Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore หนังสือตำบลทุ่งตะไคร

หนังสือตำบลทุ่งตะไคร

Published by Chanipa Pengtham, 2021-11-30 16:18:43

Description: หนังสือตำบลทุ่งตะไคร

Search

Read the Text Version

THUN GTAKHAI HISTORYBOOK อำเภอ ทุ่งตะโก จังหวัดชุมพร Suratthani Rajabhat University

THUN GTAKHAI HISTORY BOOK

01 03 05 07 ขนาดและที่ตั้ง ลักษณะภูมิประเทศ แม่น้ำสำคัญ ภูมิอากาศ 09 12 14 16 ทรัพยากรธรรมชาติ การคมนาคม ประวัติความเป็น โครงสร้างชุมชน มาของชุมชน 20 22 27 35 โครงสร้างด้าน ความเชื่อ สถานที่สำคัญ การเปลี่ยนแปลง เศรษฐกิจและอาชีพ ประเพณีและ ทางสังคมและ วัฒนธรรม พิธีกรรม

38 50 52 การดำเนินงานโครงการ การพัฒนาสัมมาอาชีพ การสร้างและพัฒนา ยกระดับเศรษฐกิจและสังคม และสร้างอาชีพใหม่ Creative Economy (การยกระดับการท่องเที่ยว) รายตำบลแบบบูรณาการ (การยกระดับสินค้าOtop/อาชีพอื่น) 60 66 การนำองค์ความรู้ไปช่วย การส่งเสริมด้านสิ่ง บริการชุมชน (Health Care/ แวดล้อม/Circular Economy(การเพิ่มรายได้ เทคโนโลยีด้านต่าง ๆ) หมุนเวียนให้แก่ชุมชน)

THUNGTAKHAI 1 THUNGTAKHAI

ขนาดและที่ตั้ง ทิศเหนือติดต่อกับตําบลนาโพธิ ตําบลนาสัก อําเภอสวี ทิศใต้ ติดต่อกับ ตําบลตะโก ตําบลช่องไม้แก้ว อําเภอทุ่งตะ ทิศตะวันออก ติดต่อกับ ตําบลปากตะโก อําเภอทุ่งตะโก ทิศตะวันตกติดต่อกับตําบลช่องไม้แก้ว อําเภอทุ่งตะโก พื้นที่ เทศบาลตําบลทุ่งตะไคร มีพื นที ในขอบเขตความรับผิดชอบ โดยประมาณ 64.8064 ตารางกิโลเมตร หรือ ประมาณ 40,504 ไร่ แยกเป็น - พื้นที่ อยู่อาศัย 8,029 ไร่ - พื้นที่ การเกษตร 32,155 ไร่ - พื้นที สาธารณประโยชน์ 185 ไร่ - ที่ราชพัสดุ 135 ไร่ 02

2

ลักษณะภูมิประเทศโดยทั่วไปของตําบลทุ่งตะไคร ส่วนใหญ่ เป็นที่ ราบลุ่ม โดย มีคลองที่สําคัญไหลผ่าน เช่น คลองปากน้ำตะโก คลองเขาปีบ และคลองตะโก เป็นต้น ยกเว้นบริเวณด้านตะวันออก จะเป็นที่ราบสูงบางส่วนจะอยู่หมู่ที่ 4 พื้นที ส่วนใหญ่ใช้เป็นที่ตั้ง ชุมชนและพื้นที่ เกษตรกรรม K FAMILY DUC ส ว น ช ม พ ล อ ย ห มู่ ที่ 4 04

3

-คลองตะโก ไหลผ่านระหว่าง หมู่ที 1 บ้านหนองจิก และหมู่ที 3 บ้าน ทุ่งตะไคร -คลองเขาปีบ ไหลผ่านระหว่าง หมู่ที 3 บ้านทุ่งตะไคร -คลองผักหนาม ไหลผ่านระหว่าง หมู่ที 7 บ้านทุ่งใหญ่ และหมู่ที 5 บ้านเขาปีบ -คลองห้วยลึก ไหลผ่านระหว่าง หมู่ที 3 บ้านทุ่งตะไคร หมู่ที่ 5 บ้านเขาปีบ และ หมู่ที 6 บ้านสีแยกเขาปีบ -คลองปากน้ำตะโก เป็นแม่น้ำขนาดใหญ่ 06

4

ตำบลทุ่งตะไคร เป็นตำบลหนึ่งในอำเภอทุ่งตะโก จังหวัดชุมพรซึ่งเป็นจังหวัดที่ได้รับอิทธิพล จากลมมรสุมตะวันตกเฉียงใต้ และลมมรสุมตะวันออกเฉียงเหนือ ทำให้มีเพียง 2 ฤดู คือ 1. ฤดูร้อนจะเริ่มตั้งแต่เดือนกุมภาพันธ์ ถึง กลางเดือนพฤษภาคม เป็นช่วงเปลี่ยนมรสุม หลัง จากมรสุมตะวันออกเฉียงเหนืออ่อนกำลังลง 2. ฤดูฝน เริ่มตั้งแต่กลางเดือนพฤษภาคม ถึง กลางเดือนธันวาคม เป็นช่วงที่ลมมรสุมตะวันตก เฉียงใต้จากทะเลอันดามัน ซึ่งเป็นมวลอากาศที่มีความชื้นสูง และเปลี่ยนเป็นลมมรสุมตะวันออก เฉียงเหนือจึงทำให้เกิดฝนชุก มีปริมาณน้ำฝนอยู่ในช่วง 1,553 ถึง 2,344 มิลลิเมตร อุณหภูมิ ในจังหวัดชุมพร เฉลี่ยโดยประมาณ 21.30 เซลเซียส อุณหภูมิสูงสุดเฉลี่ย 34.8 องศา เซลเซียส อุณหภูมิต่ำสุดเฉลี่ย 21.6 องศาเซลเซียสความชื้นสัมพันธ์เฉลี่ยสูงสุด 97% เฉลี่ยต่ำ สุด 49% ความชื้นสัมพันธ์เฉลี่ยทั้งปี 81% 08

5

1. ลักษณะของดิน ตำบลทุ่งตะไคร เป็นดินร่วนทรายเหมาะแก่การปลูกผลไม้ และไม้ยืนต้น 2. ลักษณะของแหล่งน้ำ แหล่งน้ำสาธารณะในตำบลทุ่งตะไคร มีลักษณะเป็นหนองน้ำ และ ลำห้วยขนาดเล็กมีความกว้าง และยาวไม่มากนัก มีหนองน้ำ 3 แห่ง ห้วย 17 แห่งรวม 20 แห่ง พื้นที่รวมประมาณ 160 ไร่ ความจุน้ำประมาณ 170,000 ลูกบาศก์เมตร 3.ลักษณะของไม้และต้นไม้ พื้นที่ป่าไม้ในตำบลทุ่งตะไครมีไม่มากนัก มีป่าดิบชื้นอยู่ในหมู่ที่ 5 บ้านเขาปีบ หมู่ที่ 7 บ้านทุ่งใหญ่ และป่าชายเลนหมู่ที่ 5 บ้านเขาปีบ และหมู่ที่ 8 บ้านบ่อไคร ไม้ที่สำคัญได้แก่ไม้โกงกาง และ ไม้ตะบูน เป็นต้น ทรัพยากรณ์น้ำ 1. คลองตะโก เกิดจากเขาในอำเภอหลังสวนไหลผ่านตำบลตะโก ตำบลช่องไม้แก้ว หมู่ที่ 1 บ้านหนองจิก หมู่ที่ 2 บ้านวังน้ำก้า หมู่ที่ 3 บ้านทุ่งตะไคร และหมู่ที่ 8 บ้านบ่อไคร ของ ตำบลทุ่งตะไครและไหลผ่านทะเลที่ตำบลปากตะโกมีความยาวประมาณ 120 กิโลเมตร 2. คลองเขาปีบ 10

ทรัพยากรณ์ป่าไม้ 1. ป่าไม้เป็นป่าดิบชื้นบนภูเขาเขียวอยู่ในหมู่ที่ 5 บ้านเขาปีบ และหมู่ที่ 7 บ้านทุ่งใหญ่ พื้นที่ประมาณ 300 ไร่ 2. ป่าชายเลนอยู่ในหมู่ที่ 5 บ้านเขาปีบ และหมู่ที่ 8 บ้านบ่อไคร พื้นที่ประมาณ 400 ไร่ ภูเขา 1. เขาหลัก เขาแคค้อม และเขาวัดเขาปีบ อยู่ในหมู่ที่ 5 บ้านเขาปีบ 2. เขาเขียว เขาหัวท่า อยู่ในหมู่ที่ 5 บ้านเขาปีบ และหมู่ที่ 7 บ้านทุ่งใหญ่ 3. เขาถ้ำเขาปีบ อยู่ในหมู่ที่ 6 บ้านสี่แยกเขาปีบ 4 เขาน้ำเต้า อยู่ในหมู่ที่ 8 บ้านบ่อไคร คุณภาพของทรัพยากรธรรมชาติ คุณภาพของทรัพยากรน้ำ ดิน ป่าชายเลน ในพื้นที่ตำบลทุ่งตะไครยังอยู่ในระดับปกติ 11

6

1. ทางรถไฟจำนวน 1 สาย 2. ทางหลวงแผ่นดินจำนวน 5 สาย ระยะทางรวมประมาณ 15 กิโลเมตร 3. ถนนลาดยางทั้งสายจำนวน 3 สาย ระยะทางรวมประมาณ 5.72 กิโลเมตร 4. ถนนคอนกรีตเสริมเหล็ก ทั้งสายจำนวน 16 สาย ระยะทางรวมประมาณ 11.38 กิโลเมตร 5. ถนนลูกรังทั้งสายจำนวน 20 สาย ระยะทางรวมประมาณ 20.40 กิโลเมตร 6. ถนนลูกรัง/หินคลุกที่บางช่วงลาดยาง/เป็นคอนกรีตเสริมเหล็ก จำนวน 17 สาย - ถนนลูกรัง ประมาณ 14.86 กิโลเมตร - ถนนหินคลุก ประมาณ 3.96 กิโลเมตร - ถนนลาดยาง ประมาณ 3.35 กิโลเมตร - ถนนคอนกรีจเสริมเหล้ก ประมาณ 8.93 กิโลเมตร รวมระยะทางทั้งสิ้น 31.11 กิโลเมตร 7. ถนนลูกรังบางช่วงล่างยางจำนวน 1 สาย - เป็นถนนลูกรัง ประมาณ 2.80 กิโลเมตร - ถนนลาดยาง ประมาณ 0.70 กิโลเมตร ระยะทางรวมประมาณ 3.50 กิโลเมตร ถนนในตำบลทุ่งตะไครรวมทั้งสิ้น 63 สาย ระยะทางรวมประมาณ 92 กิโลเมตร แยกเป็น - ถนนลูกรัง ระยะทางประมาณ 42.39 กิโลเมตร - ถนนคอนกรีตเสริมเหล็ก ระยะทางประมาณ 20.89 กิโลเมตร - ถนนลาดยาง ระยะทางประมาณ 24.77 กิโลเมตร - ถนนหินคลุก ระยะทางประมาณ 3.95 กิโลเมตร 13

7

ประวัติความเป็นมาของตำบลทุ่งตะไคร อำเภอทุ่งตะโก จังหวัดชุมพร นั้นเดิมเรียกว่าบ่อตะไคร ต่อมามีประชาชนเข้ามาอาศัยอยู่มาก ประกอบกับพื้นที่เหมาะแก่การทำนา เนื่องจากพื้นที่ต่ำ ประชาชนจึงบุกเบิกเพื่อขยายทุ่งนา เพื่อปลูกข้าวมากขึ้นเป็นทุ่งกว้าง จึงเปลี่ยนมาเป็นชื่อทุ่ง ตะไคร้ และเพี้ยนเป็นทุ่งตะไครจนถึงปัจจุบัน และได้แบ่งเขตการปกครองโดยเทศบาลตำบลทุ่ง ตะไครออกเป็น 2 เขต 8 หมู่บ้าน ประกอบด้วย เขตที่ 1 ได้แก่ หมู่ที่ 1 บ้านหนองจิก, หมู่ที่ 2 บ้านวังน้ำก้า และหมู่ที่ 6 บ้านสี่แยกเขาปีบ เขตที่ 2 ได้แก่ หมู่ที่ 3 บ้านทุ่งตะไคร, หมู่ที่ 4 บ้าน ห้วยมุด, หมู่ที่ 5 บ้านเขาปีบ, หมู่ที่ 7 บ้านทุ่งใหญ่ และหมู่ที่ 8 บ้านบ่อไคร โดยในพ.ศ.2434 หมู่ที่ 6 บ้านสี่แยกเขาปีบ ได้แยกออกมาจากหมู่ที่ 5 บ้านเขาปีบ มาเป็นบ้านนาเหนือ ในพ.ศ.2488 เกิดสงครามโลกครั้งที่ 2 ถูกทหารญี่ปุ่นทิ้งระเบิดและการยิงโดยเครื่องบินที่ ชาวบ้านสมัยนั้นเรียกว่าดัมมี่ มีการสร้างหลุมหลบภัยและเกิดการขาดแคลนอาหาร ที่หมู่ที่ 5 บ้านเขาปีบ ในพ.ศ.2496 มีการย้ายวัดมุจลินทราราม จากหมู่บ้านหนองจิก ตำบลทุ่งตะไครไป อยู่ที่ตำบลช่องไม้แก้ว พ.ศ.2514 ได้เกิดฝนตกหนักน้ำป่าไหลหลากมาจากปลายคลองตะโก น้ำได้ท่วมทางช่วงที่วางท่อระบายน้ำ น้ำได้กัดเซาะทำให้ถนนขาด 15

8

ด้ า น ก า ร ป ก ค ร อ ง ตำบลทุ่งตะไคร แบ่งเขตการปกครองออกเป็น 8 หมู่บ้าน ดังนี้ หมู่ที่ 1 บ้านหนองจิก หมู่ที่ 2 บ้านวังน้ำก้า หมู่ที่ 3 บ้านทุ่งตะไคร หมู่ที่ 4 บ้านห้วยมุด หมู่ที่ 5 บ้านเขาปีบ หมู่ที่ 6 บ้านสี่แยกเขาปีบ หมูที่ 7 บ้านทุ่งใหญ่ หมู่ที่ 8 บ้านบ่อไคร ก า ร เ ลื อ ก ตั้ ง เ ท ศ บ า ล ตำ บ ล ทุ่ ง ต ะ ไ ค ร ไ ด้ แ บ่ ง เ ข ต เ ลื อ ก ตั้ ง ส ม า ชิ ก ส ภ เ ท ศ บ า ล ตำบลทุ่งตะไคร เป็น 2 เขต คือ เขตที่ 1 ประกอบด้วย หมู่ที่ 1 หมู่ที่ 2 และหมู่ที่ 6 เขตที่ 2 ประกอบด้วย หมู่ที่ 3 หมู่ที่ 4 หมู่ที่ 5 หมู่ที่ 7 และหมู่ ที่ 8 ประชากร ประชากรรวมทั้งสิ้น 6,027 คน แยกเป็นประชากรชาย 2,953 คน ประชากรหญิง 3,074 คน จำนวนบ้าน 3,098 หลังคาเรือน 17

ตารางแสดงจำนวนประชากรและครัวเรือนของตำบลทุ่งตะไคร หมู่ที่ ชื่อหมู่บ้าน ประชากร รวม จำนวนบ้าน ชาย หญิง 1 บ้านหนองจิก 401 420 821 414 2 บ้านวังน้ำก้า 254 275 529 200 3 บ้านทุ่งตะไคร 219 199 418 173 4 บ้านห้วยมุด 368 389 757 264 5 บ้านเขาปีบ 291 301 592 200 6 บ้านสี่แยกเขาปีบ 856 915 1,771 1,478 7 บ้านทุ่งใหญ่ 220 228 448 153 8 บ้านบ่อไคร 344 347 691 216 2,953 3,074 6,027 3,098 รวม ที่มา ข้อมูลประชากรจากสำนักทะเบียนราษฎร์อำเภอทุ่งตะโก ณ พ.ศ. 2559, ข้อมูลหลังคาเรือนจากเทศบาลทุ่งตะไคร ณ พ.ศ. 2563 18

ด้ า น ก า ศึ ก ษ า 1. โรงเรียนมุจลินทาราม หมู่ที่ 1 2. โรงเรียนทุ่งตะโกวิทยา หมู่ที่ 1 3. โรงเรียนชุมชนวัดธรรมถาวร หมู่ที่ 3 4. โรงเรียนบ้านห้วยมุด หมู่ที่ 4 5. โรงเรียนราชประชานุเคราะห์ 3 หมู่ที่ 6 ศู น ย์ พั ฒ น า เ ด็ ก เ ล็ ก 1. ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กเทศบาลตำบลทุ่งตะไคร (ห้องเรียนชุมชนวัดธรรมถาวร) หมู่ที่ 3 2. ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กวัดทุ่งโพธิ์ทอง หมูที่ 4 3. ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กเทศบาลตำบลทุ่งตะไคร หมู่ที่ 6 ด้ า น ศ า ส น า 1. โบราณสถาน (พระธาตุมุจลินทร์) หมูที่ 1 2. สำนักปฏิบัติธรรม หมู่ที่ 1 3. วัดธรรมถาวร หมู่ที่ 3 4. วัดทุ่งโพธิ์ทอง หมู่ที่ 4 5. วัดถ้ำเขาปีบ หมู่ที่ 5 6. โบราณสถาน (ถ้ำเขาปีบ) หมู่ที่ 6 19

9

เ ศ ร ษ ฐ กิ จ แ ล ะ อ า ชี พ ร า ษ ฎ ร ป ร ะ ช า ช น ใ น ตำ บ ล ทุ่ ง ต ะ ไ ค ร ส่ ว น ใ ห ญ่ ป ร ะ ก อ บ อ า ชี พ ท า ง ด้ า น เ ก ษ ต ร ก ร ร ม เ ป็ น ห ลั ก โดยเฉพาะการปลูกผลไม้ยืนต้น เช่น ทุเรียน เงาะ มังคุด ลองกอง ยางพารา ปาล์ม น้ำมัน และพืชผักต่าง ๆ เป็นต้น มีการเลี้ยงสัตว์ โค สุกร ไก่ แพะ การเลี้ยงกุ้ง เลี้ยง ปลา มีการเลี้ยงผึ้งเพื่อขายน้ำผึ้งในบางหมู่บ้าน มีแหล่งชุมชนที่สำคัญในการประกอบ อาชีพทำธุรกิจ การค้าต่าง ๆ คือ ชุมชนสี่แยกเขาปีบ มีตลาดสดเอกชนที่ได้เกณฑ์ มาตรฐาน อาชีพรองลงมาเป็นการทำธุรกิจค้าขาย รับราชการ รวมทั้งอาชีพรับจ้าง ทั่ ว ไ ป 21

10

ชื่อประเพณี : ประเพณีสรงน้ำพระธาตุมุจลินทร์และรดน้ำผู้สูงอายุ แหล่งที่มา : บ้านหนองจิก - อำเภอ ทุ่งตะโก จังหวัดชุมพร ประเพณีเกี่ยวกับ : ศาสนา ความเป็นมา (ภูมิหลัง/ความเชื่อ) พระธาตุมุจลินทร์เป็นโบราณสถานสำคัญแห่ง หนึ่งของชาวอำเภอทุ่งตะโก และจังหวัดชุมพร องค์พระธาตุเป็นเจดีย์ฐานสี่เหลี่ยม จัตุรัส ขนาด 2.20 X 2.20 เมตร ฐานชั้นล่างเป็นฐานเขียงรองรับฐานสิงห์ย่อ มุมไม้สิบหก ท้องไม้ลักษณะคล้ายเรือนธาตุ ทำเป็นประตูหลอกทั้ง 4 ด้าน มีปูนปั้น รูปยักษ์เฝ้าประตูด้านละ 2 ตน ซุ้มหน้าเป็นลายปูนปั้นรูปราหูอมจันทร์ อยู่บนฐาน ที่ทำล้อกับเรือนธาตุรองรับบัวปากระฆังรูปสี่เหลี่ยม องค์ระฆังเป็นรูปสี่เหลี่ยมย่อ มุมไม้สิบหก คอระฆังหรือบัวคอเสื้อประดับปูนปั้นเป็นบัวซ้อน 3 ชั้น ถัดขึ้นไปเป็น ลูกแก้วรองรับบัวกลุ่มเถา ซึ่งหักเหลือบัวกลุ่มเพียงชั้นเดียว ลักษณะเป็น ศิลปกรรมท้องถิ่นกำหนดอายุราวสมัยรัตนโกสินทร์ตอนต้นหรือราว 150-200 ปี ซึ่งบริเวณนี้เรียกว่า บ้านหนองจิก เนื่องจากมีต้นจิกจึงเป็นที่มาของชื่อมุจลิ นทร์ ซึ่งแปลว่า ต้นจิก ชาวบ้านในละแวกนี้เรียกพระธาตุมุจลินทร์ว่า พ่อท่านใน กุฏิ คือ เป็นที่เก็บอัฐิของพระสงฆ์ผู้ศักดิ์สิทธิ์ แต่สืบไม่ได้ว่าพ่อท่านในกุฏิเป็นผู้ใด จ า ก ก า ร สั น นิ ษ ฐ า น รู ป แ บ บ ศิ ล ป ก ร ร ม ข อ ง อ ง ค์ พ ร ะ ธ า ตุ มุ จ ลิ น ท ร์ 23

เข้าใจว่าบริเวณนี้คงเป็นที่ตั้งชุมชนดั้งเดิมของชาวทุ่งตะโก ในสมัยรัตนโกสินทร์ ตอนต้น ราวรัชกาลที่ 1-3 ซึ่งเดิมจะมีวัดมุจลินทารามตั้งอยู่ด้วยแต่ได้ร้างไป ประกอบกับมีพื้นที่คับแคบไม่เหมาะสมแก่การขยายและพัฒนาวัด จึงได้ย้ายไปตั้งวัด มุจลินทารามใหม่ที่ หมู่ที่ 1 ตำบลช่องไม้แก้ว อำเภอทุ่งตะโก ห่างจากที่ตั้งเดิม ประมาณ 1 กิโลเมตร โดยย้ายไปประมาณกว่า 40 ปีแล้ว ปัจจุบันบริเวณพระธาตุมุ จลินทร์เป็นที่ตั้งของโรงเรียนวัดมุจลินทารามด้วย การสรงน้ำพระบรมสารีริกธาตุ พระธาตุ พระพุทธรูป และพระสงฆ์ เป็นประเพณีความเชื่อดั้งเดิมมาแต่โบราณที่ ปฏิบัติสืบต่อกันมาเป็นประจำทุกปี เปรียบเสมือนการได้สรงน้ำพระพุทธเจ้าหรือพระ อรหันต์ ชาวบ้านหนองจิกหมู่ที่ 1 ตำบลทุ่งตะไคร ชาวบ้านเขาขวาง หมู่ที่ 1 ตำบล ช่องไม้แก้ว และหมู่บ้านใกล้เคียง ได้ร่วมจัดงานสรงน้ำพระธาตุมุจลินทร์และรดน้ำผู้ สูงอายุ ในช่วงเทศกาลสงกรานต์ ซึ่งลูกหลานที่ไปศึกษาอยู่ต่างจังหวัดก็จะกลับบ้าน มาช่วงเทศกาลสงกรานต์เพื่อมาร่วมงานประเพณีสรงน้ำพระธาตุ สรงน้ำพระพุทธรูป สรงน้ำพระ และรดน้ำขอพรผู้สูงอายุ เพื่อเป็นการแสดงออกถึงความกตัญญูกตเวที โดยปฏิบัติสืบทอดต่อ ๆ กันมา ปัจจุบันเป็นประเพณีท้องถิ่นของบ้านหนองจิก ตำบล ทุ่งตะไคร อำเภอทุ่งตะโก จังหวัดชุมพร 24

อัตลักษณ์ (ที่โดดเด่น) ประเพณีสรงน้ำพระธาตุมุจลินทร์และรดน้ำผู้สูงอายุ เป็น ประเพณีท้องถิ่นที่เกิดขึ้นจากความร่วมมือ ร่วมใจ และความศรัทธาที่มีต่อองค์ พระธาตุของชาวบ้านหนองจิก ตำบลทุ่งตะไคร อำเภอ ทุ่งตะโก จังหวัดชุมพร กิ จ ก ร ร ม 1.ทำบุญ ตักบาตร 2 . ส ร ง น้ำ พ ร ะ 3 . ร ด น้ำ ข อ พ ร ผู้ สู ง อ า ยุ 4.กิจกรรมการละเล่นพื้นเมือง ได้แก่ มวย โนราห์ หนังตะลุง มหรสพต่างๆ 25

ความสำคัญและคุณค่าทางสังคมและทางจิตใจที่มีในวิถีการดำเนินชีวิตของชุมชน นั้นๆ 1. เป็นการอนุรักษ์สืบสานประเพณีวัฒนธรรมที่ดีงามของชุมชนท้องถิ่นให้คงอยู่สืบไป 2. เด็ก เยาวชน ประชาชน ในพื้นที่ตระหนัก เห็นคุณค่าของมรดกทางวัฒนธรรมและ ร่วมกัน สืบสานต่อไป 3. เด็ก เยาวชน และประชาชนได้แสดงออกถึงความกตัญญูกตเวทีต่อบุพการีและผู้สูง อายุ ได้ร่วมทำบุญอุทิศส่วนกุศลแก่บรรพบุรุษที่ได้ล่วงลับไปแล้ว 4. สร้างความรัก ความสามัคคีและการมีส่วนร่วมของคนในท้องถิ่น การจัดงานเป็นประจำทุกปี เริ่ม วันที่ 14 เดือน เมษายน ถึง วันที่ 15 เดือน เมษายน หน่วยงานรับผิดชอบหลัก : สำนักงานเทศบาลตำบลทุ่งตะไคร ที่อยู่ : สำนักงานเทศบาลตำบลทุ่งตะไคร หมู่ที่ 6 ตำบลทุ่งตะไคร อำเภอทุ่งตะโก จังหวัดชุมพร 86220 โทรศัพท์ : 0 7753 6200 หน่วยงาน/องค์กร/สถาบัน ที่ร่วมจัด : ที่ทำการปกครอง อ.ทุ่งตะโก สนง.วัฒนธรรม จังหวัดชุมพร ประชาชนหมู่ 1-8 ต.ทุ่งตะไคร หมู่ 1 ต.ช่องไม้แก้ว 26

11

ที่ว่าการอํา เภอทุ่งตะโก ที่อยู่ที่ว่าการอําเภอ ติด ถ.ทางหลวงหมายเลข 41 (ชุมพร - พัทลุง) ม.1 ต.ทุ่งตะไคร อํา เภอทุ่งตะโก จังหวัด ชุมพร มีคํา ขวัญประจํา อํา เภอคือ หาด ทรายงาม น้ำตกสวย รวยผลไม้ ไหว้เสด็จในกรมฯ ชมพระธาตุ มุจลินทรื หมายเลขโทรศัพท์ 077 536-016 หมายเลขโทรสาร 077-536019 ส ถ า นี ตำ ร ว จ ภู ธ ร อำ เ ภ อ ทุ่ ง ต ะ โ ก ที่อยู่ สถานีตํนีตํารวจภูธภูรอําอํเภอทุ่งตะโก 85 ม.1 ต.ทุ่งตะไคร อ.ทุ่งตะโก จ.ชุมพร เทศบาลเมือง ชุมพร 86220 หมายเลขโทรศัพท์ 077 536 027 สามารถติดต่อ ได้ตลอดเวลา 24 ชั่วโมง 28

โ ร ง พ ย า บ า ล ทุ่ ง ต ะ โ ก ที่อยู่ 99 หมู่ 1 ถนนเพชรเกษม ตําบลทุ่งตะไคร อําเภอทุ่งตะโก จังหวัดชุมพร 86220 โรงพยาบาลทุ่งตะโกเปิดให้บริการเป็นโรงพยาบาลขนาด 10 เตียง ผู้ป่วยในที่เปิดให้บริการ 30 เตียง มีเนื้อที่ 9 ไร่ 3 งาน 17 ตารางวา วิสัยสัทัศน์ (VISION) : เป็นโรงพยาบาลชุมชนที่มีคุณภาพ ค่านิยนิม (VALUES) : รู้หน้าที่ มีใจบริการ ให้เกียรติผู้ร่วมงาน ทํ า ง า น แ บ บ มื อ มื อ า ชี พ พันธกิจ (MISSION) : 1 . พั ฒ น า ร ะ บ บ บ ริ ก า ร ใ ห้ ไ ด้ ม า ต ร ฐ า น 2 . พั ฒ น า ร ะ บ บ บ ริ ห า ร จั ด ก า ร ด้ า น ก า ร เ งิ น ที่ มี ป ร ะ สิ ท ธิ ภ า พ 3 . พั ฒ น า ร ะ บ บ ฐ า น ข้ อ มู ล แ ล ะ ส า ร ส น เ ท ศ ข อ ง เ ค รื อ ข่ า ย 4 . ส่ ง เ ส ริ ม สุ ข สุ ภ า พ ชุ ม ช น แ ล ะ ภ า คี เ ค รื อ ข่ า ย ใ ห้ เ ข้ ม แ ข็ ง โทรศัพท์ติดต่อ 077536850 29

โ ร ง เ รี ย น ทุ่ ง ต ะ โ ก วิ ท ย า โ ร ง เ รี ย น ทุ่ ง ต ะ โ ก วิ ท ย า เ ป็ น โ ร ง เ รี ย น มั ธ ย ม ศึ ก ษ า ป ร ะ จํ า อํ า เ ภ อ ทุ่ ง ต ะ โ ก สังกัดสํานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 11 สํานักงานคณะ กรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐานกระทรวงศึกษาธิการ ตั้งอยู่เลขที่ 47 หมู่ที 1 ตําบลทุ่งตะไคร อําเภอทุ่งตะโก จังหวัดชุมพร ตั้งขึ้นในปีการ ศึกษา 2520 โดย ใช้ศูนย์พัฒนาตําบล หมู่ที 2 ตําบลทุ่งตะไคร อําเภอ ทุ่งตะโก จังหวัดชุมพร เป็นสถานที เรียนในระยะ แรก ซึ่งมีจํานวน 2 ห้องเรียน นักเรียนทั้งหมด 98 คน และได้รับความร่วมมือจากผู้ ปกครองนักเรียน ในการสร้างโต๊ะ เก้าอี และอุปกรณ์ที จําเป็น ซึ งต่อ มานายเขียน นางพุฒิ พินนาสัก ได้บริจาคที ดิน มีเนื อที 36 ไร่ 2 งาน 5.9 ตารางวา ติดทางหลวงหมายเลข 41 ระหว่างกิโลเมตรที 46 โรงเรียนจึงได้ ย้ายนักเรียนมาเรียนในเดือนมกราคม พ.ศ.2521 จ น ถึ ง ปั จ จุ บั น ช่ อ ง ท า ง ก า ร ติ ด ต่ อ โทรศัพท์ : 077536854 อีเมลล์ : [email protected] เว็บไซต์ : WWW.TUNGTAKOWIT.AC.TH 30

วั ด มุ จ ลิ น ท า ร า ม วัดมุจลินทาราม เดิมชื่อ วัดหนองจิก เพราะแต่เดิมในบริเวณวัดเคยมี หนองนา และต้นจิก ใหญ่ขึ นอยู่ริมหนอง ต่อมาได้มีการเปลี ยนชื อวัดเป็น “วัดมุจลินทาราม” ให้สอดคล้องกับภาษา บาลี(มุจลินท์ หมายถึง ต้นจิก, อาราม หมายถึง วัด) หนังสือประวัติวัดทั วราชอาณาจักร เล่มที 23 กล่าว ว่า วัดมุจลินทารามตั งขึ นในป พ.ศ.2340 แต่เดิมวัดตั งอยู่ที ตําบลทุ่ง ตะไคร ต่อมาใน ป พ.ศ.2496 ได้มีการย้ายวัดไปที ตําบล ช่องไม้แก้ว ห่าง จากที ตั งเดิม 700 เมตร ส่วนที ตั งเดิม คงเหลือเพียงพระเจดีย์องค์ เดียว และป จจุบันเป็นที ตั งของโรงเรียนวัดมุจลินทาราม พระเจดีย์หรือ พระธาตุมุจลินทร์ เป็นเจดีย์ฐานสี เหลี ยมจัตตุรัส ขนาด 2.20 X 2.20 เมตร ชั น ล่างเป็นฐานเขียงรองรับฐานสิงห์ย่อมุมไม้สิบหก มีท้องไม้ ลักษณะคล้ายเรือนธาตุ โดยทําเป็น ประตูหลอกทั ง 4 ด้าน มีปูนป นทํา เป็นรูปยักษ์เฝ าประตูด้านละ 2 ตน ซุ้มหน้าบันเป็นลายปูนป น รูป ราหู อมจันทร์อยู่บนฐานที ทําเลียนแบบกับเรือนธาตุรองรับบัวปากระฆังรูปสี เหลี ยม องค์ ระฆังเป็นรูปสี เหลี ยมย่อมุมไม้สิบหก คอระฆังหรือบัวคอเสื อเป็นปูนป นรูปบัวซ้อนกลีบ 3 ชั น ถัดขึ นไปเป็นลูกแก้วรองรับบัวกลุ่มเถาซึ งหักเหลือบัวกลุ่มเพียงชั นเดียว พระธาตุมุจลินทร์มี ลักษณะเป็นศิลปกรรมท้องถิ น สมัยรัตนโกสินทร์ตอน ต้น มีอายุประมาณ 150 – 200 ป มาแล้ว 31

วั ด ธ ร ร ม ถ า ว ร วัดธรรมถาวร ตั้งอยู่ในหมู่ที่ 3 บ้านทุ่งตะไคร โดยสร้างขึ้ นใน ปีพ.ศ.2457รัชกาลที่6 รัชสมัยพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้า เจ้าอยู่หัว โดยพระอธิการคง นารโท เป็นผู้บุกเบิก สร้าง เดิมชื อ วั ด ด อ น โ ต น ด ต่ อ ม า ปี พ . ศ . 2 4 6 5 ส ม เ ด็ จ พ ร ะ สั ง ฆ ร า ช เ จ้ า ก ร ม วชิรญาณวงศ์ เสด็จจากวัดบวรนิเวศวิหาร กรุงเทพฯ ประทาน นามว่าวัดธรรมถาวร มีความหมายว่า ศาสน สถานที ยึดมั น ในธรรมอย่างมั นคง พ.ศ.2530 กรมศาสนายกให้วัดธรรม ถ า ว ร เ ป็ น วั ด พั ฒ น า ตั ว อ ย่ า ง ( ห มู่ บ้ า น ทุ่ ง ต ะ ไ ค ร ) แ ล ะ พ . ศ . 2 5 0 0 มี ง า น ปิ ด ท อ ง ฝั ง ลู ก นิ มิ ต ค รั้ ง แ ร ก ก า ร เ ดิ น ท า ง อ อ ก จ า ก ตั ว เ มื อ ง ชุ ม พ ร ม า ท า ง ทิ ศ ใ ต้ ต า ม ถ น น ทางหลวงหมายเลข 41 ไป อําเภอทุ่งตะโก จากทุ่งตะโกตรงต่อ ไปประมาณ1 กิโลเมตร เมื อถึงที ว่าการอําเภอทุ่งตะโก ตรงไป อีกประมาณ 500 เมตร ทางด้านซ้ายมือจะพบป้ายทางเข้าวัด ธรรมถาวร ขับตรงเข้าไปประมาณ 3 กิโลเมตร วัดธรรมถาวร จะอยู่ ทางด้านซ้ายมือ 32

วั ด ถ้ำ เ ข า ปี บ วัดถ้ำเขาปีบ เป็นแหล่งโบราณคดีตั้งอยู่บริเวณเขาปีบ หมู่ที่ 6 บ้านแยกเขาปีบ เป็นภูเขาหินปูนซึ่งทอดตัวยาวตามแนวเหนือใต้ ปากถ้ำหันไปทางทิศตะวันออก มีบันไดก่อด้วยปูนประมาณ 50 ขั้น ขึ้นไปยังบริเวณถ้ำ ภายในมีการทำทางเดิน และก่อลาน ซีเมนต์ยกขึ้นมาจากพื้นถ้ำ และประดิษฐานพระพุทธรูปปูนปั้น ปางมารวิชัย หน้าตักกว้าง 1.90 เมตร บริเวณบานมีจารึกว่า “ปีเถาะ พ.ศ.๒๔๕๘, พระช ... (ข้อความลบเลือน) ...” ซึ่ง สันนิษฐานว่าเป็นปีที่สร้างพระองค์นี้ไว้ภายใน โดยจะมีประเพณี สรงน้ำพระพุทธรูปในช่วงเทศกาลสงกรานต์ของทุกปี นอกจาก นี้ ยั ง มี เ จ ดี ย์ ตั้ ง อ ยู่ เ ยื้ อ ง ป า ก ท า ง เ ข้ า ถ้ำ เ ข า ปี บ เ ป็ น เ จ ดี ย์ ท ร ง ร ะ ฆั ง คว่ำ ยอดหัก ตั้งอยู่บนฐานเขียงสี่เหลี่ยมจัตุรัสซ้อนลดหลั่นกัน ขึ้นไป 4 ชั้น ฐานล่างสุดกว้าง 3.10 เมตร ความสูงเท่าที่เหลือ 3.7 เมตร บริเวณฐานมีลายปูนปั้นรูปขาสิงห์ ภายในองค์เจดีย์ กลวง มีร่องรอยการขุดบริเวณฐานเจดีย์ และช่องบริเวณองค์ เ จ ดี ย์ 33

บ้ า น ช ม พ ล อ ย บ้านชมพลอยตั้งอยู่ที่หมู่ที่ 4 ตำบลทุ่งตะไคร อำเภอทุ่งตะดก จังหวัดชุมพร ของนางรัชนี จุลใส ซึ่งเป็นศูนย์การเรียนรู้วิถี เศรษฐกิจพอเพียง มีทั้งปลูกผัก เลี้ยงสัตว์ และทำปุ๋ยเพื่อใช้ใน สวนได้อย่างครบวงจร เปิดเป็นสถานที่ท่องเที่ยวเชิงเกษตร จะ มีการหึความรู้ฐานต่าง ๆ เกี่ยวกับการเกษตร 34

12

ค ว า ม ห ม า ย ข อ ง ก า ร เ ป ลี่ ย น แ ป ล ง ท า ง สั ง ค ม แ ล ะ วั ฒ น ธ ร ร ม สังคมมนุษย์นั้นไม่ได้อยู่ในสภาพที่หยุดนิ่ง หากแต่จะเคลื่อนไหวตลอดเวลาดังนั้น แนวโน้มโดยทั่วไปของสังคมจึงอยู่ในสภาพที่จะเปลี่ยนแปลงอยู่เสมอ โดยความหมายของ การเปลี่ยนแปลงแล้วเราพิจารณาในลักษณะของการเปรียบเทียบความแตกต่างของสิ่ง ๆ หนึ่งในเวลาต่างกัน การเปลี่ยนแปลงจึงเกี่ยวข้องกับเวลาหมายความว่าการเปลี่ยนแปลง ท า ง สั ง ค ม แ ล ะ วั ฒ น ธ ร ร ม นี้ เ ร า พิ จ า ร ณ า ใ น แ ง่ ก า ร เ ป รี ย บ เ ที ย บ ค ว า ม แ ต ก ต่ า ง ข อ ง สั ง ค ม แ ล ะ วั ฒ น ธ ร ร ม ห นึ่ ง ใ น เ ว ล า ที่ ผ่ า น ไ ป วิลเบอร์ มัวร์ ซึ่งสนใจเกี่ยวกับการเปลี่ยนแปลงทางสังคมเป็นพิเศษได้ให้คำนิยาม ของการเปลี่ยนแปลงทางสังคมว่า “เป็นการเปลี่ยนแปลงโครงสร้างของสังคมอย่างมีนัย สำคัญ ซึ่งหมายถึงการเปลี่ยนแปลงในรูปแบบของการกระทำและการปะทะสังสรรค์รวม ทั้ ง ผ ล ข อ ง ก า ร ก ร ะ ทำ แ ล ะ โ ค ร ง ส ร้ า ง ที่ ก่ อ ใ ห้ เ กิ ด ป ทั ส ถ า น อ ย่ า ง เ ห็ น ไ ด้ ชั ด ” 36

อย่างไรก็ตามในเรื่องของการเปลี่ยนแปลงทางสังคมและวัฒนธรรมนี้เราอาจจำแนกได้ เป็น 2 ประการ ทั้งนี้เพื่อให้ง่ายต่อการพิจารณารูปธรรม กล่าวคือถ้าพิจารณาในแง่ของการ เปลี่ยนแปลงทางสังคม (SOCIAL CHANGE) นั้นจะเกี่ยวข้องกับระดับพฤติกรรมเป็นสำคัญ ซึ่งหมายถึงเป็นการพิจารณาการเปลี่ยนแปลงเกี่ยวกับการประพฤติปฏิบัติการแสดงออกต่าง ๆ ที่เกิดจากการปะทะสังสรรค์ของสมาชิกสังคม แต่ถ้าพิจารณาในแง่การเปลี่ยนแปลงทาง วัฒนธรรม (CULTURAL CHANGE) นั้นจะหมายถึงการเปลี่ยนแปลงในระดับปทัสถาน (NORMS) อันได้แก่ การเปลี่ยนแปลงของระบบกฎเกณฑ์ต่าง ๆ ที่ครอบคลุมสังคมนั้นและ เมื่อเราพูดถึงการเปลี่ยนแปลงทางสังคมและวัฒนธรรมก็จะครอบคลุมไปถึงระเบียบกฎเกณฑ์ ทัศนคติค่านิยมแบบแผนของความสัมพันธ์ สถานภาพและบทบาทกฎหมายต่าง ๆ ฯลฯ ซึ่งการ ประพฤติปฏิบัติไปตามปทัสถานเหล่านี้จะอยู่ในโครงสร้างของสังคม ก า ร สั ม ภ า ษ ณ์ ส อ บ ถ า ม จ า ก ป ร ะ ส บ ก า ร ณ์ ข อ ง ช า ว บ้ า น ใ น ตำ บ ล การเปลี่ยนแปลงทางสังคมและวัฒนธรรมตั้งแต่ยุคอดีตจนถึงปัจจุบัน ผมจะขอแบ่งออก เ ป็ น ส า ม หั ว ข้ อ ด้ ว ย กั น ค รั บ 37

หัวข้อที่ 1 : การเปลี่ยนแปลงของการประกอบอาชีพ ชาวบ้านในตำบลทุ่งตะไครมีหลาย ครัวเรือนที่เปลี่ยนอาชีพจากเกษตรกรไปเป็นค้าขาย ในยุคสมัยหนึ่งชาวบ้านในตำบลทุ่งตะ ไครนิยมประกอบอาชีพเกษตรกรกันเป็นหลัก มีส่วนน้อยที่จะปรกอบอาชีพค้าขาย แต่เมื่อ มี ก า ร จั ด ตั้ ง ต ล า ด เ ข า ปี บ แ ล ะ ต ล า ด เ ท ศ บ า ล ช า ว บ้ า น จึ ง นำ ข อ ง ไ ป ข า ย ใ น ต ล า ด ที่ จั ด ตั้ ง ขึ้ น จ น เป็นที่มาของการเปลี่ยนอาชีพไปค้าขายเต็มตัว ต่อมาราคาของปาล์มและผลไม้บางชนิดมี ราคาแพงขึ้นชาวบ้านหลาครัวเรือยจึงหันไปปลูกปาล์ม เป็นอีกครั้งที่เกิดการเปลี่ยนแปลง ค รั้ ง ใ ห ญ่ เ พ ร า ะ ใ น ยุ ค นั้ น ที่ มี ห ล า ย ค รั ว เ รื อ น นิ ย ม ป ลู ก ป า ล์ ม กั น อ ย่ า ง แ พ ร่ ห ล า ย ทำ ใ ห้ เ กิ ด ปรากฏการณ์ผลปาล์มล้นตลาดจนราคาปาล์มตกลง ขาดทุนจนลำบากต้องกู้ยืมเป็นที่มา ของเหตุการณ์ฆ่า ปล้น หรือทวงหนี้โหดในตอนนั้น หัวข้อที่ 2 : การเปลี่ยนแปลงด้านการศึกษา ชาวบ้านในยุคหลังๆเริ่มเห็นคุณค่าของการ ศึกษามากขึ้น ไม่ว่าจะเป็นการส่งลูกหลานไปโรงเรียน หรือการศึกษาความรู้นอกตำรา เรียน ก่อนหน้านี้ชาวบ้านมีความเชื่อว่าการศึกษาเป็นเรื่องไกลตัว เข้าถึงยาก เสียเวลา และค่อนข้างสิ้นเปลือง อาชีพส่วนใหญ่ของชาวบ้านคือเกษตรกร ชาวบ้านจึงมองว่าไม่ต้อง เรียนก็เป็นเกษตรกรได้ การศึกษาจึงถูกจัดไว้ในหมวดของสิ่งที่ไม่จำเป็น แต่เมื่อสังคม เปลี่ยนไปการก้าวทันสังคมให้ทันก็เป็นอีกสิ่งหนึ่งที่มนุษย์สมควรต้องมี ดังนั้นหนทางเดียว ที่จะทำให้มนุษย์ก้าวทันสังคมนั้นคือการศึกษาและการเปิดรับการเปลี่ยนแปลง ในยุคหลัง ม า นี้ ก า ร ศึ ก ษ า จึ ง สำ คั ญ ม า ก ไ ม่ ว่ า สุ ด ท้ า ย แ ล้ ว เ รี ย น จ บ ม า แ ล้ ว จ ะ ทำ ง า น อ ะ ไ ร ช า ว บ้ า น ส่ ว น ใ ห ญ่ ก็ เ ลื อ ก ที่ จ ะ ส่ ง ลู ก ไ ป เ รี ย น ก่ อ น เ ป็ น อ ย่ า ง แ ร ก 38

หัวข้อที่ 3 : การเปลี่ยนแปลงทางด้านวัฒนธรรม ในกลุ่มของผู้สูงอายุที่ผมได้ทำการ สัมภาษณ์ทุกคนพูดไปในทางเดียวกันว่าวัฒนธรรมในสมัยนี้ได้เปลี่ยนแปลงไปมาก หลายๆ วัฒนธรรมจุดประสงค์ได้เปลี่ยนแปลงไปอย่างสิ้นเชิง วัยรุ่นในยุคสมัยใหม่ใช้วัฒนธรรมไป ในทางที่ต่างออกไป เช่นใช้เป็นข้ออ้างในการไปค้างคืนกับผู้ชาย นอกจากนี้ยังมีการ เปลี่ยนแปลงทางด้านวัฒนธรรมการแต่งกาย ด้านการประพฤติปฏิบัติตน ในความจริง ข อ ง สั ง ค ม ข อ ง ปั จ จุ บั น ช า ว บ้ า น ใ น ยุ ค ปั จ จุ บั น มี ค ว า ม ถื อ ส า กั น เ รื อ ง พ ว ก นี้ น้ อ ย ม า ก หัวข้อที่ 4 : หัวข้อสุดท้ายนี้ผมสอบถามโดยให้ชาวบ้านเล่าถึงการเปลี่ยนแปลงทางสังคม ในชีวิตของตนเองแบบไม่จำกัดหัวข้อ จากการสอบถามเก็บข้อมูลการเปลี่ยนแปลงทาง สังคมนั้นได้ความว่า ชาวบ้านส่วนใหญ่มีประสบการณ์การเปลี่ยนทางสังคมและวัฒนธรรม แตกต่างกันไปตามแต่ละพื้นที่ แต่สิ่งที่ได้รับรู้ถึงการเปลี่ยนแปลงในรูปแบบเดียวกันคือ กฎหมายและสถานการณ์ทางการเมือง ชาวบ้านให้ความเห็นกับเรื่องนี้ว่าเป็นเพราะขาด ผู้ นำ ที่ ดี แ ล ะ ข า ด ก า ร แ ก้ ไ ข ปั ญ ห า ที่ ยั่ ง ยื น 37

13

โครงการยกระดับเศรษฐกิจของตำบลทุ่งตะไครที่ผ่านมา ได้แก่ โครงการฝึกอบรมผู้ประกอบอาหารรองรับครัวไทยสู่ครัวโลก สาขาผู้ประกอบ อาหารไทย (อาหารจานเดียว) 30 ชั่วโมง ระยะเวลาจัดกิจกรรม 2-6 กุมภาพันธ์ 2560 โ ค ร ง ก า ร ฝึ ก อ บ ร ม ส ร้ า ง อ า ชี พ เ ส ริ ม ร า ย ไ ด้ / ล ด ร า ย จ่ า ย ระยะเวลาจัดกิจกรรมพฤษภาคม 2564 – กรกฎาคม 2564 รายละเอียดของกิจกรรมที่เกิดขึ้นจากโครงการ ฝึกอบรมการสร้างอาชีพเสริมใน ด้ า น ต่ า ง ๆ ใ ห้ ป ร ะ ช า ช น ก า ร ดำ เ นิ น ง า น โ ค ร ง ก า ร ย ก ร ะ ดั บ เ ศ ร ษ ฐ กิ จ แ ล ะ สั ง ค ม ร า ย ตำ บ ล แ บ บ บู ร ณ า ก า ร ของตำบลทุ่งตะไคร อำเภอทุ่งตะโก จังหวัดชุมพร ที่กำลังดำเนินการมีโครงการ อบรม 7 โครงการ ได้แก่ 41

โครงการ อบรมเชิงปฏิบัติการการสานตะกร้าพลาสติก (สิ้นสุดโครงการ แ ล้ ว ) วัน เดือน ปี ที่จัดโครงการ/กิจกรรม 25-26 ตุลาคม พ.ศ. 2564 วั ต ถุ ป ร ะ ส ง ค์ 1. เพื่อฝึกอบรมและให้ความรู้เกี่ยวกับการประกอบอาชีพอิสระ 2. เพื่อยกระดับผลิตภัณฑ์กระเป๋าสานพลาสติกของกลุ่มผู้สูงอายุให้เป็น สิ น ค้ า O T O P 3. เพื่อสร้างโอกาสและทางเลือกด้านอาชีพแก่กลุ่มผู้สนใจ 4. เพื่อพัฒนาความรู้และทักษะให้มีเพิ่มมากขึ้น ผ ล ที่ ค า ด ว่ า จ ะ ไ ด้ รั บ 1. ผู้เข้าร่วมโครงการได้มีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับขั้นตอนการสานตะกร้า จ า ก เ ส้ น พ ล า ส ติ ก 2. ผู้เข้าร่วมโครงการมีประสบการณ์ในการสานตะกร้าจากเส้นพลาสติก และ ส า ม า ร ถ นำ ไ ป ต่ อ ย อ ด เ ป็ น อ า ชี พ ไ ด้ เ พื่ อ ล ด ปั ญ ห า ค ว า ม ย า ก จ น 3. สินค้ากระเป๋าสานพลาสติกของกลุ่มผู้สูงอายุสามารถขึ้นเป็นสินค้าOTOP ข อ ง ตำ บ ล ไ ด้ 42

34 73

โครงการ อบรมเชิงปฏิบัติการการเพาะเห็ด (สิ้นสุดโครงการแล้ว) วัน เดือน ปี ที่จัดโครงการ/กิจกรรม 27 ตุลาคม พ.ศ. 2564 วั ต ถุ ป ร ะ ส ง ค์ 1. เพื่อส่งเสริมให้ประชาชนมีองค์ความรู้เกี่ยวกับการเพาะเห็ดอย่างมี ป ร ะ สิ ท ธิ ภ า พ 2. เพื่อส่งเสริมให้ประชาชนได้ปฏิบัติจริงและเป็นทางเลือกในการประกอบอาชีพ ทั้ ง อ า ชี พ ห ลั ก แ ล ะ อ า ชี พ เ ส ริ ม ผ ล ที่ ค า ด ว่ า จ ะ ไ ด้ รั บ 1. ผู้เข้าร่วมโครงการได้มีองค์ความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับขั้นตอน/เทคนิค/การ ดู แ ล รั ก ษ า ใ น เ รื่ อ ง ก า ร เ พ า ะ เ ห็ ด ไ ด้ อ ย่ า ง มี ป ร ะ สิ ท ธิ ภ า พ 2. ผู้เข้าร่วมโครงการได้มีประสบการณ์ในการเพาะเห็ดและสามารถนำไปต่อยอด ป ร ะ ก อ บ อ า ชี พ ห ลั ก แ ล ะ อ า ชี พ เ ส ริ ม ไ ด้ เ พื่ อ ล ด ปั ญ ห า ค ว า ม ย า ก จ น 44

45

โครงการ อบรมเชิงปฏิบัติการการแปรรูปเห็ด (สิ้นสุดโครงการแล้ว) วัน เดือน ปี ที่จัดโครงการ/กิจกรรม 28 ตุลาคม พ.ศ. 2564 วั ต ถุ ป ร ะ ส ง ค์ 1. เพื่อส่งเสริมให้ประชาชนมีองค์ความรู้เกี่ยวกับการแปรรูปเห็ดอย่างมี ป ร ะ สิ ท ธิ ภ า พ 2. เพื่อส่งเสริมให้ประชาชนได้ปฏิบัติจริงและเป็นทางเลือกในการประกอบอาชีพทั้ง อ า ชี พ ห ลั ก แ ล ะ อ า ชี พ เ ส ริ ม 3. เพื่อยกระดับผลิตภัณฑ์เห็ดแปรรูปให้เป็นสินค้า OTOP ผ ล ที่ ค า ด ว่ า จ ะ ไ ด้ รั บ 1. ผู้เข้าร่วมโครงการได้มีองค์ความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับขั้นตอนการทำ/เคล็ดลับ ใ น เ รื่ อ ง ก า ร แ ป ร รู ป เ ห็ ด ไ ด้ อ ย่ า ง มี ป ร ะ สิ ท ธิ ภ า พ 2. ผู้เข้าร่วมโครงการได้มีประสบการณ์ในการแปรรูปเห็ด และสามารถนำไปต่อยอด ป ร ะ ก อ บ อ า ชี พ ห ลั ก แ ล ะ อ า ชี พ เ ส ริ ม ไ ด้ เ พื่ อ ล ด ปั ญ ห า ค ว า ม ย า ก จ น 3. ผลิตภัณฑ์การแปรรูปจากเห็ดสามารถขึ้นเป็นสินค้า OTOP ของตำบลได้ 46


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook