจา้ นาย ชนชัน้ สูง กับ สามัญชน ในเรอื่ งเกย่ี วกบั การหาผลประโยชนข์ องทดี่ นิ เร่มิ จากกษตั รยิ ม์ อบทดี่ นิ ใหข้ ุนนางทท่ี าความดคี วามชอบ เพอ่ื ตอบแทนความดี ความชอบ ขนุ นางทาหน้าทป่ี กครองผ้คู นทอ่ี าศยั อยใู่ นทดี่ ิน รวมถึงการเก็บภาษี และมี พนั ธะตอ่ กษตั ริยโ์ ดยสง่ คนไปช่วยรบถ้าหากษัตริยต์ อ้ งการ และขนุ นางสมารถร้องขอ กาลงั ทหารจากเมอื งหลวงไดห้ ากโดนขา้ ศกึ บุก ระบบฟิ วดลั ผา่ นรูปแบบพรี ะมดิ 13
พัฒนาการดา้ นสังคม (สมัยก่อน) 1.1.5 . กาเนิดชนชนั้ กลาง ในสมยั กลางตอนตน้ สงั คมของตะวนั ตกประกอบดว้ ย ชนชนั้ ๓ ฐานันดร ไดแ้ ก่ กษัตรยิ -์ ขนุ นาง นักบวช และชาวไร่-ชาวนา (ทาสตดิ ทด่ี นิ ) แตเ่ ม่อื มกี ารฟื้ นตวั ของเศรษฐกจิ และ เมืองขนึ้ ในคริสตศ์ ตวรรษที่ ๑๑ สังคมยุโรปกเ็ กดิ ชนชัน้ ใหม่ คือ ชนชัน้ กลางหรือชนชัน้ กระฎมุ พี ทป่ี ระกอบอาชีพตา่ งๆ เชน่ ช่างฝี มอื ลูกจา้ ง พอ่ ค้า อาจารย์ นักศกึ ษา โดย อาศยั อยใู่ นเขตเมือง ถอื วา่ เป็ น ชนชัน้ ใหม่ ของสงั คมตะวันตก ชนชนั้ กลางเหล่านีไ้ ด้ รว่ มกนั วางรากฐานความเจริญใหแ้ กส่ งั คมยุโรปและปลูกฝังอุดมการณแ์ ละวิธกี ารปฏบิ ัติ ในการอยรู่ ่วมกนั เชน่ สิทธิและหน้าทข่ี องชาวเมอื ง การจดั เก็บภาษแี ละคา่ ปรบั เป็ นตน้ เพอ่ื นารายไดม้ าบริหาร การทานุบารุงแลการป้องกันเมอื ง ส่งเสรมิ และขยายการศกึ ษา การจดั ตงั้ มหาวทิ ยาลัย และเกิดการฟื้ นฟศู ลิ ปวทิ ยาการและความเจรญิ อื่นๆ ตลอดจน ส่งเสริมคุณธรรมและใหค้ วามสาคัญแก่สทิ ธิ เสรภี าพ และความเสมอภาคปัจเจกบุคคล ซ่ึงเป็ นพนื้ ฐานสาคัญทที่ าใหส้ ังคมยโุ รปสามารถพฒั นาระบอบการปกครองแบบระบอบ ประชาธปิ ไตย ชนชัน้ กลาง 14
พัฒนาการดา้ นสังคม (สมัยก่อนเขา้ ปัจจุบนั ) 1.2 . คนเร่ิมเข้าสังคมเมอื ง เป็ นผลมาจากการปฏิวตั อิ ุตสาหกรรมท าใหม้ ีผู้คนจากชนบท อพยพเขา้ มาทางานในเมอื ง ซง่ึ ปรากฏเดน่ ชัดตงั้ แตต่ อนกลาง ครสิ ตศ์ ตวรรษที่ 19 เป็ นตน้ มา ประชากรขององั กฤษและประเทศทม่ี ีความก้าวหน้าทาง อุตสาหกรรมมากกว่าครง่ึ หนึ่ง ของประชากรทงั้ ประเทศอาศัยอยใู่ น เขตเมอื งและส่วนใหญ่เป็ นชนชนั้ กลาง 15
พัฒนาการดา้ นศิลปะและวัฒนธรรม 1.1 .อทิ ธิพลของศลิ ปะ ศิลปะในยุโรปนั้น สว่ นมากไดร้ ับอทิ ธิพลมาจากกรีก – โรมัน และ ครสิ ตศ์ าสนา ด่งั ท่ี ปรากฏตามหนังสอื ภาพยนตร์ หรือ หลักฐานอ้างองิ ตามประวตั ศื าสตร์ ศลิ ปะในยุโรป นัน้ มหี ลายยคุ หลายสมัย เหตเุ พราะประวัตอิ ันยาวนานมรี ายละเอยี ดอย่มู ากมาย แตใ่ น ทน่ี ีผ้ ู้เขยี นจะแบ่งเป็ น 3 ช่วงดว้ ยกันสัน้ ๆ 16
พฒั นาการด้านศิลปะและวัฒนธรรม 1.2 . ศิลปะยุคแหง่ ศรัทธา เชน่ ศลิ ปะแบบกอธิค หรือ โกธคิ หรือ กอทคิ ลักษณะสาคญั ของสถาปัตยกรรมแบบ โกธิค คือ มีผนังเปิ ดกว้าง มสี ว่ นสงู เดน่ เป็ นพเิ ศษและมีแบบทอี่ อกมา เป็ นลายเสน้ อนั ซบั ซอ้ นทุกสว่ นลว้ นประกอบเขา้ ดว้ ยกนั เป็ นสญั ลกั ษณน์ ิยมทางศาสนา โครงสร้าง หลังคาเป็ นโคง้ แหลม ลกั ษณะตา่ งๆ เหลา่ นี้ จะหาดไู ดจ้ ากมหาวหิ ารในฝร่ังเศส เช่น คือ มหาวหิ ารนอเตรอดาม เดอ ปารสี มหาวหิ ารซานตเี อโก เด กอมโปสเตลา มหาวิหาร เซนตเ์ ดอนิส มหาวิหารโนยง มหาวิหารลาออง มหาวหิ ารอาเมยี ง โบสถ์ ซากราดา ฟามเิ ลีย พระราชวังแกรนดเ์ พลส (Grand Place) เป็ นตน้ พระราชวังแกรนดเ์ พลส 17
พัฒนาการด้านศลิ ปะและวัฒนธรรม 1.3 .ศลิ ปะยคุ ฟื้ นฟูศลิ ปวิทยาการ เชน่ ศิลปะแบบบาโรค ศลิ ปะแบบบาโรคจะเน้นหนักไปทางธรรมชาติ แสดงความ อ่อนไหว มีลวดลายประดษิ ฐม์ าก ซบั ซอ้ น จดั ไดว้ ่าเป็ นยคุ ทม่ี กี ารสรา้ งสรรคง์ านศิลปะ เพอ่ื การแสดงออกทเ่ี รียกรอ้ งความสนใจมากเกินไป มุง่ หวงั ความสะดดุ ตาราวกบั จะกวัก มือเรียกผ้คู นใหม้ าสนใจศาสนา การประดบั ตกแตง่ มีลักษณะฟ้งุ เฟ้อเกนิ ความพอดี คา วา่ บาโรกมาจากภาษาโปรตเุ กสทแี่ ปลว่า รูปรา่ งของไขม่ ุกทม่ี สี ณั ฐานเบีย้ ว เป็ นคาทใ่ี ช้ เรียกลักษณะงานสถาปัตยกรรม และจติ รกรรมทม่ี ีการตกแตง่ ประดบั ประดา และให้ ความรู้สกึ ออ่ นไหว 18
พัฒนาการดา้ นศลิ ปะและวัฒนธรรม 1.4 .ศลิ ปะแนวสัจนิยม หรือเรียลลิสตกิ เชน่ ศิลปะอิมเพรสชนั นิสต์ ศิลปะแบบอิมเพรสชันนิสม์ จะมุ่งเน้นถงึ การวาดภาพทจี่ บั ซึง่ สายตาสัมผัสรบั รูใ้ นชว่ ง ณ.เวลานัน้ และเป็ นช่วงเวลาทฉี่ ับพลนั และจะมกี ารแยกแยะ สีทจี่ ะเขา้ มาประกอบกันเขา้ เป็ นแสงทส่ี อ่ งตอ้ งสงิ่ ตา่ ง ๆ ทาใหเ้ กิดพนื้ ผวิ ภาพทเ่ี ตม็ ไป ดว้ ยสีสนั ทแ่ี ปรเปล่ยี นเป็ นภาพทเ่ี ตม็ ไปดว้ ยความเคล่อื นไหวไมห่ ยุดน่ิง ลกั ษณะของภาพวาดแบบอิมเพรสช่ันนิสม์ คอื การใชพ้ กู่ นั ตระหวัดสีอยา่ งเขม้ ๆ ใชส้ สี ว่าง ๆ มสี ่วนประกอบของภาพทไ่ี ม่ถกู บบี เน้นไปยงั คุณภาพทแี่ ปรผันของแสง (มกั จะเน้นไปยงั ผลลพั ธท์ เี่ กดิ จากการเปลยี่ นแปลงของเวลา) เนือ้ หาของภาพเป็ นเรอ่ื ง ธรรมดาๆ และมมี ุมมองทพ่ี เิ ศษ จติ รกรแนวอิมเพรสช่นั นิสม์ ไดฉ้ กี กรอบการวาดทมี่ าตงั้ แตอ่ ดตี มักจะวาดภาพ กลางแจง้ มากกว่าในหอ้ งสตดู โิ ออยา่ งทศ่ี ลิ ปิ นทว่ั ไปนิยมกัน เพอ่ื ทจี่ ะลอกเลียนแสงที่ แปรเปลีย่ นอยเู่ สมอในมุมมองตา่ ง ๆ ศิลปะลทั ธิประทบั ใจ ศิลปะแหง่ ความงดงามของ ประกายแสงและสี “Dancing Room” 19
Thank You For Reading My E-book
Search
Read the Text Version
- 1 - 24
Pages: