Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore Ebook Senior Happy 2022

Ebook Senior Happy 2022

Published by DD DD, 2022-08-14 15:27:17

Description: Ebook Senior Happy 2022

Search

Read the Text Version

การดแู ลสขุ ภาพผสู งู อายุ

สาร เนื่องในโอกาสขาราชการ และบุคลากรสงั กดั กรมควบคมุ โรค ครบเกษียณอายุราชการ ประจาํ ป ๒๕๖๕ วันเกษียณอายุราชการ เปนวันแหงเกียรติยศ และความภาคภูมิใจของขาราชการ กระผมขอแสดงความยนิ ดี และขอขอบคณุ ขา ราชการและเจา หนา ที่กรมควบคุมโรคที่ไดเสียสละ อุทศิ กาํ ลงั กาย กําลังปญ ญา ในการปฏิบตั งิ านจนครบวนั เกษียณอายรุ าชการในป ๒๕๖๕ นี้ ผเู กษยี ณอายรุ าชการทกุ ทา นเปน บคุ คลทเี่ ปย มดว ยประสบการณ ชวี ติ การทาํ งานทมี่ คี ณุ คา ไมส ามารถประเมนิ คา ได โดยเฉพาะประสบการณด า นการสรา งสขุ ภาพ การปอ งกนั โรค การพยาบาล การบาํ บดั ฟนฟูสขุ ภาพ ตลอดระยะเวลาทท่ี านรับราชการ ทา นไดสรา งคุณงามความดี เสียสละ อุทิศทุมเททั้งกายและใจ ในการปฏิบัติหนาท่ีการงาน อยางเต็มความสามารถ เอ้ือประโยชนตอสังคม มีความมานะอดทนจวบจนวาระ เกษียณอายรุ าชการ ทานกจ็ ะยังคงเปน ครอบครับกรมควบคุมโรคเสมอไป กระผมหวงั วา ผเู กษียณอายุราชการ ทุกทานจะกลับมาเย่ียมเยียน เปนท่ีปรึกษาใหแกบุคลากรมในรุนตอ ๆ ไป และมีความเช่ือวาการท่ีทาน ไดปฏิบัติงานดานสาธารณสุขจนครบวันเกษียณอายุราชการ ทุก ๆ ทานจะเปนผูที่มีจิตสํานึกและจิตวิญญาณ ในการชว ยเหลืองานดานสาธารณสุข เพ่อื ประโยชนส งู สุดแกประชาชนตอ ไป ในโอกาสนี้ ขออาราธนาคุณพระศรีรัตนตรัยและสิ่งศักด์ิสิทธ์ิทั้งหลายในสากลโลก ไดโปรด ดลบันดาลประทานพรใหทานทั้งหลาย มีความสุขกาย สุขใจ เพียบพรอมดวย อายุ วรรณะ สุขะ พละ และ เปน มง่ิ ขวญั แกครอบครวั เปน ท่ีเคารพรักของชนรุน หลงั ตอไป (นายแพทยโ อภาส การยก วินพงศ) อธบิ ดกี รมควบคมุ โรค



คณะผจู ดั ทำหนงั สอื การดแู ลรกั ษาสขุ ภาพผสู งู อายุ ที่ปรึกษา การยกวินพงศ อธิบดีกรมควบคุมโรค แกวจรัส รองอธิบดีกรมควบคุมโรค นายแพทยโอภาส เปรมปรี รองอธิบดีกรมควบคุมโรค นายแพทยขจรศักดิ์ เอี่ยมศิริถาวร รองอธิบดีกรมควบคุมโรค นายแพทยปรีชา วชิรพันธ รองอธิบดีกรมควบคุมโรค นายแพทยโสภณ นายแพทยอภิชาต บรรณาธิการ ผอู ำนวยการสำนักส่อื สารความเสยี่ ง และพฒั นาพฤตกิ รรมสขุ ภาพ กรมควบคมุ โรค แพทยห ญงิ สุมนี วัชรสินธุ ผูเรียบเรียงและจัดทำ กองบรหิ ารทรัพยากรบคุ คล สำนกั สอื่ สารความเส่ียงและพัฒนาพฤติกรรมสุขภาพ ประสานขอมูล / พิสูจนอักษร กลุมพัฒนาวิชาการ และเทคโนโลยกี ารสื่อสาร กลุมสือ่ สารความเส่ยี งและมวลชนสมั พนั ธ เผยแพรโดย สำนกั สอื่ สารความเสี่ยงและพัฒนาพฤตกิ รรมสุขภาพ กรมควบคุมโรค

สารบัญ คณะผจู ดั ทำหนงั สอื การดแู ลสขุ ภาพผสู งู อายุ 01 ฉันจะไมแกไดไหม 02 . ฉันจะไมแกไ ดไหม 03-08 . แลวจะทำอยางไรเพือ่ ชะลอความชรา 09-10 . โรคท่เี ปนปญ หาตอ รา งกายเราในปจ จุบัน . การปองกนั โรคไมต ิดตอ เร้อื รงั หกลมในผูสูงอายุ เรื่องอันตรายที่ปองกันได . สถานการณการพลัดตกหกลม ในผสู งู อายุ 11-12 . สาเหตุและปจ จยั เสย่ี งทเี่ ก่ยี วขอ ง 13 . ขอแนะนำในการปอ งกนั การพลัดตกหกลมในผสู ูงอายุ 14-15 . การประเมินความเสย่ี งตอการพลัดตกหกลม ในผสู ูงอายุ 16 . การทดสอบการทรงตวั และการออกกำลงั กายเพอ่ื ฝก การทรงตวั ของผสู งู อายุ 17-19 . การออกแบบสภาพแวดลอ มและทพ่ี กั อาศยั ของผสู งู อายุ แนวคดิ การออกแบบ 20-22 . การชวยเหลือเบือ้ งตน เม่อื พบผสู งู อายุพลักตกหกลม 22 รายนามผูเกษียณอายุราชการ กรมควบคมุ โรค 23-204 ประจำป พ.ศ. ๒๕๖๕ คำแนะนำสำหรบั การปองกนั โควิด19 เมื่อเขาสูวยั เกษยี ณ 205-206

ฉนั จะไมแ กไ ดไ หม นเ่ี ปนคำถามในใจทุกเพศ ทกุ วัย เราคงไมอยากดู “แก” ใชไหมคะ? ถึงแมวาเราจะเขาสูวัยผูสูงวัยซึ่งเปนชวงของรางกายทุกสวนจะมีการเสื่อม มากกวาเติบโต อยางไรก็ตามรางกายของแตละคนจะเปลี่ยนแปลงไมเทากัน ขึ้นอยู กับการดูแลสุขภาพตนเองอยางไร การเปลี่ยนแปลงในวัยผูสูงอายุดานรางกาย : โครงสรางของกระดูก ผิวหนัง รอยยน ใบหนา เสน ผมกลา มเนอ้ื ความจำ การพดู ประสาทรบั ความรสู กึ ลดลง การได ยินและการทรงตัว สายตา การตอบสนองตอสิ่งแวดลอม ตอมใตสมองเสื่อมหนาที่ลง (เบอ่ื อาหาร ออ นเพลยี ภาวะหยอ นสมรรถภาพทางเพศ) ตบั ออ น(สรา งอนิ ซลู นิ เพอ่ื ควบคมุ ระดบั นำ้ ตาลในรา งกายอยใู นสภาพสมดลุ ) จะฝอ ลบี ลงทำใหร ะดบั นำ้ ตาลสงู ขน้ึ การทำงานของระบบหัวใจและหลอดเลือดลดลง ปอดยืดหยุนนอยลง ชองปากและ การบดเคย้ี ว ทางเดนิ อาหาร ทางเดนิ ปส สาวะ ระบบภมู คิ มุ กนั ตอ การตดิ เชอ้ื ฯลฯ นอก จากนี้ยังมีสิ่งสำคัญที่ควรตระหนักคือ ดานจิตใจ สังคมและสิ่งแวดลอมทุกสิ่งมีความ สัมพันธในตัวเรา 0๐1๑

แลว จะทำอยา งไร เพอ่ื ชะลอความชรา? “การปองกันความชรา หมายถึง การปอ งกนั โรค” น่นั เอง การชะลอความชราเปนองครวม คือทุกอยางที่เปนองครวมที่สงผลในทุกๆ ดานของชีวิต ถาเราเริ่มตนดูแลสุขภาพตั้งแตวัยเด็ก วัยรุน รางกายก็มีตนทุนที่ดีและ คงสภาพอยูนาน การยึดหลักปฏิบัติตัวที่เหมาะสมนั้นประกอบดวย การออกกำลัง สม่ำเสมอ การกินอาหารจำนวนนอยๆเฉพาะอยางยิ่งลดอาหารที่มีพลังงานสูง ควบคุม น้ำหนักตัว หลีกเลี่ยงอาหารที่มีอันตรายตอสุขภาพ/สารเสพติด ทำจิตใจใหสงบ พักผอนใหเพียงพอ ตรวจสุขภาพเพื่อคนหาความผิดปกติตั้งแตแรก ใชยารักษาโรค เมื่อจำเปน และควรระลึกเสมอวา “ถาจะรอใหปวย ก็อาจจะสายจนเกินไป” 0๐2๑

โรคทเี่ ปนปญ หาตอรางกายเราในปจ จุบนั มีทั้งโรคติดตอและโรคไมติดตอ ตอไปนี้จะขอกลาวถึงโรคไมติดตอเรื้อรัง (Non - Communicable Diseases : NCDs) ไดแก โรคเบาหวาน(Diabetes) โรคหวั ใจและหลอดเลอื ด(Cardiovascular Diseases) โรคความดนั โลหติ สงู Hypertension : HT ; โรคหัวใจขาดเลือด Ischemic Heart Disease: IHD ;โรคหลอดเลือดสมอง Cerebrovascular Disease หรอื Stroke อมั พฤกษ/ อมั พาต ซง่ึ กลมุ โรคนส้ี ามารถปอ งกนั รอ ยละ 80 มสี าเหตจุ ากการ ใชช วี ติ ประจำวนั ทไ่ี มเ หมาะสม เกดิ จากปจ จยั พฤตกิ รรมเสย่ี ง (บรโิ ภคอาหารไมเ หมาะสม กจิ กรรม ทางกายที่ไมเพียงพอ สูบบุหรี่ ดื่มสุรา มลพิษในอากาศ)หรือ จากการเปลี่ยนแปลงทาง สรีระวิทยา (ไขมนั ในเลอื ดสงู ความดนั โลหติ สงู นำ้ ตาลในเลอื ดสงู นำ้ หนกั เกนิ และอว น) * ระดับน้ำตาลในเลือดจากการอดอาหาร 8 ชั่วโมง 03 คาปกติของคนทั่วไปจะนอยกวา 100 มก./ดล.*

โรคเบาหวาน ทน่ี จ้ี ะกลา วถงึ โรคเบาหวานชนดิ ที่ 2 (Type 2 DM) เปน ชนดิ ทพ่ี บบอ ยทส่ี ดุ ในคนไทย เกดิ จากภาวะดอ้ื ตอ อนิ ซลู นิ รว มกบั ความบกพรอ ง ในการผลติ อนิ ซลู นิ ทเ่ี หมาะสมมกั พบในคนอายุ 30 ปข น้ึ ไป รปู รา งทว มหรอื อว น ปจ จัยเสี่ยงโรคเบาหวาน ไดแ ก - อายทุ ่ีเพิม่ ขึน้ - ภาวะอว น นำ้ หนักเกิน รอบเอวเกนิ - การบริโภคอาหาร (ชอบทานอาหารรสหวาน มัน เคม็ จัด) - มีกจิ กรรมทางกายไมเ พยี งพอ - มปี ระวตั คิ นในครอบครวั เปน โรคเบาหวาน ( พอ แม พ่ี นอ ง เปน โรคเบาหวานชนดิ ท่ี 2 ) - เปนโรคความดันโลหติ สงู - พฤตกิ รรมเสี่ยงอนื่ ๆ ไดแ ก สูบบหุ รี่ ด่ืมเครอ่ื งดืม่ ที่มแี อลกอฮอล อาการของโรคเบาหวาน - นำ้ หนกั ลดโดยไมทราบสาเหตุ - กระหายน้ำ หวิ นำ้ บอ ย - ออ นเพลยี เหน่อื ยงา ย ไมม ีแรง - กนิ จุ หวิ บอ ย - ปส สาวะกลางคืน มากกวา 2 คร้งั - สายตาพรา มวั มองไมช ดั เจน - ชาปลายมือ ปลายเทา - เปนแผลงา ย แผลหายยาก คนั ตามผวิ หนัง 04

อาการ วกิ ฤติของโรคเบาหวาน 1. ภาวะแทรกซอนแบบเฉยี บพลนั 1.1. ภาวะนำ้ ตาลในเลอื ดต่ำ อาการ รูสึกหวิ มาก มอื ส่นั มเี หงอื่ อกมาก ตวั เย็น ใจสั่น หัวใจเตนแรงและเร็ว ปวดศีรษะ วิงเวียน มึนงง หนามืดตาลาย ตาพรามัว (กรณีรุนแรงมากจะมีอาการชัก หมดสติ) การปฐมพยาบาลเบื้องตน กรณีรูตัว ใหของหวาน เชน ดื่มน้ำหวาน น้ำตาล น้ำผลไม ทันที 1.2 ภาวะน้ำตาลในเลือดสูงมาก หายใจหอบเหนื่อย อาเจียน เพอ สับสน บางครั้งมีชัก ซึม หมดสติแตถาอาการไมดีขึ้น ไมรูสึกตัว ***ทง้ั สองกรณี ตอ งรบี นำสง โรงพยาบาล*** 2. ภาวะแทรกซอ นเรอ้ื รงั ไดแ ก เบาหวานขน้ึ จอประสาทตา โรคไต มอื เทา ชา มแี ผลทเ่ี ทา หลอดเลอื ดแดงตบี เชน เจบ็ หนา อกจากหวั ใจขาดเลอื ด อมั พฤกษ อมั พาต 05

โรคความดนั โลหติ สงู คอื ภาวะทร่ี า งกายมคี า ความดนั โลหติ ตง้ั แต 140 /90 มลิ ลเิ มตรปรอท ทไ่ี ดร บั การวนิ จิ ฉยั จากแพทยว า เปน โรคความดนั โลหติ สงู * ระดบั คา ความดนั โลหติ ปกติ * ควรอยใู นระดับ นอ ยกวา 120/80 มลิ ลเิ มตรปรอท อาการระยะแรก แตเ มื่ออายุมากข้นึ ความดันโลหติ จะเพมิ่ ขึน้ ตามความเส่ือมของหลอดเลอื ด สว นมากจะไมม ีอาการท่ีชดั เจน แตบางราย อาจมอี าการเตือน เชน ปวดศรี ษะทา ยทอย มนึ งง วงิ เวยี น หากปลอยใหความดันโลหิตสงู เปน เวลานานจะทำใหอวัยวะตา งๆ ท่ีสำคญั เส่อื ม เชน หลอดเลอื ดแดงโปงพอง-อดุ ตนั หวั ใจ สมอง ตา ไต อาจทำใหม อี าการเลอื ดกำเดาไหล ตามัว ใจสนั่ มอื เทาชา และอาจเสียชวี ติ กะทันหนั ได โรคหวั ใจขาดเลอื ด คือ โรคท่เี กดิ จากการทหี่ ลอดเลือดเลี้ยงหัวใจตีบ หรอื ตนั ทำใหเ ลอื ดไมส ามารถไปเลยี้ งหัวใจไดอ ยางเพียงพอ อาการโรคหัวใจขาดเลอื ด • เจ็บราวไปท่หี ัวไหลซ า ย แขนซา ย หรือกราม • เจบ็ แนนบริเวณกลางหนา อก หรอื คอ นมาทางซา ย • จกุ แนนล้นิ ป • ใจสั่น • เวยี นศีรษะ มเี หง่ือแตก คลน่ื ไส อาเจยี น หนา มืดจะเปนลม 06

ปจจยั เสยี่ งตอการเกดิ โรคหัวใจขาดเลอื ด - ระดับคาไขมันในเลือดสูง คาที่ควรทราบ ดงั น้ี - สูบบหุ รี่ - ความดันโลหิตสูง - ระดับน้ำตาลในเลือดสูงหรือเปนโรคเบาหวาน - ปจจัยอื่นๆ เชน อวนลงพงุ /นำ้ หนักเกนิ ดืม่ เครื่องดมื่ ทมี่ แี อลกอฮอล รบั ประทานอาหาร ท่ีมไี ขมันสูง กจิ กรรมทางกายไมเพียงพอ มีความเครียดเร้ือรงั หรอื กังวลสูง อาการเตือนโรคหวั ใจขาดเลือด หากมอี าการผดิ ปกติทต่ี อ งรีบไปพบแพทยโดยดวน - เจบ็ แนนหนา อก - อาการเจ็บราวไปท่คี อ ขากรรไกรและไหลซ าย มกั เปน ขณะออกแรง - หายใจเหนือ่ ยหรือหอบ หายใจไมอ อก นอนราบไมได - เวยี นศีรษะ หนามดื จะเปน ลม หรอื หมดสติเน่ืองจากเลือดไปเลี้ยงสมองไมเ พยี งพอ 07

โรคหลอดเลอื ดสมอง(อมั พฤกษ/ อมั พาต) คือ ภาวะท่สี มองขาดเลือดไปเล้ียง ทำใหมีอาการชาทใี่ บหนา ปากเบีย้ ว พดู ไมช ัด แขน ขา ออนแรง หรือเคลอื่ นไหวไมได โรคหลอดเลือดสมอง มี 2 ชนิด 1.โรคหลอดเลือดสมองตีบหรือตัน (Ischemic Stroke) 2.โรคหลอดเลือดสมองแตก (Hemorrhagic Stroke) อาการทอี่ าจเกิดขน้ึ ทันทีทนั ใดข้ึนกับตำแหนงทสี่ มองขาดเลือด หรอื เรม่ิ มอี าการแสดง ดงั น้ี แขนขาออ นแรง พดู ไมช ดั หนา เบย้ี ว ควรรบี ไปพบแพทยท นั ที ปจ จยั เสีย่ งตอโรคหลอดเลือดสมอง - ภาวะความดันโลหติ สงู - โรคหวั ใจ - โรคเบาหวาน - ระดับไขมันในเลือดสงู - การด่ืมเครือ่ งดม่ื ทีม่ ีแอลกอฮอล - การสูบบหุ ร่ี - ภาวะหลอดเลอื ดคาโรตดิ ท่คี อตบี 08

การปอ งกนั โรคไมตดิ ตอเรือ้ รงั ปฏบิ ตั ไิ ดโดยใชห ลกั 3 อ. 2 ส. ดงั น้ี 3 อ. หมายถงึ อาหาร ออกกำลงั กาย อารมณ และ 2 ส. หมายถงึ งดสบู บหุ ร่ี และลด/งดการดม่ื สรุ า หรอื เครอ่ื งดม่ื ทม่ี แี อลกอฮอล อ.1 อาหาร “อาหารเปนยา” WATER อาหารสามารถใชป อ งกนั และรกั ษาโรคไดผลดีย่ิง - ฝกนิสัย “ชมิ กอนเติม กินอาหารรสชาติพอด”ี โดยไมวางเคร่อื งปรงุ บนโตะ อาหาร - กนิ อาหารใหครบทง้ั 5 หมู ลดอาหารหวาน/มนั /เค็ม ลดการใชน ้ำปลา/เกลือ/เครื่องปรุงรส (เกลือแกง นอยกวา 1 ชอ นชา/วัน) หนั มาใชเ ครอ่ื งเทศและสมุนไพรแทน - ลดอาหารหมักดอง อาหารกระปอ ง อาหารสำเร็จรูป - ปรงุ อาหารดว ยวธิ ตี ม นง่ึ อบ ผดั ท่ไี มใชน้ำมนั ลดอาหารไขมันสูง (เชน เครอ่ื งในสัตว ปลาหมึก หอยตา งๆ เปนตน ) - เพ่ิมอาหารกากใย เชน ถวั่ ขา วซอ มมือ ธัญพชื ผกั สดหลากหลายสี 5 ทพั พ/ี วนั หรือผกั สกุ 9 ชอ นโตะ/วนั และผลไมท ่ีรสไมหวานจดั เชน สม ฝร่งั การด่ืมนำ้ สะอาดใหเ พยี งพอ เพือ่ ชวยในการขับ ของเสยี ออกจากรางกาย 09

อ.2 ออกกำลังกาย หรือมกี ิจกรรมทางกายท่ีเพียงพอ - เพ่ิมการเคลื่อนไหวรางกายในชวี ติ ประจำวัน เชน การขน้ึ ลงบันไดแทนการใชลฟิ ท - ออกกำลงั กาย ตามความเหมาะสมในระดับปานกลาง 30 นาท/ี วัน 5 วัน/สปั ดาห เชน เดิน วง่ิ วา ยน้ำ ปนจักรยาน โยคะ รำไมพอง แอโรบคิ - ทำงานอดเิ รก ทำงานบาน ทำชว งสั้นๆ 10 นาที ใหไ ดว ันละ 45-60 นาที เชน ปลูกตนไม ลา งรถ กวาดใบไม 30 นาที ** การออกกำลงั กายสามารถชวยควบคุมน้ำหนัก สามารถดูไดจ ากคาดัชนีมวลกาย(BMI) หรอื รอบเอวทเี่ หมาะสม ดงั นี้ * คาดชั นมี วลกาย ควรอยูระหวาง 18.5-22.9 กโิ ลกรมั /ตารางเมตร ดัชนมี วลกาย = น้ำหนกั (กโิ ลกรมั ) ÷ {สวนสงู (เมตร) x สว นสงู (เมตร)} * รอบเอวเพศชายไมเ กนิ 90 เซนตเิ มตร และเพศหญงิ ไมเ กนิ 80 เซนตเิ มตร หรอื * รอบเอวไมค วรเกิน สวนสูง(ซม.) หารดวย 2 อ.3 อารมณ เมอื่ รูส ึกเครยี ด หาวธิ ีผอ นคลายความเครยี ดตามความชอบ ทำจติ ใจใหส งบ เชน นอนหลับพกั ผอน การทำสมาธิ พูดคยุ พบปะเพอ่ื นที่ไวใ จ เคลอื่ นไหว/ออกกำลงั กาย ทำงานอดิเรก เชน ดูโทรทัศน/ดูหนัง /ฟงเพลง รองเพลง เลนดนตรี อานหนังสือ สวดมนต ปลูกตนไม ส.1 งดสบู บุหรี่ ผูที่ไมเคยสูบบุหรี่ก็ไมควรเริ่มสูบ สวนผูที่สูบอยูแลวควรหยุดสูบบุหรี่ และยาสูบทุกชนิด รวมถึงไมสูดดมควันบุหรี่ หรือหลีกเลี่ยงการอยูใกลบุคคลที่สูบบุหรี่ ส.2 ลด/งดการดมื่ สรุ าหรอื เครอ่ื งด่ืมท่มี แี อลกอฮอล ***สิ่งสำคญั สำหรบั ผูส ูงวัย ใหหมนั่ ตรวจสขุ ภาพประจำป เชน ตรวจระดับน้ำตาลในเลอื ดและวดั ความดันโลหิตสมำ่ เสมอ 10

หกลมในผูสูงอายุ เรื่องอันตรายที่ปอ งกันได สถานการณก ารพลัดตกหกลม ในผสู งู อายุ ประเทศไทยเขาสูสังคมผูสูงอายุอยางสมบูรณในป 2565 การเปลี่ยนแปลงทาง รางกายและความเสื่อมตามวัย ทำใหพบปญหาสุขภาพที่สำคัญคือการบาดเจ็บจาก การหกลม รายงานการสำรวจสขุ ภาพประชากรไทยพบวา 1 ใน 3 ของผสู งู อายหุ กลม ทกุ ป การบาดเจบ็ จากการหกลม สง ผลใหค ณุ ภาพชวี ติ ลดลง ตอ งพง่ึ พาผอู น่ื หนง่ึ ในมาตรการ สำคญั ในการปอ งกนั การหกลม ในผสู งู อายคุ อื การพลดั ตกหกลม เปน ปญ หาสาธารณสขุ ทส่ี ำคญั และพบบอ ย จากรายงานการสำรวจพบวา ทกุ ๆ ปจ ะมผี สู งู อายปุ ระมาณ 1 ใน 3 พลดั ตกหกลม โดยความเสย่ี งเพม่ิ ขน้ึ ตามอายุ เพศหญงิ พลดั ตกหกลม สงู กวา เพศชายกวา 1.6 เทา และใชบ รกิ ารรถพยาบาลฉกุ เฉนิ ดว ยสาเหตพุ ลดั ตกหกลม มากถงึ 140 ครง้ั /วนั หรอื มากถงึ 5 หมน่ื ครง้ั /ป เปน สาเหตุ อนั ดบั 1 ของผปู ว ยในดว ยสาเหตหุ กลม 11

ทั้งยังเปน สาเหตุการเสียชีวิตอันดับสองรองจากอบุ ัติเหตทุ างถนน (ผสู งู อายุ ในกลุมการบาดเจ็บโดยไมไดตั้งใจ) ขณะที่เพศชายมีอัตราการเสียชีวิตสูงกวาเพศ หญงิ 3 เทา และพบวา สถานทห่ี กลม โดยสว นใหญห กลม บรเิ วณนอกบา นรอ ยละ 65 จากขอมูลการสำรวจยังพบวา ปจจุบันผูสูงอายุยังคงใชชีวิตประจำวันใน สง่ิ แวดลอ มทไ่ี มป ลอดภยั โดยใชบ นั ไดทกุ วนั มากถงึ รอ ยละ 49 พน้ื ทล่ี น่ื รอ ยละ 31 ขณะที่มีการปรับปรุงบานใหเหมาะสมกับผูสูงอายุเพียง รอยละ 25 สาเหตุสวนใหญ เกิดจากลื่น สะดุด หรือกาวพลาดบนพื้นระดับเดียวกัน มากที่สุด นอกจากนก้ี ารพลดั ตกหกลม ทำใหเ กดิ การบาดเจบ็ ทส่ี ำคญั ไดแ ก กระดกู หกั การบาดเจบ็ ทศ่ี รี ษะ โดยเฉพาะกระดกู สะโพกหกั มมี ากกวา 3,000 คนตอ ป ทง้ั ยงั สง ผลใหเ กดิ ภาวะพกิ าร ทพุ ลภาพตอ งพง่ึ พาผอู น่ื ในการดำเนนิ กจิ วตั รประจำวนั สง ผลตอ คณุ ภาพชวี ิต ครอบครวั และเศรษฐกิจของครัวเรือนลดลง 12

สาเหตแุ ละปจ จยั เสยี่ งทเี่ กย่ี วขอ ง 1. ปจจัยเสี่ยงดานรางกายที่มีความเสื่อมตามวัย เชน การมองเห็น การเดนิ การทรงตวั การรบั รู และการเจ็บปวยดวยโรคเรอ้ื รังตา ง ๆ 2. ปจจัยเสีย่ งดา นพฤติกรรม เชน การใชย าท่เี สย่ี งตอการพลัดตกหกลม (การใชย าตง้ั แต 1 ชนดิ ขน้ึ ไป ไดแ ก ยานอนหลบั ยากลอ มประสาท ยาลดความดัน โลหติ และยาขับปสสาวะ หรือไดรับยา 4 ชนิดขน้ึ ไป โดยไมรวมวิตามนิ ) การดมื่ แอลกอฮอล การบริโภคของที่ทำใหขาดสติ ขาดการออกกำลังกาย สวมเสื้อผาที่ ไมพอดี การสวมใสรองเทาพ้ืนลื่น ไมม ดี อกยาง เปน ตน 3. ปจ จยั ดา นสง่ิ แวดลอ ม เชน พน้ื เปย ก ลน่ื ตา งระดบั ไมเ รยี บ แสงสวา ง ไมเ พยี งพอ ส่งิ กีดขวางทางเดิน สถาปต ยกรรมไมมรี าวจบั เปน ตน 4. ปจจัยเสี่ยงดานเศรษฐกิจและสังคม เชน รายได และระดับการศึกษา การเขา ถงึ บรกิ ารสขุ ภาพ สมั พนั ธภาพทางสงั คม การสนบั สนนุ จากชมุ ชน เปน ตน 13

ขอ แนะนาํ ในการปอ งกนั การพลัดตกหกลมในผสู งู อายุ การปอ งกนั พลดั ตกหกลมในผสู งู อายทุ ีส่ ำคญั 1. การออกกำลงั กายแบบใชแ รงตา นอยา งสมำ่ เสมอ เพม่ิ ความแขง็ แรงของ กลา มเนอ้ื สง ผลใหก ารทรงตวั และการเคลอ่ื นไหวมสี มดลุ ยง่ิ ขน้ึ ปอ งกนั การหกลม ไดม าก ถงึ รอยละ 30 - 50 2. การประเมินความเสย่ี งตอการพลัดตกหกลมและปรบั เปลี่ยน/แกไขปจจัย เสี่ยงหลายๆปจจัยรวมกับทีมสหสาขา ในกลุมเสี่ยงสูง ทั้งในสถานบริการสาธารณสุข และในชมุ ชน ซ่งึ สามารถลดการพลดั ตกหกลมไดร อ ยละ 20 - 30 รวมถงึ การปรับบาน ใหป ลอดภยั ตอการดำเนินชีวิตประจำวนั จะชว ยลดการหกลมไดร อยละ 10 - 20 3. หลีกเลี่ยงการใชยาทไี่ มจ ำเปน และควรรผู ลขางเคียงของยาที่ใช 4. ประเมนิ ความเสี่ยงตอการพลัดตกหกลมในผสู งู อายุ อยา งนอยปละ 1 คร้งั ที่สถานบรกิ ารตามสิทธิ์ 14

5. ใชรองเทาหุมท่เี หมาะสม • มดี อกยางกันล่ืน • ขอบมน ปองกันการเสียดสีของน้ิวเทา ลดการบาดเจบ็ ของเทา ตามมา • กระชบั มีสว นทชี่ วยเพิม่ ความกระชบั เชน แถบรัด เลย่ี งสายรดั ทอ่ี าจ จะทำใหสะดุดได • เปนรองเทาหมุ สน โดยวสั ดุหมุ สน ไมอ อนหรอื แขง็ จนเกนิ ไป • ควรวดั ขนาดเทาเพื่อเลือกรองเทาในชว งเยน็ 6. ไมใ ชพ รมเชด็ เทา ทง่ี า ยตอ การเกย่ี วเทา เลย่ี งการใชผ า ทใ่ี ชแ ลว นำ้ มาเปน ผา เชด็ เทา 7. ใชอุปกรณชวยเดินในกรณีมีการแนะนำจากบุคลากรสาธารณสุข หรือพบความ บกพรอ งในการเดินหรอื ทรงตวั 8. ทกุ คร้ังท่หี กลม ตอ งแจงญาตหิ รอื ผูด แู ลใหทราบ 9. การปรบั บา นใหเ หมาะสมตอ การดำเนนิ ชวี ติ ประจำวนั • ควรอาศยั อยบู า นชน้ั เดยี ว กรณบี า น 2 ชน้ั ควร จดั ใหผ สู งู อายพุ กั อยชู น้ั ลา ง • มีแสงสวางเพียงพอทั้งในบาน นอกบาน และ บรเิ วณทางเดนิ • พื้นและทางเดินเรียบเสมอกัน ไมลื่น ไมมีสิ่ง กีดขวาง • หองน้ำมีราวจับ พื้นไมลื่น สามารถใชแผนกัน 15 ลนื่ ไดและใชโถสวมแบบนง่ั ชักโครก

การประเมินความเสี่ยง ตอการพลัดตกหกลมในผูส งู อายุ 1. เพศ ปจจัยเสี่ยง คะแนน .... ชาย ....หญิง 1 0 2. การมองเหน็ บกพรอง 1 .... ไมส ามารถอานตัวเลขทรี่ ะยะ6/12 เมตร ไดม ากกวา คร่ึง 0 ....อานตัวเลขทร่ี ะยะ 6/12 เมตร ไดม ากกวาคร่งึ 2 3. การทรงตัวบกพรอ ง 0 .... ยนื ตอเทาเปน เสนตรงไมได หรอื ยนื ไดไ มถ ึง 10 วนิ าที ....ยืนตอเทา เปนเสน ตรงไดน าน 10 วนิ าที 4. การใชยา 1 .... กินยาตอ ไปนต้ี ั้งแต 1 ชนดิ ขนึ้ ไป ไดแ ก ยานอนหลบั ยากลอมประสาท ยาลดความดนั 0 0 โลหิต ยาขับปสสาวะ หรือกินยาชนิดใดก็ไดตั้งแต 4 ชนิดขึ้นไป (ไมรวมวิตามิน) ....ไมก ินยาตอไปนี้ ไดแ ก ยานอนหลับ ยากลอ มประสาท ยาลดความดนั โลหิต ยาขบั ปส สาวะ ....กินยาอืน่ ๆจากที่ระบขุ างตน แตนอยกวา 4 ชนิด 5. ประวตั กิ ารหกลม 5 .... ใน 6 เดือนที่ผา นมา มปี ระวัติหกลม ตง้ั แต 2 ครง้ั ขนึ้ ไป 0 ....ไมมี 1 0 6. สภาพบาน ท่ีอยอู าศยั .... อยบู า นยกพื้นสูงต้ังแต 1.5 เมตรข้ึนไป หรือบา น 2 ชนั้ ตองข้ึนลงโดยใชบ ันได ....ไมไ ดอ ยูบา นลักษณะดงั กลาว รวมคะแนนความเส่ียงตอ การพลดั ตกหกลม การประเมนิ คะแนน 16 ต่ำกวา 4 คะแนน หมายถึง มีความเส่ียงตำ่ ตอการพลัดตกหกลม แนะนำใหออกกำลงั กาย อยา งสม่ำเสมอ เพือ่ เพ่ิมความแข็งแรงของกลามเนอ้ื หม่นั ฝกสมดลุ การทรงตัว พรอมทัง้ ปรบั สงิ่ แวดลอ มภายในบา นใหปลอดภัยและเหมาะสมกบั การปฏิบัตกิ ิจวัตรประจำวัน 4 - 11 คะแนน หมายถึง มีความเส่ียงตอ การพลดั ตกหกลม ตอ งขอรับคำแนะนำจาก บคุ ลากรสาธารณสขุ แนะนำปจ จยั เส่ยี งและการปอ งกัน ควรประเมนิ ความเสยี่ งตอการพลดั ตก หกลม ปละ 1 ครัง้ อางองิ จากการศกึ ษา Thai falls risk assessment test (Thai-FRAT) developed for community-dwelling Thai elderly

การทดสอบการทรงตวั และ การออกกาํ ลงั กายเพอ่ื ฝก การทรงตวั ของผสู งู อายุ 1. การทดสอบการทรงตวั ของผสู งู อายุ ยนื ตอ เทา เปน เสน ตรง โดยใหป ลายเทา หลงั ชดิ สนเทา หนา แลว ยืนนงิ่ โดยไมเ ซ อยางนอ ย 10 วนิ าที หรือนับ 1 – 10 2. การออกกำลงั กายแบบใชแ รงตา นสำหรับผสู งู อายุ หลักการออกกำลังกายสำหรับผูสูงอายุที่สำคัญ ใหคำนึงถึงความปลอดภัย ดังตอไปนี้ •ออกกำลังกายใหไดอยางนอยครั้งละ 15 – 30 นาที แตละสัปดาห ควรทำไดรวมกันอยา งนอ ย 150 นาที •ทกุ ครง้ั ทอ่ี อกกำลงั กายใหอยูใกลก ำแพงหรอื โตะ /เกา อี้ท่ีมั่นคง (สามารถยึดจับไดเมือ่ เสียการทรงตัว) •เลือกทา ออกกำลงั กายทเ่ี หมาะสมกบั ความสามารถของตนเอง •ทุกทา ของการออกกำลังกายควรทำอยางระมัดระวงั •หากไมสบาย ควรหยุดพกั การออกกำลังกาย •หากออกกำลงั กายแลว มอี าการดงั ตอ ไปน้ี ใหห ยดุ และปรกึ ษาแพทยท นั ที - เวยี นศรี ษะ - เจบ็ หนาอก - หายใจถ่ี หอบเหนอื่ ย 17

ทานสามารถเขารวมออกกำลังกายแบบใชแรงตาน สรางสมดุล ทง้ั 8 ตอน ไดท ่ี https://bit.ly/3ya3t5i หรอื ท่ี QR Code ดงั ภาพ และทานสามรถรับชมกิจกรรมรณรงคออกกำลังกายแบบใชแรงตาน อื่นๆ ไดที่ YouTube ชอง Fall prevention DDC ตัวอยา งการฝกออกกำลงั กายสำหรบั ผสู ูงอายุ o อบอุนรางกาย ลำตัว มอื ทั้งสองขา งวางบรเิ วณหลงั สวนลา ง แอนลำตัวไปดา นหลัง ใหร สู ึกตงึ โดยไมร ูส ึกเจ็บ ทำอยางชา ๆ จำนวน 5 – 10 ครง้ั /รอบ โดยทำซำ้ 1 – 3 รอบ o กระดกขอ เทา ขน้ึ ถบี ปลายเทา ลง นง่ั บนเกา อท้ี ม่ี พี นกั พงิ เหยยี ดขาขน้ึ และกระดกขอ เทา ขน้ึ สลบั กบั ถบี ปลายเทา ลงอยา งชา ๆ ใหท ำทลี ะขา งจำนวน 10–20ครง้ั /รอบ โดยทำซำ้ 1 – 3 รอบ o กลา มเนอ้ื กางสะโพก ยนื ใกลก ำแพงหรอื จบั โตะ /เกา อ้ี ทม่ี น่ั คง ยนื กางขาไปดา นขา งและกลบั มาทเ่ี ดมิ อยา ง ชา ๆ ทีละขาง จำนวน 10 – 20 ครั้ง/รอบ โดย ทำซำ้ 1 – 3 รอบ o กลา มเนอ้ื ขาดา นหลงั ยนื ใกลก ำแพงหรอื จบั โตะ /เกา อ้ี ทม่ี น่ั คงยนื งอเขา ไปทางดา นหลงั และวางลงอยา งชา ๆ จำนวน 10 – 20 ครง้ั /รอบ โดยทำซำ้ 1 – 3 รอบ 18

o กลามเนื้อนอง ยืนใกลกำแพงหรือจับโตะ/เกาอี้ ที่มั่นคง ยนื เขยง ปลายเทา ขน้ึ และลงอยา งชา ๆจำนวน 10 – 20 ครง้ั /รอบ โดยทำซ้ำ 1 – 3 รอบ o กลามเนื้อหนาขา นั่งบนเกาอี้ที่มั่นคงมีพนักพิงเหยียดขาขึ้น และลงอยางชา ๆ ใหทำทีละขา ง (เหยยี ดขาเทา ทสี่ ามารถทำได) จำนวน 10 – 20 คร้ัง/รอบ โดยทำซำ้ 1 – 3 รอบ o การทรงตัวในทายืนแบบตอเทา ยืนใกลกำแพง หรือจบั โตะ /เกา อี้ ท่มี ัน่ คง ยนื ทรงตัวโดยวางเทาตอกัน (ยืนนาน 10 – 20 วินาที/กาว แลวสลับขาง) จำนวน 10 – 20 กา ว/รอบ โดยทำซำ้ 1 – 3 รอบ o การลุก-นั่งจากเกาอี้ นั่งบนเกาอี้ที่มั่นคงมีพนักพิงลุกขึ้นยืน โดยใชม อื ชว ยยนั ตวั ขน้ึ อยา งชา ๆ (หากรสู กึ เจบ็ เขา ไมค วรทำทา น)้ี สามารถเพิ่มความทาทายใหมากขึ้นโดย ลุกขึ้นยืนโดยไมใชมือ ชว ยยนั ตวั จำนวน 10 – 20 ครง้ั /รอบ โดยทำซำ้ 1 – 3 รอบ 19

การออกแบบสภาพแวดลอ มและที่พกั อาศัย ของผูส งู อายุ แนวคิดการออกแบบ o แสงสวาง - มีแสงสวางเพียงพอ และไมสวา งเกนิ ไป - ปมุ กดเปด /ปด ไฟ มแี สงไฟเปน สญั ลกั ษณเ มอ่ื ปด ไฟหรอื หอ งมดื o พน้ื - พน้ื เรียบไมล น่ื ไมม ีของเหลวท้งิ ไว หากมีใหท ำความสะอาดทนั ที - พื้นหองน้ำไมลน่ื ทำความสะอาดงา ย ไมม นี ำ้ ขงั ระบายนำ้ ไดท นั ที - เลีย่ งการมีพน้ื ตา งระดบั ใชพ นื้ ลาดที่มีความชนั นอยกวา 1:12 แทนพน้ื ตา งระดบั - เลี่ยงการใชพื้นตา งระดับและบันได แบง สดั สว นใหผ สู งู อายุอยชู น้ั ลาง - หากมีพื้นตา งระดับควรทำแถบสญั ลักษณ และสแี บงที่มองเหน็ ไดชดั เจน o ผนัง ทย่ี ดึ เกาะ - ผนังมีความมนั่ คง ไมล่นื ตอ การยดึ เกาะ - มีราวจับทเ่ี อ้อื มจับไดส ะดวกเหมาะสมกบั สว นสงู ของผสู งู อายุ - หากมบี นั ได ตองมรี าวยึดเกาะท่ีมน่ั คง o ประตู หนา ตา ง - ควรเลือกรูปแบบบานเลื่อน เลี่ยงการใชรูปแบบบานพับ โดยเฉพาะบานพับที่มีมุมองศานอย o เฟอรน เิ จอร เครอื งเรือน - เลือกใหเหมาะสมกับสวนสูงของผูสูงอายุ ไมทำใหอยูในอิริยาบถโนมตัว กม เอื้อม หรือเสี่ยงตอการเสียการทรงตัวมากเกินไป - เตียงนอนควรมีความยาวมากกวา 180 เซนติเมตร และมีความสูงที่ ผูสูงอายุสามารถนั่งไดโดยเทาถึงพื้นหอง 20

your website text o ปมุ กด สวิตซ ชอ งเสยี บไฟ - จดั ตำแหนง เหมาะสมกบั สว นสงู ของผสู งู อายไุ มท ำใหอ ยใู น อริ ยิ าบถโนม ตวั กม เออ้ื ม หรอื เสย่ี งตอ การเสยี การทรงตวั มากเกนิ ไป - สวติ ซไ ฟหอ งนอนควรใกลบ รเิ วณหวั เตยี งสามารถเออ้ื มมอื ได และมสี ญั ลกั ษณแ สง ไฟเมอ่ื ปด ไป หรอื หอ งมดื o การจดั วาง - จัดวางสิ่งของตาง ๆ ไมกีดขวางทางเดิน หรือไวในที่ยากตอการเอื้อม และคนหา o ชักโครก สุขภัณฑ - ควรติดตั้งราวจับไวกับกำแพงดานหลัง ดานขาง และตรงขาม ที่นั่งในระดับความ สูง 80-90 เซนติเมตร ใหเหมาะสมกับสวนสูงของผูสูงอายุ สามารถยึดเกาะได อยา งสะดวกและมั่นคง - ใชเ กา ออ้ี าบนำ้ สงู จากพน้ื 45-50 เซนตเิ มตรหรอื ความสงู ทเ่ี หมาะกบั การนง่ั ของ ผสู งู อายโุ ดยขณะนง่ั เทา ยงั ตดิ พน้ื ควรทำดว ยวสั ดทุ นนำ้ กนั ลน่ื ขอบมน และมน่ั คง - การใชฝกบัว ควรเปนแบบที่ปรับระดับถอดได ติดตั้งไวที่ความสูงจากพื้น ไมเกิน 1.20 เมตร หรือที่ผูสูงอายุสามารถเอื้อมถึงไดขณะนั่งอาบน้ำ o ติดตั้งระบบแจงเตือนเมอ่ื เกดิ เหตุฉุกเฉนิ - โดยมปี มุ กดหรอื ปุม สมั ผสั ใหส ญั ญาณ ซึง่ ติดตงั้ อยใู นตำแหนง ที่ใชง านไดส ะดวก - ซกั ซอ มกบั ครอบครัว ญาติ คนดแู ล เพอ่ื นบา น อยเู สมอ - ตรวจสอบความพรอมของระบบใหใ ชง านไดอยเู สมอ 21 และมีไฟสำรองในกรณไี ฟดับ

3 จุดทพ่ี บการหกลม ของผูสูงอายุในบา น ไดแก 1. หองนำ้ ตวั อยาง การลดระดับพ้นื การกอขอบกนั้ นำ้ เปน ตน 2. บนั ได บันไดตอ งมรี าวยดึ เกาะท่ีม่นั คงตลอดทาง 3. หองนอน หองนอนเปนหองที่ผูสูงอายุใชพักผอน และมักจะเปนพื้นที่ที่ผูสูงอายุใชเวลา แตล ะวนั นาน ยง่ิ ถา อายมุ ากขน้ึ เทา ใด กจ็ ะยง่ิ ใชเ วลาในหอ งนอนมากขน้ึ เทา นน้ั สำหรบั สาเหตุหลกั ทหี่ กลมบริเวณหอ งนอน เกิดจาก a. ความสูงของเตียงนอน โดยเตียงนอนของผูส งู อายุมกั จะมีฟกู หนาๆ ทำใหเ วลาลุก ขึ้นจากเตียงเทาจะไมถึงพื้น และบางครั้งจะมีพรมไว ขางเตียง หรือรองเทาแตะ ใหใสไ ปหองน้ำตอนดึก สิ่งเหลานี้ทำใหผสู ูงอายุลืน่ หกลม ได b. นอนฟกู ท่พี น้ื มผี สู งู อายุบางสวนปูฟูกนอนบนพ้ืน อาจจะเปนเพราะความคนุ เคย กบั การนอนพ้ืนแขง็ ๆ ขณะท่ตี ่นื นอน แลวจะพยุงตัวข้นึ จากฟกู หลายคนการทรง ตัวไมดี ไมสมดุลอาจเกิดอาการเซ แลวหกลมได การเปลี่ยนทาทางจากทานอน มาลุกขึ้นนั่ง อาจมีอาการหนามืด บานหมุน ตาพรา มึนศีรษะ คลายจะเปนลม ไปชัว่ ขณะได การชวยเหลอื เบ้อื งตน เมือ่ พบผสู ูงอายุพลดั ตกหกลม 1. ต้งั สติ 2. ประเมินการบาดเจ็บของผูที่พลัดตกหกลม หากไมสามารถขยับ และลุกเองไดหรือเมื่อขยับแขนขาแลวรูสึกปวดไมควรเคลื่อน ไหวและควรเขาเฝอกชั่วคราว เพื่อปองกันกระดูกที่หักไปทำลาย เนื้อเยื่อ หลอดเลือด และเสนประสาท 3. โทร. 1669 เพอ่ื ขอความชว ยเหลอื จากหนว ยบรกิ ารการแพทยฉ กุ เฉนิ 22

รายนามผูเกษียณอายุราชการ กรมควบคุมโรค ประจาํ ป พ.ศ. ๒๕๖๕ 23

ชือ่ : นายแพทยท วที รัพย ศิรประภาศริ ิ ตำแหนง : นายแพทยท รงคณุ วฒุ ิ (ผทู รงคณุ วฒุ ดิ า นเวชกรรมปอ งกนั ) หนวยงาน : กรมควบคุมโรค โทรศพั ท : 0 2590 3221 โทรสาร : 0 2590 3221 E-Mail Address : [email protected] ---------------------------------------------------------------------------- ทอ่ี ยหู ลงั เกษยี ณอายรุ าชการ : 203/63 หมูท ี่ 1 หมูบา นชยั พฤกษ ซอย 3/6 ถนนบางกรวย-ไทรนอย ตำบลพมิ ลราช อำเภอบางบัวทอง จังหวดั นนทบรุ ี 11110 โทรศัพท : 08 9182 7000 โทรสาร :- E-Mail Address : [email protected] คติประจำใจ : มคี วามสขุ ทุกครงั้ ทม่ี าทำงาน 24

ชือ่ : นายวริ ัช ประวันเตา ตำแหนง : นกั วชิ าการสาธารณสขุ ทรงคณุ วฒุ ิ (ผทู รงคณุ วฒุ ดิ า นวจิ ยั ) หนวยงาน : กรมควบคุมโรค โทรศพั ท : 0 2590 3008 โทรสาร : 0 2590 3221 E-Mail Address : [email protected] ---------------------------------------------------------------------------- ทอ่ี ยหู ลงั เกษยี ณอายรุ าชการ : 777/168 หมู 9 หมบู า นพงศผ กา 2 ซอย 17 ถนนมิตรภาพ ตำบลอรญั ญกิ อำเภอเมอื ง จังหวดั พษิ ณโุ ลก 65000 โทรศัพท : 08 1704 9941 โทรสาร :- E-Mail Address : [email protected] คตปิ ระจำใจ : ทำงาน ทำงาน ทำงานใหเปน 25

ชอื่ : นายแพทยด นัย เจยี รกลู ตำแหนง : ผอู ำนวยการสำนักงาน หนว ยงาน (ผอู ำนวยการเฉพาะดา น (แพทย) ) รก.นายแพทยท รงคณุ วฒุ ิ โทรศพั ท : สำนกั งานปอ งกนั ควบคมุ โรคท่ี 10 จงั หวดั อบุ ลราชธานี โทรสาร : 08 1878 3724 E-Mail Address :- : [email protected] ---------------------------------------------------------------------------- ทอ่ี ยหู ลงั เกษยี ณอายรุ าชการ : 7/1 ซอยชยางกรู 11 ถนนชยางกรู ตำบลในเมอื ง อำเภอเมอื งอบุ ลราชธานี จงั หวดั อบุ ลราชธานี 34000 โทรศัพท : 08 1878 3724 โทรสาร :- E-Mail Address : [email protected] คติประจำใจ : รว มมอื รว มใจ รว มทำรว มคดิ รว มรบั ผดิ รว มรบั ชอบ 26

ชอื่ : แพทยหญิงศิรลิ กั ษณ ไทยเจริญ ตำแหนง : ผอู ำนวยการสำนกั งาน หนว ยงาน (ผอู ำนวยการเฉพาะดา น (แพทย) ) รก.นายแพทยท รงคณุ วฒุ ิ โทรศัพท : สำนกั งานปอ งกนั ควบคมุ โรคท่ี 11 จงั หวดั นครศรธี รรมราช โทรสาร : 0 7534 1155 E-Mail Address :- : [email protected] ---------------------------------------------------------------------------- ทอ่ี ยหู ลงั เกษยี ณอายรุ าชการ : 920/2 ถนนราชดำเนนิ ตำบลคลงั อำเภอเมอื ง จงั หวดั นครศรีธรรมราช 80000 โทรศัพท : 08 9593 5559 โทรสาร :- E-Mail Address : [email protected] คตปิ ระจำใจ : “ ถอื ประโยชนสว นตัว เปนทส่ี อง ประโยชนของเพอื่ นมนษุ ย เปน กิจที่หนง่ึ ” 27

ช่อื : นายบญุ เสริม อว มออ ง ตำแหนง : นกั วิชาการสาธารณสุขเชี่ยวชาญ (สง เสริมพฒั นา) หนว ยงาน : กองโรคตดิ ตอนำโดยแมลง โทรศพั ท : 0 2590 3125 โทรสาร : 0 2591 8422 E-Mail Address : [email protected] ---------------------------------------------------------------------------- ทอี่ ยูห ลังเกษยี ณอายรุ าชการ : 69/2 หมทู ่ี 10 ซอยวดั พระเงนิ ถนนกาญจนาภเิ ษก ตำบลบางมว ง อำเภอบางใหญ จงั หวดั นนทบรุ ี 11140 โทรศพั ท โทรสาร : 09 9446 2452 E-Mail Address :- คติประจำใจ : [email protected] : ทำวนั นใี้ หดีทสี่ ุด และตองทำตลอดชีวิต 28

ชือ่ : นางศมิ าลกั ษณ ดถิ สี วัสดิเ์ วทย ตำแหนง : นักวิชาการสาธารณสขุ เชีย่ วชาญ (สง เสริมพัฒนา) หนวยงาน : สำนักงานปอ งกนั ควบคุมโรคที่ 8 จังหวดั อุดรธานี โทรศพั ท : 08 1661 2459 โทรสาร :- E-Mail Address : [email protected] ---------------------------------------------------------------------------- ทอ่ี ยูหลังเกษียณอายรุ าชการ : 39/82 หมู 8 หมูบ า นแลนด แอนด เฮาส พารค ซอยชลลดา 3 ถนนเลย่ี งเมอื ง ตำบลเมืองเกา โทรศัพท อำเภอเมือง จังหวดั ขอนแกน 40000 โทรสาร E-Mail Address : 08 1661 2459 คตปิ ระจำใจ :- : [email protected] : ทำหนาทใ่ี หด ีทส่ี ดุ (I’ll do my best) 29

ช่อื : นางปจ ฉิมา บัวยอม ตำแหนง : นักวิชาการสาธารณสุขเช่ยี วชาญ (สง เสริมพัฒนา) หนวยงาน : สำนกั งานปอ งกันควบคุมโรคที่ 12 จงั หวัดสงขลา โทรศพั ท : 0 7433 6080 โทรสาร : 0 7433 6084 E-Mail Address : [email protected] ---------------------------------------------------------------------------- ที่อยหู ลังเกษยี ณอายรุ าชการ : 33 ซอยลลั ณาปุณณกัณฑ ซอย 1 ตำบลคอหงส อำเภอหาดใหญ จงั หวดั สงขลา 90110 โทรศัพท โทรสาร : 08 6490 6762 E-Mail Address :- คตปิ ระจำใจ : [email protected] : การใหไมมีท่ีสิน้ สุด 30

ชื่อ : นางสาวอโนทยั ปานจนั ทร ตำแหนง : เจาพนักงานธุรการชำนาญงาน หนวยงาน : สำนกั งานเลขานุการกรม โทรศพั ท : 0 2590 3360 โทรสาร : 0 2591 8397 E-Mail Address :- ---------------------------------------------------------------------------- ที่อยูหลังเกษยี ณอายุราชการ : 220 หมูบานอมรพนั ธ 4 ซอยวิภาวดี 42 ถนนวิภาวดีรงั สติ แขวงลาดยาว เขตจตุจกั ร จังหวัดกรงุ เทพมหานคร 10900 โทรศัพท : 0 2561 2880 มือถอื 08 4646 7515 โทรสาร :- E-Mail Address :- คติประจำใจ : ทำทกุ วนั ใหด ที ่ีสดุ อยางเตม็ กำลงั ความสามารถ 31

ชื่อ : นางสาวอังคณา ปานะพนั ธุ ตำแหนง : นกั ทรัพยากรบุคคลชำนาญการพเิ ศษ หนวยงาน : กองบริหารทรพั ยากรบคุ คล โทรศัพท : 08 6618 9065 โทรสาร :- E-Mail Address : [email protected] ---------------------------------------------------------------------------- ท่ีอยูห ลังเกษยี ณอายรุ าชการ : 88/786 หมทู ่ี 1 หมบู า นดอนเจดยี แ มนชน้ั โครงการ 4 อาคาร B หอ ง 88/786 ซอยนนทบุรี 20 ถนนนนทบุรี-กรงุ เทพฯ ตำบลบางกระสอ อำเภอเมืองนนทบรุ ี จงั หวดั นนทุบรี 11000 โทรศพั ท : 08 6618 9065 โทรสาร :- E-Mail Address : [email protected] คตปิ ระจำใจ : ทำทกุ วันใหด ีทีส่ ุด 32

ชอ่ื : นางอุษา โตจันทร ตำแหนง : นกั จัดการงานทว่ั ไปชำนาญการพิเศษ หนว ยงาน : กองระบาดวทิ ยา โทรศัพท : 0 2590 3844 โทรสาร : 0 2590 3845 E-Mail Address : [email protected] ---------------------------------------------------------------------------- ท่ีอยหู ลงั เกษียณอายุราชการ : 269/313 หมูท่ี 6 หมบู านทิพยส วุ รรณ ถนนบางกรวย-ไทรนอย ตำบลโสนลอย อำเภอบางบัวทอง จงั หวัดนนทบุรี 11110 โทรศัพท : 08 1818 1948 โทรสาร :- E-Mail Address : [email protected] คติประจำใจ :- 33

ชื่อ : นายรัติกรณ สาธกุ าร ตำแหนง : เจา พนักงานสาธารณสุขชำนาญงาน หนว ยงาน : กองโรคจากการประกอบอาชีพและสิ่งแวดลอม โทรศพั ท : 08 9785 0510 โทรสาร :- E-Mail Address :- ---------------------------------------------------------------------------- ทีอ่ ยหู ลงั เกษยี ณอายรุ าชการ : 137 ซอยจรญั สนทิ วงศ 57/2 ถนนจรญั สนทิ วงศ แขวงบางบำหรุ เขตบางพลัด จงั หวดั กรุงเทพมหานคร 10700 โทรศัพท : 08 9785 0510 โทรสาร :- E-Mail Address :- คติประจำใจ :- 34

ชือ่ : นางสาวลดั ดา ธรรมการณั ย ตำแหนง : นกั วชิ าการสาธารณสขุ ชำนาญการ (สง เสรมิ พฒั นา) หนว ยงาน : กองโรคจากการประกอบอาชีพและส่งิ แวดลอม โทรศพั ท : 08 1996 3350 โทรสาร :- E-Mail Address : [email protected] ---------------------------------------------------------------------------- ที่อยูหลงั เกษียณอายุราชการ : 82/46 ซอยดนิ ทามระ 25 ถนนสุทธิสาร แขวงสามเสนใน เขตพญาไท จังหวดั กรุงเทพมหานคร 10400 โทรศพั ท : 08 1996 3350 โทรสาร :- E-Mail Address : [email protected] คตปิ ระจำใจ :- 35

ช่ือ : นางสาวสุธาทพิ ย สุทธิเมธากร ตำแหนง : นกั วชิ าการสาธารณสขุ ชำนาญการ (สง เสรมิ พฒั นา) หนว ยงาน : กองโรคตดิ ตอท่วั ไป โทรศพั ท : 0 2590 3222 โทรสาร :- E-Mail Address : [email protected] ---------------------------------------------------------------------------- ท่อี ยูหลงั เกษียณอายุราชการ : 122/1 หมูท ่ี 1 ตำบลยา นตาขาว อำเภอยา นตาขาว จงั หวัดตรงั 92140 โทรศัพท : 08 3088 7612 โทรสาร :- E-Mail Address : [email protected] คตปิ ระจำใจ :- 36

ชือ่ : นางธิดา ลเ้ี ทยี น ตำแหนง : เจาพนักงานธรุ การชำนาญงาน หนวยงาน : กองโรคตดิ ตอ นำโดยแมลง โทรศพั ท : 09 8896 3354 โทรสาร : 0 2591 8422 E-Mail Address : [email protected] ---------------------------------------------------------------------------- ท่อี ยหู ลงั เกษียณอายุราชการ : 1/180 หมูบา นศภุ าลยั ปารค อาคาร A ชั้น 9 ซอยแยกบ๊กิ ซตี ิวานนท ตำบลตลาดขวัญ อำเภอเมืองนนทุบรี จงั หวัดนนทบุรี 11000 โทรศพั ท : 09 8896 3354 โทรสาร :- E-Mail Address : [email protected] คตปิ ระจำใจ : จงทำวนั นีใ้ หเปนวนั ท่ีดที ีส่ ดุ เสมอ 37

ช่อื : นางงามตา ราชกรม ตำแหนง : พยาบาลวิชาชีพชำนาญการพิเศษ (การพยาบาล) หนว ยงาน : กองโรคเอดสแ ละโรคตดิ ตอ ทางเพศสมั พันธ โทรศัพท : 08 1843 6760 โทรสาร :- E-Mail Address : [email protected] ---------------------------------------------------------------------------- ท่ีอยูห ลังเกษียณอายุราชการ : 99/9 หมทู ่ี 4 หมบู า นคาซาวลิ ลร าชพฤกษ- แจง วฒั นะ ซอย 10 ถนนราชพฤกษ ตำบลคลองขอย อำเภอปากเกร็ด จังหวดั นนทบรุ ี 11120 โทรศัพท : 08 1843 6760 โทรสาร :- E-Mail Address : [email protected] คตปิ ระจำใจ : ปฏิบตั ิงานทุกอยา งดวยความรบั ผิดชอบ และมุงมันทำใหสำเรจ็ 38

ชอื่ : นางเครือทิพย จันทรธานีวฒั น ตำแหนง : นักวชิ าการสาธารณสขุ ชำนาญการพิเศษ (สง เสริมพัฒนา) หนว ยงาน : กองโรคเอดสและโรคตดิ ตอทางเพศสมั พันธ โทรศัพท : 0 2590 3211 โทรสาร :- E-Mail Address : [email protected] ---------------------------------------------------------------------------- ทีอ่ ยหู ลงั เกษียณอายรุ าชการ : 600/1088 หมทู ่ี 14 หมบู า นสวี ลี ถนนพหลโยธนิ ตำบลคคู ต อำเภอลำลกู กา จงั หวดั ปทมุ ธานี 12130 โทรศพั ท : 0 2536 7641 โทรสาร :- E-Mail Address : [email protected] คติประจำใจ : 1. ความสำเรจ็ เรม่ิ ตน จากการตัดสินใจลงมือทำ 2. กำลงั ใจจากไหนกไ็ มส ำคญั เทา กำลงั ใจจากตวั เอง 3. จงไมห ยดุ ท่จี ะพัฒนาตัวเอง 39

ชื่อ : นางนนั ทว ลัย แฟม คลองขอม ตำแหนง : เจา พนกั งานธุรการชำนาญงาน หนวยงาน : กองวัณโรค โทรศพั ท : 0 2212 2279 ตอ 1255 โทรสาร : 0 2212 1408 E-Mail Address : [email protected] ---------------------------------------------------------------------------- ทอ่ี ยหู ลังเกษยี ณอายุราชการ : 50/22 หมูท่ี 9 ตำบลสวนหลวง อำเภอกระทุมแบน จังหวัดสมุทรสาคร 74110 โทรศัพท : 08 6800 5478 โทรสาร :- E-Mail Address : [email protected] คติประจำใจ : ความสำเรจ็ เรม่ิ ตนจากการลงมือทำ 40

ชอ่ื : นางสาวลัดดา รตั นวิจิตร ตำแหนง : เจา พนักงานวทิ ยาศาสตรการแพทยช ำนาญงาน หนว ยงาน : กองวณั โรค โทรศัพท :- โทรสาร :- E-Mail Address : [email protected] ---------------------------------------------------------------------------- ที่อยหู ลังเกษยี ณอายรุ าชการ : 38 หมูท ่ี 8 ถนนสรุ ะนารายณ ตำบลวงั เพลิง อำเภอโคกสำโรง จังหวัดลพบุรี 15120 โทรศัพท : 09 2294 5168 โทรสาร :- E-Mail Address : [email protected] คตปิ ระจำใจ : อยูกับปจ จบุ นั 41

ช่ือ : นางสาวสายใจ สมทิ ธกิ าร ตำแหนง : นกั เทคนิคการแพทยชำนาญการพิเศษ หนว ยงาน (สง เสรมิ พฒั นา) โทรศัพท : กองวัณโรค โทรสาร : 09 3226 5355 E-Mail Address :- : [email protected] ---------------------------------------------------------------------------- ทอ่ี ยหู ลังเกษยี ณอายรุ าชการ : 333 ถนนจรัญสนิทวงศ แขวงบางพลดั เขตบางพลัด จังหวัดกรุงเทพมหานคร 10700 โทรศพั ท : 09 3226 5355 โทรสาร :- E-Mail Address : [email protected] คตปิ ระจำใจ : อดตี เปน สง่ิ ทผ่ี า นมา อนาคตยงั มาไมถ ึง จงทำปจจุบนั ใหส ดุ ความสามารถ 42

ชือ่ : นางกณั ฑมิ า วงษบญุ มี ตำแหนง : พยาบาลวิชาชพี ชำนาญการ (การพยาบาล) หนว ยงาน : สถาบันบำราศนราดูร โทรศพั ท : 08 9894 2496 โทรสาร :- E-Mail Address : [email protected] ---------------------------------------------------------------------------- ที่อยูหลังเกษียณอายุราชการ : 178 หมทู ี่ 7 ตำบลบา นบงุ อำเภอเมอื ง จังหวัดพิจิตร 66000 โทรศัพท : 08 9894 2496 โทรสาร :- E-Mail Address : [email protected] คตปิ ระจำใจ : ซอ่ื สัตย อดทน ไมย อ ทอตออปุ สรรค 43

ชือ่ : นางทิพวรรณ เพชรมลู ตำแหนง : พยาบาลวชิ าชพี ชำนาญการ (การพยาบาล) หนวยงาน : สถาบันบำราศนราดูร โทรศัพท :- โทรสาร :- E-Mail Address :- --------------------------------------------------------------------------- ท่ีอยูหลงั เกษียณอายุราชการ : 99/131 หมทู ี่ 5 หมบู า นศิลปการพารค 3 ซอย 5 ถนนบานกลว ย-ไทรนอ ย ตำบลพิมลราช อำเภอบางบัวทอง จังหวัดนนทบรุ ี 11110 โทรศัพท : 08 5066 5798 โทรสาร :- E-Mail Address :- คติประจำใจ : ควรเปน คนดี “แตอ ยา เปนคนโง” ถา เกมสไ หนไม ยุตธิ รรม กไ็ มจ ำเปนตอ งเดินตามกตกิ าเขา 44

ชื่อ : นางประนอม นพคณุ ตำแหนง : พยาบาลวชิ าชพี ชำนาญการพิเศษ (การพยาบาล) หนวยงาน : สถาบนั บำราศนราดรู โทรศพั ท :- โทรสาร :- E-Mail Address : [email protected] ---------------------------------------------------------------------------- ที่อยหู ลังเกษียณอายรุ าชการ : 111/412 หมทู ่ี 5 หมบู า นเปย มสขุ การเ ดน วลิ ล ถนนนนทบุรี-ปทมุ ธานี ตำบลบางเดอ่ื อำเภอเมอื ง จังหวดั ปทมุ ธานี 12000 โทรศัพท : 08 6900 0636 โทรสาร :- E-Mail Address : [email protected] คติประจำใจ : หากรูเ ขารเู รา รบกนั รอยครั้งไมแ พ 45


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook