Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore รายงานโขนไทย

รายงานโขนไทย

Published by อรพินธ์ พงศกรไพศาล, 2020-09-24 09:00:15

Description: รายงานโขนไทยเล่มนี้เป็นส่วนหนึ่งวิชาสุนทรียภาพ

Search

Read the Text Version

รายงาน โขนไทย เสนอ อาจารยอ์ ดิศร สวยฉลาด จัดทำโดย 61181500101 นางสาวจรี ภา ครองชยั ชนะ 61181500105 นางสาวเดอื นเพญ็ ดษุ ฎไี พรวลั ย์ 61181500119 นางสาวอรพินธ์ พงศกรไพศาล รายงานน้เี ป็นส่วนหน่ึงของรายวชิ าสุนทรยี ภาพ หลกั สูตรครุศาสตรบ์ ัณฑิต สาขา การสอนภาษาจีน ปีการศกึ ษา 2563 มหาวทิ ยาลยั ราชภฏั ลำปาง

ก คำนำ รายงานเล่มนี้เป็นสว่ นหนึ่งของรายวิชาสนุ ทรียภาพ จดั ทำข้ึนเพ่อื ใช้ในการจัดการเรียนการสอนหรอื ผู้ ทสี่ นใจเรยี นรเู้ กี่ยวกบั โขนไทย โขนนั้นเป็นนาฏศลิ ปช์ ัน้ สูงของไทย เปน็ จดุ ศูนย์รวมของศิลปะทห่ี ลากหลาย และโขนยงั เปน็ การแสดงที่ได้รบั ความนยิ มมาโดยตลอด ซึง่ ในปัจจุบันการแสดงโขนนั้นหาดไู ด้ยากมากในรายงานเล่มนี้ทางผจู้ ัดทำจึงไดร้ วบรวมเกยี่ วกับ ประเภทของโขน ลักษณะบทโขน และลักษณะของตัวละครตา่ ง ๆ ให้ผู้ทสี่ นใจเรยี นรเู้ กย่ี วกบั โขนไดศ้ ึกษา เรยี นรู้ตัวยตนเอง ทางผจู้ ัดทำหวังเป็นอย่างยงิ่ วา่ รายงานเล่มน้ีจะเปน็ ประโยชนแ์ กผ่ ู้อา่ นไมม่ ากก็นอ้ ย และหาก มกี ารผดิ พลาดประการใดทางผู้จดั ทำขออภัยไว้ ณ ทีน่ ้ีดว้ ย คณะผ้จู ัดทำ

สารบัญ ข เรอื่ ง หนา้ คานา ก สารบญั ข โขน 1 ประเภทของโขน ลกั ษณะบทโขน 1-4 ตวั ละครในการแสดงโขน 4-9 บรรณานกุ รม 9-12 13

1 โขน โขน ศาลาเฉลิมกรงุ : “โขน” ถอื ได้วา่ เปน็ นาฏศลิ ป์ชน้ั สงู ของไทย เปน็ จดุ ศูนย์รวมของศิลปะ หลากหลายแขนงโดยมีการนำเอาวิธีการเล่นการแตง่ กายบางอย่างมาจาก “ชกั นาคดึกดำบรรพใ์ นพิธี อินทราภเิ ษก” มีท่ารำตามแบบ “ละครใน” มที า่ เต้นซงึ่ เลยี นมาจากการเชิด “หนังใหญ”่ และมีทา่ การต่อสูท้ ี่ โลดโผน เช่น ทา่ ปฐมในการไหว้ครูของ “กระบ่ีกระบอง” ใช้ “วงปีพ่ าทย”์ ในการบรรเลงดนตรปี ระกอบการ แสดง ดำเนนิ เรื่องราวโดยการใชบ้ ทพากย์ บทเจรจาและบทรอ้ ง (ใชบ้ ทร้องสำหรบั การแสดง “โขนโรงใน” และ “โขนฉาก” เท่าน้นั การเลน่ โขนแต่ด้ังเดิมจะไม่มีบทร้อง มเี พียงแค่บทพากย์และบทเจรจา) การแสดงโขน มลี ักษณะสำคัญอย่ตู รงทผี่ ูแ้ สดงตอ้ งสวม “หัวโขน” ซึง่ เปน็ เครอื่ งสวมครอบห้มุ ต้ังแตศ่ ีรษะจนถึงคอ เจาะรูสอง รูบรเิ วณดวงตาเพื่อใช้ในการมอง หัวโขนจะถูกสรา้ งขน้ึ ตามลกั ษณะของตัวแสดงตา่ ง ๆ (เช่น ตวั ยกั ษ์ , ตัวลิง , ตวั เทวดา , ฯลฯ) ตกแตง่ ดว้ ยสี ลงรกั ปิดทอง ประดบั กระจก ประเภทของโขน โขนเป็นการแสดงที่ได้รับความนิยมมาโดยตลอด ต้ังแต่ในอดีตจนถงึ ปจั จบุ นั มกั นิยมแสดงเป็นมหกรรม บูชาเจา้ นายชนั้ สงู เช่น แสดงในงานถวายพระเพลิงพระบรมศพหรือพระศพ แสดงเปน็ มหรสพสมโภชเชน่ ใน งานพระราชพธิ บี รมราชาภเิ ษก และแสดงเป็นมหรสพเพ่อื ความบันเทิงในโอกาสทวั่ ๆ ไป นิยมแสดงเพยี ง 3 ประเภทคือ โขนกลางแปลง โขนหนา้ จอและโขนฉาก สำหรับโขนนั่งราวหรอื โขนโรงนอกไม่นิยมจดั แสดง เน่ืองจากเป็นการแสดงโขนท่ีมีแตบ่ ทพากย์และบทเจรจาเท่านนั้ ไม่มีบทรอ้ ง ใชร้ าวไมก้ ระบอกแทนเตียง สำหรับนงั่ และโขนโรงในซึ่งเปน็ ศลิ ปะที่โขนหน้าจอนำไปแสดง แต่เดมิ ไม่มีองค์ประกอบจำนวนมาก ตอ่ มา ภายหลังเมอ่ื มคี วามต้องการในการแสดงมากขึ้น โขนจงึ มวี ิวัฒนาการพัฒนาเปน็ ลำดับ แบ่งเป็น 5 ประเภทคือ โขนกลางแปลง โขนกลางแปลงเปน็ การเลน่ โขนกลางแจง้ ไมม่ กี ารสรา้ งโรงแสดง ใช้ภมู ปิ ระเทศและธรรมชาติเปน็ ฉาก ในการแสดง ผแู้ สดงทัง้ หมดรวมทัง้ ตัวพระต้องสวมหวั โขน นยิ มแสดงตอนยกทัพรบ วิวฒั นาการมาจากการเลน่ ชักนาคดกึ ดำบรรพเ์ ร่ืองกวนน้ำอมฤตท่ใี ช้เล่นในพิธีอนิ ทราภิเษก ปรากฏในกฎมณเฑียรบาลสมยั กรงุ ศรอี ยธุ ยา โดยนำวิธกี ารแสดงคือการจดั กระบวนทัพและการเตน้ ประกอบหน้าพาทย์มาใช้ แต่เปล่ียนมาเลน่ เรอื่ ง รามเกียรติ์แทน มกี ารเตน้ ประกอบหนา้ พาทยแ์ ละอาจมีบทพาทย์และเจรจาบ้าง แต่ไม่มีบทรอ้ ง เมอ่ื พ.ศ. 2339 ในสมัยของพระบาทสมเดจ็ พระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราช รัชกาลที่ 1 มีการเลน่ โขน ในงานฉลองอัฐสิ มเด็จพระปฐมบรมชนกาธริ าช โดยโขนวังหน้าเป็นทัพทศกัณฐ์ฝ่ายลงกา และโขนวังหลงั เป็น ทพั พระรามฝา่ ยพลบั พลา แลัวยกทพั มาเล่นรบกนั ในทอ้ งสนามหนา้ พลับพลา ดงั ปรากฏในพระราชพงศาวดาร ความว่า \"ในการมหรสพสมโภชพระบรมอัฐคิ รง้ั นัน้ มีโขนชักรอกโรงใหญ่ ท้งั โขนวงั หลังและวงั หนา้ แลว้ ประสมโรงเล่นกันกลางแปลง เล่นเม่ือศึกทศกณั ฐย์ กทัพกบั สบิ ขนุ สบิ รถ โขนวังหลังเปน็ ทัพพระราม ยกไปแต่ ทางพระบรมมหาราชวงั โขนวงั หน้าเป็นทัพทศกัณฐ์ ยกออกจากพระราชวังบวรฯ มาเลน่ รบกนั ในท้องสนาม หน้าพลบั พลา ถึงมปี นื บาเหรี่ยมรางเกวียนลากออกมายิงกันดงั สน่นั ไป\" ซ่งึ การแสดงโขนในครั้งน้ัน เกิดการรบกนั จริงระหว่างผูแ้ สดงท้ังสองฝ่าย จนเกดิ การบาดหมางระหวา่ งวงั หนา้ และวังหลงั จนกระทั่งสมเดจ็ เจ้าฟ้ากรมพระยาเทพสุดาวดี และสมเดจ็ เจ้าฟ้ากรมพระศรีสดุ ารักษ์ สมเดจ็ พระ พี่นางท้ังสองพระองค์ของพระบาทสมเดจ็ พระพทุ ธยอดฟา้ จุฬาโลกมหาราช และสมเดจ็ พระบวรราชเจ้ามหา

2 สุรสงิ หนาท ตอ้ งเสดจ็ มาเป็นผู้ไกล่เกลย่ี ใหแ้ ก่วงั หน้าและวังหลงั ท้ังสองฝา่ ยจงึ ยอมเลิกบาดหมางซึง่ กนั และกัน ทำให้เปน็ ข้อสนั นิษฐานว่าเหตุใดการแสดงโขนกลางแปลงจึงนิยมแสดงตอนยกทัพรบและการรบบนพน้ื มี เครอ่ื งดนตรวี งป่ีพาทย์ไม่ต่ำกว่าสองวงในการบรรเลง โขนน่ังราว โขนนัง่ ราวหรอื เรยี กอีกอยา่ งว่าโขนโรงนอก ววิ ฒั นาการมาจากโขนกลางแปลง เปน็ โขนท่ีแสดงบนโรง ทป่ี ลูกสร้างขึ้นสำหรับแสดง ตัวโรงมกั มีหลงั คาคุ้มกนั แสงแดดและสายฝน ไม่มีเตียงสำหรับผแู้ สดงน่ัง มเี พียง ราวทำจากไม้ไผ่วางพาดตามส่วนยาวของโรงเทา่ น้ัน มชี อ่ งใหผ้ ูแ้ สดงในบทของตัวพระหรือตัวยักษ์ ท่ีมตี ำแหนง่ และยศถาบรรดาศักด์ิ สามารถเดินวนได้รอบราวซึ่งสมมุติให้เปน็ เตยี ง ในสว่ นผแู้ สดงทร่ี ับบทเปน็ เสนายักษ์ เข นยักษ์ เสนาลิงหรอื เขนลิง คงนัง่ พืน้ แสดงตามปกติ มีการพากย์และเจรจา ไม่มบี ทขบั รอ้ ง วงปี่พาทยบ์ รรเลงเพลงหน้าพาทยเ์ ชน่ กราวใน กราวนอก ฯลฯ ในการแสดงใช้ป่ีพาทย์สำหรับบรรเลงเพลงถึงสองวง เน่ืองจากต้องบรรเลงเปน็ จำนวนมาก โดยตำแหน่งของป่ี พาทยต์ ัวแรกจะตั้งอย่บู รเิ วณหัวโรง ตำแหนง่ ของป่ีพาทย์ตัวทส่ี องจะตงั้ อย่บู ริเวณท้ายโรง และกลายเป็นทม่ี า ของการเรียกวา่ \"วงหัวและวงทา้ ยหรือวงซา้ ยและวงขวา\" โขนโรงใน โขนโรงในเป็นโขนทนี่ ำศิลปะการแสดงของละครใน เข้ามาผสมผสานระหวา่ งโขนกบั ละครใน ในรัช สมยั พระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟา้ จุฬาโลกมหาราช รัชกาลที่ 1 และพระบาทสมเด็จพระพุทธเลศิ หลา้ นภาลยั รชั กาลที่ 2 รวมทัง้ มรี าชกวีภายในราชสำนัก ชว่ ยปรับปรงุ ขัดเกลาและประพนั ธ์บทพากย์ บทเจรจาให้ มคี วามคล้องจอง ไพเราะสละสลวยมากยงิ่ ขนึ้ โดยนำทา่ รำท่าเต้น และบทพากย์เจรจาตามแบบโขนมาผสมกับ การขับร้อง เป็นการปรบั ปรุงวิวัฒนาการของโขน ในการแสดงโขนโรงใน ผู้แสดงเปน็ ตัวพระ ตัวนางและเทวดา เร่มิ ทจี่ ะไมต่ ้องสวมหวั โขนในการแสดง มกี ารพากยแ์ ละเจรจาตามแบบฉบบั ของการแสดงโขน นำเพลงขับร้องประกอบอากัปกริ ิยาอาการของตวั ละคร และเปลีย่ นมาแสดงภายในโรงแบบละครในจงึ เรียกว่าโขนโรงใน มีป่ีพาทยบ์ รรเลงสองวง ปจั จุบันโขนท่กี รม ศิลปากรนำออกแสดงนัน้ ใช้ศิลปะการแสดงแบบโขนโรงในซ่งึ เปน็ การแสดงระหวา่ งโขนกลางแปลงและโขน หนา้ จอ โขนหน้าจอ โขนหน้าจอเปน็ โขนท่ีแสดงหน้าจอหนังใหญ่ ซงึ่ ใช้สำหรบั แสดงหนงั ใหญห่ รอื หนังตะลงุ โดยผแู้ สดง โขนออกมาแสดง สลบั กบั การเชิดตัวหนัง ท่ฉี ลแุ กะสลักเป็นตวั ละครในเร่ืองรามเกยี รติอ์ ย่างสวยงามวจิ ติ ร บรรจง เรยี กวา่ \"หนงั ติดตัวโขน\" ซงึ่ ในการเลน่ หนงั ใหญ่ จะมีการเชดิ หนังใหญ่อยหู่ นา้ จอผา้ ขาวแบบจอหนงั ใหญ่ ยาว 7 วา 2 ศอก ริมขอบจอใช้ผ้าสีแดงและสนี ้ำเงนิ เย็บติดกนั ใชเ้ สาจำนวน 4 ต้นสำหรับขึงจอ ปลาย เสาแตล่ ะด้านประดบั ด้วยหางนกยูงหรอื ธงแดง มีศิลปะสำคัญในการแสดงคอื การพากยแ์ ละเจรจา ใชเ้ ครอื่ ง ดนตรีปีพ่ าทย์ประกอบการแสดง ผู้เชิดตัวหนงั จะต้องเตน้ ตามจงั หวะดนตรแี ละลลี าท่าทางของตวั หนงั นยิ มแสดงเร่ืองรามเกยี รต์ิ ภายหลังยกเลกิ การแสดงหนงั ใหญ่คงเหลือเฉพาะโขน โดยคงจอหนงั ไว้พอ เป็นพธิ ี เนอ่ื งจากผดู้ นู ิยมการแสดงทใ่ี ช้คนแสดงจรงิ มากกว่าตัวหนงั จงึ เปน็ ท่มี าของการเรยี กโขนทเ่ี ลน่ หน้าจอ หนงั ว่าโขนหน้าจอ มีการพฒั นาจอหนังที่ใช้แสดงโขน ใหม้ ีชอ่ งประตสู ำหรับเข้าออก โดยวาดเป็นซมุ้ ประตู

3 เรยี กวา่ จอแขวะ โดยทป่ี ระตูทางด้านซ้ายวาดเปน็ รปู คา่ ยพลบั พลาของพระราม สว่ นประตูด้านขวาวาดเป็นกรงุ ลงกาของทศกณั ฐ์ ต่อมาภายหลงั จงึ มกี ารยกพ้ืนหนา้ จอขนึ้ เพ่ือกันคนดูไมใ่ ห้เกะกะตัวแสดงเวลาแสดงโขน สำหรับโขนหน้าจอ กรมศลิ ปากรเคยจัดแสดงใหป้ ระชาชนทั่วไปได้รับชมในงานฉลองวันสหประชาชาตทิ ีส่ นาม เสอื ป่า เมอื่ วนั ที่ 24 ตุลาคม พ.ศ. 2491 และงานฟืน้ ฟปู ระเพณีสงกรานต์ ณ ท้องสนามหลวง เม่อื วนั ที่ 13 เมษายน - 15 เมษายน พ.ศ. 2492 โขนฉาก โขนฉากเป็นการแสดงโขนที่ถือกำเนิดข้นึ คร้งั แรก ในสมยั ของพระบาทสมเด็จพระจลุ จอมเกล้า เจา้ อยหู่ วั รัชกาลที่ 5 โปรดให้มกี ารจัดฉากในการแสดงแบบละครดกึ ดำบรรพ์ประกอบตามท้องเรือ่ ง แบง่ เป็น ฉากเปน็ องก์ เข้ากบั เหตุการณแ์ ละสถานท่ี จงึ เรยี กว่าโขนฉาก ปจั จุบนั การแสดงโขนของกรมศลิ ปากร นอกจากจะแสดงโขนโรงในแล้ว ยังจัดแสดงโขนฉากควบคู่กนั อีกด้วยเช่น ชุดปราบกากนาสรู ชุดมยั ราพณ์ สะกดทัพ ชุดนางลอย ชดุ นาคบาศ ชดุ พรหมาสตร์ ชุดศึกวิรญุ จำบัง ชดุ ทำลายพธิ ีหุงน้ำทิพย์ ชุดสดี าลยุ ไฟและ ปราบบรรลยั กัลป์ ชดุ หนุมานอาสา ชดุ พระรามเดนิ ดงและชดุ พระรามครองเมือง ซึ่งในการแสดงโขนทุกประเภท มวี ิวฒั นาการมายาวนานต้งั แต่สมัยอยธุ ยาจนถึงปจั จุบนั รปู แบบและวิธีการ แสดงของโขนได้มีการปรบั เปลยี่ นไปตามยคุ ตามสมยั แต่คงรปู แบบและเอกลักษณเ์ ฉพาะของการแสดงเอาไว้ โขนนอกตำรา นอกจากประเภทของโขนตา่ ง ๆ ทั้ง 5 ประเภทแล้ว ยังมีการแสดงโขนนอกตำราท่ีทางกรมศลิ ปากรไม่ จดั ใหร้ วมอยู่ในประเภทของโขน ไดแ้ ก่ โขนสด โขนสด เปน็ การแสดงทีผ่ สมผสานทางวฒั นธรรม ท่ีปรบั ปรุงมาจากการแสดงโขนให้มคี วามเรยี บง่าย มี การปรับเปลี่ยนลดทา่ รำ การแตง่ กาย การขบั ร้อง คำพากย์และการเจรจา เปน็ การแสดงทเี่ กดิ จากผสมผสาน การแสดง 3 ชนิดคือ โขน หนงั ตะลุงและลิเก ไมม่ ีการพากย์เสียงและเจรจา โดยผแู้ สดงจะเปน็ ผู้พดู บทเจรจา เอง แต่งกายยืนเคร่ือง สวมหัวโขนบนศรี ษะแตไ่ ม่คลุมหนา้ สามารถมองเห็นใบหน้าของผูแ้ สดงได้อย่างชัดเจน ได้รับความนิยมอยา่ งแพรห่ ลายในชนบท แสดงดว้ ยกริ ยิ าทา่ ทางโลดโผน จริงจังกวา่ การแสดงโขนมาก โขนหนา้ ไฟ โขนหน้าไฟ เป็นการแสดงโขนทม่ี ักนิยมจัดแสดงในตอนกลางวนั หรอื แสดงเฉพาะตอนพระราชทาน เพลิงศพ เป็นการแสดงในช่วงระยะเวลาส้นั ๆ โดยมจี ดุ ประสงคใ์ นการแสดงเพ่ือเปน็ การแสดงความเคารพและ ใหเ้ กียรตแิ ก่ผ้เู สียชวี ติ หรอื เจ้าภาพของงาน รวมทงั้ เป็นการแสดงคัน่ เวลาให้แก่ผู้ที่มาร่วมงานได้ชมการแสดง ก่อนถึงเวลาพระราชทานเพลิงจรงิ แต่เดมิ โขนหน้าไฟใช้สำหรบั ในงานพระราชพธิ ี รฐั พิธหี รืองานของเจ้านาย เชอื้ พระวงศ์ช้นั สูง เสนาขนุ นางอำมาตย์เช่น งานถวายพระเพลงิ พระศพพระบรมวงศน์ านุวงศ์ ณ บริเวณทุ่ง พระเมรุหรอื ท้องสนามหลวง โขนนอนโรง โขนนอนโรง เป็นการแสดงโขนทม่ี ักนยิ มแสดงในเวลาบา่ ย ก่อนวนั แสดงจรงิ ของโขนนั่งราว แสดง ตอน \"เขา้ สวนพริ าพ\" เพยี งเรื่องเดียวเทา่ นั้น มปี ่ีพาทย์สองวงในการบรรเลงเพลงโหมโรง แสดงเพยี งชว่ ง

4 ระยะเวลาสน้ั ๆ โดยกอ่ นแสดงจะมผี ู้แสดงออกไปเต้นกระทุ้งเสาทง้ั 4 มมุ ของโรงแสดง ซ่ึงการกระท้งุ เสานน้ั เป็นการทดสอบความแขง็ แรงของเวทีในการรบั น้ำหนักตวั ของผแู้ สดง สมัยก่อนเวทีสำหรับแสดงใช้วิธีขดุ หลมุ ฝังเสาและใช้ดินกลบ ทำให้ระหว่างทำการแสดงเวทีเกิดการทรดุ ตัว เปน็ เหตผุ ลใหอ้ าจารย์ผทู้ ำการฝึกสอน มกั ให้ผูแ้ สดงไปเต้นตามหวั เสาท้ัง 4 มมุ ของเวที เพื่อให้การเต้นนั้นชว่ ยกระท้งุ หนา้ ดินทีฝ่ งั เสาไวใ้ ห้เกิดความแน่น มากข้ึน หลังแสดงเสรจ็ ผูแ้ สดงมกั จะนอนเฝา้ โรงแสดงเพื่อแสดงโรงน่ังราวต่อในวนั รุ่งข้นึ ในอดีตโขนนอนโรง เคยแสดงมาแลว้ สองคร้งั คือ คร้ังแรกแสดงในสมัยของพระบาทสมเดจ็ พระมงกุฏเกล้าเจ้าอยู่หัว รัชกาลท่ี 6 ใน งานสมโภชพระเศวตคชเดนด์ ิลก และคร้งั ทีส่ องในสมัยของพระบาทสมเดจ็ พระปกเกลา้ เจา้ อยู่หัว รชั กาลท่ี 7 แสดงทีบ่ ริเวณท้องสนามหลวงในงานฉลองรัฐธรรมนญู ระหวา่ งวนั ท่ี 10 - 11 ธนั วาคม พ.ศ. 2475 โขนชกั รอก โขนชกั รอก เป็นการแสดงโขนท่ีไม่คอ่ ยไดร้ ับความนยิ มมากนกั จากหลักฐานทางประวัตศิ าสตร์ทำให้ สนั นิษฐานไดว้ า่ โขนชักรอกนั้นมกี ารตัง้ แตใ่ นสมยั ของพระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราช รัชกาลท่ี 1 เป็นการแสดงโขนในโรงแสดงทป่ี ลูกข้นึ โดยเฉพาะ ยกพน้ื สูงและมหี ลังคา แสดงเหมือนกบั โขนทุก ประการ แตกตา่ งเพยี งแตผ่ แู้ สดงนน้ั สามารถลอยตวั ขน้ึ ไปในอากาศด้วยการชักรอก มีอุปกรณ์ที่ใชเ้ ป็นจำนวน มาก เปน็ เหตุผลสำคญั ทที่ ำให้โขนชกั รอกไมค่ ่อยปรากฏให้เหน็ มากนัก กรมศลิ ปากรเคยจัดแสดงโขนชกั รอกใหป้ ระชาชนได้ชม เม่ือคราวงานเทศกาลวดั อรุณราชวราราม ร. ศ. 100 การจัดแสดงโขนชักรอกครั้งน้ี กรมศลิ ปากรไดร้ ว่ มมอื กบั บริษทั ออร์กาไนเซอร์ จำกดั ซง่ึ เปน็ โครงการที่ จดั ขน้ึ เพื่อนอนุรักษว์ ัดอรุณและการแสดงทห่ี ายากในปจั จุบัน ระหวา่ งวันที่ 9 - 15 พฤศจกิ ายน พ.ศ. 2543 เวลา 17.00 - 22.00 น. โดยใช้พ้นื ทีบ่ ริเวณหน้าวัดเปน็ โรงแสดง มีพระปรางคว์ ัดอรุณเป็นฉากหลงั ลกั ษณะบทโขน ในการแสดงโขน เม่ือเร่มิ แสดงวงปี่พาทย์จะบรรเลงเพลงโหมโรงเปน็ เพลงเปิด เมื่อจบเพลงจึงจะเริ่ม การแสดง ดำเนินเร่ืองโดยใชค้ ำพากย์และคำเจรจาเป็นหลัก การเลน่ โขนแต่เดมิ ไมม่ ีบทรอ้ งของผูแ้ สดงเหมือน ละครใน ผ้แู สดงทุกคนในสมยั โบราณต้องสวมหัวโขน ยกเว้นตวั ตลกทีใ่ ช้ใบหน้าจริงในการแสดง ทำใหต้ ้องมี ผูท้ ำหน้าทส่ี ำหรบั พากยแ์ ละเจรจาถ้อยคำตา่ ง ๆ แทนตวั ผู้แสดง ผพู้ ากย์เสยี งนน้ั มคี วามสำคัญในการแสดงโขน เปน็ อย่างมาก ต้องเรียนรแู้ ละศึกษาทำความเขา้ ใจเรื่องราวและวธิ ีการแสดง จดจำคำพากย์และใช้ปฏภิ าณไหว พริบในเชงิ กาพย์ กลอน เพื่อสามารถเจรจาให้สอดคล้องถูกต้อง มสี มั ผสั นอก สัมผสั ในคล้องจองกบั การแสดง ของผแู้ สดง

5 ลักษณะบทโขนในสมัยโบราณ แบง่ ออกเปน็ 3 ประเภทคือ บทร้อง บทพากย์ บทเจรจา ซ่งึ บทร้องนน้ั เป็นการร้องกลอนบทละคร ใชส้ ำหรบั แสดงโขนโรงในและโขนฉากเท่าน้ัน บทพากยใ์ ช้กาพย์ยานี และกาพยฉ์ บงั เมอ่ื พากยจ์ บหนง่ึ บท ปี่พาทยจ์ ะตีตะโพนท้าและตีกลองทดั ตอ่ จากตะโพนสองที ผู้แสดงภายใน โรงจะรอ้ งรับวา่ \"เพ้ย\" พร้อม ๆ กนั ซง่ึ คำว่าเพย้ นี่ สนั นิษฐานวา่ แต่เดิมน้นั มาจากคำว่า \"เฮย้ \" ในการบญั ชา ศกึ สงครามของแม่ทัพนายกอง คอ่ ย ๆ เพ้ียนเสียงจนกลายเปน็ คำวา่ เพย้ ในปัจจบุ นั สำหรับบทพากยเ์ ปน็ คำ ประพนั ธช์ นดิ กาพยฉ์ บงั 16 หรอื กาพยย์ านี 11 บท มชี อื่ เรยี กแตกต่างกนั วิธีพากย์บทโขนในการแสดง แบ่ง ออกเปน็ ประเภทตา่ ง ดังน้ี การพากย์เมืองหรือพากย์พลับพลา ใช้สำหรับพากยเ์ วลาผู้แสดงตัวเอก หรอื ผ้แู สดงออกท้องพระโรงหรอื ออกพลบั พลา เช่น ทศกัณฐ์ พระรามหรือ พระลกั ษมณ์เสด็จออกประทับในปราสาทหรอื พลบั พลา โดยมตี วั อยา่ งบทพากย์กาพย์ฉบัง 16 ตอนเช่น พระรามเสด็จออกพลับพลา รับการเขา้ เฝา้ ของพเิ ภก สุครีพ หนมุ านและเหล่าเสนาลิง \"ครน้ั รงุ่ แสงสรุ ิยโอภา พ่งุ พ้นเวหา คิรียอดยคุ นั ธร สมเดจ็ พระหรวิ งศท์ รงศร ฤทธ์เิ ลอื่ งลอื ขจร สะท้อนทง้ั ไตรโลกา เสดจ็ ออกนั่งหน้าพลับพลา พรอ้ มดว้ ยเสนา ศโิ รตมกม้ กราบกราน พิเภกสุครีพหนุมาน นอบน้อมทูลสาร สดบั คดโี ดยถวิล\" — บทพระราชนิพนธ์เรื่องรามเกยี รติ์ รชั กาลท่ี 2

6 การพากยร์ ถหรอื พากยพ์ าหนะ ใช้สำหรบั พากย์เวลาผูแ้ สดงเอ่ยชมพาหนะและการจดั กระบวนทัพเชน่ รถ ม้า ชา้ ง หรอื ส่ิงอ่ืนใดท่ีเปน็ พาหนะ หรือใช้พากย์เวลาผู้แสดงตวั เองทรงพาหนะตลอดจนชมไพร่พล โดยมตี ัวอยา่ งบทพากย์กาพย์ฉบงั 16 เช่น พระราม พระลักษมณ์ ทรงราชรถออกทำศกึ กับทศกณั ฐ์และเหลา่ เสนายักษ์ \"เสด็จทรงรถเพชรเพชรพราย พรายแสงแสงฉาย จำรญู จำรัสรศั มี อำไพไพโรจน์รจู ี สีหราชราชสหี ์ ชักรชรถรถทรง ดมุ หนั หันเวยี นวง กึกก้องกอ้ งดง เสทอื นท้งั ไพรไพรวัน ยกั ษาสารถีโลทัน เหยยี บยนื ยนื ยนั เก่งศรจะแผลแผลงผลาญ\" — บทพระราชนพิ นธ์เร่ืองรามเกยี รต์ิ รชั กาลท่ี 2 การพากยโ์ อห้ รอื การพากย์รำพัน ใช้สำหรับพากย์เวลาผแู้ สดงมีอาการเศรา้ โศกเสยี ใจ รำพนั คร่ำครวญถึงคนรัก เร่มิ ทำนองตอนต้นเป็น การพากย์ ตอนท้ายเป็นทำนองการร้องเพลงโอป้ ่ี ซง่ึ การพากยป์ ระเภทนจี้ ะให้ปี่พาทย์เปน็ ผ้รู ับเมือ่ สิ้นสุดการ พากยห์ นึ่งบท มีความแตกต่างจากการพากย์ประเภทอื่นตรงท่มี ีเคร่ืองดนตรรี บั ก่อนท่ีลกู คจู่ ะร้องรับว่าเพย้ โดยมีตวั อย่างบทพากยย์ านี 11 เช่น พระรามโศกเศรา้ รำพันถงึ นางสีดา ทีเ่ ปน็ นางเบญจกายแปลงมาตามคำส่งั ทศกัณฐ์ เพอื่ ให้พระรามเข้าใจวา่ นางสดี าตาย \"อนิจจาเจ้าเพ่ือนไร้ มาบรรลยั อยเู่ อองค์ พ่จี ะไดส้ ง่ิ ใดปอง พระศพน้องในหิมวา จะเชญิ ศพพระเยาวเรศ เข้ายังนเิ วศน์อยธุ ยา ท้ังพระญาติวงศา จะพโิ รธพไิ รเรยี ม วา่ พ่ีพามาเสียชนม์ ในกมลใหต้ รมเกรยี ม จะเกลย่ี ทรายขนึ้ ทำเทยี ม ต่างแทน่ ทิพบรรทม จะอ้มุ องค์ขน้ึ ต่างโกศ เอาพระโอษฐม์ าระงม

7 ตา่ งเสียงพระสนม อนั รำ่ ร้องประจำเวร\" — บทพระราชนพิ นธ์เรื่องรามเกยี รต์ิ รชั กาลที่ 2 การพากยช์ มดง ใชส้ ำหรบั พากย์เวลาผ้แู สดงชมสภาพภูมิประเทศ ป่าเขา ลำเนาไพรและสัตว์ปา่ น้อยใหญ่ เรมิ่ ทำนอง ตอนต้นเปน็ ทำนองร้องเพลงชมดงใน ตอนทา้ ยเป็นทำนองการพากยธ์ รรมดา โดยมตี วั อย่างบทพากย์ฉบัง 16 เชน่ พระราม พระลกั ษมณ์และนางสีดา เอย่ ชมสภาพปา่ ที่มีความสวยงาม หลงั จากออกจากเมืองเพื่อบวชเปน็ ฤษใี นป่า \"เค้าโมงจบั โมงมองเมยี ง คู่เคา้ โมงเคยี ง เคียงคู่อยปู่ ลายไม้โมง ลางลงิ ลงิ เหนีย่ วลดาโยง ค่อยยุดฉุดโชลง โลดไล่ในกลางลางลิง ชงิ ชังนกชงิ กันสิง รงั ใครใครชงิ ชิงกันจับตน้ ชงิ ชัน นกยูงจับพยูงยืนยัน แผห่ างเหียนหัน หันเหยีบเลยี บไตไ่ ม้พยงู \" — บทพระราชนพิ นธเ์ รือ่ งรามเกยี รติ์ รชั กาลที่ 2 การพากยบ์ รรยาย ใชส้ ำหรับพากยเ์ วลาบรรยายความเปน็ มาของสง่ิ ใดสิง่ หนง่ึ เปน็ บรบิ ทการขยายความเป็นมาเป็นไป ของสง่ิ ของนนั้ ๆ หรือใชส้ ำหรับพากย์รำพึงรำพนั ใด ๆ โดยมตี วั อย่างบทพากยฉ์ บัง 16 เชน่ การพากยบ์ รรยาย ตำนานรัตนธนู คันศรท่ีพระวิศวกรรมสรา้ งถวายพระนารายณต์ อนอวตารมาเปน็ พระราม \"เดมิ ทีธนูรัตน วรฤทธเิ กรียงไกร องคว์ ิศวกรรมไซร้ ประดษิ ฐะสองถวาย คนั หนึ่งพระวิษณุ สุรราชะนารายณ์ คันหน่ึงนำทลู ถวาย ศิวะเทวะเทวัน ครัน้ เม่อื มนุ ีทกั - ษะประชาบดนี นั้ กอบกจิ จะการยัญ- ญะพลีสุเทวา

8 ไมเ่ ชิญมหาเทพ ธ กแ็ สนจะโกรธา กมุ แสงธนูคลา ณ พิธพี ลีกรณ์\" — บทพระราชนพิ นธเ์ รือ่ งรามเกียรต์ิ รชั กาลที่ 2 การพากย์เบ็ดเตล็ด ใช้สำหรบั พากย์ใช้ในโอกาสท่ัว ๆ ไปในการแสดง เป็นการพากยเ์ รื่องราวเล็กๆ น้อยๆ ที่ไมจ่ ดั อยู่ในการพากย์ ประเภทใด รวมท้งั การเอย่ กล่าวถึงใคร ทำอะไร อยู่ท่ไี หนหรือพูดกบั ใคร โดยมีตัวอย่างบทพากยฉ์ บงั 16 เช่น พระรามส่งั ใหห้ นุมาน องคตและชมพูพาน ไปสืบเรื่องของนางสดี าทีถ่ ูกทศกณั ฐล์ กั พาตวั ไป และมอบธำมงค์ และภษู าไปใหเ้ พื่อเป็นการทดสอบจิตใจของนางสดี าเมอื่ ได้เห็นสิง่ ของดงั กลา่ ว \"ภูวกวกั เรียกหนุมานมา ตรัสส่ังกิจจา ให้แจ้งประจักษ์ใจจง แล้วถอดจกั รรตั นธ์ ำมรงค์ กบั ผ้ารอ้ ยองค์ ยพุ นิ ทรใหน้ ำไป ผิวนางยังแหนงน้ำใจ จงแนะความใน มิถิลราชพารา อนั ปรากฏจรงิ ใจมา เมอ่ื ตาต่อตา ประจวบบนบัญชรไชย\" — บทพระราชนิพนธเ์ ร่อื งรามเกียรติ์ รชั กาลท่ี 2 สำหรบั บทเจรจาน้นั แตกต่างจากบทรอ้ งและบทพากยต์ รงทีเ่ ป็นบทกวแี บบร่ายยาว มีการส่งและ รบั คำสมั ผัสอย่างต่อเนื่อง ใชถ้ ้อยคำสละสลวย คล้องจอง มีสัมผัสนอกสมั ผัสใน บทเจรจาในการแสดงโขนเปน็ บทท่คี ดิ ข้ึนในขณะแสดง เป็นความสามารถและไหวพรบิ ปฏิภาณเฉพาะตวั ของผเู้ จรจา ปจั จุบนั บทเจรจามกี าร แต่งเตรียมไวแ้ ล้ว ผพู้ ากย์บทเจรจาจะว่าตามบทให้เกิดอารมณ์คล้อยตามถ้อยคำ โดยใชน้ ้ำเสียงในการเจรจาให้ เหมาะกับตัวโขน ใสค่ วามรู้สึกให้เหมาะกับอารมณ์ของตวั ละครในเรื่องเชน่ เจรจาเสียงเทวดาก็ต้องปรบั น้ำเสยี งใหน้ มุ่ สภุ าพ เจรจาเสียงยักษ์ก็ต้องปรบั เสยี งใหด้ ัง ดุร้ายและแกรง่ กร้าว เจรจาตัวนางก็ตอ้ งปรบั เสียง ใหน้ ุ่ม อ่อนหวาน เป็นต้น การพากยบ์ ทเจรจาใช้ผู้ชายเปน็ ผูใ้ หเ้ สยี งไม่ตำ่ กว่าสองคน เพอื่ ทำหน้าท่ีท้ังพากยแ์ ละเจรจา บางครั้งมี การเหน็บแนมเสียดสโี ต้ตอบระหวา่ งกัน ถา้ ในการแสดงโขนมบี ทรอ้ ง ผู้พากย์และเจรจาจะต้องทำหนา้ ท่ีบอก บทใหแ้ ก่ผูแ้ สดงอีกด้วย เวลาแสดงผพู้ ากย์และเจรจาจะยืนประจำจุดตา่ ง ๆ ตามท่ีกำหนดไว้เชน่ โขง กลางแปลง จะยืนอย่ใู กล้กับจุดของตวั แสดง แบ่งเปน็ 2 ฝา่ ยคือมนุษย์และยักษ์ โขนน่ังราวและโขนหน้าจอ จะ ยืนอย่บู ริเวณริมฉากประตซู ้ายและขวาขา้ งละหน่ึงคน โขนโรงในจะนั่งเรยี งตดิ กับคนร้องข้างละ 2 คน ดัง

9 ตัวอยา่ งการบทพากยแ์ ละเจรจาระหวา่ งหนมุ านและนางพริ ากวน ทรี่ อ้ งไห้ครำ่ ครวญด้วยความเสยี ใจ ด้วยมัย ราพณส์ ่ังให้ออกมาตักน้ำเพ่อื นำไปต้มพระรามและไวยวกิ บุตรชาย ความวา่ \"หนุมานชาญศกั ดา ซุ่มกายาแอบฟังนางรำ่ ไห้ ได้ยนิ คำวา่ ปราศยั ถงึ พระจักรี ขนุ กระบ่นี ึกสงสยั ใน วาจา จึงออกมาจากสมุ ทมุ พุ่มพฤกษาเข้าใกล้นาง ทรดุ กายลงน่ังข้าง ๆ พลางกราบไหว้ ทักถามว่ามาจากไหน จ๊ะ ปา้ จา๋ ไยมาร่ำโศกาน่าสงสาร ถึงตัวฉันเปน็ เดรัจฉานสัญจรป่า ก็มีจิตคิดสงสารปา้ จับดวงใจ เรื่องทุกขร์ ้อน เป็นอยา่ งไร โปรดเล่าใหฟ้ ังบา้ งเถิดปา้ หากฉันช่วยไดฉ้ ันก็จะอาสา อยา่ โศกี - หนุมาน\" \"ขอบใจเจ้ากระบ่ีที่เมตตา ตวั เรามชี ือ่ วา่ พิรากวนเทวี เปน็ พ่ีของมัยราพณ์อสรุ เี จ้าบาดาล อนั มยั ราพณ์ มันใจหาญสันดานโฉด ใส่ร้ายป้ายโทษถอดเราลงเป็นไพร่ มิหนำซำ้ จบั ไวยวิกลูกเราไป หาวา่ เปน็ กบฏคดิ แยง่ เมอื ง เสแสรง้ แกลง้ ก่อเร่ืองจับตัวไปขงั เม่ือคืนวานกไ็ ปสะกดทพั จบั พระทรงสังข์มาขงั ไว้ มันวา่ จะผลาญให้ บรรลัยพร้อมท้งั ลูกรกั และพระจักรี ใชเ้ ราให้มาตกั นทีใส่กระทะใหญ่ แสนสงสารบุตรสดุ อาลยั ไม่มผี ดิ เปน็ ที่อบั จนพน้ จิตคิดแกไ้ ข ตอ้ งตกั นำ้ นำเอาไปตม้ ลูกรัก ถงึ แสนเหน่อื ยก็ไม่อาจพักเพราะกลัวภัย นางยิง่ เล่ายง่ิ อาลัยถึง ลกู ยา - นางพริ ากวน\" \"หนมุ านชาญศักดาสุดสงสารนางเทวี จึงว่าเร่ืองราวทีเ่ ล่าในคร้ังนี้ ป้าอย่าเสยี ใจ ฉนั จะจำแลงแปลง กายเปน็ ใยบัวเกาะภษู า เพือ่ เขา้ ไปสงั หารผลาญชีวนิ มัยราพณ์ใหส้ นิ้ ชวี า ว่าพลางทางจำแลงแปลงกายาในทันที - หนมุ าน\" ตวั ละครในการแสดงโขน ตวั ละครในการแสดงโขน ตามปกติในการแสดงโขน จะประกอบดว้ ยตวั ละครที่มลี กั ษณะแตกตา่ งกนั 4 จำพวกได้แก่ ตัวพระ ตัวนาง ตัวยักษ์ ตวั ลงิ ซง่ึ ตวั โขนแตล่ ะจำพวกนี้ ผู้ฝึกหดั จะต้องมลี ักษณะรปู รา่ งเฉพาะเหมาะสมกบั ตัวละคร มีการใช้สรีระ ร่างกาย และท่วงทา่ กริ ยิ าเย้อื งย่างในการร่ายรำ การแสดงทา่ ทางประกอบการพากย์ การแตง่ กายและ เครื่องประดับท่ีมีความแตกตา่ งกันอยา่ งชัดเจน ดังน้ี ตัวพระ

10 การคัดเลือกตวั พระสำหรับการแสดง จะคัดเลือกผู้ทล่ี ักษณะใบหน้ารปู ไข่ สวยงาม คมคาย เดน่ สะดุดตา ท่าทางสะโอดสะองและผ่ึงผาย ลำคอระหง ไหล่ลาดตรง ช่วงอกใหญ่ ขนาดลำตัวเรยี ว เอวเล็กกว่ิ คอดตามลักษณะชายงามในวรรณคดไี ทยเชน่ พระอภยั มณี ศรสี วุ รรณ พระลอ สังคามาระ ตา ฯลฯ สวมพระมหามงกฏุ หรอื มงกฎุ ยอดชยั หอ้ ยดอกไม้เพชรดา้ นขวา สำหรับการแสดงโขนทมี่ ีตัว ละครเอกทเ่ี ปน็ ตัวพระ 2 ตัวหรือมากกว่าน้นั และมบี ทบาทในการแสดงสำคญั เท่า ๆ กัน แบ่งเป็น พระใหญห่ รือพระน้อย ซ่งึ พระใหญใ่ นการแสดงโขนหมายถึงพระเอก มีบุคลิกลักษณะเหนอื กว่าพระ น้อย เช่น ในการแสดงโขนเรื่องรามเกยี รติ์ พระรามเป็นพระใหญ่ และพระลกั ษมณเ์ ป็นพระน้อย หรอื ตอนพระรามครองเมือง พระรามเป็นพระใหญ่ พระลักษมณ์ พระพรตและพระสตั รุตเป็นพระน้อย เป็นตน้ ตวั นาง การคดั เลือกตวั นางสำหรับการแสดง ในการแสดงโขนเรื่องรามเกียรต์ิ ตัวละครทเ่ี ปน็ ตวั นางนัน้ มีเป็น จำนวนมากเชน่ เปน็ มนษุ ย์ได้แก่ นางสดี า นางมณโฑ นางไกยเกษี นางเกาสรุ ยิ า เปน็ เทพหรอื นางอปั สรได้แก่ พระอุมา พระลกั ษมี เป็นก่ึงมนุษยก์ ่งึ สัตว์ได้แก่ นางสุพรรณมัจฉา นางกาลอัคคีนาคราช นางองนค์นาคี และ เปน็ ยักษ์ซ่ึงในท่นี ีห้ มายถงึ ยักษท์ มี่ ลี ักษณะรูปร่างเหมือนกับตวั นางทัว่ ไป ไม่ได้มรี ูปรา่ งและใบหน้าเหมือนกับ ยกั ษไ์ ด้แก่ นางเบญจกาย นางตรีชฏา นางสุวรรณกนั ยมุ า และยกั ษท์ ่มี ลี ักษณะใบหนา้ เหมือนยักษ์แต่สวม หัวโขนได้แก่ นางสำมะนักขา อากาศตะไล ฯลฯ ซึ่งตัวละครเหล่าน้ันสามารถบง่ บอกชาติกำเนดิ ของตนเองได้ จากสัญลกั ษณข์ องการแตง่ กายและเคร่ืองประดบั สำหรบั ตัวนางนน้ั แบง่ ออกเป็น 2 ประเภทไดแ้ ก่ ตวั นางที่เปน็ นางกษตั ริย์และนางตลาด ซงึ่ นาง กษัตรยิ จ์ ะคัดเลอื กจากผูท้ ่ีมรี ูปรา่ งลักษณะคล้ายกับตวั พระ สวมมงกุฏ หอ้ ยดอกไมเ้ พชรด้านซา้ ย กิริยามารยาทเรียบร้อย สุภาพ นมุ่ นวลอ่อนหวานตามลักษณะหญิงงามในวรรณคดเี ชน่ กัน ยามแสดงอาการ โศกเศร้าหรือย้ิมแยม้ ดใี จ กจ็ ะกรีดกรายนิ้วมือแตเ่ พยี งพองาม ส่วนนางตลาดนน้ั จะคดั เลือกจากผู้ทีม่ ีทา่ ทาง กระฉบั กระเฉง คล่องแคล่วว่องไว มีจริต สามารถแสดงกริ ิยาทา่ ทางต่าง ๆ ได้อยา่ งเปน็ ธรรมชาติ

11 ตวั ยักษ์ การคดั เลือกตัวยกั ษ์สำหรบั การแสดง จะคัดเลือกผูท้ ี่มลี กั ษณะคลา้ ยกับตัวพระ รปู ร่างสงู ใหญ่ วง เหลี่ยมของผู้แสดงเปน็ ตัวยกั ษ์ตลอดจนถึงการทรงตัวต้องดแู ขง็ แรง กริ ยิ าทา่ ทางการเยื้องย่างแลดสู ง่างาม โดยเฉพาะผแู้ สดงเป็นทศกณั ฐ์ ซงึ่ เป็นตัวละครสำคญั ในเรื่องรามเกยี รต์ิ จะฝึกหดั เป็นพิเศษเพราะถือกนั วา่ หดั ยากกวา่ ตัวอืน่ ๆ ต้องมีความแข็งแรงของชว่ งขาเป็นอยา่ งมาก เนื่องจากในการแสดงจะต้องยอ่ เหลยี่ มรบั การ ขนึ้ ลอยของตวั พระและตัวลิง ทศกัณฐ์เปน็ ตวั ละครท่ีมีทว่ งท่าลลี ามากมายเช่น ยามโกรธเกร้ยี วจะกระทบื เท้า ตงึ ตงั เสียงดงั โครมคราม หนั หน้าหันหลังแสดงอารมณด์ ้วยกิริยาทา่ ทาง ยามสบายใจหรอื ดใี จ กจ็ ะนัง่ กระดิก แขนกระดิกขา เป็นต้น ยามแสดงความรักดว้ ยลีลาท่าทางกรุ้มกริ้มหรือเขินอาย กจ็ ะแสดงกริ ิยาในแบบฉบับของยักษเ์ ช่น ตอนทศกณั ฐ์สำคัญผิดคิดว่านางเบญกาย ซงึ่ แปลงเป็นนางสีดามาเขา้ เฝ้าในท้องพระโรง จงึ ออกไปเกี้ยวพาราสี นางสดี าแปลง จนกลายเปน็ ท่ีขบขนั ของเหลา่ นางกำนลั กริ ิยาท่าทางของทศกัณฐ์ยามขวยเขิน จะแสดงลลี า ดว้ ยการส่ายไหล่ ปดั ภูษาเคร่ืองทรงและชายไหวชายแครง มีท่าทางเก้อเขินอยา่ งเห็นไดช้ ัด ประกบฝ่ามือ บริเวณอก ถูไปมาแลว้ ปดั ใบหน้า กริ ิยาท่าทางของทศกณั ฐใ์ นตอนน้ี จะใช้ทุกสว่ นของร่างกายตัง้ แต่ศรี ษะ ลำคอ ฝา่ มือ ฝ่าเท้า ไหลแ่ ละลำตัว ซง่ึ เปน็ การแสดงท่ารำที่ขัดกับบุคลิกทส่ี งา่ ของทศกัณฐ์เป็นอย่างมาก

12 ตัวลงิ การคดั เลือกตัวลงิ สำหรับการแสดง จะคดั เลือกผู้ท่ีมลี ักษณะท่าทางไมส่ ูงมากนัก กริ ิยาท่าทาง คลอ่ งแคลว่ ว่องไวตามแบบฉบบั ของลิง มีการดัดโครงสรา้ งของร่างกายให้อ่อน ซ่งึ ลลี าท่าทางของตัวลิงนน้ั จะไม่ อยนู่ ่งิ กบั ที่ ตลี งั กาลุกล้ลี ุกลนตามธรรมชาตขิ องลงิ สำหรับผทู้ ่จี ะหดั เป็นตวั ลิงน้นั ตามธรรมเนยี มโบราณมัก เปน็ ผู้ชาย โดยเริ่มหัดตง้ั แตอ่ ายุ 8-12 ขวบ เป็นตน้ ในอดตี จะมีการฝึกเฉพาะเด็กผูช้ าย ปัจจบุ ันวิทยาลยั นาฏศลิ ปไ์ ด้เรม่ิ ให้มีการคดั เลือกเด็กผ้หู ญงิ เข้ารับการฝกึ เป็นตวั ลงิ แลว้ เรยี กวา่ \"โขนผู้หญงิ \" ในการการฝึกตวั ลงิ ให้สามารถแสดงเปน็ ตวั เอกไดด้ นี นั้ จะต้องใช้เวลา 10 ปีขึ้นไปเป็นอยา่ งน้อย ในการฝึกท่าพน้ื ฐานในการหัดเป็นตวั ลิง ผแู้ สดงจะต้องฝึกความแขง็ แกรง่ และความอดทนของรา่ งกาย เป็นอยา่ งมาก โดยเริ่มหัดเทคนิคกระบวนท่าพ้ืนฐานธรรมดาเปน็ ระยะเวลา 2 ปี และเริ่มพัฒนาในการฝึก เทคนคิ กระบวนท่าเฉพาะอกี 5 ปี ปัจจุบนั ในการแสดงโขน ผแู้ สดงเปน็ ตัวลงิ เช่นหนุมาน องคต ชมพูพาน จะมี การแต่งเติมเทคนิคลีลาเฉพาะตวั ของลงิ เพิ่มเตมิ เขา้ ไปด้วย เพอ่ื เปน็ การแสดงออกถึงลักษณะทา่ ทางเฉพาะของ ลงิ

13 บรรณานกุ รม สืบคน้ เม่อื 29 สงิ หาคม 2563,จาก https://www.google.com สบื คน้ เม่อื 29 สิงหาคม 2563,จาก https://sites.google.com


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook