Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore พระพุทธศาสนา-ม.4 วัสสพันธ์ ฐิติวัสส์สุขทา ม.4/2 เลขที่25

พระพุทธศาสนา-ม.4 วัสสพันธ์ ฐิติวัสส์สุขทา ม.4/2 เลขที่25

Published by paragraphtimeline2019, 2020-07-30 10:15:55

Description: พระพุทธศาสนา-ม.4 วัสสพันธ์ ฐิติวัสส์สุขทา ม.4/2 เลขที่25

Search

Read the Text Version

พระพทุ ธศาสนา

พระพุทธศาสนา หลกั การของพระพทุ ธศาสนากบั หลกั วทิ ยาศาสตร์

หลกั การของพระพทุ ธศาสนากบั หลกั อรยิ สจั 4

พระพทุ ธศาสนาเนน้ ความสัมพนั ธข์ องเหตปุ จั จยั และวิธกี าร แกป้ ญั หา อรยิ สจั 4 ปฏจิ จสมุปบาท คือ การท่ีสิ่งท้งั หลายอาศยั ซ่ึงกนั และกนั เกิดข้ึน เป็นกฎธรรมชาติท่ีพระพทุ ธเจา้ ทรงคน้ พบ การท่ีพระพทุ ธเจา้ ทรง คน้ พบกฎน้ีน่ีเอง พระองคจ์ ึงไดช้ ื่อวา่ พระสัมมาสัมพุทธเจ้า กฏปฏิจจสมุปบาท เรียกอีกอยา่ งหน่ึงวา่ กฏอิทปั ปัจจยตา ซ่ึงก็คือ กฏ แห่งความเป็ นเหตุเป็นผลของกนั และกนั นน่ั เอง

ลกั ษณะประชาธิปไตยในพระพทุ ธศาสนา



กฏปฏิจจสมุปบาท คอื กฏแหง่ เหตผุ ลท่ีว่า ถา้ ส่งิ นมี้ ี ส่งิ นนั้ กม็ ี ถา้ ส่งิ นดี้ บั ส่งิ นนั้ กด้ บั ปฏิจจสมปุ บาทมีองคป์ ระกอบ 12 ประการ คือ 1) อวิชชา คอื ความไมร่ ูจ้ รงิ ของชีวิต ไมร่ ูแ้ จง้ ในอรยิ สจั 4 ไมร่ ูเ้ ทา่ ทนั ตามสภาพท่ีเป็นจรงิ 2) สังขาร คอื ความคิดปรุงแตง่ หรือเจตนาทงั้ ท่ีเป็นกศุ ลและอกศุ ล 3) วิญญาณ คอื ความรบั รูต้ อ่ อารมณต์ า่ งๆ เชน่ เหน็ ไดย้ นิ ไดก้ ล่นิ รูร้ ส รูส้ มั ผสั 4) นามรูป คอื ความมีอยใู่ นรูปธรรมและนามธรรม ไดแ้ ก่ กายกบั จิต 5) สฬายตนะ คือ ตา หู จมกู ลนิ้ กาย และใจ 6) ผัสสะ คือ การถกู ตอ้ งสมั ผสั หรอื การกระทบ 7) เวทนา คือ ความรูส้ ึกวา่ เป็นสขุ ทกุ ข์ หรอื อเุ บกขา 8) ตัณหา คือ ความทะเยอทะยานอยากหรือความตอ้ งการในส่ิงท่ีอานวยความสขุ เวทนา และความดนิ้ รนหลีกหนีในส่งิ ท่ีก่อ ทกุ ขเวทนา 9) อุปาทาน คือ ความยดึ ม่นั ถือม่นั ในตวั ตน 10) ภพ คือ พฤตกิ รรมท่ีแสดงออกเพ่ือสนองอปุ าทานนนั้ ๆ เพ่ือใหไ้ ดม้ าและใหเ้ ปน้ ไปตามความยึดม่นั ถือม่นั 11) ชาติ คอื ความเกิด ความตระหนกั ในตวั ตน ตระหนกั ในพฤติกรรมของตน 12) ชรา มรณะ โสกะ ปรเิ ทวะ ทุกขะ โทมนัส อุปายาสะ คือ ความแก่ ความตาย ความโศกเศรา้ ความคร่าครวญ ความไม่ สบายกาย ความไมส่ บายใจ และความคบั แคน้ ใจหรือความกลดั กลมุ่ ใจ องคป์ ระกอบทงั้ 12 ประเภทนี้ พระพทุ ธเจา้ เรยี กวา่ องคป์ ระกอบแหง่ ชีวติ หรอื กระบวนการของชีวติ ซึ่งมีความสัมพันธเ์ กย่ี วเนื่อง กันทานองปฏกิ ิริยาลูกโซ่ เป็นเหตปุ ัจจยั ตอ่ กนั โยงใยเป็นวงเวียนไมม่ ีตน้ ไมม่ ีปลาย ไมม่ ีท่ีสนิ้ สดุ กล่าวคือองคป์ ระกอบของชีวิต ตามกฏปฏิจจสมปุ บาทดงั กลา่ วนีเ้ ป็นสายเกิดเรียกวา่ สมุทัยวาร

จากแผนภูมิดงั กลา่ วน้นั วธิ ีการสร้างตวั แบบในการบูรณาการเช่นน้ีจดั ไดว้ า่ เป็น “พระพรหมบณั ฑิตวธิ ี” หรือ ใชภ้ าษาองั กฤษวา่ “Brahmapundit’s Method” คุณคา่ และผลประโยชน์ที่จะไดร้ ับตามมาจากวิธีวทิ ยาท้งั สองน้นั คือ จะทาใหว้ งวชิ าการ นกั คิด และนกั ปฏิบตั ิท้งั หลายไดค้ าตอบที่สอดรับกบั สมยั ไดแ้ นวทางในการแกไ้ ขที่เป็น ประโยชน์ และไดท้ างเลือกในแนวคิด และการปฏิบตั ิท่ีควรจะเป็นตอ่ สถานการณ์ต่างๆ ดงั รายละเอียดดา้ นล่าง คือ การบูรณาการแบบพุทธวทิ ยา (Buddhology) ซ่ึงเริ่มตน้ จากการกาหนดหรือแสวงหาประเดน็ (Issues) และ ปัญหา(Problems) ทางวิชาการ หรืองานวจิ ยั ที่มีการถกเถียง หรือแสวงหาทางออกท่ีควรจะเป็นต่อประเดน็ ตา่ งๆ ท่ี มนุษย์ ชุมชน หรือสงั คมสนใจ หลงั จากน้นั จึงนาพระพทุ ธศาสนามาเป็นฐานในการอธิบาย ข้นั ตอนต่อไปจึงเขา้ สู่ กระบวนการของการนาวทิ ยาการ หรือศาสตร์สมยั ใหม่มาอธิบายเสริม โดยมีเจตนารมณ์เพื่ออธิบายสนบั สนุนให้ พระพุทธศาสนาทนั สมยั มีเหตุผล และสอดรับกบั วถิ ีความเป็นไปของชีวิตและสงั คมมากยงิ่ ข้นึ ซ่ึงวิธีการเช่นน มิไดเ้ จตนาที่จะก่อใหเ้ กิดสทั ธรรมปฏิบตั ิ หรือทาใหพ้ ระพุทธศาสนาสูญเสียจุดยนื ของตวั เอง ดงั จะเห็นไดจ้ าก แผนภูมิดงั ต่อไปน้ี

รูปแบบเชิงมโนทศั นข์ องการเรียนรู้แบบสหวิทยาการระหว่างพระพทุ ธศาสนากบั วิทยาการสมัยใหม่

จากผงั มโนทศั นเ์ ก่ียวกบั “รูปแบบเชิงมโนทศั นข์ องการเรยี นรูแ้ บบสหวทิ ยาการระหวา่ ง พระพทุ ธศาสนากบั วิทยาการสมยั ใหม่” ขา้ งบนนนั้ ถือไดว้ ่าเป็น “ตวั แบบ” ท่ีผเู้ ขียนได้ ออกแบบขนึ้ มาเพ่ือใชเ้ ป็นกรอบในการศกึ ษารูปแบบ “พทุ ธสหวทิ ยาการ” ซง่ึ เป็นการศกึ ษา พระพทุ ธศาสนาทางเลอื กอกี รูปแบบหน่งึ นอกเหนือจากวิธีการศกึ ษาแบบ “พทุ ธบรู ณาการ” ดงั ท่ีพระพรหมบณั ฑิตท่ีไดน้ าเสนอไวใ้ นขา้ งตน้ เพ่ือเป็นกรอบในการบรู ณาการ พระพทุ ธศาสนากบั วิทยาการ หรอื ศาสตรส์ มยั ใหมส่ าขาตา่ งๆ ทงั้ ในมิตขิ องวิทยาศาสตร์ สงั คมศาสตร์ และมนษุ ยศาสตร์

พระพทุ ธศาสนาเป็นศาสตรแ์ ห่งการศกึ ษา คาว่า“การศกึ ษา” มาจากคาวา่ “สิกขา” โดยท่วั ไปหมายถึงกระบวนการเรยี น การฝึกอบรมการ คน้ ควา้ การพฒั นาการและการรูแ้ จง้ เหน็ จรงิ ในส่ิงทงั้ ปวงการศกึ ษาตามหลกั พระพทุ ธศาสนา หมายถึง การฝึกฝนอบรมตนใหง้ อกงามใน 4 ดา้ นไดแ้ ก่ดา้ นรา่ งกายดา้ นศีลดา้ นจิตใจและ ดา้ นสติปัญญาโดยมีจดุ มงุ่ หมายเพ่ือใหม้ นษุ ยเ์ ป็นทงั้ คนดแี ละคนเก่งน่นั คือสอนใหค้ นเรามี คณุ ธรรมความดีงามก่อนแลว้ จงึ ใหม้ ีความรูค้ วามเขา้ ใจหรอื สตปิ ัญญาในภายหลงั