Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore แผนการจัดการเรียนการสอน โรงเรียนบ้านกลางนาเดื่อ

แผนการจัดการเรียนการสอน โรงเรียนบ้านกลางนาเดื่อ

Published by tin2512, 2021-06-16 15:48:29

Description: แผนการและแนวทางการบริหารจัดการการเรียนการสอน ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2564
โรงเรียนบ้านกลางนาเดื่อ สพป.สกลนคร เขต 1 สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน
ในสถานการณ์แพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19)

Search

Read the Text Version

ก คำนำ ด้วย สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน กระทรวงศึกษาธิการ ได้กำหนดแนวทางการ จัดการเรียนการสอนในสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) ระลอกใหม่ (รอบสาม) ของโรงเรียนในสังกัด ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2564 ซึ่งเลื่อนจากเดิม 17 พฤษภาคม 2564 เป็น วันที่ 1 มิถุนายน 2564 โดยแบ่งช่วงเวลาเป็น ระยะที่ 1 การเตรียมความพร้อมก่อนเปิดภาคเรียน (17 - 31 พฤษภาคม 2564) และระยะที่ 2 การจัดการเรียนการสอน (ตั้งแต่ 1 มิถุนายน เป็นต้นไป) ทั้งนี้ในระยะที่ 2 การจัดการเรียนการสอนยังคงใช้ 5 รูปแบบ คือ 1. On-site เป็นการเรียนที่โรงเรียนตามวิธีการที่ โรงเรียนกำหนดโดยคำนึงถงึ หลักความปลอดภัย หลักการใชพ้ ื้นท่ี และหลักความสมคั รใจของนักเรยี นและผู้ปกครอง 2. Online เป็นการเรียนผ่านระบบออนไลน์ที่มีตารางเรียนชัดเจน 3. On Air เป็นการศึกษาทางไกลผ่านดาวเทียม (DLTV) 4. On Demand คือ การเรียนผ่านแอปพลเิ คชัน่ ต่างๆ เรยี นได้ทุกที่ ทกุ เวลา และ 5. On Hand เป็นการจัด ใบงานหรือแบบฝึกหัดเป็นชุดให้นักเรียนนำไปเรียนรู้ด้วยตนเองที่บ้าน โดยคำนึงถึงหลักความปลอดภัย หลักการ ใช้พ้นื ท่ี หลกั ความพร้อม หลักความสมัครใจและหลักความรว่ มมือกับภาคีเครือข่ายในท้องถิน่ จัดการเรียนการสอน ที่เน้นคุณภาพใน 3 ประการ คือ 1.อ่านออก เขียนได้ คิดเลขเป็น 2. มีระเบียบวินัย มีความรับผิดชอบ มีจิตอาสา 3. 1 ดนตรี 1 กีฬา 1 อาชีพ ดำเนินชีวิตภายใต้วิถีใหม่ มีสติมั่นคง พร้อมเดินหน้าพัฒนาการศึกษาด้วยเป้าหมาย ทีว่ ่า เดก็ ตอ้ งได้เรยี น ผู้ปกครองเชือ่ มนั่ ครแู ละนักเรียนตอ้ งปลอดภยั “อยทู่ ไ่ี หนต้องไดเ้ รียน” โรงเรียนบา้ นกลางนาเด่ือ สังกดั สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาสกนคร เขต 1 จงึ ได้จัดทำ เอกสารสรุปแนวทางระบบการบริหารจัดการเรียนการสอนของโรงเรียนขึ้น เพื่อเป็นรูปแบบ แนวทางการจัดการ เรียนการสอนในวนั เปิดภาคเรยี น อกี ทั้งสอดคล้องกบั แนวทางการจัดการเรียนการสอนของสำนักงานคณะกรรมการ การศึกษาขั้นพื้นฐาน และแนวปฏิบัติตามมาตรการของรัฐบาล และตามประกาศของศูนย์บริหารสถานการณ์แพร่ ระบาดของโรคตดิ เชือ้ ไวรสั โคโรนา 2019 (COVID-19) จังหวัดสกลนครต่อไป นางกษมน มงั คละครี ี ผูอ้ ำนวยการโรงเรยี นบา้ นกลางนาเดือ่

ข สารบัญ เรื่อง หนา้ คำนำ................................................................................................................................................... ก สารบญั ............................................................................................................................................... ข แผนการและแนวทางการบริหารจัดการการเรยี นการสอน ในสถานการณแ์ พรร่ ะบาดของโรคตดิ เชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19).................................. 1 การเตรียมความพร้อมการจดั การเรียนการสอนในวันเปดิ ภาคเรียน วนั ที่ 1 มถิ นุ ายน 2564....... 1 หลกั ปฏบิ ตั ิในการป้องกนั การแพร่ระบาดของโรคโควดิ 19 ในโรงเรียนบ้านกลางนาเด่ือ.............. 1 แผนการจัดการเรยี นการสอนของโรงเรยี นบ้านกลางนาเดื่อ รปู แบบท่ี 1 การจดั การเรียน การสอนแบบปกติ การเรยี นในช้ันเรียน (On-Site)........................................................................ 2 แนวปฏิบัตขิ องโรงเรียนบ้านกลางนาเดือ่ เพอ่ื ป้องกนั การแพรร่ ะบาดของโรคโควิด 19 2 มาตรการป้องกนั การแพร่ระบาดของโรคตดิ ตอ่ เชื้อไวรสั โคโรนา 2019 (โควิด – 19) ในการเปดิ เรยี นภาคเรยี นที่ 1/2564.............................................................................................. 4 แผนการจดั การเรยี นการสอนของโรงเรียนบ้านกลางนาเดื่อ รปู แบบที่ 2 การจัดการเรียน การสอนโดยใชร้ ูปแบบ ON-HAND การเรยี นท่บี ้านโดยหนังสือเรยี นแบบฝึกหัด.......................... 7 แนวทางการจัดการเรยี นการสอนโดยใชร้ ูปแบบ ON-HAND ระดับปฐมวยั .................................. 7 แนวทางการจัดการเรยี นการสอนโดยใชร้ ปู แบบ ON-HAND ระดับประถมศกึ ษา......................... 7 แนวทางการจัดการเรยี นการสอนโดยใช้รปู แบบ ON-HAND ระดับมธั ยมศกึ ษาตอนต้น.............. 8 แผนการจัดการเรียนการสอนของโรงเรียนบา้ นกลางนาเด่ือ รูปแบบที่ 3 การจดั การเรียน การสอนทางไกล............................................................................................................................ 9 การจัดการเรียนการสอนทางไกล ระดบั ปฐมวัย............................................................................ 9 การจดั การเรียนการสอนทางไกล ระดับประถมศึกษา.................................................................. 13 การจดั การเรียนการสอนทางไกล ระดบั มัธยมศกึ ษาตอนต้น........................................................ 17 ภาคผนวก............................................................................................................................. ............. 21 - บทบาทของผบู้ ริหารสถานศึกษา ครู นกั เรยี น ผู้ปกครอง และภาคีเครือขา่ ย - แนวปฏบิ ตั กิ ารดแู ลด้านอนามยั และส่ิงแวดล้อมของโรงเรยี นในระหว่างเปดิ ภาคเรยี น - รูปแบบการเรียนการสอน - วธิ กี ารตรวจคดั กรองสุขภาพ - วิธกี ารตรวจวัดอุณหภูมริ า่ งกายหรือวดั ไข้ - วธิ ีการวดั อุณหภูมทิ างหน้าผาก - ข้นั ตอนการซักประวัติและสังเกตอาการเสี่ยง - คำสง่ั โรงเรยี นบ้านกลางนาเด่ือ - คำสัง่ แต่งตงั้ คณะกรรมการนกั เรียนแกนนำด้านสุขภาพ จิตอาสา - คำส่งั แตง่ ต้งั คณะทำงานปอ้ งกันการแพร่ระบาดโรคโควิด-19 ในสถานศึกษา - โครงการ การจดั การเรียนการสอนทางไกลในสถานการณ์การแพรร่ ะบาดของโรคตดิ เช้ือ ไวรสั โคโรนา 2019 (COVID-19) - โครงการ การปอ้ งกันการแพร่ระบาดของโรคติดเช้อื ไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) - ผลการประเมนิ มาตรการฯ ผา่ น Thai Stop Covid Plus คณะผู้จดั ทำ

1 แผนการและแนวทางการบริหารจัดการการเรียนการสอน โรงเรียนบา้ นกลางนาเดอ่ื สำนกั งานเขตพ้นื ที่การศึกษาประถมศึกษาสกลนคร เขต 1 สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขัน้ พนื้ ฐาน ในสถานการณแ์ พรร่ ะบาดของโรคติดเชอ้ื ไวรสั โคโรนา 2019 (COVID-19) การเตรียมความพร้อมการจดั การเรียนการสอนในวันเปดิ ภาคเรยี น วนั ท่ี 1 มิถนุ ายน 2564 จากสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคโควดิ 19 โรงเรยี นบ้านกลางนาเด่ือมีความจำเป็นอย่างย่ิงในการ เตรยี มความพร้อมของสถานศึกษา การปฏบิ ัตติ นของนกั เรียนและบคุ ลากรในสถานศึกษา เพื่อลดโอกาส การติดเชื้อและป้องกันไมใ่ หเ้ กดิ การตดิ เชื้อโรคโควิด 19 ให้เกดิ ความปลอดภัยแก่ทุกคน โรงเรยี นบ้านกลางนาเดอ่ื จึงไดท้ ำการประเมินความพร้อมของตนเองเพ่ือเตรียมความพร้อมก่อนเปิดเรยี น ผา่ นระบบออนไลนข์ อง กระทรวงศึกษาธิการ และ Thai Stop Covid Plus กรมอนามัย มกี ลไกการตรวจรบั รองการประเมนิ จากหน่วยงาน หรือผ้เู ก่ยี วขอ้ งในพ้ืนที่ เช่น คณะกรรมการสถานศึกษา หรือหนว่ ยงานสาธารณสขุ ในระดบั พ้ืนท่ี เป็นตน้ โรงเรยี นบ้านกลางนาเด่ือ ได้ดำเนินการวางแผนท่ีจะช่วยสรา้ งเสรมิ ความเข้มแขง็ ดา้ นการคุ้มครองสขุ ภาพ และความปลอดภยั ของนักเรียน โดยมมี าตรการควบคมุ หลักในมิติการดำเนินงานเพื่อความปลอดภัยจากการลดการ แพร่เช้อื โรค 6 ข้อปฏบิ ตั ใิ นสถานศกึ ษา ได้แก่ 1. คดั กรองวัดไข้ 2. สวมหนา้ กาก 3. ลา้ งมือ 4. เวน้ ระยะห่าง 5. ทำความสะอาด 6. ลดแออัด หลักปฏิบตั ิในการป้องกนั การแพรร่ ะบาดของโรคโควิด 19 ในโรงเรยี นบ้านกลางนาเด่ือ 1) คัดกรอง (Screening) ผูท้ ีเ่ ข้ามาในโรงเรยี นบ้านกลางนาเดือ่ ทุกคนต้องได้รบั การคดั กรองวดั อุณหภูมิ รา่ งกาย 2) สวมหน้ากาก (Mask) ทกุ คนตอ้ งสวมหน้ากากผ้าหรอื หน้ากากอนามยั ตลอดเวลาที่อยูใ่ นโรงเรยี นบ้านกลาง นาเดอ่ื 3) ลา้ งมือ (Hand Washing) ลา้ งมอื บ่อย ๆ ดว้ ยสบแู่ ละน้ำ นานอยา่ งนอ้ ย 20 วินาที หรอื ใช้เจลแอลกอฮอล์ หลกี เลยี่ งการสมั ผสั บรเิ วณจดุ เสีย่ ง รวมทัง้ ไม่ใช้มือสมั ผสั ใบหนา้ ตา ปาก จมูก โดยไม่จำเป็น 4) เว้นระยะหา่ ง (Social Distancing) เว้นระยะหา่ งระหว่างบคุ คล อย่างน้อย 1 - 2 เมตร รวมถงึ การจดั เวน้ ระยะห่างของสถานที่ 5) ทำความสะอาด (Cleaning) เปดิ ประตู หนา้ ตา่ ง ให้อากาศถา่ ยเท ทำความสะอาดห้องเรยี น และบริเวณ ตา่ ง ๆ โดยเชด็ ทำความสะอาดพืน้ ผิวสัมผสั ของโต๊ะ เก้าอ้ี และวัสดุอุปกรณ์ ก่อนเข้าเรยี น ชว่ งพักเทีย่ ง และ หลังเลิกเรยี นทุกวัน รวมถึงจดั ใหม้ ถี ังขยะมลู ฝอยแบบมฝี าปิด และรวบรวมขยะออกจากห้องเรยี น เพื่อนำไป กำจัดทุกวนั 6) ลดแออดั (Reducing) ลดระยะเวลาการทำกจิ กรรมใหส้ ั้นลงเท่าทจ่ี ำเป็น หรอื เหลื่อมเวลาทำกิจกรรม และ หลกี เลยี่ งการทำกิจกรรมรวมตัวกนั เป็นกลมุ่ ลดแออัด

2 แผนการจัดการเรียนการสอนของโรงเรยี นบา้ นกลางนาเด่อื รูปแบบที่ 1 การจดั การเรียนการสอนแบบปกติ การเรยี นในชน้ั เรียน (On-Site) โรงเรยี นบ้านกลางนาเดื่อเป็นโรงเรยี นขนาดกลาง ที่มีขนาดพน้ื ทีข่ องโรงเรยี นสามารถจดั การเรยี นการสอน โดยการเว้นระยะหา่ งทางสังคม (Social Distancing) ได้อย่างสะดวก ภายใต้ “ชวี ิตวิถใี หม่” (New Normal) แนวปฏบิ ตั ขิ องโรงเรยี นบ้านกลางนาเดื่อ ระหวา่ งเปิดภาคเรยี น การเรียนในชนั้ เรยี น (On-Site) ผูท้ ม่ี ิไี ข้หรือวัดอุณหภมู ิรา่ งกาย ตงั้ แต่ 37.5 องศาเซลเซียสขนึ้ ไป รว่ มกบั อาการทางเดินหายใจ อย่างใดอยา่ งหนึ่ง อาทิ มีน้ำมูก เจบ็ คอ หายใจลำบาก เหน่ือยหอบ ไมไ่ ด้กล่นิ ไม่รรู้ ส และมีประวัติสัมผัสใกลช้ ิด กับผปู้ ว่ ยยนื ยัน ในช่วง 14 วันกอ่ นมีอาการ ถือว่า เปน็ ผูส้ ัมผสั ความเสี่ยงหรือเปน็ กลุม่ เสี่ยง ตอ้ งรีบแจ้ง เจา้ หนา้ ทส่ี าธารณสุขดำเนนิ การตอ่ ไป แนวปฏบิ ัตขิ องโรงเรียนบ้านกลางนาเด่อื เพ่อื ป้องกนั การแพรร่ ะบาดของโรคโควดิ 19 ดงั น้ี 1. เมื่อนักเรียนมาถึงโรงเรียน ต้องใส่หน้ากากอนามัย เดินเป็นแถวผ่านประตูโรงเรียน ครูเวรประจำวันและ สภานักเรียน หรืออาจมีผู้ปกครองอาสา อาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้าน (อสม.) ร่วมดำเนินการตรวจคัดกรอง โดยเดินผ่านตามจุดที่มีการเว้นระยะตามทางเดินที่กำหนด (วัดไข้-ใส่หน้ากาก-ล้างมือ-เว้นระยะห่าง) และ ใช้โทรศัพท์มือถือสแกน QR Code “ระบบสารสนเทศการลงทะเบียนจุดคัดกรอง COVID-19” ของโรงเรียน ขณะ ทำการคัดกรองหากพบนักเรียนมีอาการไข้ จาม มีน้ำมูก หายใจเหนื่อยหอบและอุณหภมู ิสูงเกิน 37.5 องศาเซลเซียส ใหผ้ ปู้ กครองรบั นักเรียนกลับไปพบแพทย์ 2. ให้ใช้โทรศพั ทม์ ือถือสแกน QR Code “ไทยชนะ” เพอื่ เช็คอิน (Check-in) กรณี ไม่มโี ทรศัพท์ท่ีสแกน QR Code ได้ โรงเรียนจะให้จดลงสมุด โดยกรอก ชื่อ-นามสกุล เบอร์โทรศัพท์ และเวลาในการเข้า-ออก บริเวณโรงเรียน และ ทำแบบประเมนิ ความเสยี่ งการแพร่เชื้อ ผา่ นแอปพลิเคชัน “ไทยเซฟไทย” Thai Save Thai ถา้ นักเรียนท่ีเดินทาง ไปอยู่กับผู้ปกครองจังหวัดกลุ่มเส่ยี งสูงให้เดินทางมาก่อนวันที่ 15 พฤษภาคม 2564 เพอื่ เข้ามารายงานตัวกับโรงพยาบาล ส่งเสริมสุขภาพและเจ้าหน้าที่ อสม. ในหมู่บ้านเพื่อกักตัวเฝ้าดูอาการที่อาจติดเชื้อ COVID – 19 อย่างน้อย 14 วัน ก่อนเปิดภาคเรียนและสามารถมาเรียนได้ตามปกติ 3. เมื่อผ่านจุดคัดกรอง นักเรียนชั้นอนุบาลและชั้นประถมศกึ ษาตอนต้น (ป.1-ป.3) ต้องมีครูนำนกั เรียนไปยัง ห้องเรยี น และท่หี อ้ งเรียนจะมีครูประจำช้นั รอรับนักเรยี นอยู่ กรณนี กั เรยี นช้นั ประถมศึกษาตอนปลาย (ป.4-ป.6) และ นกั เรยี นชน้ั มัธยมศกึ ษา ใหน้ กั เรียนเดินไปยังห้องเรียนเอง 4. การทำกิจกรรมหน้าเสาธง (เวลา 08.00 น.) ให้นักเรียนเข้าแถวและมีกิจกรรมหน้าเสาธงได้ตามปกติ แต่ต้องมีมาตรการเว้นระยะทางสังคม (Social Distancing) หากมีฝนตกหรือไม่สะดวกในการเข้าแถวหน้าเสาธงได้ ให้จัดได้ 2 ลักษณะ คือ ให้นักเรียนเข้าแถวที่โต๊ะเรียนในห้องเรียน และให้นักเรียนเข้าแถวหน้าห้องเรียน มีกิจกรรม หน้าเสาธงผา่ นทางอินเตอรค์ อมทวี ใี นหอ้ งเรียน หรอื ไมโครโฟน 5. ครูและนักเรยี นรว่ มจัดสภาพแวดล้อมในห้องเรียน ต้งั จดุ วางเจลแอลกอฮอล์ล้างมือไว้ในห้องเรียน (บริเวณ โต๊ะครู) ขณะทำการสอนครูผู้สอนและนักเรียนต้องใส่หน้ากากอนามัยตลอดเวลา (พักถอดหน้ากากทุก 2 ชั่วโมงหรอื ตามความเหมาะสม และหากมีกิจกรรมที่ต้องออกแรงหรือเป็นการออกกาลังกายไม่ควรสวมหน้ากากอนามัย) ให้นักเรียนเลี่ยงการยืมสิ่งของต่างๆ เช่น อุปกรณ์การเรียนและของเล่นจากเพื่อน งดการสัมผัสร่างกายซึ่งกันและกัน ควรทำความสะอาดห้องเรียน โต๊ะเรียน และเก้าอี้ทุกครั้งด้วยน้ำยาฆ่าเชื้อ ทั้งก่อนเรียน พักกลางวัน และหลังเรียน โดยมีการบนั ทกึ ขอ้ มลู อย่างเคร่งครัด

3 6. มาตรการการใช้ห้องน้ำโรงเรียน มีการทำความสะอาด ฆ่าเชื้อ และบันทึกเวลาในการทำความสะอาด หอ้ งนำ้ โรงเรยี นบ่อยๆ โดยมอบหมายครเู วรประจาวัน สภานักเรียน และนกั เรียนประจำชั้น ดำเนินการอยา่ งเคร่งครดั 7. ครูประจำชั้นและครูเวรประจำวันคอยดูแลนักเรียนในการใช้ห้องน้ำ ทั้งในช่วงเวลาเรียนและนอกเวลา เรยี น ให้นกั เรยี นสลบั กนั ใชห้ อ้ งนำ้ ตามความเหมาะสมของโรงเรยี น โดยรอควิ และมจี ดุ เวน้ ระยะอยา่ งชดั เจน 8. ให้นักเรียนลา้ งมือบ่อย ๆ ดว้ ยสบ่เู หลว ก่อนและหลังการรับประทานอาหาร หลังการเขา้ ห้องน้ำ และก่อน กลับบ้าน จนติดเป็นนิสัย ครูต้องสอนนักเรียนล้างมือโดยเน้นวธิ ีการล้างมือ 7 ขั้นตอน นานอย่างน้อย 20 วินาที ของ กรมอนามัย 9. การรับประทานอาหารท่ีโรงอาหาร ที่หอ้ งเรยี น และบรเิ วณทกี่ ำหนด เน้นการเว้นระยะห่างทางสังคม และ เพือ่ ลดความแออัดของนักเรียน จดั ใหม้ ีการเหลื่อมเวลาในการพักรับประทานอาหารกลางวนั โดยมรี ะยะห่างของรอบ เวลาละประมาณ 30 นาที (ตามแจง้ ) 10. ครูประจำชั้นกำกับดูแลมีมาตรการการทำความสะอาดอย่างชัดเจนเข้มงวดเกี่ยวกับอุปกรณ์ ภาชนะ ในการรับประทานอาหาร เช่น หลังจากการล้างภาชนะให้นำไปตากแสงแดดให้แห้งสนิทเพื่อเป็นการฆ่าเชื้อโรคและ จัดเกบ็ ใหม้ ดิ ชิด 11. วัตถุดิบในการทำอาหารจะต้องมีความสดใหม่ และปรุงสุก ถูกสุขลักษณะและทำความสะอาดอย่าง เคร่งครัดก่อนนำมาปรุงอาหาร แม่ครัวหรือผู้ช่วยแม่ครัว ต้องใส่หน้ากากอนามัย และสวมถุงมือ ตลอดเวลาในขณะ ปฏิบัติงาน 12. ทำความสะอาดโต๊ะและเก้าอ้ี พื้นโรงอาหารด้วยน้ายาฆ่าเชื้อ ทั้งก่อนและหลังการรับประทาน อาหาร ของนักเรียนในแต่ละรอบ 13. การทิ้งขยะ มีมาตรการการคัดแยกขยะอย่างชัดเจน เช่น ขยะเปียก ขยะแห้งและมีการกำจัดหลังเลิก เรียนในทุกๆ วนั 14. ครูอนามัยโรงเรียน ครูประจำชั้น และสภานักเรียน ร่วมตรวจสอบความสะอาดประจำวนั และประสานงาน กับหนว่ ยงานราชการ เชน่ อำเภอ สำนกั งานเขตในพื้นทีเ่ พอ่ื จดั ส่งเจ้าหนา้ ท่ดี ้านอนามัย มาตรวจสอบเปน็ ระยะๆ 15. ครหู รือสภานักเรยี นคอยดแู ลอำนวยความสะดวกในการกดน้ำด่ืมจากตตู้ ามมาตรการ ของ ศบค.กำหนด ท้งั น้ีผูป้ กครองสามารถเตรียมนำ้ ดม่ื ให้กับนักเรียนมาจากบา้ นได้ 16. อปุ กรณ์การแปรงฟันและแกว้ น้ำสว่ นตัว ครูประจำชนั้ ต้องจดั ระเบียบการเว้นระยะในการจัดวางอุปกรณ์ งดการใช้ของรว่ มกันของนักเรียนและหลังรบั ประทานอาหารกลางวนั ครูประจำชน้ั นำนักเรยี นแปรงฟนั โดยเนน้ การเว้น ระยะห่างของนกั เรยี น 17. ครูอนามัยโรงเรยี นจดั เตรียมห้องพยาบาลให้พร้อมเพ่ือรองรับนักเรยี น กรณนี กั เรียนเกิดการเจ็บป่วยและ มคี รูช่วยดูแลเพื่อเป็นท่ีปรึกษากรณีนักเรยี นเกิดความวติ กกงั วลเกยี่ วกบั การระบาดของเช้ือโรคไวรัส โคโรนา 2019 18. การนอนของนักเรียนปฐมวัย มีอากาศถ่ายเท เว้นระยะที่นอนของนักเรียนห่างกันประมาณ 2 เมตร ครูประจำชนั้ หรอื ครพู เี่ ลยี้ งกำกับไม่ใหน้ กั เรยี นเล่นกนั ขณะนอน (นกั เรียนถอดหน้ากากอนามยั ) 19. กรณผี ู้ปกครองมีความประสงคม์ ารบั ไปนอนท่ีบ้าน ใหผ้ ้ปู กครองมารบั นกั เรียนกลับบ้าน (นักเรยี นไปนอน ท่ีบ้าน) หรอื อาจจัดกจิ กรรมใหน้ กั เรยี นตามความเหมาะสม 20. การเลกิ เรียนประจำวันให้เลกิ เรยี นและกำหนดเวลากลับบา้ นตามลำดบั ดงั น้ี ระดบั ชั้น เวลากลับบา้ น หมายเหตุ อนบุ าล 2 15.30 น. อนุบาล 3 15.30 น. ผู้ปกครองรอรบั นักเรียนทจ่ี ุดคัดกรองตอนเชา้ (ครูประจำช้ันนำส่ง) ป. 1- ม. 3 16.00 น. เดินแถวกลับออกจากโรงเรียนตามระยะห่างที่ ศบค.กำหนด โดยมี ครูประจำช้ันและครูเวรประจำวนั กำกบั ดแู ล

4 มาตรการปอ้ งกนั การแพรร่ ะบาดของโรคติดตอ่ เช้ือไวรัสโคโรนา 2019 (โควดิ – 19) ในการเปิดเรยี นภาคเรียนที่ 1/2564 ด้วยสถานการณ์ปจั จบุ ันได้เกิดการแพรร่ ะบาดของโรคติดต่อเช้ือไวรัส โควดิ - 19 ในประเทศไทยทำให้ สถานศึกษาต้องเลื่อนการเปดิ ภาคเรยี น เพ่ือความปลอดภยั ของนักเรียน ครู และบุคลากรของโรงเรียนกลางนาเด่ือ รวมทั้งเพ่ือเป็นการรว่ มรบั ผิดชอบตอ่ สังคมในการปอ้ งกนั การแพร่ระบาดของเชอื้ ไวรสั โคโรนา 2019 (โควิด - 19) โรงเรยี นบ้านกลางนาเด่ือจงึ ประกาศมาตรการและขอความร่วมมอื จากคณะครู นกั เรยี น และผู้ปกครองนักเรียน ได้ร่วมกันป้องกนั การแพร่ระบาดโรคตดิ ตอ่ เช้ือไวรสั โคโรนา 2019 (โควดิ - 19) รวมทั้งโรคอ่นื ๆ ดังนี้ 1. มาตรการการป้องกนั ในบรเิ วณโรงเรยี น เพ่ือป้องกันการแพร่ระบาดของโรคตดิ เช้ือไวรัสโคโรนา 2019 (โควิด - 19) ทีซ่ ่ึงเกดิ ข้นึ ได้ในบรเิ วณโรงเรียน จงึ กำหนดมาตรการการปอ้ งกันในบรเิ วณโรงเรยี น ดังน้ี 1.1 มาตรการระยะเตรยี มการกอ่ นเปดิ เรยี น 1.1.1 ใหค้ ณะครูตรวจสอบสถานท่ี ซ่อมแซม ปรับปรุง ทำความสะอาด อาคาร เรียน หอ้ งเรียน ตู้ โต๊ะ เกา้ อี้ อุปกรณก์ ารเรยี นการสอน อุปกรณ์กีฬา เครื่องเด็กเล่น หอ้ งนำ้ หอ้ งส้วม ห้องครัว และอุปกรณ์ โรงอาหาร สถานที่ รับประทานอาหาร และอน่ื ๆ ทีค่ รู นักเรียน อย่รู ว่ มกันและมพี ื้นที่สัมผัส 1.1.2 ใหค้ ณะครตู รวจสอบอ่างล้างมือใหม้ ีเพียงพอ อยู่ในสภาพดพี ร้อมใชง้ าน รวมถึงสบู่ลา้ งมือ ท่เี พยี งพอ 1.2 มาตรการวันเปิดภาคเรยี น 1.2.1 ใหค้ รูประจำชั้นจัดทำประวตั ินกั เรยี นและครอบครวั เกี่ยวกับสขุ ภาพ ความเป็นอยู่ใน ครอบครวั ความเจ็บป่วย โรคประจำตวั และการมีโอกาสสัมผัสผู้ตดิ เช้อื ไวรสั โคโรนา 2019 (โควดิ - 19) หรือ โรคติดต่ออ่นื ๆ หรือไปอย่ใู นพืน้ ที่เสยี่ งมาก่อนในวันเปดิ เรียน 1.2.2 ใหค้ รูเวรประจำวัน สภานกั เรยี น รว่ มกันคัดกรองเด็กนักเรยี นบรเิ วณทางเขา้ -ออกของโรงเรียน ด้วยการดจู ากอาการเบ้ืองต้นและใช้เคร่ืองวดั อุณหภมู ริ ่างกาย พรอ้ มทำสัญลักษณน์ กั เรียนที่ ผา่ นการคดั กรอง เช่น ตดิ สติกเกอร์ ตราปมั๊ หรอื อื่น ๆตามความเหมาะสมและหากพบวา่ มเี ด็กมอี าการปว่ ย มีไข้ ไอ จาม มนี ้ำมูก หายใจเหนื่อย หอบ ใหผ้ ปู้ กครองนำนกั เรียนกลับ แล้วพาไปพบแพทย์ 1.2.3 ให้คณะครูจัดเตรยี มอุปกรณล์ า้ งมือ เช่น เจลแอลกอฮอล์ไว้บรเิ วณทางเขา้ สถานท่ีลา้ งมือดว้ ย สบ่แู ละน้ำ ให้อยู่ในสภาพใชง้ านได้ดีและสง่ เสรมิ ใหล้ ้างมือเปน็ ประจำด้วยนำ้ และสบู่ 1.2.4 ให้คณะครูทำความสะอาดและฆา่ เช้อื พ้ืนผวิ โรงเรยี นทกุ วนั อยา่ งน้อย วนั ละ 3 คร้ัง โดยเฉพาะพืน้ ผวิ ทีห่ ลายคนสัมผสั เช่น ราวบนั ได โต๊ะอาหาร อุปกรณ์กีฬา ทีจ่ บั ประตู หน้าตา่ ง ของเลน่ เครื่องชว่ ยสอน อุปกรณ์การเรียน 1.2.5 ให้คณะครูจัดจุดเวน้ ระยะหา่ งระหว่างบุคคลอยา่ งน้อย 1 เมตร เช่น การเขา้ แถวหนา้ เสาธง การนงั่ เรียนในห้องเรยี น ห้องประชุม โรงอาหาร 1.2.6 ให้คณะครูลดความแออัดของเดก็ นกั เรยี น เช่น ให้เหลื่อมเวลาช่วงรับประทานอาหาร ดงั น้ี นักเรยี นชน้ั อนบุ าลรบั ประทานอาหารที่อาคารอนบุ าล เวลา 11.30-12.00 น. และ 12.00-12.30น. นกั เรียนชน้ั ประถมศึกษาปที ่ี1-3 รับประทานอาหารที่อาคาร ป.1-3 เวลา 11.30น.-12.00 น. นักเรยี นชนั้ ประถมศึกษาปีท่ ่ี 4-5 รบั ประทานอาหารที่โรงอาหาร เวลา 11.50 น.-12.15น. นักเรยี นชนั้ ประถมศึกษาปท่ี ี่ 6 รบั ประทานอาหารทโ่ี รงอาหาร เวลา 12.00 น.-12.25น. นักเรียนช้ันมัธยมศกึ ษาปีท่ี 1 รับประทานอาหารที่โรงอาหารเวลา 12.10 น.-12.30 น. นักเรียนชั้นมธั ยมศกึ ษาปีที่ 2-3 รับประทานอาหารท่ีโรงอาหาร เวลา 12.30น.-13.00น. และยกเลิกกิจกรรมท่มี ีการสมั ผสั และใกลช้ ดิ กนั

5 2. มาตรการการป้องกนั ของผ้ปู กครอง 2.1 หากบตุ รหลานมอี าการเจ็บปว่ ย มีไข้ ไอ จาม มีน้ำมกู หรือเหน่ือยหอบให้พาไปพบแพทย์และหยดุ เรยี น จนกวา่ อาการจะหายดี หรือกลบั จากพ้นื ทเ่ี ส่ียงและอยู่ใน ช่วงกกั กนั ใหห้ ยุดเรยี น 14 วนั และปฏิบัติตามคำแนะนำ ของแพทย์อย่างเคร่งครดั 2.2 ผู้ปกครองแจง้ ใหส้ มาชิกในครอบครัวล้างมอื ด้วยสบู่และนำ้ ก่อนรบั ประทานอาหาร หลงั ใชส้ ้วม และ หลกี เลีย่ งการใช้ มือสัมผัสใบหน้า ตา ปาก จมกู โดยไมจ่ ำเปน็ และสรา้ งสขุ นสิ ยั ใหบ้ ุตรหลานอาบน้ำหลงั กลบั จาก โรงเรียน หลงั เล่น กับเพื่อน และหลังกลับจากนอกบ้าน 2.3 ผู้ปกครองไม่ควรพาบตุ รหลานไปในสถานท่ีแออัดหรือสถานที่ ทีม่ ีการรวมกันของคนจำนวนมาก หาก จำเป็นควรให้สวม หนา้ กากอนามัย 2.4 การเดินทางมารับ-สง่ นักเรยี น ทางโรงเรียนไดจ้ ัดจดุ บริการรบั -ส่งนกั เรียนเฉพาะท่ีไว้ให้ จึงขอความ ร่วมมือใหผ้ ู้ปกครองใส่หนา้ กากอนามยั ทุกครง้ั ท่ีมาส่ง-รับ และทำตามกฎระเบียบของโรงเรยี น เวลารับ - ส่งนกั เรยี น เวลาเลกิ เรียน ชนั้ อนุบาล รับนกั เรียน เวลา 15.30 น. ช้นั ประถมศกึ ษาปที ี่ 1-ชัน้ มัธยมศึกษาปีท่ี 3 เวลา 16.00 น. 3. มาตรการป้องกันของนักเรียน 3.1 นกั เรยี นทกุ คนใหส้ วมหน้ากากอนามัยในบรเิ วณโรงเรียน 3.2 ถา้ นกั เรยี นมีไข้ ไอ จาม เปน็ หวัด หายใจเหนื่อยหอบ แจง้ ผู้ปกครองให้พาไปพบแพทย์และหยดุ เรยี น จนกวา่ อาการจะหาย 3.3 ให้นักเรยี นล้างมือด้วยสบู่และนำ้ บ่อย ๆ ก่อนรับประทาน อาหาร หลังใชส้ ว้ ม และหลีกเลีย่ งการใช้มือสมั ผสั ใบหน้า ตาปาก จมูก โดยไมจ่ ำเป็น อาบน้ำทันทีหลัง กลบั จากโรงเรยี น หลังเลน่ กับเพื่อน และหลังกลับจาก นอกบา้ น 3.4 ให้นกั เรียนจัดเตรยี มอปุ กรณ์เครื่องใชส้ ว่ นตัวเฉพาะบคุ คล เช่น หน้ากากผ้า ผ้าเช็ดหน้า แก้วน้ำ ช้อนส้อม ขวดน้ำ แปรงสฟี นั ยาสีฟัน ผ้าเชด็ มือ ฯลฯ 3.5 ให้นักเรียนหลีกเลยี่ งการเข้าไปในสถานที่แออดั หรือ สถานท่ที ีม่ ีการรวมกนั ของคนจำนวนมาก หากจำเปน็ ควรสวมหน้ากากอนามยั 3.6 ใหน้ ักเรยี นรกั ษาระยะห่าง การนงั่ เรยี น นั่งรบั ประทานอาหาร เลน่ กับเพอ่ื น อย่างน้อย 1 เมตร กำหนดเวลารับประทานอาหารกลางวนั ของนักเรียนในสถานการณ์โควดิ – 19 ระดับชัน้ จำนวน เวลารับประทานอาหาร สถานที่รบั ประทาน หมายเหตุ นกั เรยี น (คน) อาหาร อนบุ าล 2 11.30 น.– 12.00 น. อนุบาล 3 25 12.00 น.– 12.30 น. อาคารอนุบาล นกั เรียนทกุ คนต้องนำช้อน 18 11.30 น.– 12.00 น. ป.1 21 11.30 น..– 12.00 น. อาคารอนุบาล แกว้ น้ำ ผา้ เช็ดมอื ส่วนตัวมาใช้ ป.2 35 11.30 น.– 12.00 น. ป.3 26 11.50 น.– 12.15 น. ใตถ้ นุ อาคาร ป.1 ทุกวัน ใชถ้ าดหลุมของ ป.4 32 11.50 น. – 12.15 น. ห้องเรยี น ป.2 โรงเรยี นและเทเศษอาหารทิ้ง ป.5 29 12.00 น. – 12.25 น. ห้องเรยี น ป.3 ในทท่ี ่ีกำหนด พร้อมทัง้ ลา้ งทำ ป.6 33 12.10 น. – 12.30 น. ความสะอาดก่อนนำตากแดด ม.1 41 12.30 น. – 13.00 น. โรงอาหาร หลงั รับประทานทุกครั้ง ม.2 37 12.30 น. – 13.00 น. (พรอ้ มกนั ) (ครูประจำชน้ั กำกบั ดูแล) ม.3 28 ระยะเวลา 1.30 ช่ัวโมง รวม 325 คน อาคารเรียน ป.6 โรงอาหาร โรงอาหาร (พร้อมกนั ) จุดรบั ประทาน 6 จุด

6 มาตรการและแนวปฏิบัติในสถานการณ์การแพรร่ ะบาดโรคไวรัส COVID – 19 บรเิ วณโรงอาหาร โรงเรยี นบ้านกลางนาเดือ่ 1. นักเรยี น ครู บุคลากร และผู้เขา้ มาใช้บริการโรงอาหารต้องล้างมือ ณ จดุ ทก่ี ำหนด ด้วยสบหู่ รือเจลแอลกอฮอร์ ทุกครง้ั (ใช้ผา้ เชด็ มือสว่ นตัว) 2. ทุกคนทเี่ ข้ามาในโรงอาหาร ตอ้ งสวมหนา้ กากผา้ หรือหน้ากากอนามยั ทกุ ครัง้ 3. ทุกคนที่เข้ามาใช้บริการโรงอาหาร ต้องเว้นระยะห่างระหว่างบุคคล อย่างน้อย 1-2 เมตร ในพื้นที่ต่าง ๆ เชน่ จุดรับอาหาร ที่นั่งรับประทานอาหาร จุดปฏิบัติงานร่วมกันของผู้สัมผัสอาหาร ตามที่โรงเรียนกำหนดไว้ตลอด ระยะเวลาทอี่ ยู่ในโรงอาหาร 4. นักเรียน ครูและบุคลากร เข้ารับประทานอาหารตามช่วงเวลาที่โรงเรียนกำหนด เพื่อลดความแออัดภายใน โรงอาหาร (ตามกำหนดเวลาทีโ่ รงเรยี นกำหนดอยา่ งเครง่ ครดั ) 5. ครูเวรประจำวันทำหน้าที่กำกับดูแลแม่ครัวในการจัดบริการอาหารโดยเน้นป้องกันการปนเปื้อนของเชื้อโรค เช่น อาหารปรุงสำเรจ็ สุกใหมท่ กุ ครงั้ ไม่ปรงุ อาหารคา้ งคืน 6. นักเรียนและแม่ครัว ทำความสะอาดภาชนะ อุปกรณ์และเครื่องใช้ในโรงครัวให้สะอาด ด้วยน้ำยาล้างจาน แล้วล้างด้วยน้ำสะอาดและผึ่งแดดให้แห้งก่อนนำมาใช้ใหม่หรือเก็บทุกครั้ง (โดยครูเวรประจำวันและครูประจำช้ัน กำกบั ดูแลอย่างเครง่ ครดั ) 7. แม่ครัว นักเรียน สภานักเรียนร่วมทำความสะอาดสถานที่ ปรุงและประกอบอาหาร โต๊ะและที่นั่งรับประทาน อาหาร ด้วยน้ำยาทำความสะอาดหรือน้ำยาฆ่าเชื้อโรค (โดยครูเวรประจำวัน ครูประจำชั้น และครูฝ่ายกิจกรรม นกั เรยี นกำกบั ดแู ลอยา่ งเครง่ ครัด) 8. สภานกั เรียนร่วมกบั ครูอนามัยโรงเรยี นและฝ่ายกิจการนักเรียน ประชาสมั พนั ธ์ให้ความรู้ภายในโรงอาหาร เช่น การสวมหน้ากากอนามยั ท่ีถกู วิธี ขนั้ ตอนการลา้ งมือที่ถกู ตอ้ ง การเวน้ ระยะห่าง การลา้ งและจดั เก็บภาชนะ เปน็ ตน้

7 แผนการจัดการเรยี นการสอนของโรงเรียนบา้ นกลางนาเดอ่ื รปู แบบท่ี 2 การจัดการเรียนการสอนโดยใช้รปู แบบ ON-HAND การเรยี นทบ่ี ้านโดยหนังสือเรียนแบบฝกึ หัด (ON-HAND) โรงเรียนบ้านกลางนาเดื่อ จดั การเรยี นการสอนตามแนวทางท่ีกระทรวงศึกษาธกิ ารกำหนด คอื จดั การเรียน การสอนแบบ On-Hand เรยี นทีบ่ า้ นโดยหนงั สือเรยี นแบบฝึกหัด ครูประจำช้นั จดั ทำใบงาน และใบความรู้ ที่ สอดคลอ้ งกับเนื้อหาท่เี รียน เพ่ือแจกใบงาน ใบความรู้ ตามบ้านของนักเรียน และมกี ารติดตามให้คำแนะนำ ชว่ ยเหลอื ผู้เรียนท่ีบา้ นอยา่ งใกลช้ ิด แนวทางการจัดการเรียนการสอนโดยใช้รูปแบบ ON-HAND ระดบั ปฐมวยั กรณีนักเรียนทส่ี ามารถเรียนท่บี ้านได้ (Learn from home) แนวทางปฏบิ ัติสำหรับครู 1) ศึกษาแผนการจัดประสบการณก์ ารเรียนรู้ ส่ือ ใบงาน จากหนงั สอื เรียนแบบฝึกหัด 2) เตรียมสอ่ื /ใบงาน และอปุ กรณ์ ให้นักเรียน 3) ตรวจเยี่ยมบา้ นของนักเรยี น เพือ่ พดู คยุ ให้คำปรึกษา จัดเกบ็ ชิ้นงานของนักเรียน กลับมาตรวจ และ กระตนุ้ ผู้ปกครอง อย่างน้อยสัปดาห์ละ 1 ครั้ง 4) วิเคราะห์ผลการตรวจเยี่ยมบ้าน เพอื่ นาํ มาทบทวนและจัดทำเอกสาร/สอ่ื เพม่ิ เตมิ ตามบรบิ ทของนักเรียน รายบุคคล 5) ออกแบบการประเมนิ ผลตามบรบิ ท ของนักเรียนรายบคุ คล แนวทางปฏิบตั ิสำหรับผู้ปกครอง 1) เตรียมสือ่ /ใบงาน ที่ได้รับจากครู (กรณีผูป้ กครองมคี วามพรอ้ ม) 2) กำกับ ดูแลการจดั ประสบการณ์ การเรยี นรู้ ผ่านชอ่ งทางต่าง ๆ ตามช่วงเวลาแตล่ ะวันให้เหมาะสม 3) รับ-ส่งชิ้นงานของนักเรยี น ตามการนัดหมาย 4) รอรบั การประเมินผลจากครู ในขณะตรวจเยี่ยมบ้าน 5) ปฏบิ ตั ิตามคำแนะนําของครู ในการจัดประสบการณ์การเรยี นรู้ แนวทางการจัดการเรยี นการสอนโดยใชร้ ูปแบบ ON-HAND ระดับประถมศึกษา กรณีนกั เรียนท่สี ามารถเรียนท่บี า้ นได้ (Learn from home) แนวทางปฏิบัตสิ ำหรับครู 1) ศกึ ษาแผนการสอน ใบงานตา่ ง ๆ และเตรยี ม เอกสารสำหรับนกั เรียน 2) จัดทำและจดั สง่ เอกสารการจดั การเรียนรู้ สำหรับนักเรียนเปน็ รายบคุ คล 3) ตรวจเยีย่ มบา้ นนกั เรียน เพือ่ พดู คุย ให้คำปรึกษาแกผ่ ู้ปกครอง และรับ-สง่ เอกสารการจดั การเรยี นรู้ ใบงาน อ่นื ๆ อย่างนอ้ ยสัปดาห์ละ 1 คร้ัง 4) วเิ คราะหผ์ ลการจัดการเรยี นการสอน การเย่ยี มบ้านและปญั หาตา่ ง ๆ เพื่อนาํ มาทบทวน ปรับปรงุ แก้ไข ตามบริบทของนักเรียนเปน็ รายบคุ คล

8 5) ออกแบบการวดั และประเมนิ ผล การเรียนรแู้ ละร่วมกบั ผู้ปกครอง ในการประเมินผลตามบรบิ ท ของนักเรียนรายบุคคล 6) ร่วมมือกบั ผปู้ กครองหาแนวทางแก้ไข ปัญหาการจดั การเรยี นรู้สำหรับนกั เรียน แนวทางปฏิบตั สิ ำหรับผปู้ กครอง 1) ศกึ ษาและจัดเตรียมเอกสาร ใบงาน สอ่ื อปุ กรณ์การเรยี น ใหแ้ ก่นักเรียน 2) สนับสนนุ กำกับ ดแู ลการเรียนของนักเรยี น ตามชอ่ งทางการเรียนสำหรบั นกั เรยี นขณะอยู่ที่บ้าน ตามศกั ยภาพ และบริบทของครอบครัว 3) ประสานงานกบั ครใู นการรับ-สง่ เอกสารการจดั การเรียนรู้ ใบงาน อ่ืน ๆ ของนักเรยี น 4) รอรบั การตรวจเย่ยี มบา้ นจากครู 5) รว่ มกบั ครปู ระเมินผลการเรียนของนักเรยี น 6) รว่ มมอื กบั ครหู าแนวทางแกไ้ ข ปญั หาการจัดการเรียนรู้สำหรับนกั เรียน แนวทางการจัดการเรียนการสอนโดยใช้รปู แบบ ON-HAND ระดบั มัธยมศึกษาตอนต้น กรณนี กั เรยี นท่ีสามารถเรียนทบี่ า้ นได้ (Learn from home) แนวทางปฏิบตั ิสำหรับครู 1) ศกึ ษาแผนการสอน ใบงาน และเตรยี มเอกสาร สำหรบั นักเรียน 2) จดั ทำและจัดส่งเอกสารการจดั การเรียนรู้ ระดบั มัธยมศึกษาตอนต้น สำหรบั นกั เรยี น เป็นรายบคุ คล 3) ตรวจเยย่ี มบ้านนกั เรียน เพ่อื พดู คยุ ให้คำปรึกษาแกผ่ ูป้ กครอง และรบั -ส่ง เอกสารการจัดการเรียนรู้ ใบงาน อน่ื ๆ อยา่ งน้อยสัปดาห์ละ 1 ครัง้ 4) วิเคราะห์ผลการจัดการเรียนการสอน การเย่ียมบ้าน และปัญหาต่าง ๆ เพ่ือนํามาทบทวน ปรบั ปรุงแกไ้ ข ตามบรบิ ทของนักเรียนรายบุคคล 5) ออกแบบการวัด และประเมนิ ผล การเรยี นรู้ รว่ มกับผู้ปกครองประเมินผล การเรยี นรู้ตามบริบทของนักเรยี น เปน็ รายบคุ คล 6) ร่วมมือกับผปู้ กครอง หาแนวทางแก้ไข ปญั หาการจัดการเรยี นรู้สำหรับนักเรยี น แนวทางปฏิบัติสำหรับผปู้ กครอง 1) รอรับการตรวจเยี่ยมบ้านจากครู 2) สนบั สนนุ การจดั การเรยี นรู้ ของนกั เรียนขณะอยูท่ ีบ่ า้ น ตามศักยภาพและบรบิ ทของครอบครัว 3) กระตุ้นนกั เรียนในการเรยี นท่บี ้าน (Learn from home) เอกสารการเรียนรู้ ใบงานต่าง ๆ ทใี่ ชใ้ นการจดั การเรยี นรู้ สำหรับนักเรยี น และรายงานตวั ก่อนเรียนกบั ครู ผ่านช่องทาง การสื่อสารตามนัดหมาย 4) เขา้ รว่ มช่องทางการส่ือสารกับ ครู เช่น โทรศพั ท์ ไลน์ (Line) เฟซบุ๊ค (Facebook) หรือชอ่ งทางอน่ื ๆ ตามนดั หมาย 5) ตรวจสอบ ตดิ ตามการเรียนรขู้ องนักเรยี น และรบั -ส่งแฟ้มงานนักเรียนตามการนัดหมาย 6) รว่ มกบั ครปู ระเมนิ ผลการเรยี นร้ขู องนักเรยี น 7) ร่วมมอื กบั ครูหาแนวทางแก้ไข ปญั หาการจดั การเรียนรู้ สำหรบั นักเรียน

แผนการจดั การเรยี นการสอนข รูปแบบท่ี 3 การจัดการ แนวทางการจัดการเรียนการสอนท 1. การจัดการเรยี นการสอนทางไกล ใช้สื่อวีดิทัศน์การเรยี นการสอนของมูลนิธิการศ ของนักเรียน และให้ถือว่าการจัดการเรียนการสอนทางไกลเป็นช่องทางสนับ ออกแบบการเรียนการสอนเองได้ตามความเหมาะสม 2. ช่องทางการเรียนที่บา้ น (Learn from home) ผา่ นช่องทาง DLTV โดยสา (1) Mobile Application: DLTV (2) Youtube : DLTV Chann หมายเหตุ : 1. กระทรวงศึกษาธิการกาํ หนดหลักเกณฑ์ว่าด้วยความรู้ข้นั ต่ำที่ส กําหนดเง่ือนไขในการบริหารหลักสูตรรวมถึงการวัดและประ ในสถานการณก์ ารแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 โรงเรยี น ช่วยเหลือครใู นการจัดการเรียนรู้ภายใตส้ ถานการณ์โควิด 2. สาํ นักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพน้ื ฐาน กระทรวงศึกษาธิก ลอกเลยี นคาํ ตอบ/การรับจา้ งทาํ การบา้ นออนไลน์ เปน็ ต้น

ของโรงเรยี นบ้านกลางนาเด่อื รเรียนการสอนทางไกล ทางไกล ระดบั ปฐมวัย ที่สว่ นกลางจัดให้ ศึกษาทางไกลผ่านดาวเทียม ในพระบรมราชูปถมั ภ์ สําหรับการรับชมต้องคํานึงถึงสุขภาวะ บสนุนเทา่ นั้น ไม่สามารถใช้ทดแทนการเรียนการสอนได้ทัง้ หมด ทั้งนี้ โรงเรียนสามารถ ามารถเลือกชมได้ 3 ช่องทาง ได้แก่ nel (3) www.dltv.ac.th (DLTV 10 – 12) สามารถยอมรับได้ สําหรับรองรับการจัดการเรียนรู้ในความปกติใหม่ (New Normal) ะเมินผลในสถานะการพิเศษ พร้อมท้ังจัดให้มี ศูนย์เฉพาะกิจการจัดการศึกษาทางไกล 9 (COVID-19) ของสาํ นักงานเขตพื้นทกี่ ารศึกษา เพื่อกาํ กับ ตดิ ตาม และแกไ้ ขปญั หารว่ มกบั ด การ มนี โยบายต่อตา้ นการทจุ ริตทางการศึกษา โดยเฉพาะอย่างย่ิงในสถานการณ์พิเศษ เช่น 9

3. แนวทางปฏิบัติสำหรบั ครูและผูป้ กครอง 3.1 การจัดการเรยี นการสอนทางไกลตามแนวทางทสี่ ว่ นกลางจัดให้ กรณีนักเรียนทส่ี ามารถเรยี นทบ่ี า้ นได้ (Learn from home) แนวทางปฏิบตั ิสำหรับครู แนวทางปฏิบัติสำหรับผู้ปกครอง 1) ศึกษาแผนการจัดประสบการณ์การเรียนรู้ 1) เตรียมสื่อ/ใบงาน ส่ือ ใบงาน ของ DLTV (www.dltv.ac.th) ที่ไดร้ ับจากครู 2) เตรียมสอื่ /ใบงาน และอุปกรณ์ ใหน้ ักเรยี น (กรณผี ปู้ กครองมคี วามพร้อม) 3) ตรวจเย่ียมบ้านของนักเรียน เพื่อพูดคุย 2) กํากับ ดแู ลการจัดประสบการณ ใหค้ าํ ปรึกษา จดั เก็บชน้ิ งานของนักเรยี น การเรยี นรู้ ผา่ นช่องทางตา่ ง ๆ กลบั มาตรวจ และกระตุน้ ผูป้ กครอง ตามชว่ งเวลาแตล่ ะวนั ให้เหมาะสม อยา่ งน้อยสปั ดาหล์ ะ 1 ครงั้ กบั นักเรยี นและผปู้ กครอง 4) วิเคราะหผ์ ลการตรวจเย่ยี มบ้าน เพอ่ื นาํ มา 3) รบั -ส่งช้ินงานของนักเรยี น ทบทวนและจัดทาํ เอกสาร/ส่ือ เพมิ่ เติม ตามการนดั หมาย ตามบริบทของนักเรยี นรายบุคคล 4) รอรับการประเมินผลจากครู 5) ออกแบบการประเมนิ ผลตามบริบท ในขณะตรวจเย่ียมบ้าน ของนักเรียนรายบคุ คล 5) ปฏบิ ัติตามคําแนะนําของครู ในการจัดประสบการณ์การเรียนร

กรณีนกั เรยี นท่ีไมส่ ามารถเรยี นท่บี า้ นได้ท้งั 3 ช่องทาง แนวทางปฏิบัติสำหรับครู แนวทางปฏิบตั ิสำหรับผูป้ กครอง 1) ศึกษาแผนการจัดประสบการณ์การเรยี นรู้ 1) รอรับการตรวจเย่ียมบ้านจากครู ส่ือใบงาน ของ DLTV (www.dltv.ac.th) 2) สนบั สนุนการจัดประสบการณ์ เพอื่ ออกแบบวางแผนการจดั ประสบการณ์ การเรียนรสู้ าํ หรับนักเรียน ณ์ การเรยี นรู้ให้เหมาะสมกับนักเรียน ขณะอยู่ท่ีบ้านตามศักยภาพ 2) เตรยี มสอ่ื ใบงาน ส่งไปให้นักเรียน และบรบิ ทของครอบครวั สม 3) ตรวจเย่ยี มบา้ นนักเรียน พร้อมรับ-ส่ง 3) กํากับ ดูแลใหน้ กั เรยี น เอกสารให้ผู้ปกครอง เพ่ือให้ คาํ ปรึกษา ทาํ แบบฝกึ หัด ใบงาน ช้นิ งาน และกระตุ้นผปู้ กครอง ภาระงาน ดว้ ยตนเองขณะอยู่ อย่างน้อยสปั ดาหล์ ะ 1 ครัง้ ท่ีบา้ น โดยคอยให้คําแนะนาํ 4) วเิ คราะห์ผลการตรวจเยี่ยมบ้าน กาํ กบั ดูแล และให้ความ เพื่อนาํ มาทบทวนและจัดทําเอกสาร ส่ือ ช่วยเหลอื อย่างใกลช้ ดิ เพิม่ เติมตามบรบิ ทของนกั เรยี นรายบคุ คล 4) รับ–สง่ แฟ้มงานนักเรยี น รู้ 5) ออกแบบการประเมนิ ผลตามบรบิ ท และสื่อสารกับครูตามการนัดหมาย ของนักเรียนรายบคุ คล 5) ใหค้ วามร่วมมือกบั ครู หาแนวทางแก้ไขปัญหา การจดั ประสบการณ์การเรียนรู้ สาํ หรบั นักเรยี น 10

3.2 กรณจี ดั การเรียนการสอนท่โี รงเรยี น กรณีท่ไี ด้รับการอนุญาตจากศูนย์บริหารสถานการณ์การแพรร่ ะบาดขอ ในการจดั การเรยี นการสอนแบบปกตเิ รียนที่โรงเรยี น โดยใหป้ ฏิบัติตามมาตรการแล ดังนัน้ หากมนี กั เรียนจํานวนนอ้ ย และมีพ้ืนทเ่ี พยี งพอ กส็ ามารถจดั การเรียนการสอ หากนักเรียนจำนวนมาก หรือมีพนื้ ท่ไี ม่เพียงพอสำหรบั การเรยี นตา Normal) ต้องจัดการเรียนการสอนแบบผสมผสานระหวา่ งการเรียนท่โี รงเรยี น (O (ONLINE) การเรียนผา่ น Application (ON - DEMAND) การเรียนท่ีบ้านโดยหนงั โดยครูต้องคํานงึ ถงึ การจัดทําขอ้ สอบคู่ขนาน (Parallel Examination) เพ่อื ความย กรณีนักเรยี นที่สามารถเรียนท่ีบ้านได้ (Learn from home) แนวทางปฏิบตั ิสำหรับครู แนวทางปฏิบัติสำหรับผ้ปู กครอง 1) ทบทวนข้อมลู จากระบบดูแลช่วยเหลือ 1) ประสานงานกับครใู นการเตรีย นักเรยี น และระบบจัดเกบ็ ข้อมลู นกั เรยี น ความพร้อมในการจัด รายบุคคล (Data Management Center) ประสบการณ์การเรยี นรู้สําหร 2) ศึกษาแนวทางการจัดการเรียนการสอนทางไกล นกั เรยี น 3) ศึกษาและประยุกตใ์ ชแ้ ผนการจัด 2) สนับสนุนนกั เรยี นในระหว่าง ประสบการณ์การเรยี นรู้ สื่อ ใบงาน การจดั ประสบการณ์การเรีย ของ DLTV (www.dltv.ac.th) ตามชอ่ งทางการเรยี น 4) จดั ทําแผนการจดั ประสบการณ์การเรียนรู้ ตามศกั ยภาพและบริบท และตารางสอนแบบความปกติใหม่ ของครอบครวั (New Normal) 3) กรณที ีผ่ ู้ปกครองมีความสามาร 5) จดั ทาํ และจัดสง่ เอกสารการจัดประสบการณ์ ชว่ ยจดั ประสบการณ์การเรียนร การเรยี นรู้ สาํ หรบั ผปู้ กครองและนกั เรยี น ผู้ปกครองสามารถวางแผน แบบความปกติใหม่ (New Normal) จัดประสบการณก์ ารเรียนรู้ 6) วางแนวทางติดต่อประสานงานในระยะยาว รว่ มกับครู กับผู้ปกครอง และติดตามผลเป็นระยะตาม กําหนด

องโรคติดเช้ือไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) จังหวดั (ศบค. จังหวัด) ละแนวทางการดําเนินงานเพ่ือการเฝ้าระวงั ป้องกนั และควบคมุ โรคตดิ เชอ้ื ไวรสั โคโรนา อนตามปกติได้ ามมาตรการ การเว้นระยะห่างทางสังคม (Social Distancing) / ความปกติใหม่ (New ON - SITE) การเรียนผ่าน DLTV (ON - AIR) การเรยี นออนไลนผ์ ่านระบบ อินเทอรเ์ นต็ งสือเรียนแบบฝกึ หดั (ON - HAND) ให้นักเรียนสลบั กันมาเรยี นและมาสอบ ทโี่ รงเรียนได้ ยุตธิ รรมสําหรับผ้เู ข้าสอบ กรณีนกั เรยี นท่ีไมส่ ามารถเรยี นทบ่ี ้านไดท้ ั้ง 3 ชอ่ งทาง ง แนวทางปฏิบัติสำหรับครู แนวทางปฏิบัติสำหรับผู้ปกครอง ยม 1) ทบทวนข้อมลู จากระบบดูแลช่วยเหลือ 1) ประสานงานกบั ครู นักเรียนและระบบจัดเก็บข้อมูลนักเรยี น ในการเตรียมความพร้อม รับ รายบคุ คล (Data Management Center) การจดั ประสบการณ์การเรยี นรู้ 2) ศึกษาแนวทางการจัดการเรยี นการสอนทางไกล สาํ หรับนักเรยี น 3) ศึกษาและประยุกตใ์ ช้แผนการจดั 2) สนับสนนุ นักเรยี นให้เรียนรู้ ยนรู้ ประสบการณ์การเรียนรู้ สื่อ และใบงาน ตามศักยภาพและบริบท ของ DLTV (www.dltv.ac.th) ของครอบครัว 4) จดั ทาํ แผนการจดั ประสบการณ์การเรยี นรู้ 3) กรณีทผ่ี ู้ปกครองมีความสามารถ และตารางสอนตามมาตรการ ชว่ ยจดั การเรียนการสอนได้ รถ ความปกติใหม่ (New Normal) ผู้ปกครองสามารถวางแผน นรไู้ ด้ กลุ่มท่ี 1 นักเรยี นท่ผี ้ปู กครองไม่ จัดประสบการณ์การเรียนรู้ สามารถดแู ลได้ ให้มาเรยี นท่ีโรงเรียน ร่วมกบั ครู กล่มุ ท่ี 2 นักเรยี นที่ผปู้ กครองสามารถ ดูแลได้ ให้มาเรียนท่โี รงเรยี น โดยใชว้ ธิ ี การสลับกันมาเรยี น 11

กรณนี กั เรยี นทสี่ ามารถเรยี นท่ีบา้ นได้ (Learn from home) แนวทางปฏิบัติสำหรับครู แนวทางปฏิบตั ิสำหรับผปู้ กครอง 7) ออกแบบการประเมินพัฒนาการตามบรบิ ท และบันทึกผลการประเมิน

กรณีนกั เรียนทไี่ ม่สามารถเรยี นทบี่ ้านไดท้ ้งั 3 ชอ่ งทาง ง แนวทางปฏิบตั ิสำหรับครู แนวทางปฏิบัติสำหรับผู้ปกครอง 5) จัดส่งเอกสารการจดั ประสบการณ์ การเรยี นรสู้ าํ หรับนักเรียน ให้แก่ ผูป้ กครอง 6) วางแผนร่วมกับผูป้ กครองในการจัด ประสบการณ์การเรยี นรู้ และติดตาม ผลการเรยี นเป็นระยะตามกําหนด 7) ออกแบบการประเมินพัฒนาการ ของนักเรียน 12

การจัดการเรียนการสอนทางไกล 1. การจดั การเรียนการสอนทางไกล ใช้สื่อวีดิทัศน์การเรียนการสอนของมูลน สขุ ภาวะของนักเรยี น และให้ถอื วา่ การจดั การเรียนการสอนทางไกล เปน็ ช สามารถออกแบบการเรียนการสอนเองไดต้ ามความเหมาะสม 2. ช่องทางการเรยี นทบ่ี า้ น (Learn from home) เลือกชมได้ 3 ชอ่ งทาง ไ (1) Mobile Application : DLTV (2) Youtube : DLTV C หมายเหตุ 1. สํานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพ้ืนฐาน จัดให้มีศูนย์เฉพาะ 2019 (COVID-19) ของสาํ นักงานเขตพื้นทก่ี ารศกึ ษา เพื่อกํากบั ติด 2. สาํ นักงานคณะกรรมการการศึกษาข้ันพ้ืนฐาน กระทรวงศึกษาธิการ ลอกเลยี นคาํ ตอบ การรบั จ้างทําการบ้านออนไลน์ เปน็ ตน้ 3. รายการออกอากาศการจดั การเรียนการสอนวิชาวิทยาศาสตร์และค ทีน่ ํามาออกอากาศ อ้างอิงตามหลักสตู รแกนกลางการศึกษาข้นั พ้นื

ล ระดับประถมศกึ ษา ท่สี ่วนกลางจดั ให้ นธิ ิการศึกษาทางไกลผ่านดาวเทียม ในพระบรมราชูปถัมภ์ สําหรับการรบั ชมต้องคํานงึ ถึง ชอ่ งทางสนบั สนนุ เทา่ น้นั ไมส่ ามารถใช้ทดแทนการเรียนการสอนได้ท้งั หมด ทง้ั นี้ โรงเรียน ไดแ้ ก่ (3) www.dltv.ac.th (DLTV 1 – 6) Channel ะกิจการจัดการศึกษาทางไกล ในสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา ดตาม และแก้ไขปัญหาร่วมกับโรงเรียน ชว่ ยเหลอื ครใู นการจัดการเรยี นรู้ ร มีนโยบายต่อต้านการทจุ ริตทางการศึกษา โดยเฉพาะอย่างยิ่งในสถานการณ์พิเศษ เช่น คณิตศาสตร์ ชนั้ ประถมศกึ ษาปีท่ี 3 ชนั้ ประถมศึกษาปีที่ 6 และชั้นมัธยมศึกษาปที ี่ 3 นฐาน พ.ศ. 2551 13

3. แนวทางปฏิบัติสำหรับครูและผูป้ กครอง 3.1 การจัดการเรียนการสอนทางไกลตามแนวทางท่สี ่วนกลางจัดให้ กรณีสำหรบั นักเรียนทีส่ ามารถเรยี นทบ่ี ้านได้ (Learn from home) แนวทางปฏิบัติสำหรับครู แนวทางปฏิบตั ิสำหรับผู้ปกครอง 1) ศึกษาแผนการสอน ใบงานต่าง ๆ และเตรียม 1) ศึกษาและจัดเตรียมเอกสาร เอกสารสาํ หรบั นักเรียน ใบงาน ส่ือ อปุ กรณ์การเรยี น และศึกษาการเรยี น ใหแ้ กน่ กั เรียน การสอนลว่ งหนา้ จากเว็บไซต์ของ DLTV 2) สนบั สนุน กาํ กับ ดแู ลการเรียน (www.dltv.ac.th) ของนักเรียน ตามชอ่ งทาง 2) จดั ทาํ และจัดส่งเอกสารการจดั การเรยี นรู้ การเรยี นการสอนทางไกล สําหรบั นักเรียนเปน็ รายบุคคล สําหรบั นกั เรียนขณะอยู่ทบี่ า้ น 3) ตรวจเยยี่ มบ้านนักเรยี น เพื่อพดู คุย ตามศักยภาพ และบริบทของ ใหค้ ําปรกึ ษาแกผ่ ปู้ กครอง และรับ-สง่ ครอบครวั เอกสารการจดั การเรียนรู้ ใบงาน อ่ืน ๆ 3) ประสานงานกบั ครใู นการรับ-ส่ง อยา่ งน้อยสัปดาหล์ ะ 1 ครงั้ เอกสารการจัดการเรยี นรู้ 4) วเิ คราะห์ผลการจดั การเรยี นการสอน ใบงาน อืน่ ๆ ของนักเรียน ทางไกล การเยยี่ มบ้านและปัญหาต่าง ๆ 4) รอรับการตรวจเยยี่ มบ้านจากค เพื่อนํามาทบทวน ปรบั ปรงุ แก้ไข 5) รว่ มกับครูประเมินผลการเรียน ตามบริบทของนักเรียนเปน็ รายบคุ คล ของนักเรยี น 5) ออกแบบการวดั และประเมนิ ผล 6) รว่ มมือกบั ครูหาแนวทางแกไ้ ข การเรยี นรู้และร่วมกับผู้ปกครอง ปัญหาการจัดการเรียนรู้สําหรบั ในการประเมินผลตามบรบิ ท นักเรยี น ของนักเรยี นรายบคุ คล 6) ร่วมมอื กับผู้ปกครองหาแนวทางแก้ไข ปัญหาการจดั การเรียนรู้สาํ หรบั นักเรียน

กรณีสำหรบั นักเรียนที่ไม่สามารถเรียนท่ีบ้านได้ท้ัง 3 ช่องทาง แนวทางปฏิบตั ิสำหรับครู แนวทางปฏิบัติสำหรับผปู้ กครอง 1) ศึกษาแผนการสอน ใบงานตา่ ง ๆและเตรยี ม 1) ศกึ ษาและเตรียมเอกสาร ใบงาน เอกสารสาํ หรับนักเรียน และศกึ ษาการเรยี น สอ่ื อุปกรณ์การเรยี น การสอนล่วงหน้าจากเว็บไซต์ของDLTV 2) สนบั สนุน กํากบั ดูแลการเรียน น (www.dltv.ac.th) เพื่อวางแผนการจัด ของนักเรียนขณะอย่ทู ีบ่ ้าน การเรยี นรู้ใหก้ ับนักเรียน ตามศกั ยภาพ และบริบท 2) จดั ทาํ และจัดสง่ เอกสารการจดั การเรยี นรู้ ของครอบครัว น สําหรบั นกั เรยี นเปน็ รายบคุ คล 3) รบั -สง่ เอกสารการจัดการเรยี นรู้ 3) ออกเยย่ี มบา้ นนกั เรียน สร้างความเขา้ ใจ ใบงาน อน่ื ๆ ของนกั เรยี น และขอความร่วมมือกับผปู้ กครอง 4) รอรบั การตรวจเย่ียมบ้านจากครู ง ในการจัดการเรียนรู้ และรบั -ส่งเอกสาร 5) ให้ความรว่ มกับครู การจัดการเรยี นรู้ ใบงาน อืน่ ๆ ในการประเมนิ ผลการเรียน อย่างน้อยสปั ดาห์ละ 1 ครัง้ ของนักเรยี น ครู 4) วเิ คราะหผ์ ลการจดั การเรยี นรู้ ของนกั เรยี น 6) รว่ มมอื กบั ครหู าแนวทางแก้ไข ผลจากการเยี่ยมบา้ น และปญั หาตา่ ง ๆ ปัญหาการจดั การเรยี นรู้ เพ่อื นํามาทบทวน ปรบั ปรงุ แก้ไข สาํ หรบั นักเรียน ตามบรบิ ทของนักเรียน รายบคุ คล บ 5) ออกแบบการวดั และประเมินผลการเรยี นรู้ และร่วมกับผูป้ กครองประเมินผล การเรยี นตามบริบทของนกั เรยี นรายบคุ คล 6) รว่ มมือกับผูป้ กครองหาแนวทางแก้ไข ปญั หาการจดั การเรยี นรู้สําหรับนกั เรียน 14

3.2 กรณจี ดั การเรยี นการสอนทีโ่ รงเรยี นได้ กรณีทไ่ี ด้รบั การอนุญาตจากศูนยบ์ รหิ ารสถานการณ์การแพรร่ ะบาดขอ ในการจัดการเรียนการสอนแบบปกติเรียนทโี่ รงเรยี น โดยใหป้ ฏิบัติตามมาตรการแล ดังนนั้ หากมนี ักเรียนจาํ นวนนอ้ ยและมพี น้ื ท่ีเพยี งพอ กส็ ามารถจัดการเรียนการสอน หากนกั เรียนจำนวนมาก หรือมีพน้ื ท่ีไม่เพียงพอสำหรบั การเรียนตา Normal) ต้องจัดการเรียนการสอนแบบผสมผสานระหวา่ งการเรยี นทโี่ รงเรยี น ( (ONLINE) การเรียนผ่าน Application (ON - DEMAND) การเรยี นท่บี ้านโดยหน โดยครูต้องคํานงึ ถงึ การจดั ทาํ ข้อสอบคูข่ นาน (Parallel Examination) เพอื่ ความย กรณีสำหรับนักเรียนทสี่ ามารถเรยี นท่บี ้านได้ (Learn from home) แนวทางปฏิบตั ิสำหรับครู แนวทางปฏิบตั ิสำหรับผู้ปกครอง 1) ทบทวนข้อมูลจากระบบดูแลช่วยเหลือ 1) รอรับการตรวจเยย่ี มบา้ นจากค นกั เรียนและระบบจัดเกบ็ ข้อมูลนกั เรยี น 2) สนับสนนุ การจดั การเรียนรู้ รายบคุ คล (Data Management Center) ท่บี า้ นตามศักยภาพและบริบท 2) ศึกษาแนวทางการจดั การเรยี นการสอนทางไกล ของครอบครัว 3) ดาวนโ์ หลด ศกึ ษาแผนการสอน เตรยี ม 3) เตรยี มช่องทางในการเรียนรทู้ ่บี ้า เอกสารการเรยี นรู้ ใบงานตา่ ง ๆ (Learn from home) เอกสาร สําหรับนกั เรียน และศึกษาการเรียนการสอน การเรยี นรู้ ใบงานต่าง ๆ ลว่ งหน้าในเว็บไซตข์ อง DLTV ทีใ่ ช้ในการจัดการเรยี นรู้ (www.dltv.ac.th) สําหรับนักเรียน 4) ศึกษาชอ่ งทางในการเรียนรทู้ ีบ่ ้าน (Learn 4) เข้ารว่ มชอ่ งทางการส่ือสารกบั คร from home)และวิธีการใช้งาน เช่น โทรศพั ท์ ไลน์ (Line) เฟซบ 5) สํารวจขอ้ มลู นักเรยี น เพ่อื เตรยี มความพร้อม (Facebook) หรือ ช่องทางอ่นื วางแผนการจัดการเรยี นการสอนทางไกล ตามการนัดหมาย ผ่านชอ่ งทางในการเรียนรู้ ท่บี า้ น และ 5) แนะนาํ นักเรียนรายงานตัว แบง่ กลุ่มสลบั นักเรยี นมาเรียนทโี่ รงเรยี น ก่อนเริ่มจดั การเรียนร้กู ับครู ผา่ นชอ่ งทางการสื่อสาร

องโรคติดเชื้อไวรัสโคโรน่า 2019 (COVID - 19) จังหวัด (ศบค. จงั หวัด) ละแนวทางการดําเนินงานเพ่ือการเฝ้าระวัง ป้องกัน และควบคุมโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา นตามปกติได้ ามมาตรการ การเวน้ ระยะหา่ งทางสังคม (Social Distancing) / ความปกติใหม่ (New (ON-SITE) การเรียนผา่ น DLTV (ON-AIR) การเรียนออนไลน์ผา่ นระบบอนิ เทอร์เนต็ นงั สือเรียนแบบฝกึ หัด (ON - HAND) ใหน้ ักเรียนสลบั กนั มาเรยี นและมาสอบทโี่ รงเรียนได้ ยตุ ธิ รรมสาํ หรับผู้เขา้ สอบ กรณีสำหรบั นักเรียนทไี่ ม่สามารถเรียนที่บ้านได้ท้ัง 3 ช่องทาง แนวทางปฏิบัติสำหรับครู แนวทางปฏิบตั ิสำหรับผู้ปกครอง ครู 1) ทบทวนข้อมูลจากระบบดูแลช่วยเหลือ 1) รอรบั การตรวจเยี่ยมบา้ นจากครู นกั เรียนและระบบจัดเก็บข้อมูลนักเรียน 2) สนับสนนุ การจัดการเรยี นรู้ รายบุคคล (Data Management Center) สาํ หรบั นักเรยี นขณะอย่ทู บ่ี า้ น 2) ศึกษาแนวทางการจัดการเรยี นการสอนทางไกล ตามศักยภาพและบรบิ ท าน 3) ดาวนโ์ หลด ศึกษาแผนการสอน ของครอบครวั เตรียมเอกสารการเรียนรู้ ใบงานต่าง ๆ 3) เข้าร่วมชอ่ งทางการสอ่ื สาร สําหรับนักเรยี น และศึกษาการเรียนการสอน กบั ครู ตามทไี่ ดน้ ัดหมาย ล่วงหนา้ ในเวบ็ ไซตข์ อง DLTV 4) รับ–ส่งแฟ้มงานนักเรียน (www.dltv.ac.th) เพือ่ วางแผน และสื่อสารกบั ครตู ามการนัดหมาย รู การเรียนรู้ ท่เี หมาะสมสาํ หรบั นักเรียน 5) รว่ มกบั ครปู ระเมนิ ผล บุ๊ค ขณะเรยี นรู้อย่ทู ่บี ้าน การเรียนรูข้ องนักเรียน ๆ 4) จดั ใหน้ ักเรยี นมาเรยี นท่ีโรงเรยี น 6) รว่ มมือกับครูหาแนวทางแกไ้ ข โดยตอ้ งปฏบิ ตั ติ ามมาตรการ ปญั หาการจัดการเรยี นรู้ การเวน้ ระยะหา่ งทางสังคม สําหรับนกั เรยี น (Social Distancing) กรณีที่นักเรียน สลับกันมาเรียนทโ่ี รงเรียน 15

กรณีสำหรบั นักเรียนทสี่ ามารถเรยี นทบ่ี ้านได้ (Learn from home) แนวทางปฏิบตั ิสำหรับครู แนวทางปฏิบตั ิสำหรับผูป้ กครอง 6) ตรวจเย่ยี มบ้านนักเรียน เพื่อพูดคุย ตามการนดั หมายและดูแล ใหค้ ําปรึกษาแก่ผู้ปกครอง และรบั -สง่ นักเรียนขณะจดั การเรยี นรู้ เอกสารการจัดการเรยี นรู้ ใบงาน อ่ืน ๆ ๖) รบั –สง่ แฟม้ งานนักเรียนและ อยา่ งน้อยสปั ดาหล์ ะ 1 ครง้ั ส่อื สารกบั ครูตามการนัดหมาย 7) วเิ คราะหผ์ ลการจัดการเรียนการสอนทางไกล ๗) ร่วมกับครปู ระเมินผล การเยย่ี มบ้านและปัญหาต่าง ๆ เพ่อื นาํ มา การเรยี นรู้ ของนกั เรียน ทบทวน ปรับปรงุ แก้ไขตามบรบิ ทของ 8) รว่ มมือกับครหู าแนวทาง นกั เรียนรายบคุ คล แกไ้ ขปญั หาการจดั การเรยี นรู้ 8) ออกแบบการวดั และประเมินผลการเรยี นรู้ สําหรบั นกั เรียน และร่วมกบั ผปู้ กครองในการประเมินผล การเรียนตามบริบทนกั เรยี นเป็น รายบุคคล 9) ร่วมมือกบั ผู้ปกครอง หาแนวทางแก้ไข ปัญหาการจัดการเรียนรู้ของนักเรียน

กรณีสำหรบั นักเรียนท่ไี ม่สามารถเรียนที่บา้ นได้ท้ัง 3 ช่องทาง แนวทางปฏิบัติสำหรับครู แนวทางปฏิบตั ิสำหรับผู้ปกครอง ครูต้องวางแผนการจัดการเรียนการสอน ของนักเรียนเปน็ รายบุคคล 5) ตรวจเยี่ยมบา้ นนักเรยี น ย สร้างความเข้าใจและขอความรว่ มมือ กับผูป้ กครอง ในการจดั การเรียนรู้ และรับ-สง่ เอกสารการจัดการเรียนรู้ ใบงาน อื่น ๆ อย่างน้อยสัปดาห์ละ 1 ครั้ง 6) วเิ คราะห์ผลการเรียนรู้ การเย่ียมบา้ นและ ปญั หาต่าง ๆ เพื่อนาํ มาทบทวนปรบั ปรุง แก้ไข ตามบริบทของนักเรยี นรายบคุ คล 7) ออกแบบการวัดและประเมินผล การเรียนรู้ และรว่ มกบั ผปู้ กครอง ประเมนิ ผล การเรียนรขู้ องนักเรยี น ตามบริบท นกั เรยี นรายบุคคล 8) ร่วมมือกบั ผู้ปกครองหาแนวทางแก้ไข ปญั หาการจัดการเรยี นรสู้ ําหรับนกั เรยี น 16

การจัดการเรยี นการสอนทางไกล ระ 1. การจดั การเรียนการสอนทางไกล ใชส้ ่ือวีดิทัศน์การเรยี นการสอนของมลู น สขุ ภาวะของนักเรียน และให้ถอื ว่าการจัดการเรียนการสอนทางไกล เปน็ ช สามารถออกแบบการเรียนการสอนเองไดต้ ามความเหมาะสม 2. ชอ่ งทางการเรยี นทีบ่ ้าน (Learn from home) เลอื กชมได้ ๓ ชอ่ งทาง ไ (1) www.dltv.ac.th (DLTV 7 – 9) (2) Mobile App หมายเหต 1. สํานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพืน้ ฐาน จัดให้มีศูนย์เฉพาะ 2019 (COVID-19) ของสาํ นักงานเขตพื้นที่การศึกษา เพ่ือกํากับ ตดิ ตา 2. สํานักงานคณะกรรมการการศึกษาข้นั พื้นฐาน กระทรวงศึกษาธิการ ลอกเลยี นคําตอบ/การรบั จ้างทําการบ้านออนไลน์ เป็นต้น 3. รายการออกอากาศการจดั การเรยี นการสอนวชิ าวทิ ยาศาสตร์และค ท่ีนาํ มาออกอากาศ อ้างอิงตามหลกั สูตรแกนกลางการศึกษาขนั้ พื้น

ะดบั มัธยมศกึ ษาตอนต้น ท่สี ่วนกลางจดั ให้ นิธิการศึกษาทางไกลผ่านดาวเทียม ในพระบรมราชูปถัมภ์ สาํ หรบั การรบั ชมต้องคํานึงถึง ชอ่ งทางสนับสนุนเท่านัน้ ไม่สามารถใชท้ ดแทนการเรยี นการสอนไดท้ งั้ หมด ทั้งน้ี โรงเรียน ได้แก่ (3) Youtube : DLTV Channel plication : DLTV ะกิจการจัดการศึกษาทางไกล ในสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา าม และแก้ไขปัญหาร่วมกับโรงเรียน ช่วยเหลือครใู นการจัดการเรียนรู้ ร มีนโยบายต่อต้านการทุจริตทางการศึกษา โดยเฉพาะอย่างย่ิงในสถานการณ์พเิ ศษ เช่น คณิตศาสตร์ ชนั้ ประถมศกึ ษาปีท่ี 3 ช้ันประถมศกึ ษาปีท่ี 6 และช้ันมัธยมศึกษาปที ี่ 3 นฐาน พ.ศ. 2551 17

3. แนวทางปฏิบัติสำหรบั ครูและผ้ปู กครอง 3.1 การจัดการเรยี นการสอนทางไกลตามแนวทางท่ีส่วนกลางจดั ให้ กรณีนกั เรยี นทีส่ ามารถเรยี นที่บา้ นได้ (Learn from home) แนวทางปฏิบัติสำหรับครู แนวทางปฏิบตั ิสำหรับผปู้ กครอง 1) ศกึ ษาแผนการสอน ใบงาน และเตรยี มเอกสาร 1) สนับสนนุ นกั เรยี นในการเรียน สาํ หรบั นกั เรียน และศกึ ษาการเรียนการสอน ผา่ นชอ่ งทางการเรยี นทางไกล ลว่ งหนา้ จากเวบ็ ไซตข์ อง DLTV ต่าง ๆ ตามศกั ยภาพและบริบท (www.dltv.ac.th) ของครอบครวั 2) จัดทําและจัดส่งเอกสารการจดั การเรยี นรู้ 2) กรณีทผ่ี ู้ปกครองมีศักยภาพ ระดับมัธยมศึกษาตอนต้น สําหรับนักเรียน สามารถชว่ ยจัดการเรียนการสอน เป็นรายบคุ คล ทางไกลได้ ให้ผปู้ กครองวางแผน 3) ตรวจเยีย่ มบ้านนกั เรยี น เพอื่ พูดคยุ การเรียนร้รู ่วมกับครู ให้คาํ ปรกึ ษาแกผ่ ูป้ กครอง และรับ-สง่ 3) ตรวจสอบ ติดตามการเรยี นรู้ เอกสารการจดั การเรยี นรู้ ใบงาน อน่ื ๆ และรับ-ส่งแฟ้มงาน อยา่ งน้อยสัปดาห์ละ 1 คร้งั ของนักเรียน ตามการนัดหมาย 4) วิเคราะห์ผลการจดั การเรียนการสอน 4) ร่วมกับครูประเมินผล ทางไกล การเยย่ี มบ้านและปัญหาต่าง ๆ การเรียนรู้ของนักเรียน เพอ่ื นาํ มาทบทวน ปรับปรงุ แกไ้ ข 5) ร่วมมือกับครูหาแนวทางแก้ไข ตามบริบทของนักเรยี นรายบุคคล ปญั หาการจัดการเรียนรู้ 5) ออกแบบการวัด และประเมินผล สําหรบั นกั เรยี น การเรยี นรู้ ร่วมกับผู้ปกครองประเมินผล การเรียนรู้ตามบริบทของนักเรยี น เปน็ รายบคุ คล 6) ร่วมมอื กับผ้ปู กครอง หาแนวทางแก้ไข ปญั หาการจัดการเรยี นรู้สาํ หรับนักเรียน

กรณีนักเรยี นทไ่ี ม่สามารถเรยี นทบ่ี ้านได้ทัง้ ๓ ช่องทาง แนวทางปฏิบตั ิสำหรับครู แนวทางปฏิบตั ิสำหรับผปู้ กครอง น 1) ศกึ ษาแผนการสอน ใบงาน และเตรยี ม 1) สนับสนุนนักเรยี นในการเรียน เอกสารสาํ หรับนักเรยี น และศึกษา ขณะอยทู่ ี่บ้านตามศกั ยภาพ ท การเรยี นการสอนล่วงจากเวบ็ ไซต์ ของ และบริบทของครอบครวั DLTV (www.dltv.ac.th) 2) กรณที ี่ผูป้ กครองมศี ักยภาพ เพ่อื วางแผนการจดั การเรยี นรสู้ าํ หรับนกั เรยี น สามารถชว่ ยจดั การเรยี น น 2) จัดทําและสง่ เอกสารการจัดการเรยี นรู้ การสอนได้ ให้ผู้ปกครองวางแผน น สาํ หรับนกั เรียนเป็นรายบุคคล การเรียนรู้รว่ มกบั ครู 3) ตรวจเยยี่ มบา้ นนักเรียน สรา้ งความเข้าใจ 3) ตรวจสอบ ตดิ ตามการเรยี นรู้ และขอความรว่ มมือกบั ผปู้ กครอง ของนักเรยี น และรับ-สง่ แฟม้ งาน ในการจัดการเรยี นรู้ และรบั -สง่ เอกสาร นกั เรยี น ตามการนัดหมาย ย การจดั การเรยี นรู้ ใบงาน อืน่ ๆ 4) ร่วมกับครปู ระเมนิ ผล อย่างน้อยสัปดาหล์ ะ 1 ครง้ั การเรียนร้ขู องนักเรียน 4) วเิ คราะหผ์ ลการจดั การเรียนการสอน 5) รว่ มมือกบั ครหู าแนวทางแก้ไข ทางไกล การเย่ียมบ้านและปัญหาต่าง ๆ การจดั การเรียนรูส้ าํ หรับ เพ่อื นํามาทบทวน ปรับปรงุ แก้ไข นักเรยี น ตามบรบิ ทของนักเรียนเป็นรายบุคคล 5) ออกแบบการวัดและประเมนิ ผลการเรียน และร่วมกับผู้ปกครองประเมินผล การเรียนตามบริบทนักเรียน รายบุคคล 6) รว่ มมือกับผ้ปู กครอง หาแนวทางแก้ไข ปัญหาการจัดการเรยี นรูส้ ําหรับนักเรยี น 18

3.2 กรณีจัดการเรียนการสอนทโ่ี รงเรยี นได้ กรณีท่ไี ด้รับการอนุญาตจากศูนยบ์ ริหารสถานการณ์การแพร่ระบาดขอ ในการจัดการเรียนการสอนแบบปกติเรียนทโ่ี รงเรยี น โดยใหป้ ฏบิ ัติตามมาตรการแล ดังนัน้ หากมนี กั เรยี นจาํ นวนนอ้ ยและมีพน้ื ที่เพยี งพอ ก็สามารถจัดการเรียนการสอน หากนกั เรียนจำนวนมาก หรือมพี น้ื ที่ไมเ่ พียงพอสำหรบั การเรยี นตา Normal) ต้องจัดการเรียนการสอนแบบผสมผสานระหว่างการเรียนทโ่ี รงเรียน (O (ONLINE) การเรียนผ่าน Application (ON - DEMAND) การเรยี นที่บ้านโดยหนงั โดยครตู อ้ งคํานึงถงึ การจดั ทําขอ้ สอบคู่ขนาน (Parallel Examination) เพอ่ื ความย กรณีนักเรยี นท่สี ามารถเรียนทบี่ ้านได้ (Learn from home) แนวทางปฏิบตั ิสำหรับครู แนวทางปฏิบตั ิสำหรับผปู้ กครอง 1) ทบทวนข้อมูลจากระบบดูแลช่วยเหลือ 1) รอรับการตรวจเย่ียมบ้านจากครู นกั เรียนและระบบจัดเกบ็ ข้อมูลนกั เรียน 2) สนับสนุนการจัดการเรยี นรู้ รายบคุ คล (Data Management Center) ของนักเรยี นขณะอยทู่ ่ีบ้าน 2) ศกึ ษาแนวทางการจัดการเรยี นการสอนทางไกล ตามศกั ยภาพและบริบท 3) ดาวน์โหลด ศึกษาแผนการสอน ของครอบครัว เตรียมเอกสารการเรียนรู้ ใบงาน 3) กระตนุ้ นักเรียนเตรียมชอ่ งทาง สําหรับนักเรียน และศึกษาการเรยี น ในการเรยี นทบี่ า้ น การสอนล่วงหน้าจากเว็บไซต์ของ DLTV (Learn from home) (www.dltv.ac.th) เอกสารการเรยี นรู้ ใบงานตา่ ง 4) ศึกษาชอ่ งทางในการเรยี นท่ีบา้ น ทใ่ี ช้ในการจดั การเรยี นรู้ (Learn from home) และวิธกี ารใช้งาน สาํ หรบั นกั เรียน และรายงานต ๕) สาํ รวจข้อมูลนักเรียน เพื่อเตรียมความพร้อม ก่อนเรยี นกับครู ผา่ นชอ่ งทาง วางแผนการจัดการเรียนการสอนทางไกล การส่ือสารตามนัดหมาย ผา่ นช่องทางเรียนที่บา้ น และแบ่งกลุ่ม 4) เข้ารว่ มช่องทางการส่อื สารกบั นักเรียนสลบั กันมาเรยี นที่โรงเรยี น ครู เช่น โทรศัพท์ ไลน์ (Line) 6) ตรวจเยี่ยมบา้ นนักเรียน เพอ่ื พูดคยุ เฟซบุ๊ค (Facebook)

องโรคติดเช้ือไวรัสโคโรน่า 2019 (COVID - 19) จังหวดั (ศบค. จงั หวดั ) ละแนวทางการดําเนินงานเพื่อการเฝา้ ระวัง ป้องกนั และควบคุมโรคติดเช้ือไวรัสโคโรนา นตามปกติได้ ามมาตรการ การเวน้ ระยะหา่ งทางสังคม (Social Distancing) / ความปกติใหม่ (New ON - SITE) การเรียนผ่าน DLTV (ON - AIR) การเรยี นออนไลนผ์ า่ นระบบ อนิ เทอรเ์ น็ต งสอื เรียนแบบฝกึ หัด (ON - HAND) ใหน้ กั เรียนสลบั กนั มาเรียนและ มาสอบทโ่ี รงเรียนได้ ยุติธรรมสําหรบั ผู้เขา้ สอบ กรณีนกั เรียนที่ไมส่ ามารถเรียนที่บา้ นได้ทัง้ ๓ ช่องทาง แนวทางปฏิบัติสำหรับครู แนวทางปฏิบตั ิสำหรับผูป้ กครอง ๑) ทบทวนข้อมลู จากระบบดูแลช่วยเหลือ 1) รอรับการตรวจเยย่ี มบ้านจากครู นักเรยี นและระบบจัดเกบ็ ข้อมูลนักเรียน 2) สนบั สนุนการจดั การเรยี นรู้ รายบคุ คล (Data ManagementCenter) สาํ หรบั นักเรยี นขณะอยูท่ ี่บ้าน ๒) ศึกษาแนวทางการจัดการเรยี นการสอนทางไกล ตามศักยภาพและบรบิ ท 3) ดาวนโ์ หลด ศกึ ษาแผนการสอน ของครอบครัว เตรยี มเอกสารการเรยี นรู้ ใบงาน 3) เข้าร่วมช่องทางการสอื่ สาร สาํ หรบั นกั เรียน และศกึ ษาการเรยี นการ สอน กบั ครู ตามทนี่ ดั หมาย ล่วงหน้าจากเวบ็ ไซต์ของ DLTV 4) กระตนุ้ นักเรียนในการเรยี น ๆ (www.dltv.ac.th) เพอื่ วางแผนการเรียนรู้ ทําการบ้านหรือใบงาน ทเ่ี หมาะสมสําหรับนกั เรยี นขณะเรียนร้อู ยู่ทบ่ี ้าน ตามทีค่ รูกําหนด ตวั 4) จดั ใหน้ กั เรียนมาเรยี นท่ีโรงเรียน 5) รบั –ส่งแฟ้มงานนกั เรียน โดยตอ้ งปฏบิ ัติตามแนวทางการเวน้ และส่อื สารกบั ครูตามการนัดหมาย ระยะห่างทางสงั คม (Social Distancing) 6) ร่วมกบั ครปู ระเมนิ ผล กรณที ่ีนักเรียนสลับกนั มาเรียนท่ีโรงเรยี น การเรียนรขู้ องนักเรียน ครูต้องวางแผนการจดั การเรยี นการสอน 7) ร่วมมือกบั ครหู าแนวทางแก้ไข ของนักเรยี นเปน็ รายบคุ คล ปญั หาการจดั การเรียนรู้ 19

กรณนี กั เรยี นทีส่ ามารถเรียนท่บี ้านได้ (Learn from home) แนวทางปฏิบัติสำหรับครู แนวทางปฏิบตั ิสำหรับผปู้ กครอง ใหค้ ําปรึกษาแกผ่ ูป้ กครอง และรับ-สง่ หรอื ช่องทางอื่น ๆ ตามนัดหมา เอกสาร การจดั การเรยี นรู้ ใบงาน อ่ืน ๆ 5) ตรวจสอบ ติดตามการเรยี นรู้ อยา่ งน้อยสปั ดาห์ละ 1 ครง้ั ของนักเรียน และรบั -ส่งแฟ้ม 7) สาํ หรบั ผปู้ กครองท่ีมีศักยภาพสามารถ งานนกั เรียน ตามการนัดหมาย ชว่ ยจดั การเรยี นการสอนได้ ใหค้ รวู างแผน 6) รว่ มกบั ครูประเมินผลการเรียนร รว่ มกับผู้ปกครอง ของนักเรยี น ในการจดั การเรยี นการสอน การส่งงาน 7) ร่วมมือกบั ครหู าแนวทางแกไ้ ข และการจดั ทาํ การบ้าน ปญั หาการจดั การเรยี นรู้ สำหร 8) วิเคราะห์ผลการจัดการเรียนการสอน นักเรยี น ทางไกล การเยีย่ มบ้าน และปัญหาตา่ ง ๆ เพือ่ นํามาทบทวน ปรับปรุงแกไ้ ข ตามบริบทของนักเรียนเปน็ รายบุคคล 9) ออกแบบการวัดและประเมนิ ผลการเรียนรู้ และรว่ มกับผปู้ กครองประเมินผล การเรียนรตู้ ามบรบิ ทนักเรยี นเปน็ รายบุคคล 10) ร่วมมือกบั ผูป้ กครอง หาแนวทางแก้ไข ปัญหาการจดั การเรียนรู้ของนักเรียน

กรณีนักเรยี นท่ีไมส่ ามารถเรยี นที่บ้านได้ท้งั ๓ ช่องทาง แนวทางปฏิบตั ิสำหรับครู แนวทางปฏิบตั ิสำหรับผู้ปกครอง าย 5) ตรวจเยย่ี มบ้านนกั เรียน เพื่อพดู คยุ ให้ สำหรับนกั เรยี น คำปรกึ ษาแก่ผู้ปกครอง และรับ-สง่ เอกสารการจดั การเรยี นรู้ ใบงาน อนื่ ๆ ย อยา่ งน้อยสปั ดาห์ละ 1 ครั้ง รู้ 6) สำหรับผูป้ กครองทม่ี ีศักยภาพสามารถ ช่วยจัดการเรียนการสอนได้ ให้ครู วางแผนร่วมกบั ผูป้ กครอง ในการจัดการ รับ เรียนการสอน การสง่ งาน และการจดั ทำ การบ้าน 7) วเิ คราะหผ์ ลการจดั การเรียนรู้ การเย่ียม บ้าน และปัญหาต่าง ๆ เพ่ือนํามาทบทวน ปรบั ปรุงแก้ไข ตามบรบิ ทของนกั เรยี น เป็นรายบุคคล 8) ออกแบบการวัดและประเมนิ ผลการเรียน และรว่ มกับผู้ปกครองประเมินผล การ เรยี นรู้ตามบรบิ ทนกั เรียนรายบุคคล 9) ร่วมมอื กบั ผ้ปู กครอง หาแนวทางแก้ไข ปญั หาการจดั การเรียนรสู้ ำหรบั นักเรยี น 20

ภาคผนวก

ภาคผนวก บทบาทของผบู้ รหิ ารสถานศึกษา ครู นักเรียน ผ้ปู กครอง และภาคเี ครือขา่ ย บทบาทของผ้บู ริหารสถานศกึ ษา 1. ประกำศนโยบำยและแนวปฏิบัติในแผนปฏิบัติเตรียมควำมพร้อมในกำรป้องกันกำรแพร่ระบำดของ โรคโควิด 19 ของสถำนศึกษำ 2. จัดตั้งคณะทำงำนดำเนินกำรควบคุม ดูแลและป้องกันกำรแพร่ระบำดของโรคโควิด 19 คณะทำงำน ประกอบด้วย ครูและบุคลำกร นักเรียน ผู้ปกครอง และภำคีเครือข่ำย ประกอบด้วยคณะกรรมกำรสถำนศึกษำ เจ้ำหน้ำท่ีสำธำรณสุข อำสำสมัครสำธำรณสุขประจำหมู่บ้ำน ท้องถ่ิน ชุมชน และผู้เกี่ยวข้อง โดยกำหนดบทบำท หนำ้ ทีอ่ ยำ่ งชัดเจน ๓. สื่อสำร ประชำสัมพันธ์กำรป้องกันโรคโควิด 19 เก่ียวกับนโยบำย มำตรกำร แนวปฏิบัติ และกำรจัด กำรเรยี นกำรสอนใหแ้ กค่ รู นักเรยี น ผปู้ กครอง และคณะกรรมกำรสถำนศึกษำขัน้ พน้ื ฐำน ผ่ำนช่องทำงสื่อท่ีเหมำะสม และตดิ ตำมขอ้ มูลขำ่ วสำรท่ีเกี่ยวขอ้ งกบั โรคโควิด 19 จำกแหล่งข้อมูลทเี่ ชอื่ ถือได้ ๔. มีมำตรกำรคัดกรองสุขภำพทุกคน บริเวณทำงเข้ำไปในสถำนศึกษำ (Point of entry) ให้แก่นักเรียน ครูและบุคลำกร ผู้มำติดต่อ โดยจัดให้มีพ้ืนที่แยก อุปกรณ์กำรป้องกัน เช่น หน้ำกำกผ้ำหรือหน้ำกำกอนำมัย เจลแอลกอฮอล์อย่ำงเพียงพอ รวมถึงเพิ่มช่องทำงกำรสื่อสำรระหว่ำงครู นักเรียน ผู้ปกครอง และเจ้ำหน้ำท่ี สำธำรณสขุ ในกรณีทพี่ บนกั เรียนกลุ่มเสย่ี งหรอื สงสัย ๕. พิจำรณำกำรจัดให้นกั เรยี นสำมำรถเข้ำถงึ กำรเรียนกำรสอนที่มีคุณภำพ เหมำะสมตำมบริบทอย่ำงต่อเน่ือง สำมำรถตรวจสอบ ติดตำม กรณีนักเรียนขำดเรียน ลำป่วย ตลอดจนกำรปิดสถำนศึกษำ หรือกำรจัดให้มีกำรเรียน ทำงไกล สื่อออนไลน์ กำรติดตอ่ ทำงโทรศัพท์ Social media โดยตดิ ตำมเป็นรำยวนั หรอื สัปดำห์ ๖. กรณีพบนักเรยี น ครู บคุ ลำกร หรือผ้ปู กครองอยู่ในกลุ่มเส่ียงหรือผู้ป่วยยืนยันเข้ำมำในสถำนศึกษำให้ รีบแจ้งเจ้ำหน้ำที่สำธำรณสุขในพ้ืนที่ เพ่ือดำเนินกำรสอบสวนโรคและพิจำรณำปิดสถำนศึกษำตำมแนวทำงของ กระทรวงสำธำรณสุข ๗. มีมำตรกำรให้นักเรียนได้รับอำหำรกลำงวันและอำหำรเสริมนม ตำมสิทธิที่ควรได้รับ กรณีพบอยู่ใน กลุ่มเส่ียงหรือกกั ตัว ๘. ควบคุม กำกับ ติดตำม และตรวจสอบกำรดำเนินงำนตำมมำตรกำรป้องกันกำรแพร่ระบำดของโรค โควดิ 19 ในสถำนศกึ ษำอย่ำงเครง่ ครัดและตอ่ เน่อื ง บทบาทของครูและบคุ ลากร 1. ร่วมกำหนดแนวปฏิบัติในแผนปฏิบัติเตรียมควำมพร้อมเพ่ือกำรป้องกันกำรแพร่ระบำดของโรคโควิด 19 ของสถำนศกึ ษำ ๒. ติดตำมข้อมูลข่ำวสำรสถำนกำรณ์กำรแพร่ระบำดของโรค พ้ืนท่ีเสี่ยง คำแนะนำกำรป้องกันตนเอง และลดควำมเสย่ี งจำกกำรแพรก่ ระจำยของเชื้อโรคโควดิ 19 จำกแหล่งขอ้ มูลท่เี ชือ่ ถอื ได้ ๓. สังเกตอำกำรป่วยของตนเอง หำกมีอำกำรไข้ ไอ มีน้ำมูก เจ็บคอ หำยใจลำบำก เหนื่อยหอบ ไม่ได้ กลนิ่ ไมร่ ู้รส ให้หยุดปฏิบัติงำน และรีบไปพบแพทย์ทันที กรณีมีคนในครอบครัวป่วยด้วยโรคโควิด 19 หรือกลับจำก พ้ืนทีเ่ ส่ียงและอยู่ในชว่ งกกั ตัว ใหป้ ฏบิ ัตติ ำมคำแนะนำของเจ้ำหนำ้ ทสี่ ำธำรณสุขอยำ่ งเคร่งครัด ๔. แจ้งผู้ปกครองและนักเรียน ให้นำของใชส้ ่วนตวั และอุปกรณ์ป้องกันมำใช้เป็นของตนเอง เช่น ช้อน ส้อม แก้วน้ำ แปรงสฟี นั ยำสีฟนั ผำ้ เช็ดหนำ้ หน้ำกำกผ้ำหรือหน้ำกำกอนำมยั เปน็ ต้น ๕. สอ่ื สำรควำมรู้ คำแนะนำหรอื จดั หำส่ือประชำสัมพนั ธ์ในกำรป้องกนั และลดควำมเสี่ยงจำกกำรแพร่กระจำย โรคโควิด 19 ให้แก่นักเรียน เช่น สอนวิธีกำรล้ำงมือที่ถูกต้อง กำรสวมหน้ำกำกผ้ำหรือหน้ำกำกอนำมัย คำแนะนำ

กำรปฏิบัติตัว กำรเว้นระยะห่ำงทำงสังคม กำรทำควำมสะอำด หลีกเลี่ยงกำรทำกิจกรรมร่วมกันจำนวนมำกเพื่อลด ควำมแออัด ๖. ทำควำมสะอำดส่ือกำรเรียนกำรสอนหรืออปุ กรณข์ องใช้รว่ มที่เป็นจดุ สัมผสั เส่ยี งทุกคร้ังหลังใชง้ ำน ๗. ควบคุมดูแลกำรจัดที่นั่งในห้องเรียน ระหว่ำงโต๊ะเรียน ที่นั่งในโรงอำหำร กำรจัดเว้นระยะห่ำง ระหว่ำงบคุ คลอย่ำงน้อย 1 - 2 เมตร หรือเหล่ือมเวลำพักกินอำหำรกลำงวัน และกำกับให้นักเรียน สวมหน้ำกำกผ้ำ หรอื หน้ำกำกอนำมัยตลอดเวลำและลำ้ งมือบอ่ ย ๆ ๘. ตรวจสอบ กำกับ ติดตำมกำรมำเรียนของนักเรียนขำดเรียน ถูกกักตัว หรืออยู่ในกลุ่มเส่ียงต่อกำรติด โรคโควดิ 19 และรำยงำนต่อผู้บรหิ ำรทรำบเพื่อหำแนวทำงดำเนินกำรแก้ไขปญั หำต่อไป ๙. ทำกำรตรวจคดั กรองสุขภำพทุกคนที่เข้ำมำในสถำนศึกษำในตอนเช้ำ ท้ังนักเรียน ครู บุคลำกร และผู้ มำติดต่อโดยใช้เคร่ืองวัดอุณหภูมิร่ำงกำย ล้ำงมือด้วยเจลแอลกอฮอล์ พร้อมสังเกตอำกำรและสอบถำมอำกำรของ ระบบทำงเดินหำยใจ เช่น ไข้ ไอ มีน้ำมูก เจ็บคอ หำยใจลำบำก เหนื่อยหอบ ไม่ได้กลิ่น ไม่รู้รส โดยติดสัญลักษณ์ สตก๊ิ เกอร์หรือตรำป๊ัมแสดงให้เหน็ ชดั เจนวำ่ ผำ่ นกำรคดั กรองแล้ว กรณพี บนกั เรยี นหรือผูม้ อี ำกำรมีไข้ อุณหภมู ิร่ำงกำยต้ังแต่ 37.5 องศำเซลเซียสขึ้นไป ร่วมกับอำกำร ระบบทำงเดินหำยใจอย่ำงใดอย่ำงหน่ึง จัดให้อยู่ในพ้ืนท่ีแยกส่วน ให้รีบแจ้งผู้ปกครองมำรับและพำไป พบแพทย์ ให้ หยุดพักที่บ้ำนจนกว่ำจะหำยเป็นปกติ พร้อมแจ้งเจ้ำหน้ำที่สำธำรณสุขเพ่ือประเมินสถำนกำรณ์และดำเนินกำร สอบสวนโรคและแจ้งผู้บริหำรเพื่อพิจำรณำกำรปิดสถำนศึกษำตำมแนวทำงของกระทรวงสำธำรณสุขบันทึกผล กำรคัดกรองและส่งต่อประวัติกำรป่วย ตำมแบบบันทึกกำรตรวจสุขภำพ จัดอุปกรณ์กำรล้ำงมือ พร้อมใช้งำน อย่ำงเพียงพอ เช่น เจลแอลกอฮอล์วำงไวบ้ ริเวณทำงเขำ้ สบลู่ ำ้ งมือบริเวณอ่ำงลำ้ งมือ ๑๐. กำหนดวิธีกำรปรับพฤติกรรมสำหรับนักเรียนที่ไม่ร่วมมือปฏิบัติตำมมำตรกำรท่ีครูกำหนดด้วยกำรแก้ ปัญหำกำรเรยี นรูใ้ หม่ให้ถกู ตอ้ ง น่ันคือ “สร้ำงพฤตกิ รรมทพี่ งึ ประสงค”์ หรือ “ลดพฤตกิ รรมทไี่ มพ่ ึงประสงค”์ ๑๑. ครสู ่อื สำรควำมรู้เกี่ยวกับควำมเครียด ว่ำเป็นปฏิกิริยำปกติท่ีเกิดข้ึนได้ในภำวะวิกฤติท่ีมีกำรแพร่ระบำด ของโรคโควิด 19 และนำกระบวนกำรกำรจัดกำรควำมเครียด กำรฝึกสติให้กลมกลืนและเหมำะสมกับนักเรียน แต่ละวัย ร่วมกับกำรฝึกทักษะชีวิตท่ีเสริมสร้ำงควำมเข้มแข็งทำงใจ (Resilience) ให้กับนักเรียน ได้แก่ ทักษะชีวิต ด้ำนอำรมณ์ สังคม และควำมคดิ เปน็ ตน้ ๑๒. กรณีครูสังเกตพบนักเรียนที่มีปัญหำพฤติกรรม เช่น เด็กสมำธิส้ัน เด็กท่ีมีควำมวิตกกังวลสูง อำจมี พฤติกรรมดูดน้ิว หรือกัดเล็บ ครูสำมำรถติดตำมอำกำรและนำเข้ำ ข้อมูล ท่ีสังเกตพบในฐำนข้อมูล ด้ำนพฤติกรรม อำรมณ์สงั คมของนักเรียน (หรือฐำนขอ้ มูล HERO) เพอ่ื ใหเ้ กิดกำรดูแลชว่ ยเหลือร่วมกับผเู้ ชี่ยวชำญด้ำนสุขภำพจิตต่อไป ๑๓. ครสู งั เกตอำรมณค์ วำมเครยี ดของตวั ท่ำนเอง เนอื่ งจำกภำระหน้ำที่กำรดูแลนักเรียนจำนวนมำกและ กำกับให้ปฏิบัติตำมมำตรกำรป้องกันกำรติดโรคโควิด 19 เป็นบทบำทสำคัญ อำจจะสร้ำงควำมเครียดวิตกกังวล ท้ังจำกกำรเฝ้ำระวังนักเรียน และกำรป้องกันตัวท่ำนเองจำกกำรสัมผัสกับเช้ือโรค ดังน้ัน เมื่อครูมีควำมเครียด จำกสำเหตตุ ่ำง ๆ มีข้อเสนอแนะ ดงั น้ี ๑๓.๑ ควำมสบั สนมำตรกำรของสถำนศึกษำทีไ่ ม่กระจำ่ งชัดเจน แนะนำให้สอบทำนกับผู้บริหำร หรือ เพื่อนร่วมงำน เพื่อใหเ้ ขำ้ ใจบทบำทหน้ำท่แี ละข้อปฏบิ ตั ทิ ีต่ รงกนั ๑๓.๒ ควำมวิตกกังวล กลัวกำรติดเช้ือในสถำนศึกษำ พูดคุยสื่อสำรถึงควำมไม่สบำยใจ ร้องขอ ส่ิงจำเป็นสำหรับกำรเรียนกำรสอนท่ีเพียงพอต่อกำรป้องกันกำรติดโรคโควิด 19 เช่น สถำนที่สื่อกำรสอน กระบวนกำรเรียนรู้ กำรส่งงำนหรือตรวจกำรบ้ำน เป็นต้น หำกท่ำนเป็นกลุ่มเสี่ยง มีโรคประจำตัวสำมำรถเข้ำสู่ แนวทำงดแู ลบุคลำกรของสถำนศกึ ษำ ๑๓.๓ จัดให้มีกำรจัดกำรควำมเครียด กำรฝึกสติเป็นกิจวัตรก่อนเริ่มกำรเรียนกำรสอนเพื่อลด ควำมวิตกกงั วลต่อสถำนกำรณ์ที่ตึงเครยี ดนี้

บทบาทของนกั เรยี น 1. ติดตำมข้อมูลข่ำวสำรสถำนกำรณ์กำรแพร่ระบำดของโรค พื้นท่ีเสี่ยง คำแนะนำกำรป้องกันตนเองและ ลดควำมเสย่ี งจำกกำรแพร่กระจำยของเช้อื โรคโควดิ 19 จำกแหล่งข้อมูลที่เชอื่ ถือได้ 2. สังเกตอำกำรป่วยของตนเอง หำกมีอำกำรไข้ ไอ มีน้ำมูก เจ็บคอ หำยใจลำบำก เหน่ือยหอบ ไม่ได้ กลิ่นไม่รู้รส รีบแจ้งครูหรือผู้ปกครองให้พำไปพบแพทย์ กรณีมีคนในครอบครัวป่วยด้วยโรคโควิด 19 หรือกลับจำก พื้นทเี่ ส่ียงและอยูใ่ นชว่ งกกั ตวั ใหป้ ฏบิ ตั ิตำมคำแนะนำของเจำ้ หนำ้ ท่ีสำธำรณสุขอยำ่ งเคร่งครดั ๓. มแี ละใช้ของใชส้ ว่ นตวั ไม่ใช้ร่วมกับผู้อ่ืน เช่น ช้อน ส้อม แก้วน้ำ แปรงสีฟัน ยำสีฟัน ผ้ำเช็ดหน้ำหน้ำกำก ผำ้ หรือหน้ำกำกอนำมัย และทำควำมสะอำดหรอื เกบ็ ให้เรยี บรอ้ ยทุกครงั้ หลังใช้งำน ๔. กรณนี ักเรยี นดมื่ นำ้ บรรจุขวด ควรแยกเฉพำะตนเอง และทำเครื่องหมำยหรือสัญลักษณ์เฉพำะไม่ให้ปะปน กับของคนอืน่ ๕. หมั่นล้ำงมือบ่อย ๆ ด้วยวิธีกำรล้ำงมือ 7 ขั้นตอน อย่ำงน้อย 20 วินำที ก่อนกินอำหำร หลังใช้ส้วม หลีกเล่ยี งใชม้ อื สัมผัสใบหน้ำ ตำ ปำก จมกู โดยไมจ่ ำเป็น รวมถึงสรำ้ งสขุ นสิ ยั ท่ีดหี ลังเล่นกบั เพ่อื น เมอื่ กลับมำถึงบ้ำน ตอ้ งรบี อำบนำ้ สระผม และเปลย่ี นเส้ือผำ้ ใหมท่ ันที ๖. เว้นระยะหำ่ งระหว่ำงบคุ คล อย่ำงน้อย 1 - 2 เมตร ในกำรทำกิจกรรมระหว่ำงเรยี น ชว่ งพัก และหลัง เลกิ เรยี น เชน่ น่ังกนิ อำหำร เล่นกับเพอ่ื น เขำ้ แถวต่อคิว ระหวำ่ งเดนิ ทำงอย่บู นรถ ๗. สวมหนำ้ กำกผำ้ หรือหน้ำกำกอนำมยั ตลอดเวลำท่ีอย่ใู นสถำนศกึ ษำ และหลกี เลย่ี งกำรไปในสถำนที่ท่ี แออดั หรือแหลง่ ชมุ ชนท่ีเสย่ี งตอ่ กำรตดิ โรคโควดิ 19 หำกมคี วำมจำเป็นควรสวมหน้ำกำกผำ้ หรือหน้ำกำกอนำมยั ๘. ดูแลสขุ ภำพใหแ้ ขง็ แรง ดว้ ยกำรกนิ อำหำรปรุงสุก ร้อน สะอำด อำหำรครบ 5 หมู่ และผัก ผลไม้ 5 สี เสริมสร้ำงภูมิคุ้มกัน ควรเสริมอำหำรเช้ำจำกบ้ำน หรือให้ผู้ปกครองจัดเตรียมอำหำรกล่อง (Box Set) กินที่โรงเรียน แทน รวมถงึ ออกกำลังกำย อย่ำงนอ้ ย 60 นำที ทกุ วัน และนอนหลบั อย่ำงเพียงพอ 9 - 11 ช่วั โมงต่อวนั ๙. กรณีนักเรียนขำดเรียนหรือถูกกักตัว ควรติดตำมควำมคืบหน้ำกำรเรียนอย่ำงสม่ำเสมอ ปรึกษำครู เช่น กำรเรียนกำรสอน สอ่ื ออนไลน์ อ่ำนหนังสอื ทบทวนบทเรียน และทำแบบฝึกหัดท่บี ำ้ น ๑๐. หลีกเล่ียงกำรล้อเลียนควำมผิดปกติ หรืออำกำรไม่สบำยของเพ่ือนท่ีได้รับผลกระทบ เน่ืองจำกอำจจะ ก่อใหเ้ กิดควำมหวำดกลัวมำกเกินไปต่อกำรป่วยหรอื กำรติดโรคโควิด 19 และเกิดกำรแบง่ แยกกดี กนั ในหมูน่ กั เรียน บทบาทของผู้ปกครองนักเรียน 1. ตดิ ตำมข้อมลู ขำ่ วสำรสถำนกำรณ์กำรแพร่ระบำดของโรคโควิด 19 พ้ืนท่ีเสี่ยง คำแนะนำกำรป้องกัน ตนเองและลดควำมเสยี่ งจำกกำรแพร่กระจำยของโรคจำกแหลง่ ข้อมูลท่ีเชื่อถือได้ 2. สังเกตอำกำรป่วยของบุตรหลำน หำกมีอำกำรไข้ ไอ มีน้ำมูก เจ็บคอ หำยใจลำบำก เหน่ือยหอบ ไม่ได้ กล่ิน ไม่รู้รส ให้รีบพำไปพบแพทย์ ควรแยกเด็กไม่ให้ไปเล่นกับคนอ่ืน ให้พักผ่อนอยู่ที่บ้ำนจนกว่ำจะ หำยเป็นปกติ กรณีมีคนในครอบครัวป่วยด้วยโรคโควิด 19 หรือกลับจำกพ้ืนที่เส่ียง อยู่ในช่วงกักตัวให้ปฏิบัติตำมคำแนะนำของ เจำ้ หน้ำทสี่ ำธำรณสขุ อย่ำงเครง่ ครัด 3. จดั หำของใช้ส่วนตวั ให้บุตรหลำนอย่ำงเพยี งพอในแต่ละวัน ทำควำมสะอำดทุกวัน เช่น หน้ำกำกผ้ำ ช้อน ส้อม แก้วนำ้ แปรงสีฟนั ยำสีฟัน ผ้ำเชด็ หนำ้ ผ้ำเชด็ ตวั 4. จดั หำสบหู่ รือเจลแอลกอฮอล์ และกำกบั ดแู ลบตุ รหลำนให้ล้ำงมือบ่อย ๆ ก่อนกินอำหำร หลังใช้ส้วม หลีกเลี่ยงกำรใช้มือสัมผัสใบหน้ำ ตำ ปำก จมูก โดยไม่จำเป็น และสร้ำงสุขนิสัยท่ีดี หลังเล่นกับเพื่อน และเมื่อกลับ มำถงึ บำ้ น ควรอำบนำ้ สระผม และเปลีย่ นชดุ เสอ้ื ผำ้ ใหมท่ ันที 5. ดูแลสขุ ภำพบตุ รหลำน จัดเตรียมอำหำรปรงุ สกุ ใหม่ สง่ เสริมใหก้ นิ อำหำรร้อน สะอำด อำหำรครบ 5 หมแู่ ละผัก ผลไม้ 5 สี และควรจัดอำหำรกล่อง (Box Set) ให้แก่นักเรียนในช่วงเช้ำแทนกำรซ้ือจำกโรงเรียน (กรณีท่ี ไมไ่ ดก้ ินอำหำรเช้ำจำกที่บ้ำน) เพื่อเสริมสร้ำงภูมิคุ้มกัน ควรออกกำลังกำย อย่ำงน้อย 60 นำที ทุกวันและนอนหลับ อยำ่ งเพยี งพอ 9 - 11 ชวั่ โมงตอ่ วัน

6. หลกี เลยี่ งกำรพำบุตรหลำนไปในสถำนเส่ียงต่อกำรติดโรคโควิด 19 สถำนที่แออัดท่ีมีกำรรวมกันของ คนจำนวนมำก หำกจำเป็นต้องสวมหน้ำกำกผ้ำหรือหน้ำกำกอนำมัย ล้ำงมือบ่อย ๆ 7 ข้ันตอน ด้วยสบู่ และน้ำนำน 20 วนิ ำที หรือใช้เจลแอลกอฮอล์ 7. กรณีมีกำรจัดกำรเรียนกำรสอนทำงไกลออนไลน์ ผู้ปกครองควรให้ควำมร่วมมือกับครูในกำรดูแล กำรจัด กำรเรยี นกำรสอนแก่นักเรยี น เช่น กำรส่งกำรบำ้ น กำรรว่ มทำกิจกรรม เปน็ ตน้ บทบาทของภาคเี ครือขา่ ย 1. ร่วมวำงแผนและสนับสนนุ กำรกำหนดแนวปฏบิ ตั ิในแผนพัฒนำคณุ ภำพกำรป้องกันกำรแพร่ระบำดของ โรคโควิด 19 ของสถำนศึกษำ ๒. ให้กำรสนับสนุนควำมร้ดู ำ้ นวิชำกำร ตลอดจนให้คำแนะนำกำรป้องกันตนเองและลดควำมเส่ยี งจำก กำรแพร่กระจำยของโรคจำกแหล่งข้อมลู ทเ่ี ช่ือถือได้ ๓. ใหก้ ำรสนบั สนุนด้ำนส่อื กำรเรยี นกำรสอน อุปกรณ์ และทรพั ยำกร เช่น หน้ำกำกผ้ำหรือหน้ำกำกอนำมัย สบู่ เจลแอลกอฮอล์ และอนื่ ๆ ๔. ตดิ ตำมขอ้ มูลขำ่ วสำรสถำนกำรณ์กำรแพรร่ ะบำดของโรคโควิด 19 ของพ้ืนท่เี ส่ยี งและพ้ืนที่ตั้ง เพ่ือใช้ เปน็ ฐำนข้อมลู ในกำรป้องกันโรคโควดิ 19 แนวปฏบิ ตั ิการดแู ลดา้ นอนามัยและส่ิงแวดลอ้ มของโรงเรยี นในระหว่างเปิดภาคเรยี น เพื่อเป็นกำรป้องกันกำรแพร่ระบำดของโรคโควิด 19 โรงเรียนในสังกัดสำนักงำนเขตพื้นที่กำรศึกษำ ประถมศึกษำสกลนคร เขต 1 ควรปฏิบตั ิ ดังนี้ ๑. เมื่อนักเรียนมำถึงโรงเรียน ต้องใส่หน้ำกำกอนำมัย เดินเป็นแถวผ่ำนประตูโรงเรียน ครูเวรประจำวัน ดำเนินกำรตรวจคัดกรอง โดยเดินผ่ำนตำมจุดท่ีมีกำรเว้นระยะตำมทำงเดินท่ีกำหนด (วัดไข้-ใส่หน้ำกำก-ล้ำงมือ- เวน้ ระยะหำ่ ง) กรณีโรงเรียนขนำดใหญ่ท่ีมีนักเรียนจำนวนมำก อำจเพ่ิมจำนวนแถวนักเรียนในกำรคัดกรอง เพ่ือลด ควำมแออัดของนักเรียนบริเวณหน้ำโรงเรียน หรือโรงเรียนอำจจะมีมำตรกำรของโรงเรียนเอง เช่น ขอควำมร่วมมือ จำกผู้ปกครองอำสำ สภำนักเรียน อำสำสมัครสำธำรณสุขประจำหมู่บ้ำน (อสม.) โดยประสำนงำนกับโรงพยำบำล หรือ โรงพยำบำลสง่ เสริมสุขภำพประจำตำบล (รพ.สต.) ใหเ้ ป็นทีป่ รกึ ษำของโรงเรยี น ขณะทำกำรคัดกรองหำกพบนักเรียนมีอำกำรไข้ จำม มีน้ำมูก หำยใจเหน่ือยหอบและอุณหภูมิสูงเกิน 37.5 องศำเซลเซยี สให้ผูป้ กครองรบั นกั เรยี นกลบั ไปพบแพทย์ ๒. เมอ่ื ผำ่ นจุดคัดกรอง นักเรียนช้ันอนุบำลและชั้นประถมศึกษำตอนต้น (ป.1 - 3) ต้องมีครูนำนักเรียน ไปยังห้องเรียน และท่ีห้องเรียนจะมีครูประจำชั้นรอรับนักเรียนอยู่กรณีนักเรียนช้ันประถมศึกษำตอนปลำย (ป.4 - 6) และนักเรยี นชน้ั มัธยมศึกษำ นักเรียนสำมำรถเดนิ ไปยังห้องเรยี นได้เอง ๓. กำรทำกิจกรรมหน้ำเสำธง สำหรับโรงเรียนที่มีพื้นที่กว้ำง สำมำรถจัดนักเรียนเข้ำแถวและมีกิจกรรม หนำ้ เสำธงได้ตำมปกติ แต่ต้องมีมำตรกำรเว้นระยะทำงสังคม (Social Distancing) ส่วนโรงเรียนท่ีมีพื้นที่จำกัด อำจจัดได้ 2 ลักษณะ คือ ให้นักเรียนเข้ำแถวท่ีโต๊ะเรียนในห้องเรียน และให้นักเรียนเข้ำแถวหน้ำห้องเรียน มีกิจกรรมหน้ำเสำธง ผ่ำนทำงอินเตอร์คอมทีวีในห้องเรียน หรือไมโครโฟน ลดระยะเวลำกำรทำกิจกรรมให้สั้นลงเท่ำท่ีจำเป็นหรือเหล่ือมเวลำ ทำกจิ กรรมและหลีกเล่ียงกำรทำกิจกรรมรวมตวั กันเป็นกลุ่ม

๔. กำรจดั สภำพแวดล้อมในห้องเรียน ควรตั้งจุดวำงเจลแอลกอฮอล์ล้ำงมือไว้ในห้องเรียน (บริเวณโต๊ะครู) ขณะทำกำรสอนครผู ู้สอนและนกั เรียนตอ้ งใส่หน้ำกำกอนำมยั ตลอดเวลำ (ควรพักถอดหน้ำกำกทุก 2 ช่ัวโมงหรือตำม ควำมเหมำะสม และหำกมีกิจกรรมท่ีต้องออกแรงหรือเป็นกำรออกกำลังกำยไม่ควรสวมหน้ำกำกอนำมัย) ให้ นักเรียนเล่ียงกำรยืมสิ่งของต่ำง ๆ เช่น อุปกรณ์กำรเรียนและของเล่นจำกเพื่อน งดกำรสัมผัสร่ำงกำยซ่ึงกันและกัน ควรทำควำมสะอำดห้องเรียน โต๊ะเรียน และเก้ำอ้ีทุกครั้งด้วยน้ำยำฆ่ำเชื้อ ท้ังก่อนเรียน พักกลำงวัน และหลังเรียน โดยมีกำรบนั ทกึ ข้อมูลอย่ำงเครง่ ครดั ๕. กำรใช้ห้องน้ำโรงเรียน จะต้องมีมำตรกำรในกำรทำควำมสะอำด ฆ่ำเชื้อ และบันทึกเวลำในกำรทำ ควำมสะอำดห้องน้ำโรงเรียนทุก ๆ ช่ัวโมง โดยมอบหมำยครูเวรประจำวัน แม่บ้ำน นักกำรภำรโรง ดำเนินกำรอย่ำง เครง่ ครดั ๖. มบี ุคลำกรครูและเจ้ำหนำ้ ท่ีคอยดแู ลนักเรียนในกำรใช้ห้องน้ำ ทั้งในช่วงเวลำเรียนและนอกเวลำเรียน ใหน้ กั เรยี นสลบั กันใชห้ อ้ งนำ้ ตำมควำมเหมำะสมของโรงเรียน โดยรอคิวและมีจุดเว้นระยะอย่ำงชดั เจน ๗. กำรล้ำงมอื ของนักเรยี น เนน้ ให้นกั เรยี นลำ้ งมือบ่อย ๆ ด้วยสบูเ่ หลว กอ่ นและหลงั กำรรับประทำน อำหำรหลังกำรเข้ำห้องน้ำ และก่อนกลับบ้ำน จนติดเป็นนิสัย ครูต้องสอนนักเรียนล้ำงมือโดยเน้นวิธีกำรล้ำงมือ 7 ข้นั ตอน นำนอย่ำงน้อย 20 วินำที ของกรมอนำมัย ๘. กำรรับประทำนอำหำรที่โรงอำหำร อำจแบ่งสัดส่วนรับประทำนอำหำรท่ีห้องเรียนและโรงอำหำรโดย เน้นกำรเว้นระยะห่ำงทำงสังคม หรือเพ่ือลดควำมแออัดของนักเรียน อำจมีกำรเหล่ือมเวลำในกำรพักรับประทำน อำหำรกลำงวนั โดยมรี ะยะหำ่ งของรอบเวลำละ 30 นำที ๙. โรงเรียนต้องมีมำตรกำรอย่ำงเข้มงวดเกี่ยวกับอุปกรณ์ ภำชนะในกำรรับประทำนอำหำรจะต้องมี มำตรกำรทำควำมสะอำดอย่ำงชัดเจน เช่น หลังจำกกำรล้ำงภำชนะควรมีกำรนำไปตำกแสงแดด หรืออบด้วยตู้อบให้ แหง้ สนิทเพ่ือเป็นกำรฆำ่ เช้ือโรคและจัดเกบ็ ใหม้ ดิ ชิด ๑๐. วตั ถดุ ิบในกำรประกอบอำหำรจะตอ้ งมีควำมสดใหม่ และปรุงสุก ถูกสุขลักษณะและทำควำมสะอำด อย่ำงเคร่งครัดก่อนนำมำปรุงอำหำร แม่ครัวหรือผู้ช่วยแม่ครัว ต้องใส่หน้ำกำกอนำมัย และสวมถุงมือ ตลอดเวลำ ในขณะปฏบิ ัตงิ ำน ๑๑. ทำควำมสะอำดโต๊ะและเก้ำอี้ พื้นโรงอำหำรด้วยน้ำยำฆ่ำเชื้อ ทั้งก่อนและหลังกำรรับประทำน อำหำรของนักเรียนในแตล่ ะรอบ ๑๒. กำรทิ้งขยะ ให้โรงเรียนมีมำตรกำรกำรคัดแยกขยะอย่ำงชัดเจน เช่น ขยะเปียก ขยะแห้งและมี กำรกำจัดหลงั เลิกเรยี นในทุก ๆ วัน ๑๓. โรงเรียนจัดครูเวรตรวจสอบควำมสะอำดประจำวัน และประสำนงำนกับหน่วยงำนรำชกำร เช่น อำเภอ เจ้ำหนำ้ ที่สำธำรณสขุ ในพน้ื ทีเ่ พ่ือจัดสง่ เจำ้ หน้ำที่ด้ำนอนำมัยมำตรวจสอบเปน็ ระยะ ๆ ๑๔. น้ำดื่ม โรงเรียนจัดครูหรือเจ้ำหน้ำที่คอยดูแลอำนวยควำมสะดวกในกำรกดน้ำดื่มจำกตู้ ตำมมำตรกำรของ ศบค.จังหวดั กำหนด ท้งั นผ้ี ู้ปกครองสำมำรถเตรียมนำ้ ดม่ื ใหก้ ับนกั เรียนมำจำกบ้ำนได้ ๑๕. อปุ กรณก์ ำรแปรงฟนั และแกว้ นำ้ ส่วนตวั ครปู ระจำชั้นตอ้ งจดั ระเบียบกำรเว้นระยะในกำรจัดวำงอุปกรณ์ งดกำรใช้ของร่วมกันของนักเรียนและหลังรับประทำนอำหำรกลำงวันครูประจำชั้นหรือครูเวรประจำวันนำนักเรียน แปรงฟนั โดยเน้นกำรเว้นระยะหำ่ งของนกั เรียน ๑๖. โรงเรยี นจดั เตรียมหอ้ งพยำบำลให้พร้อมเพื่อรองรับนกั เรียน กรณีนกั เรียนเกิดกำรเจ็บป่วยและมีครู นักจิตวิทยำประจำโรงเรียนเพ่ือเป็นท่ีปรึกษำกรณีนักเรียนเกิดควำมวิตกกังวลเก่ียวกับกำรระ บำดของเชื้อโรคไวรัส โคโรนำ 2019 (COVID-19)

๑๗. กำรนอนของนักเรียนปฐมวยั กรณโี รงเรียนมกี ำรจดั ให้นกั เรียนนอน จดั ห้องนอนให้มีอำกำศถำ่ ยเท งดกำรใชเ้ คร่อื งปรับอำกำศ(อำจใช้พัดลมแทน) เวน้ ระยะที่นอนของนักเรียนห่ำงกันประมำณ 2 เมตร มีฉำกพลำสติก ใสกั้น ถ้ำจำนวนนักเรียนในห้องเรียนมีจำนวนน้อย และสำมำรถจัดที่นอนให้มีระยะห่ำงมำกกว่ำ 2 เมตร ไม่ต้องมี ฉำกพลำสตกิ ใสกัน้ ครปู ระจำชน้ั หรอื ครูพ่เี ล้ยี งกำกับไมใ่ หน้ กั เรียนเล่นกันขณะนอน (นักเรยี นถอดหนำ้ กำกอนำมัย) ๑๘. กรณีโรงเรียนไม่จัดให้นักเรียนนอน ให้ผู้ปกครองมำรับนักเรียนกลับบ้ำน (นักเรียนไปนอนท่ีบ้ำน)หรือ อำจจัดกิจกรรมให้นักเรียนตำมควำมเหมำะสม ท้ังน้ีต้องปฏิบัติตำมประกำศของศูนย์บริหำรสถำนกำรณ์แพร่ระบำดของโรคติดเช้ือไวรัสโคโรนำ 2019 (COVID-19) จงั หวัดสกลนครอย่ำงเคร่งครัด



วธิ กี ารตรวจคัดกรองสุขภาพ การตรวจคัดกรองสุขภาพเบื้องตนชวงสถานการณโรคโควิด 19 ในสถานศึกษา ที่สำคัญ ไดแก การตรวจวัดอุณหภูมิรางกายหรือวัดไข การซักประวัติการสัมผัสในพื้นที่เสี่ยง การสังเกตอาการเสี่ยงตอ การตดิ เช้อื โดยมีวิธปี ฏบิ ัติท่สี ำคญั พอสงั เขป ดงั น้ี วิธกี ารตรวจวดั อุณหภูมริ า งกายหรือวัดไข มารูจักเครื่องวัดอณุ หภมู ริ างกาย คนทว่ั ไปจะมอี ณุ หภมู ริ า งกายอยรู ะหวา ง 36.1 - 37.2 องศาเซลเซยี ส สำหรบั ผทู เ่ี รม่ิ มไี ขห รอื สงสยั วา ตดิ เช้อื จะมอี ุณหภมู ทิ ่ีมากกวา 37.5 องศาเซลเซยี ส เคร่ืองวัดอุณหภูมิรางกาย มี 4 แบบ ไดแ ก 1) เครอ่ื งวดั อณุ หภมู แิ บบแทง แกว นยิ มใชว ดั อณุ หภมู ทิ างปากหรอื ทางรกั แรใ นผใู หญห รอื เดก็ โต แตไ มเ หมาะ สำหรบั ใชในเดก็ เล็ก ขอดี : อา นคาอุณหภูมิมีความนาเช่ือถอื และมีความถกู ตอง ขอเสยี : ใชเ วลาในการวัดนาน ไมเ หมาะสมในการคัดกรองผปู วยจำนวนมาก 2) เครื่องวัดอุณหภมู ิแบบดิจติ อล หนาจอแสดงผลเปนแบบตัวเลข ทำใหงายตอ การอานคา เคร่ืองมอื ชนดิ นี้ นิยมใชในการวัดอุณหภูมิทางปากหรือทางรักแรในผูใหญหรือเด็กโต รวมถึงใชในการวัดอุณหภูมิทางทวาร ของเด็กเล็กดว ย ขอดี : อา นคา อณุ หภมู มิ คี วามนา เชอ่ื ถอื และมคี วามถกู ตอ ง ขอเสีย : ใชเวลาในการวัดนอยกวาแบบแทงแกว แตยังไมเหมาะในการใชในการคัดกรองคนจำนวนมาก 3) เครื่องวัดอณุ หภมู ิในชองหู ใชว ดั อุณหภมู คิ วามรอ นที่แพรออกมาของรางกายโดยไมส มั ผัสกบั อวัยวะทีว่ ัด มีหนาจอแสดงผลเปนแบบตัวเลขทำใหงายตอการอานคา บริเวณปลายมีเซ็นเซอรวัดรังสีอินฟราเรด ที่รางกายแพรออกมา โดยเครื่องมือไดออกแบบใหวัดที่บริเวณเยื่อแกวหู ขอดี : อานคาอุณหภูมิไดรวดเร็วเหมาะสมกับการคัดกรองคนจำนวนมาก ขอควรระวัง : การปนเปอนและติดเชื้อจากทางหูกรณีไมเปลี่ยนปลอกหุม 37.5 4) เครื่องวัดอุณหภูมิทางหนาผาก เปนเครื่องมืิอที่พัฒนามาเพื่อลดโอกาส ในการตดิ เชอ้ื ใชว ดั อณุ หภมู ไิ ดอ ยา งรวดเรว็ ในการคดั กรองผปู ว ยจำนวนมาก หนาจอแสดงผลเปน แบบตวั เลข บรเิ วณปลายมีเซ็นเซอรว ัดรังสอี นิ ฟราเรด ทผ่ี ิวหนงั โดยเครอ่ื งมอื ไดอ อกแบบใหวดั ทบี่ ริเวณหนาผาก ขอ ดี : อา นคาอณุ หภูมิไดร วดเร็ว เหมาะสมกับการคดั กรองคนจำนวนมาก ขอเสีย : หากใชง านไมถ กู ตอ งตามคำแนะนำ อาจทำใหค า ทไ่ี ดค ลาดเคลอ่ื น คูมอื การปฏิบัติสำหรับสถานศึกษาในการปอ งกันการแพรระบาดของโรคโควิด 19

วธิ ีการวัดอุณหภมู ิทางหนาผาก 1. ตง้ั คา การใชง านเปน แบบวดั อณุ หภมู ิรา งกาย (Body Temperature) เครื่องวดั อณุ หภมู ิทางหนา ผาก มี 2 แบบ คอื - แบบวดั อณุ หภมู พิ น้ื ผวิ (Surface Temperature) ใชว ดั อณุ หภมู วิ ตั ถทุ ว่ั ไป เชน ขวดนม อาหาร - แบบวดั อณุ หภมู ริ า งกาย (Body Temperature) ใชว ดั อณุ หภมู ผิ วิ หนงั จะแสดงคา เปน อณุ หภมู ริ า งกาย 2. วดั อณุ หภมู ิ โดยชเ้ี ครอ่ื งวดั อณุ หภมู ไิ ปทบ่ี รเิ วณหนา ผาก ระยะหา งประมาณ 3 เซนตเิ มตร ทง้ั น้ี ขน้ึ อยกู บั ผลติ ภณั ฑต ามคำแนะนำทก่ี ำหนด แลว กดปมุ บนั ทกึ ผลการวดั ขณะทำการวดั ไมค วรสา ยมอื ไปมาบน ผิวหนงั บรเิ วณท่ที ำการวัด และไมควรมีวตั ถอุ นื่ บัง เชน เสน ผม หมวก หนา กาก เหง่อื เปนตน การอานคาผลการวัด เมื่อมีสัญญาณเสียงหรือสัญลักษณ แสดงวา ทำการวัดเสร็จ หากอานคาผล ไมชัดเจน สามารถวัดซ้ำได คาผลการวัดไมเทากัน ใหใชคาผลมากที่สุด โดยทั่วไปอุณหภูมิรางกายปกติอยู ในชวงระหวาง 36.1 - 37.2 องศาเซลเซียส หากตรวจวัดอุณหภูมิรางกาย ตั้งแต 37.5 องศาเซลเซียสขึ้นไป ถือวา มีไข ตองไดรบั การตรวจวนิ จิ ฉัยตอไป ขอควรระวงั ศึกษาคูม อื การใชงานเครือ่ งวดั อุณหภมู กิ อนการใชงาน เครื่องวัดอุณหภูมิผิวหนังควรอยูในสภาวะแวดลอมของพื้นที่กอนทำการวัดไมนอยกวา 30 นาที เพ่อื ใหอ ณุ หภมู ิของเครอื่ งวดั เทา กบั อณุ หภูมแิ วดลอ ม ไมค วรสมั ผสั หรอื หายใจบนเลนสข องหวั วดั หากมสี ง่ิ สกปรกบนเลนสใ หใ ชผ า นมุ แหง หรอื สำลพี นั กา นไม ทำความสะอาด ไมค วรเชด็ ดวยกระดาษทิชชู ผรู บั การตรวจวดั ควรอยใู นบรเิ วณจดุ ตรวจวดั อยา งนอ ย 5 นาที กอ นการวดั ไมค วรออกกำลงั กายหรอื อาบนำ้ กอ นถกู วดั อณุ หภมู เิ ปน เวลาอยา งนอ ย 30 นาที การถอื เครอ่ื งวดั อณุ หภมู หิ นา ผากเปน เวลานาน มีผลใหอุณหภมู ิภายในของเครอื่ งวัดสูงข้ึน และจะสงผลการวัดอณุ หภูมิรา งกายผิดพลาด อณุ หภมู ริ า งกายขน้ึ อยกู บั การเผาผลาญพลงั งานของแตล ะคน เสอ้ื ผา ทส่ี วมใสข ณะทำการวดั อณุ หภมู ิ แวดลอม กจิ กรรมที่ทำ ผทู ม่ี ปี ระวตั ไิ ขห รอื วดั อณุ หภมู กิ ายได ตง้ั แต 37.5 องศาเซลเซยี สขน้ึ ไป รว มกบั อาการทางเดนิ หายใจ อยางใดอยางหนึ่ง (มีน้ำมูก เจ็บคอ หายใจลำบาก เหนื่อยหอบ ไมไดกลิ่น ไมรูรส) และมีประวัติสัมผัสใกลชิด กับผูปวยยืนยัน ในชวง 14 วันกอนมีอาการ ถือวา เปนผูสัมผัสความเสี่ยงหรือเปนกลุมเสี่ยง ตองรีบแจง เจาหนาที่สาธารณสุขดำเนนิ การตอ ไป คมู อื การปฏบิ ัติสำหรบั สถานศกึ ษาในการปอ งกนั การแพรร ะบาดของโรคโควิด 19

ขนั้ ตอนการซักประวตั แิ ละสังเกตอาการเส่ยี ง โดยสอบถามเกย่ี วกบั ประวตั กิ ารสมั ผสั ในพน้ื ทเ่ี สย่ี ง พน้ื ทท่ี ม่ี ผี ปู ว ยตดิ เชอ้ื หรอื พน้ื ทท่ี ม่ี คี นจำนวนมาก และ สงั เกตอาการเสย่ี งตอ การตดิ เชอ้ื หรอื อาการทางเดนิ หายใจ เชน ไอ มนี ำ้ มกู เจบ็ คอ หายใจลำบาก เหนอ่ื ยหอบ ไมไ ดกลิน่ ไมร รู ส โดยมีวิธีปฏบิ ัติ ดังน้ี 1) จดั ตง้ั จดุ คดั กรองบรเิ วณทางเขา ของสถานศกึ ษา พจิ ารณากำหนดจดุ คดั กรองตามความเหมาะสม กับจำนวนนกั เรยี น โดยยึดหลกั Social distancing 2) วัดอณุ หภมู ิตามคำแนะนำของเครือ่ งวัดอุณหภูมิตามผลิตภณั ฑน น้ั พรอ มอา นคาผลทีไ่ ด อณุ หภูมิมากกวา 37.5 องศาเซลเซียล ถือวา มีไข 3) ใหผ ูรับการตรวจคัดกรองลา งมือดว ยสบแู ละนำ้ หรือใชเ จลแอลกอฮอลทำความสะอาดมือ 4) ตรวจสอบการสวมหนา กาก (Check mask) ของบคุ คลทกุ คนทเี่ ขา มาในสถานศกึ ษา 5) สอบถามและซักประวตั ิการสัมผัสในพ้ืนทีเ่ สย่ี ง และบนั ทกึ ผลลงในแบบบนั ทกึ การตรวจคัดกรอง สุขภาพสำหรบั นกั เรียน บคุ ลากร หรอื ผมู าตดิ ตอ ในสถานศึกษา (ภาคผนวก) กรณี วดั อณุ หภมู ริ า งกายได ไมเ กนิ 37.5 องศาเซลเซยี ส และไมม อี าการทางเดนิ หายใจ อาทิ ไอ มนี ำ้ มกู เจ็บคอ หายใจลำบาก เหนื่อยหอบ ไมไดกลน่ิ ไมรูรส ไมมีประวัติสัมผสั ใกลช ิดกบั ผูปว ยยืนยัน ในชว ง 14 วัน กอนมีอาการ ถือวา ผานการคัดกรอง จะติดสัญลักษณหรือสติ๊กเกอร ใหเขาเรียนหรือปฏิบัติงานไดตามปกติ กรณี วัดอุณหภูมิรางกาย ตั้งแต 37.5 องศาเซลเซียสขึ้นไป หรือ มีไข รวมกับอาการทางเดินหายใจ อยางใดอยางหน่งึ อาทิ ไอ มนี ำ้ มูก เจบ็ คอ หายใจลำบาก เหนือ่ ยหอบ ไมไ ดก ลิน่ ไมร ูรส ใหป ฏบิ ัติ ดงั น้ี แยกนักเรียนไปไวท ่ีหอ งแยกซ่ึงจดั เตรยี มไว บันทกึ รายชื่อและอาการปว ย ประเมินความเส่ียง แจง ผปู กครอง หากไมมีประวัติเสี่ยง ใหพานักเรียนไปพบแพทย และใหหยุดพักจนกวาจะหายเปนปกติ คูมือการปฏบิ ัตสิ ำหรบั สถานศึกษาในการปอ งกันการแพรร ะบาดของโรคโควดิ 19

หากตรวจพบวา มีประวัติเสี่ยง และ/หรือมีประวัติสัมผัสใกลชิดกับผูปวยยืนยันหรือสงสัย มีประวัติ เดนิ ทางไปในพน้ื ทเ่ี สย่ี งหรอื พน้ื ทเ่ี กดิ โรค ไปในพน้ื ทท่ี ม่ี คี นแออดั จำนวนมาก ในชว ง 14 วนั กอ นมอี าการ ถอื วา เปนผูสัมผัสที่มีความเสี่ยง หรือเปนกลุมเสี่ยง โดยจำแนกเปน กลุมเสี่ยงมีประวัติเสี่ยงสูง และกลุมเสี่ยง มีประวตั เิ สยี่ งตำ่ ใหปฏบิ ตั ิ ดงั นี้ กลมุ เส่ยี งมีประวตั ิเส่ยี งสงู แยกนกั เรยี นไปไวทีห่ อ งแยกซง่ึ จัดเตรยี มไว บันทกึ รายช่อื และอาการปวย แจงผูปกครอง ใหมารับนักเรยี น แลวพาไปพบแพทย แจง เจาหนา ที่สาธารณสุข ประเมินสถานการณก ารสอบสวนโรค ทำความสะอาดจุดเสีย่ งและบริเวณโดยรอบ เกบ็ ตัวอยา ง กักตัวอยบู า น ตดิ ตามอาการใหค รบ 14 วนั ครูรวบรวมขอมูลและรายงานผลใหผ บู ริหารสถานศึกษา ผเู กีย่ วขอ ง กลมุ เส่ียงมปี ระวตั เิ ส่ยี งตำ่ แยกนกั เรยี นไปไวท หี่ อ งแยกซึ่งจดั เตรยี มไว บนั ทกึ รายช่อื และอาการปวย แจงผูปกครอง ใหมารบั นักเรียน แลว พาไปพบแพทย แจงองคก รปกครองสวนทองถิ่น แจงทอ งถนิ่ ทำความสะอาด จุดเส่ียง และบริเวณโดยรอบ ติดตามอาการใหครบ 14 วัน ครูรวบรวมขอ มลู และรายงานผลใหผ ูบริหารสถานศึกษา ผูเกีย่ วของ คูมอื การปฏิบตั สิ ำหรับสถานศกึ ษาในการปอ งกันการแพรระบาดของโรคโควดิ 19

คำส่ังโรงเรียนบา้ นกลางนาเดื่อ ที่ 70 / ๒๕๖4 เรอื่ ง แต่งตั้งคณะกรรมการนกั เรียนแกนนำด้านสุขภาพ จติ อาสา ...................................................................... ตามที่สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน ได้มีการเตรียมความพร้อมก่อนเปิดภาคเรียน และ มแี นวปฏบิ ตั สิ ำหรบั สถานศกึ ษาระหว่างเปิดภาคเรยี นแล้วนัน้ เพ่อื ให้การดำเนินการเตรียมความพร้อมและความ ปลอดภัยของครู นักเรียนและบุคลากรของโรงเรียน บ้านกลางนาเดื่อเป็นไปตามที่กรมอนามัย กระทรวง สาธารณสุขกำหนดและมีความพร้อมในการเปิด ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2564 ตามที่กระทรวงศึกษา กำหนดร่วมทั้งเป็นการรับผิดชอบต่อสังคมในการป้องกันการแพร่ระบาดของเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (โควิด - 19) โรงเรยี นบ้านกลางนาเดื่อจึงประกาศแต่งต้ังคณะกรรมการนักเรียนแกนนำด้านสุขภาพ จิตอาสา ได้ร่วมกัน ปอ้ งกนั การแพรร่ ะบาดโรคตดิ ต่อเช้ือไวรัสโคโรนา 2019 (โควดิ - 19) รวมทงั้ โรคอน่ื ๆ ดงั น้ี คณะกรรมการดำเนินงาน ๑. เด็กชายอภิวิชญ์ ภวู งษา ประธานสภานกั เรียน ๒. เดก็ ชายบดนิ ทร์ ศรจี นั ทร์แจ่ม รองประธานสภานกั เรยี น ๓. เด็กหญิงอมิตา ปุ่งคำน้อย กรรมการ ๔. เดก็ ชายสิรภพ โคตรหาซาว กรรมการ ๕. เดก็ หญงิ ทักษพร บรุ ะเนตร กรรมการ ๖. เดก็ หญงิ เบญจพร ดำพลงาม กรรมการ ๗. เดก็ หญิงสพุ ิชญนนั ท์ สุปะมะจนิ ดา กรรมการ ๘. เด็กหญิงทะนดิ ถา แสงไชย กรรมการ ๙. เด็กหญงิ จริ ภิญญา โคตรหาซาว กรรมการ ๑๐.เดก็ หญงิ สุวนนั ท สงู ขาว กรรมการ ๑๑.เดก็ หญงิ ศิริลักษณ์ โพธิศ์ รีคำ กรรมการ ๑๒.เดก็ หญงิ ธญั ญาภรณ์ เทยี มรัตน์ กรรมการ ๑๓.เด็กชายเขมนนั ท์ อุดมรักษ์ กรรมการ ๑๔.เด็กชายอดิศกั ด์ิ คำชัยภูมิ กรรมการ ๑๕.เด็กชายนิธกิ ร คันทะนาด กรรมการ ๑๖.เดก็ หญงิ ดารนิ ทร์ พลอนิ สา กรรมการ ๑๗.เด็กหญงิ อปั สร นอนิล กรรมการและเลขานุการ ๑๘.เด็กหญิงนภสั สร เมืองอามาตย์ กรรมการและผ้ชู ว่ ยเลขานกุ าร มหี น้าท่ี นักเรียนทม่ี จี ติ อาสา เปน็ อาสาสมคั รชว่ ยดูแลสขุ ภาพเพื่อนักเรียนดว้ ยกันหรือดูแลรุน่ นอ้ งดว้ ย เช่น สภา นักเรยี น เด็กไทยทำได้ อย. น้อย ยวุ อาสาสมัครสาธารณสุข (ยุว อสม.)

1. ตดิ ตามข้อมูลข่าวสารสถานการณก์ ารแพร่ระบาดของโรค พ้ืนท่เี สี่ยง คำแนะนำการป้องกนั ตนเอง และลดความเส่ียงเร่ืองจากการแพรก่ ระจายของโควิด 19 จากแหลง่ ข้อมลู ทีเ่ ชื่อถือได้ 2. ช่วยครูตรวจคัดกรอกตวั วัดอุณหภมู ิรา่ งกายของนักเรยี นทกุ คนที่มาเรียนตอนเชา้ บริเวณทางเขา้ โดย มีครดู แู ลให้คำแนะนำอยา่ งใกลช้ ิด เน้นการจดั เวน้ ระยะระหว่างบคุ คล อย่างน้อย 1-2 เมตร 3. ตรวจดคู วามเรยี บร้อยของนกั เรียนทกุ คนทม่ี าเรียน ตอ้ งสวมหน้ากากผา้ หรอื หน้ากากอนามัยหากพบ นกั เรียนไม่สวม ใหแ้ จ้งครู ผู้รับผดิ ชอบ เพื่อจัดหาหนา้ กากผา้ หรือหนา้ กากอนามัยสำรองให้ 4. เฝา้ ระวังสังเกตอาการของนักเรียน หากมีอาการไข้ มนี ำ้ มกู เจบ็ คอ หายใจลำบาก เหนอ่ื ยหอบ ไม่ได้ กลิ่น ไม่รูร้ ส ให้รบี แจ้งครูทันที 5. จักกิจกรรมส่อื สารให้ความรู้แนะนำการป้องกันและลดความเส่ยี งจากการแพร่กระจายโควดิ 19 แก่ เพือ่ นน.ร เช่น สอนวธิ กี ารลา้ งมือท่ีถกู ต้อง การทำหน้ากากผ้า การสวมหน้ากาก การถอดหนา้ กากผ้า กรณเี ก็บไว้ ใชต้ อ่ การทำความสะอาดหน้ากากผา้ การเวน้ ระยะหา่ งระหวา่ งบคุ คล จัดทำปา้ ยแนะนำต่าง ๆ 6. ตรวจอปุ กรณ์ของใชส้ ว่ นตวั ของเพอ่ื นนักเรยี นและรนุ่ น้อง ใหพ้ ร้อมใช้งาน เนน้ ไม่ใชร้ ว่ มกบั ผอู้ น่ื เช่น จาน ช้อน สอ้ ม แกว้ น้ำ แปรงสีฟัน ยาสฟี นั ผา้ เช็ดหน้า ผ้าเช็ดมอื ตนเอง 7. จัดเวรทำความสะอาดห้องเรยี น ห้องเรยี นร่วม และบริเวณจุดสัมผัสเส่ยี งทุกวนั เชน่ ลูกบิดประตู กลอนประตู ราวบันได สนามเดก็ เลน่ อปุ กรณ์กีฬา คอมพวิ เตอร์ 8. เปน็ แบบอยา่ งทด่ี ีในการปฏิบัตติ วั เพื่อป้องกนั โควิด 19 ด้วยการสวมหนา้ กากผา้ หรือหน้ากาก อนามัย ลา้ งมือบ่อย ๆ กินอาการใช้จาน ช้อน ส้อมของตนเอง การเวน้ ระยะหา่ ง เปน็ ตน้ โดยถือปฏบิ ตั ิเป็นสขุ นิสัยกิจวัตรประจำวันอย่าสม่ำเสมอ ทง้ั นขี้ อให้คณะกรรมการทไ่ี ด้รับการแต่งตั้งปฏบิ ัตหิ น้าท่ีท่ีไดร้ ับมอบหมายให้เกดิ ประสทิ ธิภาพ และประสทิ ธผิ ล งานสำเรจ็ วัตถุประสงคเ์ กิดประโยชน์สูงสุดตอ่ ผเู้ รียน โรงเรยี น และราชการ สืบไป ทั้งน้ี ตั้งแต่บดั นีเ้ ป็นตน้ ไป สั่ง ณ วนั ท่ี 7 พฤษภาคม พ.ศ. ๒๕๖4 (นางกษมน มังคละคีรี) ผู้อำนวยการโรงเรยี นบ้านกลางนาเดื่อ

คำสง่ั โรงเรียนบ้านกลางนาเดื่อ ท่ี 71 / ๒๕๖4 เรอ่ื ง แตง่ ตง้ั คณะทำงานป้องกนั การแพร่ระบาดโรคโควดิ -19 ในสถานศกึ ษา ...................................................................... ดว้ ยโรงเรียนบ้านกลางนาเดอ่ื มนี โยบายเฝ้าระวังการแพรร่ ะบาดและการป้องกนั การติดเชอื้ ไวรัสโคโร นา 2019 ( Covid - 19) ท่ีอาจจะส่งผลกระทบต่อสุขภาพ ซงึ่ เปน็ อนั ตรายต่อนักเรยี น ครู บคุ ลากรทางการ ศกึ ษาและบุคลทั่วไปทเี่ ข้ามาในโรงเรยี นในชว่ งการเปิดภาคเรยี นของนักเรียนในระดบั ชั้นอนบุ าล 2 ถงึ ระดับชน้ั มัธยมศึกษาปีที่ 3 ในวันท่ี 1 มถิ ุนายน 2564 อาศยั อำนาจตามความในมาตรา 39 แหง่ พระราชบญั ญัติระเบยี บบริหารราชการกระทรวงศึกษาธิการ พ.ศ. 2546 มาตรา 27 แห่งพระราชบัญญัติข้าราชการครู และบุคลากรทางการศึกษา พ.ศ. 2547 ให้ ผู้บริหารสถานศึกษาเป็นผู้บังคับบัญชาข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษา จึงมีคำสั่งแต่งต้ัง คณะกรรมการเตรียมความพร้อมก่อนเปิดภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2564 เพื่อป้องกันการแพร่ระบาดของ โรคติดเช้ือไวรสั โคโรนา 2019 ( Covid - 19) ในสถานศกึ ษา ดงั นี้ คณะกรรมการฝ่ายอำนวยการ ผอู้ ำนวยการโรงเรียนบา้ นกลางนาเดอ่ื ประธานกรรมการ ๑. นางกษมน มังคละครี ี ๒. นายทินกร พรหมเทศ หวั หนา้ ฝา่ ยบริหารทวั่ ไป กรรมการ ๓. นางมกราพร ตระกูลมา ๔. นางสาววราภรณ์ คำผอง หัวหนา้ ฝ่ายบรหิ ารงานบุคคล กรรมการ ๕. นางไพลนิ ทร์ อดุ มเดช ๖. นายณัฐวุฒิ ควรคง หัวหน้าฝ่ายบรหิ ารแผนงานงบประมาณ กรรมการ หัวหนา้ ฝ่ายบริหารวิชาการ กรรมการ หัวหน้าฝ่ายบรหิ ารกิจการนักเรียน กรรมการและเลขานุการ มีหนา้ ท่ี กำกับ ตดิ ตาม สั่งการ อำนวยการท่วั ไป และประสานงานให้ การดำเนินการจดั งานให้เปน็ ไป ดว้ ยความเรยี บรอ้ ย กรรมการประกอบด้วย คณะกรรมการดำเนินการควบคมุ ดูแลและป้องกนั การแพร่ระบาดของโรคโควิด 19 ประกอบดว้ ย 1. นายทนิ กร พรหมเทศ ครู วทิ ยฐานะชำนาญการพเิ ศษ ประธานกรรมการ 2. นางไพลินทร์ อุดมเดช ครู วทิ ยฐานะชำนาญการพิเศษ กรรมการ 3. นางมกราพร ตระกลู มา ครู วิทยฐานะชำนาญการพิเศษ กรรมการ 4. นายบรรจง ใบภักดี ครู วทิ ยฐานะชำนาญการพิเศษ กรรมการ 5. นายสรุ ะชยั วงศ์ตาผา ครู วิทยฐานะชำนาญการพเิ ศษ กรรมการ 6. นางศริ มิ า ใบภักดี ครู วิทยฐานะชำนาญการพเิ ศษ กรรมการ 7. นางสาววราภรณ์ คำผอง ครู ค.ศ.1 กรรมการ 8 .นางสาวเพียงตะวัน ทวโี คตร ครู ค.ศ.1 กรรมการ 9.นางสาวติ รี โคตรสุโพธ์ิ ครู ค.ศ.1 กรรมการ 10.นายปรัชญา แก่นจำปา ครู ค.ศ.1 กรรมการ


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook