Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore ใบความรู้ เรื่อง การเขียนภาพฉาย (ORTHOGRAPHIC)

ใบความรู้ เรื่อง การเขียนภาพฉาย (ORTHOGRAPHIC)

Published by ประมวล กิจคุณธรรม, 2021-11-12 13:10:37

Description: 2. ใบความรู้ เรื่อง การเขียนภาพฉาย (ORTHOGRAPHIC)

Search

Read the Text Version

70 ใบความรู้ เรื่อง การเขยี นแบบภาพฉาย ประมวล กิจคณุ ธรรม ตาแหน่ง ครู วิทยฐานะ ชานาญการพเิ ศษ กลุ่มสาระการเรียนรู้การงานอาชพี โรงเรียนสามรอ้ ยยอดวทิ ยาคม สานักงานเขตพนื้ ท่ีการศกึ ษามธั ยมศกึ ษาประจวบครี ขี ันธ์ สานักงานคณะกรรมการการศกึ ษาขน้ั พื้นฐาน กระทรวงศึกษาธกิ าร

71 คาชีแ้ จงสาหรบั นกั เรียน ในการศึกษาแบบฝกึ ทักษะการอา่ นแบบ เขยี นแบบ จากลกู บาศกโ์ มเดลชิน้ งาน เป็นการศึกษาดว้ ย ตนเอง นกั เรยี นควรปฏบิ ตั ิตามขนั้ ตอน ดังน้ี 1. ทาแบบทดสอบก่อนเรียนชุดรวม 40 ข้อ อย่างรอบคอบและด้วยความซื่อสัตย์ต่อ ตนเอง ไม่ดูเฉลยก่อนทาแบบทดสอบเพ่ือประเมินความรู้พ้ืนฐานของตนเองก่อนศึกษาแบบฝึก การอา่ นแบบ เขียนแบบ จากลกู บาศกโ์ มเดลช้นิ งาน เรียงลาดบั จากบทเรยี นเร่อื งท่ี 1-4 2. ศึกษาผลการเรียนที่คาดหวังแบบฝึกทักษะการอ่านแบบ เขียนแบบ จากลูกบาศก์ โมเดลช้นิ งาน กอ่ นทากิจกรรมตามใบงานของแต่ละบทเรยี น 3. ทาแบบทดสอบก่อนเรียนของแต่ละบทเรียน อย่างรอบคอบและด้วยความซ่ือสัตย์ ต่อตนเอง ไมด่ ูเฉลยกอ่ นทาแบบทดสอบเพ่ือประเมินความรู้พื้นฐานของตนเองก่อน 4. ปฏิบัติกิจกรรมในใบงานของแต่ละบทเรียน อย่างรอบคอบและด้วยความซ่ือสัตย์ต่อ ตนเองโดยไม่ดเู ฉลยกอ่ น 5. หากนกั เรยี นมขี ้อสงสัย ขณะทากจิ กรรมในใบงาน ใหน้ กั เรียนยอ้ นกลับไปศึกษา ใบความรบู้ ทเรียนนน้ั เพ่ิมเติม 6. ทาแบบทดสอบหลังเรยี นของแตล่ ะบทเรียน อยา่ งรอบคอบและด้วยความซ่ือสัตย์ ตอ่ ตนเอง ไม่ดูเฉลยก่อนทาแบบทดสอบ 7. ตรวจคาตอบจากเฉลย เปรียบเทียบคะแนนกบั การทดสอบก่อนเรียนเพ่ือร้คู วาม ก้าวหนา้ ในการเรียน 8. ทาแบบทดสอบหลงั เรียนชดุ รวม 40 ขอ้ อย่างรอบคอบและดว้ ยความซ่ือสัตย์ ต่อตนเอง ไม่ดูเฉลยก่อนทาแบบทดสอบเพื่อเปรียบเทียบคะแนนกับการทดสอบก่อนเรียนเพ่ือรู้ ความก้าวหนา้ ในการเรียน 9. ตรวจคาตอบจากเฉลย 10. เมือ่ มปี ัญหาหรือข้อสงสัยเกย่ี วกับแบบฝึก ให้ปรึกษาครผู ู้สอนทนั ที

72 ผลการเรยี นรู้ 1. อธบิ ายหลักการเขียนแบบภาพฉาย (ORTHOGRAPHIC) ได้ถกู ตอ้ ง 2. เขยี นและอ่านแบบภาพฉาย (ORTHOGRAPHIC) ไดถ้ ูกตอ้ ง

73 การเขียนแบบภาพฉาย (ORTHOGRAPHIC) ภาพฉาย(ORTHOGRAPHIC) จะเป็นภาพที่แสดงรูปร่างลักษณะของชิ้นงานท่ีมองเห็นแต่ละ ด้านได้รายละเอียดตามสัดส่วนท่ีต้องการ การเขียนแบบภาพฉาย นิยมเขียนออกมา 3 ด้าน คือ ด้านบน ด้านหนา้ และดา้ นขา้ ง โดยจะเขยี นรายละเอียดสดั สว่ นของช้นิ งานไว้ทุกด้าน เพื่อให้ผู้อา่ นแบบ ไดท้ ราบขนาด ในสว่ นต่างๆของภาพ การเขียนแบบภาพฉายมาตรฐาน กาหนดการมองชิ้นงานเปน็ สว่ นตา่ งๆเปน็ ภาพสองมติ ิ คอื • ภาพด้านหน้า (FRONT VIEW) หมายถึงการมองชนิ้ งาน ทางด้านหน้า จากระดับพ้ืนขึ้นไป ทาให้มองเห็นขนาดระยะความยาว ของภาพด้านหนา้ และความสูงของชน้ิ งาน ภาพด้านบน (TOP VIEW) หมายถงึ การมอง ชนิ้ งานจากดา้ นบน จะมองเห็นแต่ ความกวา้ ง ความยาวในแนวระนาบเทา่ นั้น ซง่ึ เราจะมองไม่เหน็ ความสูงของชิน้ งาน เช่น การเขียนแบบผัง บรเิ วณแบบแปลนพน้ื เป็นต้น ภาพด้านขา้ ง (SIDE VIEW) หมายถงึ การมอง ชน้ิ งานทางด้านข้าง จากระดบั พนื้ ขึ้นไป ทาใหม้ องเหน็ ขนาดระยะความยาวของภาพดา้ นขา้ ง และความสงู ของช้ินงาน

74 การแสดงภาพฉายในงานเขยี นแบบ การแสดงภาพฉายในงานเขียนแบบนิยมแสดง 3 ดา้ นคือ 1. ภาพด้านหนา้ (FRONT VIEW) 2. ภาพดา้ นบน (TOP VIEW) 3. ภาพด้านข้าง (SIDE VIEW) ดา้ นหนา้ ดา้ นขา้ ง ดา้ นบน ภาพตัวอย่างการแสดงภาพฉายกบั ภาพชิ้นงาน กรณีรูปทรงชน้ิ งานไม่ซบั ซ้อน อาจแสดงเพียง 2 ด้านเช่น ดา้ นหน้า ดา้ นบน กรณรี ปู ทรงชิน้ งานซับซอ้ นมาก อาจต้องแสดงมากกวา่ 3 ด้าน เช่น ดา้ นลา่ ง ด้านหลงั ด้านข้างซา้ ยหรือ ดา้ นขา้ งขวา เปน็ ตน้

75 ลักษณะการเกิดภาพฉาย ลักษณะการเกิดภาพฉายเหมือนกบั การหมุนช้นิ งานไปรอบตัวเอง จะไดภ้ าพดา้ นลกั ษณะต่างๆ 6 ดา้ น

76 ระบบท่ใี ชใ้ นงานเขียนแบบภาพฉาย ผเู้ ขยี นจะต้องนาภาพดา้ นต่างๆ มาเรยี งกัน ตามระบบการเขยี นแบบ ซง่ึ มีอยู่ 2 ระบบคือ 1. การเขยี นภาพฉายมุมท่ี 1 (FIRST-ANGLE PROJECTION)ระบบยุโรป วางภาพด้านหน้าโดยใช้มมุ มอง ดา้ นขา้ ง ดา้ นขวามอื ของช้นิ งานเป็นภาพด้านหนา้ วางภาพดา้ นบนไวข้ ้างลา่ ง ตรงกนั กบั ภาพดา้ นหนา้ ดา้ นหนา้ และวางภาพดา้ นขา้ ง อยใู่ นระดับแนวเดียวกับภาพด้านหนา้ ภาพแสดงการวางภาพฉายระบบยโุ รป ดา้ นบน ดา้ นหนา้ ดา้ นขา้ ง ดา้ นบน ภาพการมองลูกบาศก์โมเดลชิ้นงานเปรียบเทียบการวางภาพฉายระบบยุโรป ท่มี า : ประมวล กิจคุณธรรม เร่อื งการอ่านแบบ เขียนแบบ เอกสารอดั สาเนาประกอบการสอน วชิ างานชา่ งพ้ืนฐาน,2551

77 2. การเขียนภาพฉายมุมท่ี 3 (THIRD-ANGLE PROJECTION) ระบบอเมรกิ า วางภาพด้านบนไวข้ ้างบนด้านหนา้ โดยใชม้ มุ มองชน้ิ งานดา้ นซ้ายมอื เป็นภาพดา้ นหน้า ภาพด้านขา้ งใช้มุมมองชนิ้ งานดา้ นขวามือ วางอยู่ในระดบั แนวเดยี วกบั ภาพดา้ นหนา้ ดา้ นบน ภาพแสดงการวางภาพฉายระบบอเมริกา ดา้ นขา้ ง ดา้ นหนา้ ด้านบน ดา้ นหน้า ด้านข้าง ภาพการมองลกู บาศกโ์ มเดลชน้ิ งานเปรยี บเทียบการวางภาพฉายระบบอเมรกิ า ทีม่ า : ประมวล กจิ คณุ ธรรม เรอื่ งการอ่านแบบ เขยี นแบบ เอกสารอดั สาเนาประกอบการสอน วิชางานช่างพื้นฐาน,2551

78 การมองภาพฉายมุมที่ 1 (FIRST – ANGLE PROJECTION) ระบบยโุ รป การแสดงภาพฉาย 3 ด้านคือการมองวัตถุชิ้นงาน ทีม่ ฉี ากรองรับภาพท่ีเกดิ จากการมองใน แนวระนาบ ซง่ึ ประกอบไปดว้ ยภาพดา้ นหน้า ภาพดา้ นข้าง และภาพดา้ นบน ดา้ นขา้ ง ระนาบต้งั ระนาบขา้ ง ระนาบนอน ดา้ นบน ดา้ นหนา้ ดา้ นขา้ ง ดา้ นบน รปู แสดงภาพฉายด้านหนา้ มองทางขวา ภาพด้านข้างมองทางซา้ ย ภาพดา้ นบนอยู่ดา้ นล่าง ซึง่ เกิดจากการหมนุ ระนาบนอนและระนาบข้างให้อยู่แนวเดียวกับภาพด้านหนา้ ในการเขยี นภาพฉาย ระบบยุโรป

79 รูปไอโซเมตริกแสดงวตั ถุชนิ้ งาน การมองภาพวตั ถชุ นิ้ งาน • มองภาพตามทิศทาง F แสดงเปน็ ภาพด้านหน้า นิยมใช้ด้านขวามอื • มองภาพตามทิศทาง T แสดงเปน็ ภาพด้านบน • มองภาพตามทิศทาง S แสดงเป็น ภาพดา้ นขา้ ง นยิ มใช้ดา้ นซ้ายมอื การวางภาพฉายแบบยุโรป • ใหว้ างภาพดา้ นหนา้ เปน็ หลัก นยิ มใช้ดา้ นขวามือของวตั ถุชิ้นงาน • วางภาพดา้ นบน จะอยู่ข้างลา่ งของภาพด้านหน้า • ภาพด้านขา้ ง เป็นภาพทางซา้ ยมือของวตั ถชุ น้ิ งาน จะวางอย่ทู างขวามือของภาพด้านหน้า วิธกี ารเขยี นภาพฉาย

80 รูปแสดงภาพฉาย การแสดงภาพฉาย • ใหน้ กั เรยี นเขียนภาพดา้ นหน้าเป็นหลกั • ภาพด้านข้าง ฉายจากสดั ส่วนของภาพดา้ นหนา้ เขียนเส้นฉายไปทางขวามอื โดยภาพ ด้านขา้ งจะมองทางซ้ายมือของภาพดา้ นหน้า แตก่ ารเขยี นภาพจะวางทางขวามอื ของภาพดา้ นหน้า • ภาพดา้ นบนจะฉายจากภาพด้านหน้าลงในแนวดิ่ง เสน้ ฉายจะมรี ะยะเท่ากบั เสน้ ขอบรปู ของภาพด้านหนา้ ส่วนระยะแนวนอนของภาพด้านบน เกดิ จาก ภาพดา้ นขา้ ง เขียนเสน้ ฉายชนเส้น 45 องศา จากมมุ ลา่ งขวามอื ของภาพด้านหน้า แล้วลากขนานตัดกับเส้นฉายจากภาพด้านหน้า • เส้นฉายทุกเสน้ ควรเขยี นใหน้ ้าหนกั เบา ลงนา้ หนกั เส้นเฉพาะเสน้ ขอบรปู เส้นขอบรูปทถี่ ูก บังใหแ้ สดงดว้ ยเส้นประ • ระยะหา่ งระหวา่ งภาพรปู ดา้ นควรหา่ งอย่างนอ้ ย 30 มลิ ลเิ มตร และระยะห่างระหว่างภาพ จะต้องเทา่ กันโดยเส้น 45 องศา จะเปน็ ตวั กาหนด

81 การบอกขนาด (DIMENSION)ของแบบชิ้นงาน การกาหนดขนาดมหี ลักดงั นี้ 1.เสน้ บอกขนาดเสน้ แรกห่างจากเส้นขอบรูปประมาณ 10 มิลลิเมตร และตอ้ งขนานกบั เสน้ ขอบรปู โดยมีเส้นกาหนดขนาด เป็นตวั กาหนดความยาวตามภาพตัวอย่าง 2.เสน้ ถดั ไปห่างประมาณ 7 มิลลเิ มตร 3.ตวั เลขบอกขนาดสูงจากเส้นบอกขนาดประมาณ 3 มลิ ลเิ มตร และตอ้ งบอกก่ึงกลางเส้นบอกขนาด 4.เส้นกาหนดขนาดต้องลากเลยหัวลูกศรประมาณ 2 มลิ ลเิ มตร 5.หวั ลูกศรเลก็ ปลายแหลมระบายดาทบึ d = ขนาดของเสน้ ของเสน้ ขอบรปู ถา้ เส้นขอบรปู 0.5 มิลลิเมตร L = ความยาวของหัวลกู ศรประมาณ 2.5 – 3 มลิ ลิเมตร h = ความสูงของหัวลูกศรประมาณ 0.7 -1.5 มิลลิเมตร

82 การกาหนดขนาดของแบบช้ินงานภาพฉายแต่ละดา้ นใหส้ มบรู ณ์ ในการกาหนดขนาดในแบบภาพฉายต้องพจิ ารณาถึงขอ้ ปฏิบัตติ อ่ ไปน้ี 1. เสน้ กาหนดขนาดไมใ่ ห้เขียนลากตอ่ จากภาพหนงึ่ ไปอีกภาพหน่ึง 2. ตวั เลขบอกขนาดใสเ่ พยี งคร้งั เดียวและใสเ่ มื่อจาเปน็ เท่าน้ัน


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook