Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore คู่มือการจัดการศึกษาต่อเนื่องออนไลน์ ชลบุรี

คู่มือการจัดการศึกษาต่อเนื่องออนไลน์ ชลบุรี

Published by watchara2534wa, 2021-01-06 01:15:22

Description: คู่มือการจัดการศึกษาต่อเนื่องออนไลน์ ชลบุรี

Search

Read the Text Version

ก คำนำ สืบเนื่องจากการทีก่ ระทรวงศกึ ษาธิการได้มีระเบียบกระทรวงศกึ ษาธกิ าร วา่ ด้วย การจดั การศึกษาต่อเนื่อง พ.ศ. 2554 ประกาศใช้ ณ วันที่ 5 กรกฎาคม พ.ศ. 2554 และสำนักงาน กศน. ได้มีการจัดทาคู่มือแนวทางการ ดำเนินการศกึ ษาต่อเนอ่ื ง (ฉบับปรบั ปรงุ 2561) ไปแล้ว นั้น โดยมนี โยบายเร่งดว่ นเพอื่ รว่ มขับเคลอ่ื นยุทธศาสตรก์ ารพัฒนาประเทศ 6 ด้าน ทง้ั นดี้ ้านที่ 3 ยุทธศาสตร์ ด้านการสร้างศักยภาพทรัพยากรมนุษย์ พัฒนานวัตกรรมทางการศึกษาเพื่อประโยชน์ต่อการจัดการศึกษาและ กลมุ่ เป้าหมาย จดั การศึกษาออนไลน์ กศน. ในรปู แบบของการพฒั นาทกั ษะชีวิต ทักษะอาชพี สำนักงาน กศน. จังหวัดชลบรุ ี ขอขอบคุณคณะทำงาน ทุกท่านที่ได้ร่วมจัดทารายละเอียด แนวทางการ ดำเนินงานการศึกษาต่อเนื่อง แบบออนไลน์ จนสำเร็จลุล่วงด้วยดีและหวังเป็นอย่างยิ่งว่าเอกสารฉบับนี้ จะเป็น ประโยชน์แก่บุคลากรของหน่วยงานสถานศึกษาต่าง ๆ ในสังกัดสานักงาน กศน. จังหวัดชลบุรี ที่ปฏิบัติหน้าท่ี เก่ยี วขอ้ งกบั การจดั การศกึ ษาตอ่ เนอ่ื งต่อไป คณะผจู้ ัดทำ

ข สารบญั หน้า ก คำนำ ข สารบญั สว่ นที่ 1 บทนำ 1 2 ความเปน็ มาและเหตุผล 3 หลกั การดำเนินงานและบทบาทหนา้ ท่ี 3 กลุ่มเป้าหมาย 4 หลักเกณฑ์และวิธกี ารจดั การศกึ ษาตอ่ เนือ่ งของสำนกั งาน กศน. จังหวดั ชลบรุ ี คำนยิ ามศัพท์ 6 สว่ นที่ 2 การจดั กำรศกึ ษาตอ่ เนอ่ื ง แบบออนไลน์ 23 การจัดการศกึ ษาตอ่ เนอ่ื ง รปู แบบกลมุ่ สนใจ 33 การจัดการศกึ ษาต่อเนอื่ ง รปู แบบช้ันเรยี นวิชาชีพ การจัดการศกึ ษาต่อเนือ่ ง รูปแบบการฝกึ อบรมประชาชน 42 ส่วนที่ 3 แนวทำงกำรจดั การศกึ ษาตอ่ เนอื่ งแบบออนไลน์ 43 การออกแบบกระบวนการเรียนแบบออนไลน์ วธิ ีการเรียนรู้แบบออนไลน์ 51 ส่วนที่ 4 การนเิ ทศ ตดิ ตามและรายงาน การนเิ ทศ ติดตาม

1 ส่วนท่ี 1 บทนำ ควำมเป็นมำและเหตุผล ตามพระราชบญั ญตั ิสง่ เสรมิ การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย พ.ศ. 2551 ให้ไว้ ณ วันท่ี 19 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2551 เหตุผลในการประกาศใช้พระราชบัญญัติฉบับน้ี คือ โดยท่ีกฎหมายว่าด้วยการศึกษาแห่งชาติมีหลักการจัดการศึกษาให้เป็นการศึกษาตลอดชีวิตสาหรับ ประชาชน และให้ทุกภาคส่วนของสังคม ได้มีส่วนร่วมในการจัดการศึกษา รวมทั้งสถานศึกษาอาจจัด การศึกษาในระบบ การศึกษานอกระบบ หรือการศึกษาตามอัธยาศัย รูปแบบใดรูปแบบหน่ึงหรือทั้ง สามรูปแบบก็ได้ โดยเป็นการผสมผสานระหวา่ งการศึกษาทั้งสามรปู แบบ เพื่อใหส้ ามารถพฒั นาการศึกษา และคุณภาพชีวิตของประชาชนได้อย่างต่อเน่ือง แต่เนื่องจากกลไกและการดาเนินการเก่ียวกับการจัด การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยยังไม่มีกฎหมายเฉพาะรองรับ ดังน้ันเพื่อให้เป็นไปตาม แนวทางและเป้าหมายดังกล่าว จึงสมควรให้มีกฎหมายเพื่อส่งเสริมและสนับสนุนการจัดการศึกษานอก ระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยตามอัธยาศัย ให้เป็นไปอย่างมีระบบ และต่อเนื่อง มีการบริหารและจัด การศึกษาที่มีประสิทธิภาพเพ่ือทาให้ประชาชนได้มีโอกาสเรียนรู้ และสามารถพัฒนาคุณภาพชีวิตของตน ไดต้ ามศกั ยภาพเป็นสงั คมแหง่ การเรยี นรู้และภูมปิ ัญญาอันจะมีผลในการพฒั นากาลังคนและประเทศชาติ ใหเ้ จรญิ ก้าวหนา้ ตอ่ ไป กระทรวงศึกษาธิการได้ปรับปรุงระเบียบว่าด้วยการจัดการศึกษาต่อเนื่อง พ.ศ. 2554 ประกาศ ณ วนั ท่ี 5 กรกฎาคม พ.ศ. 2554 เพอ่ื ประโยชนใ์ นการสง่ เสริมและ สนับสนนุ การศึกษาให้บุคคล ได้รับการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอย่างทั่วถึงและ มีคุณภาพตามกฎหมายว่าด้วย การศึกษาแหง่ ชาติ และทันต่อการเปลย่ี นแปลงของสังคมและเปน็ การส่งเสรมิ และสนับสนนุ ให้บุคคลได้รับ การศึกษาต่อเนื่องตลอดชีวิต ตามกฎหมายว่าดว้ ยการศึกษาแห่งชาติและภาคีเครอื ข่ายทุกภาคส่วนสงั คม มีส่วนร่วมในการจัดการศึกษาตามพระราชบัญญัติส่งเสริมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตาม อัธยาศัย พ.ศ. 2551 อาศัยอานาจตามความใน มาตรา 12 แห่งพระราชบัญญัติระเบียบบริหารราชการ กระทรวงศกึ ษาธิการ พ.ศ. 2546 กระทรวงศึกษาธิการจงึ วางระเบียบไว้ดงั นี้ ระเบยี บนเี้ รยี กว่า “ระเบียบ กระทรวงศึกษาธิการ ว่าด้วย การจัดการศึกษาต่อเน่ือง พ.ศ. 2554” โดยได้กาหนดจุดมุ่งหมายสาคัญใน การพฒั นาคนไทย ให้ได้รับการเรียนรู้อยา่ งต่อเน่ือง ประกอบกับการเปล่ยี นแปลงของสถานการณ์ปัจจุบัน และอนาคต ทั้งด้านประชากร การเมืองการปกครอง สังคม เศรษฐกิจ วิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี และ ส่ิงแวดล้อม รวมทั้งการเช่ือมโยงสังคมเศรษฐกิจภูมิภาคเอเชีย ระดับภูมิภาคและระดับโลก จึงจาเป็นท่ี จะต้องจัดการ เรียนรู้ตลอดชีวิต เพ่ือให้กลุ่มเป้าหมายประชาชนได้รับการเรียนรู้ท่ีสอดคล้องกับการ เปลี่ยนแปลงของ โลก ท้ังด้านการพัฒนาอาชีพ การพัฒนาทักษะชีวิต และการพัฒนาสังคมและชุมชน ซึ่งจาเป็นต้องใช้ วิธีการและรูปแบบท่ีหลากหลาย ตามความต้องการและความสนใจของประชาชนทุก กลุ่มช่วงวัย โดยเน้นกระบวนการคิดเพ่ือแก้ปัญหาในชีวิตประจาวัน ตามหลักปรัชญาคิดเป็นและหลัก ปรัชญาของ เศรษฐกิจพอเพียง สานักงาน กศน. จึงได้กาหนดเป็นนโยบายด้าน จัดการศึกษาต่อเน่ืองโดย มีวัตถุประสงค์เพ่ือมุ่งจัดการศึกษาเพ่ือพัฒนาการงานและอาชีพให้ความสาคัญกับการจัดการศึกษาเพ่ือ พัฒนางานระดับพ้ืนฐาน ระดับกึ่งฝีมือ และระดับฝีมือท่ีสอดคล้องกับสภาพและความต้องการของ กลุ่มเป้าหมาย มุ่งเน้นให้ผู้เรียนสามารถนาความรู้ไปใช้ในการประกอบอาชีพ หรือเพิ่มพูนรายได้ ท้ังนี้ให้มีการพัฒนาหลักสูตรและวิธีการที่หลากหลายและทันสมัย สามารถให้บริการได้อย่างท่ัวถึง

2 และจัดการศึกษาเพื่อพัฒนาทักษะชีวิตให้แก่ทุกกลุ่มเป้าหมาย โดยจัดกิจกรรมการศึกษามุ่งเน้นให้ทุก กลมุ่ เปา้ หมายมคี วามรคู้ วามสามารถในการจัดการชวี ติ ของตนเองให้อยู่ในสงั คมได้อยา่ งมคี วามสขุ รวมทั้ง การใช้เวลาว่างให้เป็นประโยชน์ต่อตนเอง ครอบครัว และชุมชน มุ่งจัดการศึกษาเพื่อสังคมและ ชุมชน ด้วยรูปแบบการประชุมสัมมนา การจัดเวทีแลกเปล่ียนเรียนรู้ และรูปแบบอื่น ๆ ที่เหมาะสมกับ กลุ่มเป้าหมาย โดยเน้นการสร้างจิตสานึกความเป็นประชาธิปไตย ความเป็นพลเมืองดี เศรษฐกิจ ชุมชน และการอนุรักษ์ พัฒนาธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม ตลอดจนการจัดการศึกษาต่อเน่ืองหลักสูตรเชิงบูรณาการ เพื่อการพัฒนาท่ียั่งยืนตามแนวทางเศรษฐกิจพอเพียง และพัฒนาระบบคลังหลักสูตร การศึกษาต่อเนื่อง ให้ได้มาตรฐาน และสะดวกต่อการใช้งาน เพ่ือสนับสนุนการจัดการศึกษาของสถานศึกษา และภาคีเครือข่าย เน่ืองจากประกาศกระทรวงศึกษาธิการ เร่ือง ให้สถานศึกษาในสังกัดและในกากับของ กระทรวงศึกษาธิการปิดเรียนด้วยเหตุพิเศษ ลงวันที่ 17 มีนาคม 2563 ดังน้ัน เพื่อไม่ให้ประชาชนเสีย โอกาสทางการศึกษาโดยเฉพาะการศึกษาอาชีพท่ีเป็นช่องทางในการเรียนรู้เพ่ือนาไปสู่การสร้างอาชีพ และรายได้ให้กับประชาชน สานักงาน กศน. จึงดาเนินการออกแบบการจัดการศึกษาต่อเนื่อง : การจัดการศึกษาเพ่ือพัฒนาอาชีพเพื่อแก้ปัญหาการพบกลุ่มของนักศึกษาหรือประชาชนที่ได้ลงทะเบียนเรียน หลักสูตรการจัดการศึกษาต่อเน่ืองกับสถานศึกษาสงั กัดสานักงาน กศน. ในห้วงท่ีเป็นไปตามประกาศของ กระทรวงศึกษาธิการดังกล่าวข้างต้น น้ัน สานักงาน กศน. ได้กาหนดแนวทางการจัดการศึกษาต่อเน่ือง เพื่อพัฒนาอาชีพ ในห้วงการปิดสถานศึกษาตามประกาศกระทรวงศึกษาธิการ เพ่ือให้สถานศึกษานาไป ดาเนนิ การจัดการศกึ ษาศกึ ษาตอ่ เนื่องเพื่อพัฒนาอาชีพให้กับกล่มุ เป้าหมาย ดังนี้ 1. การจัดการศกึ ษาอาชีพออนไลน์ 2. การจดั การศกึ ษาอาชีพออฟไลน์ 3. การจัดการศกึ ษาอาชีพรูปแบบอื่น หลักกำรดำเนินงำนบทบำทหน้ำท่ี สานักงาน กศน. และสถานศึกษาข้ึนตรง การจัดการศึกษาต่อเนื่องแบบออนไลน์ มีหลัก ดาเนินงาน ดังนี้ 1. จดั ให้มหี อ้ งเรียนออนไลน/์ ออฟไลน์ 2. จัดทาหลักสูตรออนไลนแ์ ละหลกั สูตรออฟไลน์ เกี่ยวกับอาชีพ 3. กาหนดช่องทางการสมัครเรียน ผู้เรียนสมัครผ่านออนไลน์ กรณีออฟไลน์ให้ผู้เรียน สมัครเรยี นด้วยตนเองทีส่ ถานศึกษา 4. วิธีการเรียนระบบออนไลน์ ให้เรียนผ่านเครือข่ายอินเทอร์เน็ตที่สถานศึกษากาหนด โดยครูทาหน้าท่ีเป็น Admin ในแอพพลิเคช่ัน และออกแบบเนื้อหา การจัดกิจกรรม และการประเมินผล ร่วมกับวิทยากรให้เหมาะสมกับรูปแบบการเรียนออนไลน์ รวมทั้งจัดทาหรือจัดหาคลิปวิดีโอ สื่อ เกี่ยวกับ หลักสตู รทจ่ี ะดาเนนิ การสอนและใหผ้ ้เู รียน Login เข้าเรียนผ่าน Platform ทีก่ าหนด 5. กรณีการเรียนผ่านสื่อ Socal Media เมื่อสถานศึกษาอนุมัติหลักสูตรแล้วให้ครูทา ความตกลงกบั ผู้เรยี น โดยครแู จกใบงาน ตารางเรยี น และวัสดฝุ กึ ใหก้ ับผู้เรียนสามารถนาไปฝึกปฏิบัติและ เรียนรู้ด้วยตนเอง ท้ังน้ีครูจะนัดหมายผู้เรียนเข้าร่วมกลุ่มฝึกผ่าน Line App Facebook หรือ แอพพลิเคชั่นอื่นๆ โดยครูอัพโหลดคลิปการเรียนการสอนวิธีทาแต่ละข้ันตอนในไลน์กลุ่มหรือสาธิตผ่าน

3 Facebook และช่องทางอ่ืนๆ ให้ผู้เรยี นฝกึ ตามและให้ผเู้ รยี นสามารถ ส่งคาถามรปู ภาพชน้ิ งานผา่ นระบบ ดังกล่าวเพอื่ เป็นหลักฐานในการประเมิน 6 . วิธีการเรียนแบบออฟไลน์ เมือ่ สถานศกึ ษาอนมุ ัติหลักสตู รแลว้ ครูออกแบบกิจกรรม การเรียนรู้ การวัดผลประเมินผล และให้ครูทาความตกลงกับผู้เรียน โดยครูแจกใบงาน ตารางเรียนและ วัสดุฝึกให้กบั ผู้เรยี นนากลบั ไปฝกึ และเรยี นรูด้ ว้ ยตนอง โดยครูสามารถสอนเป็นรายบุคคลด้วยวธิ ีการต่างๆ ได้ 7. วธิ ีการเรียนปฏิบตั ิรูปแบบอน่ื ๆ ตามทผี่ เู้ รยี นและผู้สอนทาการตกลงกนั 8. วิธีการวดั ผลและประเมนิ ผล หลงั จากการจดั กิจกรรมการเรยี นรูแ้ บบออนไลนแ์ ล้ว มวี ธิ ีการวดั ผลและประเมนิ ผลโดยเครอื่ งมอื และการประเมินตามสภาพจริง กลุ่มเป้ำหมำย Type your text ประชาชนท่ัวไปที่มีความต้องการพัฒนาความรู้ความสามารถ ทักษะในการประกอบ อาชีพ เป็นการเพ่ิมรายได้ ตลอดจนกลุ่มเป้าหมายตามนโยบายของรัฐ อาทิ กลุ่มผู้สูงอายุ กลุ่มเยาวชน นอกระบบ กลมุ่ วัยแรงงาน กล่มุ ประชาชนทวั่ ไป และกลุม่ ประชาชนพืน้ ที่เศรษฐกจิ ภาคตะวันออก(EEC) หหลลักกั เกเกณณฑฑ์แลแะลวะิธวีกธิ ากี รำจรดัจัดกกาำรรศศึกึกษษาำตตอ่ ่อเเนน่ือ่อื งงขขอองง สสำำนนักักงงาำนนกกศศนน..จจงัังหหววัดดั ชชลลบบุรรุ ีี มมีี 33 ลลักักษษณณะะ ลักษณะกำรจดั วธิ กี ำรจดั กำรเรียนรู้ กำรศกึ ษำตอ่ เน่อื ง 1.การเรยี นรู้ 2.การเรียนรจู้ าก 3.การเรียนรู้ใน 4.การเรียนรจู้ าก 5.การเรียนรู้ เป็นกลมุ่ แหล่งเรียนรู้ สถานประกอบการ ฐานการเรยี นรู้ รายบุคคล 1. จัดโดยสถำนศึกษำ √ √ √ √√ 2. จดั โดยสถำนศึกษำ √ √ √ √√ รว่ มกบั ภำคีเครือข่ำย 3. จดั โดยภำคเี ครอื ข่ำย √ √ 1. จัดโดยสถานศึกษา กศน. สามารถจัดการเรียนรู้ได้ทั้ง 5 วิธี คือ การเรียนรู้ เป็นกลุ่ม การเรยี นรจู้ ากแหล่งเรียนรู้ การเรียนรู้ในสถานประกอบการ การเรยี นรจู้ ากฐานการเรยี นรู้ และการเรยี นรู้ รายบุคคล 2. จัดโดยสถานศึกษาร่วมกับภาคีเครือข่าย สามารถจัดการเรียนรู้ได้ท้ัง 5 วิธี คือ การเรียนรู้เป็นกลุ่ม การเรียนรู้จากแหล่งเรียนรู้ การเรียนรู้ในสถานประกอบการ การเรียนรู้จากฐาน การเรียนรู้ และการเรยี นรู้รายบคุ คล 3. จัดโดยภาคีเครือข่าย ภาคีเครือข่ายสามารถจัดการเรียนรู้ได้ท้ัง 2 วิธี คือ การเรียนรู้ เป็นกลมุ่ และการเรียนรู้รายบุคคล

4 นิยำมศพั ท์ กำรศึกษำต่อเนื่อง หมายถึง การจัดการศึกษาในรูปแบบการศึกษานอกระบบที่เป็น หลักสูตรระยะส้นั ท่ีจดั ตามความต้องการของกลุ่มเป้าหมายท่มี ีเนื้อหาเกี่ยวกับการศึกษาเพ่ือพฒั นาอาชีพ การศึกษาเพื่อพัฒนาทักษะชีวิต การศึกษาเพ่ือสังคมและชุมชน ซ่ึงรวมถึงการจัดการเรียนรู้ตามหลัก ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพยี งและการใช้เทคโนโลยี ซึง่ นาไปสู่การพัฒนาคุณภาพชีวิต สถำนศึกษำ หมายถึง สถานศึกษาในสังกัดสานักงานส่งเสริมการศึกษานอกระบบและ การศึกษาตามอัธยาศัยจงั หวัดชลบรุ ี สถำนศึกษำในกำกับ หมายถึง สถานศึกษาภาคีเครือข่ายของสานักงานส่งเสริม การศึกษานอกระบบและการศกึ ษาตามอัธยาศยั จังหวดั ชลบรุ ี วิทยำกร หมายถึง บุคคลท่ีได้รับการคัดเลือกและแต่งต้ังจากสถานศึกษาหรือภาคี เครอื ข่ายให้ทาหนา้ ท่จี ัดการเรียนร้ตู ามกิจกรรมของการจัดการศึกษาตอ่ เน่ือง กำรเรียนร้เู ป็นกลุ่ม หมายถงึ การเรียนรตู้ งั้ แต่ 6 คนขน้ึ ไป ทต่ี ้องการเรยี นรูใ้ น หลักสูตร การศึกษาตอ่ เนอ่ื งในสถานศกึ ษา หรือภาคีเครอื ขา่ ย กำรเรียนรู้จำกแหล่งเรียนรู้ หมายถึง การจัดการเรียนรู้ให้ผู้เรียนในแหล่งเรียนรู้ เช่น ศูนย์สาธติ การทาไรน่ าสวนผสม ศนู ยก์ ารเรียนรู้เศรษฐกิจพอเพียง กำรเรียนรู้ในสถำนประกอบกำร หมายถึง การจัดให้ผู้เรียนได้เรียนรู้ในสถาน ประกอบการ หรอื แหลง่ ประกอบการ หรือแหลง่ เรยี นรู้ เชน่ โรงเรียนเสริมสวย ฯลฯ กำรเรียนรู้จำกฐำนกำรเรียนรู้ หมายถึง การจัดการเรียนรู้ท่ีผู้เรียนสามารถเลือกเรียน ได้ตามความต้องการ ความสนใจ ตามฐานการเรียนรู้ที่จัดให้ โดยมีวิทยากรให้ความรู้ในแต่ละฐานการ เรียนรู้ กำรเรียนรู้รำยบุคคล หมายถึง การเรียนรู้ของผู้เรียนบุคคลใดบุคคลหนึ่งที่ต้องการจะ เรียนรใู้ นเนือ้ หาใดเนอ้ื หาหนึ่ง ซง่ึ เป็นความสนใจเฉพาะตวั ตามหลักสูตรการศึกษาตอ่ เนื่องใน สถานศกึ ษา หรือภาคีเครือข่าย โดยผู้เรียนและวิทยากรร่วมกันวางแผน และออกแบบการเรียนรู้ที่ตอบสนองความ ต้องการของผูเ้ รียนแตล่ ะบุคคลการพัฒนาอาชีพ หมายถงึ การศกึ ษาเพ่อื พัฒนาความรู้ ความสามารถและ ทักษะในการประกอบอาชีพของบุคคล เพ่ือให้บุคคลสามารถเข้าสู่อาชีพ สามารถประกอบอาชีพหรือ พฒั นาอาชพี ของตนเองได้ โดยพิจารณาถงึ ความตอ้ งการในการเรยี นของแต่ละบุคคล กำรพัฒนำทักษะชีวิต หมายถึง การศึกษาท่ีให้ความสาคัญกับการพัฒนาคน เพ่ือให้ มีความรู้ เจตคติและทักษะท่ีจาเป็นสาหรับการดารงชีวิตในสังคมปัจจุบัน เพ่ือให้บุคคลสามารถเผชิญ สถานการณ์ต่าง ๆ ในชีวิตประจาวันได้อย่างมีประสิทธิภาพ และเตรียมความพร้อมกับการปรับตัว ในอนาคต เช่น สุขภาพกายและใจ ความปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สิน คุณธรรม จริยธรรม และค่านิยม ที่ดี เปน็ ตน้

5 กำรพัฒนำสังคมและชุมชน หมายถึง เป็นการศึกษาที่บูรณาการความรู้และทักษะ จากการศึกษาท่ีผู้เรียนมีอยู่หรือได้รับจากการเข้าร่วมกิจกรรมการศึกษานอกระบบ แล้วนาไปใช้ให้เป็น ประโยชน์ต่อการพัฒนาสังคมและชุมชนอย่างยั่งยืนโดยยึดหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง โดยมีรูปแบบ การเรยี นร้ทู ่หี ลากหลาย และใช้ชมุ ชนเป็นฐานในการพฒั นาการเรยี นร้ขู องคนในชมุ ชน เชน่ ประชาธปิ ไตย สิ่งแวดล้อม วสิ าหกิจชุมชน การใช้เทคโนโลยที ีเ่ หมาะสม เป็นต้น กำรศึกษำต่อเน่ืองแบบออนไลน์ หมายถึง การจัดการศึกษาต่อเนื่องผ่านเครือข่าย อินเทอร์เน็ต ด้วยตนเอง ผู้เรียนสามารถเลือกเรียนตามความชอบของตนเอง ในส่วนของเน้ือหาของเรยี น ประกอบด้วย ข้อความ,รูปภาพ,เสียง, VDO และMultimedia อื่นๆ ส่ิงเหล่าน้ีจะถูกส่งตรงไปยังผู้เรียน ผ่านเว็บ Browser ทั้งผู้เรียน,ผู้สอน และเพ่ือนร่วมชั้นทุกคน สามารถติดต่อ ส่ือสาร ปรึกษา แลกเปล่ียน ความคดิ เหน็ แบบเดยี วกับการเรียนในช้ันเรยี นทั่วไป โดยการใช้ E-mail, Chat, Social Network เป็นตน้ ด้วยเหตุนก้ี ารเรียนรู้แบบออนไลน์ จึงเปน็ เหมาะสาหรับทกุ คน เรยี นได้ทกุ เวลา

6 สว่ นท่ี 2 กำรจดั กำรศกึ ษำต่อเนอ่ื ง กำรจดั กำรศึกษำตอ่ เนอื่ ง รปู แบบกลมุ่ สนใจ การจัดการศึกษาต่อเน่ือง ประกอบไปด้วยกิจกรรมเพ่ือการพัฒนาคุณภาพชีวิตด้าน พัฒนาอาชีพ พัฒนาทักษะชีวิต พัฒนาสังคมและชุมชน และด้านอ่ืน ๆ ซ่ึงมีวิธีการจัด 4 รูปแบบ คือ รูปแบบกลุ่มสนใจ รูปแบบช้ันเรียนวิชาชีพ รูปแบบการจัดกิจกรรมฝึกอบรมประชาชน และ รูปแบบเรยี นรรู้ ายบคุ คล โดยสถานศกึ ษามีขน้ั ตอนการดาเนนิ งาน ดังน้ี รูปแบบกลุ่มสนใจมี 2 ลักษณะ คือ 1. การจัดตามความสนใจของผเู้ รยี นทร่ี วมกลมุ่ ตั้งแต่ 6 คนขนึ้ ไป 2. การจัดโดยผเู้ รยี นสมัครเรยี น ณ สถานท่ีจัด ซึง่ ในแตล่ ะลักษณะมีขนั้ ตอนการดาเนินการ ดังนี้ กำรจดั กำรศึกษำตอ่ เน่อื ง รปู แบบกลมุ่ สนใจ ลักษณะท่ี 1

7 กำรจดั กำรศกึ ษำต่อเนื่อง รูปแบบกลุ่มสนใจ ลักษณะที่ 1 ลักษณะท่ี 1 การจัดการศึกษารูปแบบกลุ่มสนใจ ลักษณะที่เป็นไปตามความสนใจของ ผู้เรียนท่ีรวมกลุ่มกันต้ังแต่ 6 คนข้ึนไป ซ่ึงสถานศึกษาต้องดาเนินการขออนุญาตจัดการศึกษาต่อเน่ือง รปู แบบกลุ่มสนใจ โดยขน้ั ตอนการดาเนินการ ดังน้ี 1. ประชำสัมพันธ์เผยแพรก่ ิจกรรม กศน. สถานศึกษาประชาสมั พันธก์ ิจกรรมการศึกษาต่อเนื่องในสถานศึกษาหรือสอบถามความ ต้องการ ความสนใจของประชาชนกลุ่มเป้าหมาย เพื่อให้กลุ่มเป้าหมายมีความเข้าใจภารกิจของ สถานศกึ ษาด้วยวิธีการตา่ ง ๆ เช่น แผ่นพบั เวทชี าวบา้ น ผา่ นผูน้ าชมุ ชน หอกระจายข่าวหรือช่องทางผ่าน ส่อื ออนไลน์ facebook LINE Website ของ กศน. อาเภอ และ กศน. ตาบล เปน็ ตน้ 2. รวมกลุ่มผูเ้ รยี น ประชาชนท่ีมีความสนใจ ต้องการเรียนเรื่องใดเรื่องหน่ึงที่ตรงกัน รวมตัวอย่างน้อยกลุม่ ละ 6 คนขน้ึ ไป จดั ทารายชื่อผเู้ รียนในใบลงทะเบียนตามแบบ แบบ กศ.ตน.1 เพ่ือประสานสถานศึกษา 3. จดั หำ หรือจดั ทำหลกั สตู ร 3.1 สถานศึกษาจัดหาหลักสูตรเน้ือหาท่ีสอดคล้องกับความต้องการของผู้เรียนในข้อ 2 โดยหลักสูตรต้องได้รับความเห็นชอบจากคณะกรรมการสถานศึกษาและผู้บริหารสถานศึกษาอนุมัติ หลกั สตู ร (ดรู ายละเอียดการพิจารณาหลกั สูตรในส่วนท่ี 3) 3.2 สถานศึกษาจัดหาวิทยากรที่มีความรู้และหรือประสบการณ์ในการจัดการเรียนรู้และ เนือ้ หาตามหลกั สตู ร โดยให้วิทยากรเขยี นใบสมัครเปน็ วิทยากรการจดั การศึกษาตอ่ เนื่อง แบบ กศ.ตน. 2 3.3 สถานศึกษาจัดเตรียมสื่อออนไลน์ วิธีการจัดการเรียนการสอนแบบออนไลน์ (ดูรายละเอียดวธิ ีการจดั การเรยี นการสอนในสว่ นที่ 3) แบบ กศ. ตน. 1 แบบ กศ. ตน. 2 ใบลงทะเบยี น ใบสมัครวทิ ยำกร

8 4. จัดทำเอกสำรขออนุญำตจัดกำรศกึ ษำต่อเนื่อง สถานศึกษาจัดทาเอกสารเพ่ือขออนุญาตจัดการศึกษาต่อเนื่อง และอนุมัติจากผู้บริหาร สถานศึกษา ดงั น้ี 4.1 มคี าส่งั แต่งต้ังวทิ ยากร สาเนาใหว้ ทิ ยากรเพ่ือทราบ แบบ กศ.ตน. 3 4.2 จัดทาเอกสารเพื่อขออนุญาตจัดการศึกษาต่อเนื่อง เพ่ือเสนอต่อผู้บริหารสถาน สถานศกึ ษา แบบ กศ.ตน. 4 แบบ กศ. ตน. 3 แบบ กศ. ตน. 4 คำส่ังแต่งตัง้ วิทยำกร หนงั สอื แจง้ ขอเปดิ สอนกำรศกึ ษำตอ่ เนื่อง 4.3 แผนท่ีสถานที่จัดการศึกษาต่อเน่ือง หรือใช้จากแผนที่ google map ได้เพื่อเป็น ขอ้ มลู ในการนเิ ทศการจัดการเรยี นร้ไู ดถ้ กู ต้อง แบบ กศ.ตน. 29 4.4 หลักสูตรการศึกษาต่อเน่ือง ที่สถานศึกษาเคยจัด สามารถนามาใช้ได้เลย หากเป็น หลักสูตรที่ไม่เคยจัด ไม่ว่าจะเป็นการจัดหาจากสถานศึกษาอื่นหรือจัดทาขึ้นใหม่ ต้องผ่านความเห็นชอบ จากคณะกรรมการสถานศึกษาและขออนุมัติให้ใช้โดยผู้บริหารสถานศึกษา แบบ กศ.ตน.15 ***(ดูรายละเอียดการพิจารณาหลักสูตรในส่วนท่ี 3) แบบ กศ. ตน. 29 แบบ กศ. ตน. 15 แผนท่ี สถำนท่จี ัดกจิ กรรมกำรจัดกำรศกึ ษำต่อเน่อื ง แบบเขยี นหลักสตู รต่อเน่อื ง

9 4.5 ใบลงทะเบียนผู้สมัครเรียนหลักสตู รการศึกษาต่อเน่ือง ซึ่งสถานศึกษาสามารถปรับ ไดต้ ามความเหมาะสม เพอ่ื ความสะดวกของประชาชนผสู้ นใจ โดยที่สถานศกึ ษาทเี่ ปน็ กศน. อาเภอ/เขต ต้องมเี จ้าหนา้ ที่งานการศึกษาตอ่ เนื่องหรอื ผทู้ ี่ได้รบั มอบหมาย แบบ กศ.ตน. 1 4.6 ใบสมัครวทิ ยากรการจัดการศึกษาต่อเนื่อง แบบ กศ.ตน. 2 4.7 คาสัง่ แต่งตั้งวิทยากร แบบ กศ.ตน. 3 4.8 รายการวัสดุอุปกรณ์ ที่ขออนุมัติหลักการจัดซื้อจัดจ้างวัสดุอุปกรณ์ ในการจัด การศกึ ษาต่อเน่ืองของแต่ละหลักสูตร จะต้องสอดคล้องกับเน้ือหาและการจัดกระบวนการเรียนรู้ในแต่ละ หลกั สตู ร แบบ กศ.ตน. 8 แบบ กศ.ตน. 1 แบบ กศ.ตน. 2 ใบลงทะเบยี นผูส้ มคั รเรยี น ใบสมคั รวทิ ยำกร แบบ กศ.ตน. 3 แบบ กศ.ตน. 8 คำส่งั แตง่ ตง้ั วทิ ยำกร ขออนมุ ตั หิ ลักกำรจดั ซือ้ จดั จำ้ งวสั ดอุ ุปกรณ/์

10 5. จดั ทำบันทกึ ขออนุญำตจัดกำรศกึ ษำตอ่ เนื่อง จดั ทาบันทึกขออนุญาต แบบ กศ.ตน. 16 รายละเอียดตามขอ้ 4 (4.1-4.6) พรอ้ มท้ัง แบบ กศ.ตน. 29, 1, 2, 3, 8 แบบ กศ .ตน.16 แบบ กศ .ตน.29 บันทกึ ขออนุญำตจดั ตง้ั กลมุ่ และเปิดสอนกำรศึกษำตอ่ เนื่อง แผนท่ี สถำนท่จี ดั กจิ กรรมกำรจดั กำรศึกษำตอ่ เน่อื ง แบบ กศ .ตน.1 แบบ กศ .ตน.2 ใบลงทะเบยี นผู้สมคั รเรยี น ใบสมัครวทิ ยำกร

11 แบบ กศ .ตน.3 แบบ กศ .ตน.8 คำสง่ั แตง่ ตั้งวทิ ยำกร ขออนมุ ตั ิหลกั กำรจดั ซ้ือจัดจำ้ งวัสดอุ ปุ กรณ/์ 6. สถำนศึกษำ กศน.อำเภอ/เขต จัดทาหนังสือแจ้งการจัดกิจกรรมเสนอต่อสานักงาน กศน. จังหวดั /กทม. กอ่ นจดั กิจกรรมอย่างน้อย 1 สัปดาห์ แบบ กศ.ตน. 4 แบบ กศ .ตน.4 หนงั สอื แจ้งขอเปดิ สอนกำรศึกษำต่อเนอื่ ง

12 7. จดั กำรเรียนรู้ วดั และประเมินผลกำรเรยี นรขู้ องผู้เรยี น 7.1 สถานศึกษาจัดเตรียมสถานท่ี วัสดุอุปกรณ์รวมท้ังจัดเตรียมความพร้อมของผู้เรียน ในการเรียนรู้ โดยการจดั การเรียนรู้ในรปู แบบออนไลน์ ผ่านโปรแกรม Google Meet โดยครผู สู้ อนควรมี การนัดแนะกับผู้เรียนและมีการแนะนาการใช้โปรแกรม Google Meet กับผู้ลงทะเบียนเข้ารับ การฝกึ อบรมและทดลองใชจ้ ริงกอ่ นวันอบรม (ดรู ายละเอยี ดการพจิ ารณาหลกั สตู รในส่วนท่ี 3) 7.2 วิทยากรจัดเตรียมสื่อและจัดกระบวนการเรียนรู้ตามหลักสูตรโดยจัดเตรยี มเอกสาร การจัด ดังน้ี ใบลงเวลาวิทยากร ใบลงเวลาผู้เรียน เกณฑ์การให้คะแนนแบบประเมินความพึงพอใจ แบบ กศ.ตน. 5, 6, 7, 11 ครูทาบัญชีลงเวลาผเู้ รียนออนไลน์ โดยใช้ (Google From) วทิ ยากรสามารถจัดวธิ ีการเรียนรูแ้ บบออนไลน์ สามารถจัดได้ 3 รปู แบบ ได้แก่ 1) รูปแบบ Online class 2) รูปแบบ Live online class 3) รปู แบบ ผสมผสาน (ดูรายละเอียดการพจิ ารณาหลกั สตู รในสว่ นท่ี 3) ตัวอย่ำง บัญชลี งเวลำแบบออนไลน์ รูปภำพจำก Google From

13 แบบ กศ .ตน.5 แบบ กศ .ตน.6 บญั ชีลงเวลำของวิทยำกร บญั ชลี งเวลำของผู้เรยี นกำรจดั กำรศึกษำตอ่ เน่ือง แบบ กศ .ตน.7(1) แบบ กศ .ตน.7(2) แบบประเมินผลกำรจัดกำรศึกษำตอ่ เนอื่ ง กรอบกำรประเมนิ ผลกำรจัดกำรศึกษำต่อเนื่อง

14 แบบ กศ .ตน.11 ใบสำคญั ผผู้ ำ่ นกำรฝึกอบรม 7.2 จดั ทาแผนการจัดการเรยี นรู้ตามหลักสตู ร ท่ีสอดคลอ้ งกับวตั ถุประสงค์ พรอ้ มเกณฑ์ การให้คะแนนตามแบบประเมินผลการจัดการศึกษาต่อเน่ือง แบบประเมินความพึงพอใจ ต่อการเข้าร่วม กิจกรรมการเรียนการสอนตามหลักสูตรของวิทยากร ในการนาไปใช้ในชีวิตได้อย่างไร แบบ กศ.ตน.12, 7(1),7(2), 10 แบบ กศ .ตน.12 แบบ กศ .ตน.7(1) แผนกำรจัดกำรเรียนรู้ แบบประเมินผลกำรจดั กำรศึกษำตอ่ เนอ่ื ง

แบบ กศ .ตน.(7)2 15 แบบ กศ .ตน.10 กรอบกำรประเมนิ ผลกำรจัดกำรศกึ ษำต่อเน่ือง แบบประเมนิ ควำมพงึ พอใจ 8. จัดทำหลกั ฐำนกำรจบหลักสูตร วิทยากรรวบรวมหลกั ฐานการเขา้ เรียนของผู้เรียนแตล่ ะครง้ั การวดั และ ประเมินผล การเรียนร้ขู องผ้เู รียน พรอ้ มทั้งจดั ทารายงานผลการจบหลักสตู ร เสนอผู้บริหาร สถานศึกษาเพื่ออนุมัติ การจบหลกั สตู ร และออกหลักฐานการจบหลักสตู รตามแบบวฒุ บิ ัตรผ้ผู า่ น แบบ กศ.ตน. 6, 9, 10, 11 แบบ กศ .ตน.6 แบบ กศ .ตน.9 แบบ กศ .ตน.10 แบบ กศ .ตน.11

16 9. เบิกคำ่ ใชจ้ ำ่ ย สถานศึกษารวบรวมและจัดทาหลักฐานเบิกค่าใช้จ่าย โดยเบิกจ่ายให้เป็นไปตามท่ี หนว่ ยงานตน้ สงั กัดกาหนด ดังน้ี 9.1 คา่ ตอบแทนวิทยากร ชวั่ โมงละไม่เกิน 200 บาท 9.2 ค่าวัสดุ กรณีที่มีค่าวัสดุฝึกปฏิบัติ ให้เบิกจ่ายเท่าท่ีจ่ายจริงตามความจาเป็น เหมาะสม ประหยัดเพ่ือประโยชน์ของทางราชการ ผู้เรียนตั้งแต่ 6 คนข้ึนไป หลักสูตรไม่เกิน 30 ช่ัวโมง กลุม่ ละไมเ่ กิน 1,000 บาท 10. รำยงำนผลกำรดำเนินงำน ผู้รับผิดชอบจัดทารายงานผลการดาเนินงานจัดการศึกษาต่อเนื่องรูปแบบกลุ่มสนใ จ เสนอต่อผูบ้ รหิ ารสถานศกึ ษา บันทึกในระบบ DMIS และตามท่ีสานักงาน กศน. แจง้ 11. กำรนเิ ทศ ติดตำมผล แบง่ เปน็ 2 ช่วงเวลำ ดงั นี้ 11.1 นิเทศ ติดตามผลระหว่างจัดกระบวนการเรียนรู้ โดยคณะกรรมการนิเทศภายใน สถานศึกษา และหรือคณะกรรมการสถานศึกษา ดาเนินการนิเทศ ติดตามกระบวนการจัดการเรียนรู้ของ วิทยากรให้เป็นไปตามแผนการจัดการเรียนรู้ ตามประเด็นการนิเทศ ติดตาม สรุปรายงานผลการนิเทศ ติดตามตอ่ ผู้บริหารสถานศกึ ษา แบบ กศ.ตน. 30 11.2 นิเทศ ติดตามผลหลังเสร็จส้ินการจัดกระบวนการเรียนรู้ โดยสถานศึกษา ดาเนินการนเิ ทศตดิ ตามการนาความรทู้ ี่ได้จากการเรียนไปใช้ประโยชน์ของผูจ้ บหลักสูตร หลังเสรจ็ ส้ินการ เรียนภายในระยะเวลา 1 เดือน และสรุปรายงานผลการนิเทศ ติดตามต่อผู้บริหารสถานศึกษา แบบ นเิ ทศ กศ.ตน. 22 แบบ กศ .ตน.30 แบบนเิ ทศ กศ .ตน.22 บนั ทกึ กำรนิเทศกำรศกึ ษำตอ่ เนอ่ื ง แบบตดิ ตำมผู้เรยี นหลงั จบหลักสตู รกำรศึกษำต่อเนอ่ื ง

17 กำรจัดกำรศกึ ษำตอ่ เน่ือง รูปแบบกลมุ่ สนใจ ลกั ษณะที่ 2 ลักษณะท่ี 2 การจัดการศึกษาต่อเนื่องรูปแบบกลุ่มสนใจ ที่จัดในลักษณะของการจัด กิจกรรม โดยผู้เรียนสมัครเรียน ณ สถานที่จัด สถานศึกษาจัดเตรียมวิทยากร และวัสดุอุปกรณ์ เช่น อาเภอเคลื่อนที่ จังหวัดเคล่ือนที่ การร่วมจัดกิจกรรมร่วมกับหน่วยงานอื่นจัดกิจกรรม โดยมีขั้นตอนการ ดาเนนิ การ ดังนี้ 1. วิเครำะหส์ ภำพปญั หำและควำมต้องกำรเรยี นรเู้ บอื้ งต้นของกลุ่มเป้ำหมำย สถานศึกษา วิเคราะห์สภาพปัญหาของชุมชน และความต้องการเรียนรู้ของ กลุ่มเป้าหมาย จากข้อมูลพื้นฐานของชุมชน ตามบริบทของพ้ืนที่ และกิจกรรมเฉพาะกิจ ด้วยวิธีการท่ี หลากหลาย เช่น วิเคราะห์เอกสาร การทาเวทีประชาคม เวที เป็นต้น เพื่อนามาใช้ในการวางแผนการ จดั การเรยี นรู้ให้แก่กลุม่ เป้าหมายในการจดั การเรยี นการสอนผ่านสอื่ ออนไลน์ 2. จดั หำหรอื จัดทำหลกั สตู ร และจัดหำวทิ ยำกร สถานศกึ ษา จัดหาหลกั สตู รที่มีเนื้อหาสอดคล้องกบั ผลการวเิ คราะหจ์ ากข้อ 1 หรอื จัดทา หลักสูตร (กรณีที่ไม่มี) และคานึงถึงการจัดการเรียนการสอนผา่ นสอ่ื ทางออนไลน์ โดยผ่านความเหน็ ชอบ ของคณะกรรมการสถานศึกษา และผู้บรหิ าร สถานศกึ ษาอนุมัติหลักสูตร รวมทั้งจดั หาวิทยากร พร้อมรับ สมคั รวิทยากร แบบ กศ.ตน. 15, 2 ***(ดรู ายละเอยี ดการพิจารณาหลักสูตรในส่วนท่ี 3) แบบ กศ .ตน.15 แบบ กศ .ตน.2 แบบเขยี นหลกั สตู รต่อเน่อื ง ใบสมัครวิทยำกร 3. ขออนุญำตจดั กำรศกึ ษำตอ่ เน่ือง แตง่ ตง้ั วทิ ยำกร และจดั หำวัสดุอปุ กรณ์ สถานศึกษา จัดทาบันทึกข้อความขออนุญาตจัดกิจกรรมการศึกษาต่อเน่ืองรูปแบบกลุ่ม สนใจ แบบ กศ.ตน. 16 พร้อมท้ังแนบคาสั่งแต่งต้ังวิทยากร รวมท้ังขออนุมัติหลักการซ้ือจัดจ้างวัสดุ อุปกรณ์ และเตรียมความพร้อมก่อนจัดกลุ่มสนใจ ท้ังเรื่องสถานที่ วัสดุอุปกรณ์ สื่อประกอบการ เรียนรู้ แบบ กศ.ตน. 3, 8 3.1 สถานศึกษา จัดเตรียมวัสดุก่อนวันจัดการเรียนการสอน พร้อมจัดส่งวัสดุให้ถึงมือ ผเู้ รียนกอ่ นวันจัดการเรียนการสอน

18 3.2 สถานศึกษาจัดเตรียมสถานที่ วัสดุอุปกรณ์ รวมทั้งจัดเตรียมความพร้อมของผู้เรียน ในการเรียนรู้ โดยการจดั การเรยี นรใู้ นรูปแบบออนไลน์ ผา่ นโปรแกรม Google Meet โดยครผู สู้ อนควรมี การนัดแนะกับผู้เรียนและมีการแนะนาการใช้โปรแกรม Google Meet กับผู้ลงทะเบียนเข้ารับการ ฝึกอบรมและทดลองใชจ้ รงิ ก่อนวนั อบรม ***(ดรู ายละเอยี ดการพิจารณาหลักสูตรในสว่ นท่ี 3) แบบ กศ .ตน.16 แบบ กศ .ตน.3 บันทึกขออนุญำตจดั ตัง้ กลมุ่ และเปดิ สอนกำรศกึ ษำต่อเน่ือง คำส่งั แตง่ ตงั้ วิทยำกร แบบ กศ .ตน.8 ขออนมุ ัติหลกั กำรจดั ซอ้ื จัดจำ้ งวสั ดอุ ุปกรณ/์

19 4. แจง้ กำรจดั กจิ กรรมกำรเรยี นรู้ สถานศกึ ษาจัดทาหนงั สือแจ้งหลักสูตรการศกึ ษาต่อเนือ่ งรูปแบบกลุ่มสนใจ เสนอให้ สานกั งาน กศน.จงั หวัด/กทม. ทราบ เพื่อใชเ้ ป็นขอ้ มูลในวางแผนการนเิ ทศ ติดตามการจัดกระบวนการ เรยี นรู้ แบบ กศ.ตน. 4 แบบ กศ .ตน.4 หนงั สอื แจง้ ขอเปดิ สอนกำรศึกษำตอ่ เนือ่ ง 5. จัดกระบวนกำรวัดและประเมินผลกำรเรยี นรู้ของผ้เู รยี น 5.1 วิทยากรจัดทาแผนการจัดเรียนรู้สอดคล้องกับหลักสูตร จัดเตรียมเอกสาร ส่ือผ่าน ออนไลน์ ที่เกี่ยวข้อง ประกอบด้วย บัญชีลงเวลาของผู้เรียน (ครูทาบัญชีลงเวลาผู้เรียนออนไลน์ โดยใช้ Google From) มีการจัดทาบัญชีลงเวลาของวิทยากร แบบประเมินผลการเรียนรู้ของผู้เรียนเป็น รายบุคคล เช่น แบบทดสอบ แบบสังเกต เกณฑก์ ารให้คะแนน แบบประเมนิ ความพงึ พอใจ แบบ กศ.ตน. 12,5,6,7 (1), 7 (2) และ 10 วทิ ยากรสามารถจดั วธิ ีการเรยี นรู้แบบออนไลน์ สามารถจดั ได้ 3 รูปแบบ ไดแ้ ก่ 1) รปู แบบ Online class 2) รปู แบบ Live online class 3) รูปแบบ ผสมผสาน (ดรู ายละเอียดในสว่ นที่ 3) ตวั อย่ำง บัญชีลงเวลำแบบออนไลน์ รปู ภำพจำก Google From

แบบ กศ .ตน.12 แบบ กศ .ตน.5 20 แบบ กศ .ตน.6 แบบ กศ .ตน.7(1) แบบ กศ .ตน.7(2) แบบ กศ .ตน.10 5.2 สถานศึกษา นิเทศ ติดตามการจัดกระบวนการเรียนรู้ของวิทยากรให้ เป็นไปตาม แผนการจัดการเรียนรู้ แบบ กศ.ตน. 30 แบบ กศ .ตน.30

21 6. กำรจัดทำหลักฐำนกำรจบหลักสูตร วิทยากร รวบรวมหลักฐานการเข้าเรียน การประเมินผลการเรียนรู้ของผู้เรียนพร้อมทั้ง จัดทาทะเบียนผู้จบหลักสูตร เสนอผู้บริหารสถานศึกษาเพื่ออนุมัติการจบหลักสูตร และออกหลักฐานการ จบหลกั สตู รตาม แบบ กศ.ตน. 6, 7, 9, 11 แบบ กศ .ตน.6 แบบ กศ .ตน.7(1) แบบ กศ .ตน.7(2) แบบ กศ .ตน.9 แบบ กศ .ตน.11

22 7.กำรเบกิ ค่ำใชจ้ ่ำย สถานศึกษา รวบรวมและจดั ทาหลกั ฐานเบิกค่าใชจ้ ่ายโดยเบกิ จ่ายใหเ้ ป็นไปตาม หนว่ ยงานตน้ สังกัดตามทหี่ นว่ ยงานตน้ สงั กดั กาหนด ดงั นี้ 7.1 คา่ ตอบแทนวทิ ยากร ชว่ั โมงละไม่เกิน 200 บาท 7.2 ค่าวัสดุ กรณีท่ีมีค่าวัสดุฝึกปฏิบัติ ให้เบิกจ่ายเท่าท่ีจ่ายจริงตามความจาเป็น เหมาะสม ประหยัดเพื่อประโยชน์ของทางราชการ ผู้เรียนต้ังแต่ 6 คนขึ้นไป หลักสูตรไม่เกิน 5 ชั่วโมง กลุม่ ละไม่เกิน 1,000 บาท 8. รำยงำนผลกำรดำเนนิ งำน จัดทารายงานผลการดาเนนิ งานจัดการศึกษาต่อเน่ืองรูปแบบกลุ่มสนใจท้ัง ปรมิ าณ และ คณุ ภาพเปน็ เอกสารและในระบบ DMIS และตามท่ี สานกั งาน กศน. แจ้ง 9. กำรนิเทศ ติดตำมผล 9.1 นิเทศ ตดิ ตามผลระหว่างการจดั กระบวนการเรยี นรู้ โดยคณะกรรมการนิเทศ ภายในสถานศึกษา และหรือคณะกรรมการสถานศึกษา ดาเนนิ การนเิ ทศ ตดิ ตามกระบวนการจดั การ เรยี นรู้ของวิทยากรให้เป็นไปตามแผนการจดั การเรียนรู้ ตามประเดน็ การนเิ ทศ ติดตามและสรุปรายงาน ผลการนเิ ทศต่อผู้บรหิ ารสถานศึกษา แบบ กศ.ตน. 30 9.2 นิเทศ ติดตามผลหลังเสร็จสิ้นการจัดกระบวนการเรียนรู้ โดยสถานศึกษาดาเนินการ นิเทศติดตามการนาความรู้ท่ีได้จากการเรียนไปใช้ประโยชน์ของผู้จบหลักสูตร หลังเสร็จสิ้นการเรียนภายใน ระยะเวลา 1 เดือน และสรปุ รายงานผลการนเิ ทศ ติดตามตอ่ ผู้บริหารสถานศึกษา แบบ กศ.ตน. 22 แบบ กศ .ตน.30 แบบ กศ .ตน.22 บันทกึ กำรนิเทศกำรศกึ ษำต่อเน่อื ง แบบตดิ ตำมผู้เรยี นหลงั จบหลักสูตรกำรศึกษำตอ่ เน่ือง

23 กำรจัดกำรศกึ ษำต่อเน่ืองรปู แบบช้ันเรยี นวิชำชีพ (หลกั สตู ร ตงั้ แต่ 31 ชัว่ โมงข้นึ ไป)

24 กำรจดั กำรศึกษำต่อเน่ืองรูปแบบช้นั เรยี นวิชำชีพ (หลกั สูตรต้ังแต่ 31 ช่วั โมงข้ึนไป) 1. สารวจความตอ้ งการ/ประชาสมั พนั ธ/์ รับสมัคร ครู กศน. ตาบล หรือผู้ท่ีสถานศึกษามอบหมายเจ้าหน้าท่ีผู้รับผิดชอบดาเนินการสารวจ ความต้องการและสนใจของกลุ่มเป้าหมาย ด้วยวธิ กี ารตา่ ง ๆ เชน่ เคาะประตบู า้ น/แจกแผ่นพับ เสยี งตาม สาย/ออกอากาศทางวิทยุ โทรทัศน์ อินเตอร์เน็ต เว็บไซต์/เฟสบุ๊ค เวทีชาวบ้าน รายงานการประชุม และ อื่น ๆ ตามบริบทของพ้ืนที่ หรือนาข้อมูลจากแผนจุลภาคของ กศน. ตาบลมาใช้โดยรับสมัครผู้ท่ีมีความ ต้องการสนใจด้านอาชีพในด้านเดียวกัน ตั้งแต่ 11 คนข้ึนไป และใช้หลักสูตรในการจัดชั้นเรียนวิชาชีพ ต้ังแต่ 31 ช่ัวโมงข้ึนไป ซึ่งต้องใช้แบบฟอร์มท่ีเกี่ยวข้อง ดังนี้ แบบสารวจความตอ้ งการการศึกษาต่อเนอ่ื ง แบบ กศ.ตน. 13 ใบสมคั รผู้เรยี นหลกั สูตรการศึกษาต่อเนือ่ ง แบบ กศ.ตน.14 แบบ กศ.ตน.13 แบบ กศ.ตน. 14 แบบสำรวจควำมตอ้ งกำรเรยี นรกู้ ำรศึกษำตอ่ เนือ่ ง ใบสมคั รผู้เรยี นหลักสตู รกำรศึกษำต่อเน่อื ง

25 2. จัดหำ/จดั ทำหลักสูตรและจดั หำวทิ ยำกร 2.1 การจดั หาหรอื จดั ทาหลกั สตู ร ดาเนนิ การได้ 2 วธิ ี ดงั น้ี 2.1.1 จัดหาหลักสูตรที่มีอยู่แล้ว ท้ังนี้ต้องได้รับความเห็นชอบจาก คณะกรรมการสถานศกึ ษา พร้อมระบุจานวนช่วั โมงในหลกั สตู ร และเสนอผู้บรหิ ารสถานศึกษา เพ่อื อนุมัติ ใชห้ ลกั สูตร ***(ดูรายละเอยี ดการพิจารณาหลกั สตู รในสว่ นที่ 3) 2.1.2 กรณีที่ไมม่ ีหลักสูตรอย่เู ดมิ ใหส้ ถานศึกษาจัดทาหลกั สตู ร ทสี่ อดคลอ้ งกับ ความต้องการของผู้เรียน พร้อมระบุจานวนช่ัวโมงในหลักสูตร ท้ังนี้ต้องได้รับความเห็นชอบจาก คณะกรรมการสถานศึกษา และเสนอผู้บริหารสถานศึกษาเพื่ออนุมัติใช้หลักสูตร ตามแบบฟอร์ม แบบเขยี นหลกั สูตรการศกึ ษาตอ่ เนอื่ ง แบบ กศ.ตน. 15 แบบ กศ.ตน. 15 แบบเขยี นหลักสตู รต่อเน่ือง 2.2 จัดหาวิทยากรให้ตรงตามเนื้อหาหลักสูตร วิทยากรควรเป็นผู้ท่ีมีคุณวุฒิ หรือเกียรติ บัตรรับรองโดยมีหลักฐานอื่นๆ ที่แสดงว่าเป็นผู้มีความรู้ความสามารถ และทักษะในสาขาวิชา หรือ หลกั สูตรนน้ั เปน็ ผทู้ ่ีมีความสามารถในการถ่ายทอดความร้ใู หแ้ ก่ผ้เู รียน ท้ังนี้ ผู้อานวยการสถานศึกษาเป็น ผู้จัดทาคาสั่งตามแบบฟอร์มใบสมัครวิทยากร การจดั การศึกษาต่อเนื่อง แบบ กศ.ตน. 2 แบบ กศ.ตน. 2

26 2.3 สถานศกึ ษาจดั เตรียมส่ือออนไลน์ *** วธิ กี ารจดั การเรียนการสอนแบบออนไลน์ (ดูรายละเอยี ดวิธกี ารจัดการเรยี นการสอนในส่วนที่ 3) 3. กำรจัดตั้งกลุ่ม/แต่งตง้ั วิทยำกร/จัดหำวัสดุอุปกรณ์ สถานศึกษา ดาเนินการจัดต้ังกลุ่มชั้นเรียนวิชาชีพตามแบบฟอร์ม เสนอผู้บริหาร สถานศกึ ษาเพอื่ อนญุ าตจัดต้งั กล่มุ เอกสารในการขออนญุ าตประกอบด้วย 3.1 บันทึกขออนุญาตจัดต้ังกลุ่ม/เปิดสอนการศึกษาต่อเน่ือง แบบ กศ.ตน. 16 และ รายละเอียดความต้องการใชว้ สั ดอุ ุปกรณ์ แบบ กศ.ตน .8 3.2 ทะเบยี นผเู้ รยี นการจัดการศึกษาต่อเน่อื ง แบบ กศ.ตน. 1 3.3 แผนท่ีสถานท่ีจัดกิจกรรมการศึกษาต่อเน่ือง แบบ กศ.ตน. 29 หรือใช้จากแผนท่ี google map ได้เพ่ือเปน็ ขอ้ มูลในการนิเทศการจดั การเรยี นร้ไู ด้ถกู ต้อง แบบ กศ.ตน. 16 แบบ กศ.ตน. 8 แบบ กศ.ตน. 1 แบบ กศ.ตน. 29

27 3.4 คาสงั่ แตง่ ตง้ั วทิ ยากร แบบ กศ.ตน. 3 3.5 หนงั สือแจง้ การจดั การศึกษาต่อเน่ือง แบบ กศ.ตน. 4 แบบ กศ.ตน. 3 แบบ กศ.ตน.4 4. กำรจัดกำรเรยี นร/ู้ วัดและประเมนิ ผล 4.1 สถานศึกษาจัดเตรียมสถานท่ี วัสดุอุปกรณ์รวมท้ังจัดเตรยี มความพร้อมของ ผู้เรยี น ในการเรยี นรู้ โดยการจดั การเรยี นรูใ้ นรปู แบบออนไลน์ ผา่ นโปรแกรม Google Meet โดยครผู ้สู อนควรมี การนัดแนะกับผู้เรียนและมีการแนะนาการใช้โปรแกรม Google Meet กับผู้ลงทะเบียนเข้ารับการ ฝกึ อบรมและทดลองใช้จริงกอ่ นวนั อบรม ***(ดูรายละเอียดการพจิ ารณาหลกั สูตรในส่วนที่ 3) 4.2 วิทยากรจดั เตรียมส่ือและจดั กระบวนการเรยี นรู้ตามหลกั สูตร โดยจัดเตรียมเอกสาร การจัด ดังน้ี ใบลงเวลาวิทยากร ใบลงเวลาผู้เรียน เกณฑ์การให้คะแนนแบบประเมินความพึงพอใจ แบบ กศ.ตน. 5, 6, 7 ครูทำบญั ชลี งเวลำผเู้ รยี นออนไลน์ โดยใช้ (Google From) วิทยากรสามารถจดั วิธกี ารเรียนรแู้ บบออนไลน์ สามารถจดั ได้ 3 รปู แบบ ได้แก่ 1. รปู แบบ Online class 2. รปู แบบ Live online class 3. รปู แบบ ผสมผสาน ***(ดรู ายละเอยี ดการพิจารณาหลักสตู รในส่วนที่ 3) แบบ กศ.ตน.5 แบบ กศ.ตน.6

28 ตวั อย่ำง บัญชลี งเวลำแบบออนไลน์ รปู ภำพจำก Google From 4.3 วิทยากรจัดทาแผนการจัดการเรียนรู้ แบบ กศ.ตน. 12 ท่ีสอดคล้องกับหลักสูตร สถานศกึ ษา กากับ ตดิ ตามการจดั กระบวนการเรยี นรู้ของวทิ ยากรใหเ้ ป็นไปตามแผนการจัดการเรียนรู้ แบบ กศ.ตน. 12

29 4.4 วิทยากรและผู้เรยี นต้องลงลายมอื ชือ่ การปฏบิ ตั ิงานและการเขา้ เรียนตามลาดับ แบบ กศ.ตน. 5, 6 4.5 วทิ ยากร วดั และประเมินผลการเรียนรู้ของผู้เรยี นเป็นรายบุคคล แบบ กศ.ตน. 7(1), 7(2) โดยใช้เครื่องมือวัดผลการเรียนรู้ท่ีเหมาะสมกับวัตถุประสงค์ของ หลักสูตร เช่น แบบทดสอบ แบบสงั เกต เกณฑก์ ารใหค้ ะแนน เปน็ ตน้ แบบ กศ.ตน. 5 แบบ กศ.ตน. 6 แบบ กศ.ตน.7(1) แบบ กศ.ตน.7(2)

30 4.6 การบนั ทกึ คะแนนและให้ผู้เรียนประเมินความพงึ พอใจ แบบ กศ.ตน. 10 ต่อการเข้า ร่วมกิจกรรมการศึกษาต่อเนอ่ื งรปู แบบชัน้ เรียนวิชาชีพ แบบ กศ.ตน10 . 5. กำรจบหลกั สูตรและออกหลักฐำนกำรจบหลกั สูตรแก่ผเู้ รยี น วิทยากร รวบรวมหลักฐานการเข้าเรียนการวัด และประเมินผลการเรียนรู้ของ ผู้เรียน ให้ครู กศน. ตาบล เจ้าหน้าที่ของสถานศึกษา เสนอผู้มีอานาจอนุมัติการจบหลักสูตรและออก หลักฐาน เช่น ใบสาคัญผผู้ ่านการเรียน แบบ กศ.ตน 6,7,12 แบบ กศตน. 6 แบบ กศตน. 7(1) แบบ กศตน. 7(2) แบบ กศตน. 12

31 6. กำรรำยงำนผลกำรดำเนินงำน จัดทำรำยงำนผลกำรดำเนินงำนจัดกำรศึกษำ ต่อเนื่อง รปู แบบช้ันเรยี นวิชำชพี ท้งั ดำ้ นปริมำณ และคุณภำพ ในระบบ DMIS 7. กำรเบิกคำ่ ใชจ้ ่ำยกำรจดั กำรศึกษำต่อเน่ือง รูปแบบช้ันเรียนวชิ ำชีพ ใหด้ ำเนนิ กำร เบกิ จ่ำย ดังนี้ 7.1 ค่าตอบแทนวิทยากร เบิกจา่ ยชว่ั โมงละ ไมเ่ กิน 200 บาท 7.2 ค่าวัสดุฝึกวิชาชพี ผู้เรียนต้ังแต่ 11 คนขึ้นไป หลักสูตร 31 ชั่วโมงข้ึนไป จ่ายเป็นคา่ วัสดุไม่เกิน 5,000 บาท และหากรายวิชาชีพใดมีความจาเป็นต้องใช้คา่ วสั ดเุ กนิ กว่า ที่กาหนด ใหข้ อ้ ความ เห็นชอบตอ่ ผอู้ านวยการสานกั งาน กศน. จงั หวดั /กทม. โดยผา่ นคณะกรรมการท่ี สานักงาน กศน.จังหวัด/กทม. แต่งตั้งเพ่ือพิจารณาตามความความเหมาะสมและสภาพ จรงิ ภายใน วงเงินงบประมาณและเป้าหมายทไี่ ดร้ ับจัดสรร เอกสารที่เก่ียวข้อง หนังสือราชการการขออนุมัติเบิกจ่ายงบประมาณ บันทึก ข้อความ ขออนุมัตเิ บิกเงินงบประมาณ สรปุ งบหนา้ การเบิกเงิน ใบสาคญั รับเงิน และแบบคาขอรับเงนิ ผา่ นธนาคาร แบบ กศ.ตน. 17, 18, 19, 20, 21 แบบ กศ.ตน. 17 แบบ กศ.ตน. 18 แบบ กศ.ตน. 19 แบบ กศ.ตน. 20 แบบ กศ.ตน. 21

32 8. กำรนเิ ทศ/ติดตำมผล 8.1 การนเิ ทศ ติดตามผลระหว่างการจัดกระบวนการเรยี นรู้ 8.2 การนิเทศ ติดตามการนาความรู้ไปใช้ประโยชน์ตามวัตถุประสงค์ของ หลักสูตร สถานศึกษามีหน้าที่ ติดตามผลการนาความรู้ไปใช้ประโยชน์ตามวัตถุประสงค์ของหลักสูตรหลังการจัด กระบวนการเรยี นรูภ้ ายใน 1 เดอื น ตามแบบติดตามผเู้ รยี นหลังจบหลักสตู รการศึกษาต่อ แบบ กศ.ตน. 22 แบบ กศ.ตน. 22

33 กำรจดั กำรศกึ ษำต่อเนอื่ งรปู แบบกำรฝึกอบรมประชำชน การจัดการศกึ ษาตอ่ เน่ือง รปู แบบการฝกึ อบรมประชาชน มี 2 ภารกจิ คอื 1. การดาเนินการตามแผนงาน/โครงการ 2. การดาเนนิ การตามนโยบายที่ไดร้ บั มอบหมาย ซ่งึ ในแต่ละภารกจิ จะมีขัน้ ตอนการดาเนินการตามแผนผงั และขน้ั ตอนการดาเนนิ งานดังน้ี แผนผัง 3 ขั้นตอนกำรดำเนนิ งำนกำรจดั กำรศึกษำตอ่ เนอื่ ง ภำรกิจที่ 1 2 ภำรกิจที่ ดำเนนิ กำรตำมแผนงำน/โครงกำร ดำเนนิ กำรตำมนโยบำยทีไ่ ด้รบั มอบหมำย สารวจความตอ้ งการเรยี นรู้ วิเคราะหส์ ภาพปญั หาและนโยบายที่ได้รบั มอบหมาย จดั กลุม่ ผู้เรียน จัดทาหลกั สตู รและจัดหาวิทยากร จัดหา/จัดทาหลกั สูตรและจัดหาวิทยากร ขออนุมตั โิ ครงการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ แตง่ ตงั้ วิทยากรและจดั ทาวัสดอุ ุปกรณ์ จดั ตงั้ กลุม่ แต่ตั้งวิทยากร และจดั หาวสั ดวุ ทิ ยากร แจ้งการจดั กจิ กรรม ตอ่ สานักงาน กศน. จังหวดั ชระลยบอุรงี จดั กระบวนการเรยี นรู้ วดั และประเมนิ ผล นเิ ทศตดิ ตาม จัดทาหลกั ฐานการจบหลักสูตร เบิกค่าใชจ้ ่ายและรายงานผลการดาเนินงาน

34 กำรจัดกำรศึกษำต่อเน่ืองรูปแบบกำรจัดกิจกรรมฝึกอบรมประชำชน การจัดกิจกรรมฝึกอบรมประชาชน เป็นกระบวนการที่จะทาให้ผู้เข้ารับการฝึกอบรม มี ความรู้ มีทักษะและเจตคติในเรื่องใดเรื่องหน่ึง ดังนั้นการจัดกิจกรรมฝึกอบรมประชาชนจึงเป็นหนึ่งใน การจดั การศึกษาต่อเนื่อง ทีส่ ถานศึกษาดาเนินการใหก้ บั กลุม่ เป้าหมาย ได้แก่ ประชาชนทั่วไป โดย มี รูปแบบการจัดฝึกอบรมประชาชน ซ่ึงดาเนินการได้ 2 ภารกิจ คือ ดาเนินการตามแผนงาน/โครงการ ของสถานศึกษา และดาเนินการตามนโยบายหรือภารกิจที่ได้รับมอบหมายจากหน่วยงานภาครัฐที่เป็น เร่อื งเร่งดว่ น ขนั้ ตอนกำรดำเนนิ งำนกำรจดั กำรศกึ ษำตอ่ เนือ่ ง รปู แบบกำรฝกึ อบรมประชำชน ภำรกิจท่ี 1 และ 2 1. กำรสำรวจสภำพปัญหำและควำมต้องกำรของประชำชนและกลุม่ เป้ำหมำย 1.1 สถานศกึ ษาสามารถดาเนินการไดด้ ้วยวธิ ีการทหี่ ลากหลาย 1.2 การประชาสัมพันธ์การฝึกอบรมประชาชนในรูปแบบออนไลน์ คุณครู ประชาสัมพันธ์และรับสมัคร กิจกรรมออนไลน์ผ่านส่ือต่างๆ เช่น Facabook Line website ของ กศน. อาเภอและ กศน. ตาบล พร้อมให้คุณครูผู้สอนรวบข้อมูลผู้ที่สนใจเข้าร่วมการฝึกอบรมโดยใช้ใบสมัคร ออนไลน์ (เพื่อใชเ้ ป็นหลักฐานอา้ งองิ ในการลงทะเบียน) 1.3 การใช้ข้อมูลสารสนเทศในแผนจุลภาค (Micro Planning) แผนชุมชน ข้อมูล จปฐ. และเผยแพร่ออนไลนผ์ ่านสื่อตา่ งๆ 1.4 การขับเคลือ่ นนโยบาย จุดเนน้ ยุทธศาสตรแ์ ละความจาเปน็ เรง่ ด่วนโดยนา ข้อมลู มาวิเคราะห์พร้อมจดั ลาดับความตอ้ งการ และความจาเปน็ 2. จดั หำหรือจดั ทำหลักสตู ร และจดั หำวิทยำกรพรอ้ มออกแบบกจิ กรรมกำรฝึกอบรม 2.1 การจัดหาหรือจัดทาหลกั สูตร ดาเนินการได้ 2 วธิ ี คอื 2.1.1 จัดหาหลักสูตรที่มีอยู่แล้ว ท้ังน้ีต้องได้รับความเห็นชอบจาก คณะกรรมการสถานศึกษา และเสนอผู้บริหารสถานศึกษาเพ่ืออนุมัติใช้หลักสูตร ***(ดูรายละเอียดการ พจิ ารณาหลกั สตู รในสว่ นที่ 3) 2.1.2 กรณีท่ีไม่มีหลักสูตรอยู่เดิมให้สถานศึกษา จัดทาหลักสูตรที่ สอดคล้องกับความต้องการของผู้เรียน ท้ังน้ีต้องได้รับความเห็นชอบจากคณะกรรมการสถานศึกษา และเสนอผู้บริหารสถานศึกษาเพื่ออนุมัติใช้หลักสูตร ซึ่งต้องใช้แบบฟอร์มเขียนหลักสูตรการศึกษา ต่อเนอ่ื ง แบบ กศ.ตน. 15 แบบ กศ15 .ตน.

35 2.2 จัดหาวิทยากรให้ตรงตามความตอ้ งการของหลักสูตร โดยวิทยากรตอ้ งเปน็ ผู้ท่ีมีคุณวุฒิหรือเกียรติบัตรรับรองหรือหลักฐานอ่ืนๆท่ีแสดงว่าเป็นผู้มีความรู้ความสามารถ ทักษะ ในสาขาวิชาหรือหลักสูตรนั้น หรือเป็นผู้ท่ีมีความรู้ความชานาญ ประสบการณ์ในสาขาวิชาหรือหลักสูตร น้ัน และเป็น ผู้ที่มีความสามารถในการถ่ายทอดความรู้ให้แก่ผู้เรียนทั้งน้ี โดยให้ผู้อานวยการสถานศึกษา เป็นผอู้ อกคาสงั่ ซ่งึ ใชแ้ บบฟอร์ม ใบสมัครวทิ ยากรการจดั การศึกษาต่อเนอื่ ง แบบ กศ.ตน. 2 แบบ กศ.ตน.2 2.3 ออกแบบกิจกรรมการฝึกอบรม ให้เหมาะสมกับกลุ่มเป้าหมาย ซึ่งต้อง สอดคล้องกับวัตถุประสงค์ของหลักสูตร/โครงการให้สถานศึกษาออกแบบกิจกรรมโดยเปิดโอกาสให้ วิทยากรและผเู้ ข้ารับการอบรมมสี ว่ นรว่ มซง่ึ มีขอ้ ควรพิจารณา ดังน้ี 2.3.1 กิจกรรมที่ใช้ในการฝึกอบรมต้องส่งเสริมให้บรรลุวัตถุประสงค์ ของ หลักสูตร/โครงการ 2.3.2 กิจกรรมท่ีใช้ในการฝึกอบรมมีความเหมาะสมกับ เพศ อายุ อาชพี พ้นื ฐานความรูแ้ ละทกั ษะของกลุ่มเปา้ หมายในการเรยี นในรูปแบบออนไลน์ 2.3.3 กิจกรรมที่ใช้ในการฝึกอบรม ช่วยทาให้กลุ่มเป้าหมายรู้และ เขา้ ใจเนอ้ื หาได้ง่ายขนึ้ สามารถปฏบิ ัติไดถ้ ูกตอ้ งแม่นยามากขนึ้ เกดิ ทัศนคตทิ ่ีดีตอ่ การเข้ารับการอบรม 2.3.4 ในการออกแบบกิจกรรมการฝึกอบรมท่ีชัดเจนต้ังแต่เริ่มต้นจะ ชว่ ยให้ การจดั เตรยี มวัสดอุ ุปกรณไ์ ดเ้ หมาะสมเพียงพอและมีการจัดเตรยี มวัสดุเพอื่ แจกจา่ ยไปยังผเู้ รียนใน แตล่ ะบา้ น โดยครผู ูส้ อนเปน็ คนดาเนนิ การ และประมาณการค่าสมนาคุณค่าตอบแทน วิทยากรได้ถูกต้อง แมน่ ยาได้โดยมีหลกั เกณฑก์ ารจา่ ยตามระเบียบกระทรวงการคลัง ดังนี้ - ชั่วโมงการฝึกอบรมท่ีมีลักษณะเป็นการบรรยายใหจ้ า่ ยไดไ้ ม่เกนิ 1 คน - ชั่วโมงการฝกึ อบรมที่มลี ักษณะอภปิ รายเปน็ คณะจา่ ยไดไ้ มเ่ กิน 5 คน - ช่ัวโมงการฝึกอบรมท่ีมีลักษณะเป็นการแบ่งกลุ่มฝึกปฏิบัติ แบ่งกลุ่มอภิปรายหรือ แบง่ กลุม่ ทากิจกรรมจา่ ยได้ไมเ่ กนิ กลมุ่ ละ 2 คน

36 ทั้งนต้ี ้องพิจารณาให้เกิดความเหมาะสมตามงบประมาณที่ไดร้ บั การจัดสรร และไม่เกนิ อัตรา ทีส่ านักงาน กศน.กาหนด หนังสอื สานักงาน กศน.ด่วนที่สุด ท่ี ศธ 0201.04/8021 ลว 5 ม.ิ ย. 2561 หนังสอื สำนักงำน กศน.ด่วนท่ีสุด ท่ี ศธ 0201.04/8021 ลว 5 มิ.ย. 2561 3. เขียนโครงกำรเสนออนมุ ัติ สถานศึกษาเขียนโครงการกาหนดรายละเอียดเสนอขออนุมัติตามแบบฟอร์ม และ ขั้นตอนการจัดอบรมประชาชนพร้อมรายละเอียดการใช้งบประมาณให้คานึงถึงความสอดคล้อง กับหลักสูตร ระยะเวลา และผู้เข้าอบรมตามหลักสูตร มีเอกสารท่ีเก่ียวข้องได้แก่ แบบเขียนโครงการ ฝึกอบรม ควรกาหนดเนอ้ื หาการอบรมจานวน 1-3 เร่ือง ซงึ่ ในแต่ละเรื่องมีสาระสาคัญพอสงั เขป ดังน้ี เรื่องที่ 1.............................ประกอบด้วย หัวขอ้ ย่อย...................1-3 เรอ่ื งที่ 2.............................ประกอบดว้ ย หัวขอ้ ย่อย...................1-3 เร่อื งท่ี 3.............................ประกอบดว้ ย หัวขอ้ ย่อย...................1-3 พรอ้ มกาหนดรายละเอยี ดการจัดอบรมในการเสนอโครงการฯ ประกอบการพิจารณา ดาเนนิ การได้ ตาม แบบ กศ.ตน. 23 (1), (2) แบบ กศ.ตน. 23(1) แบบ กศ.ตน. 23(2)

37 4. เตรยี มควำมพรอ้ มกอ่ นจัดกจิ กรรมกำรฝกึ อบรม การเตรยี มความพร้อมก่อนจัดกิจกรรมการฝึกอบรมให้ดาเนินการ ดังนี้ บนั ทกึ ขออนุมัติ ดาเนินการจัดโครงการฝึกอบรมประชาชน คาส่ังแต่งต้ังคณะทางานฝึกอบรมประชาชนหรือ หนังสือเชิญ วิทยากร เตรียมสถานท่ี วัสดุ อุปกรณ์ และสื่อประกอบกิจกรรมการเรียนรู้ ประสาน กลุ่มเป้าหมายที่เข้า รว่ มกิจกรรมและยมื เงนิ เพือ่ ใช้จ่ายในการดาเนินงาน แบบ กศ.ตน. 24, 25, 26 แบบ กศ.ตน. 24 แบบ กศ.ตน. 25 แบบ กศ.ตน. 26(1) แบบ กศ.ตน. 26(1)

38 5. กำรจัดกิจกรรมกำรฝึกอบรม การดาเนินการจัดกิจกรรมการฝึกอบรมตามโครงการให้เป็นไปตามกาหนดเวลาท่ี วางแผนและวัตถุประสงค์ของโครงการ โดยใชส้ อื่ อุปกรณ์ให้เหมาะสมกับสถานท่ี และกลมุ่ เปา้ หมาย ซึ่งมี เอกสารที่เก่ียวข้อง ดังน้ี บัญชีลงเวลาผู้เข้ารับการฝึกอบรม แบบ กศ.ตน. 1, 6 (ให้ครูทำบัญชีลงเวลำ ผ้เู รยี นออนไลน์ โดยใช้ Google From) แบบ กศ.ตน. 1 แบบ กศ.ตน. 6 ตวั อย่ำง บัญชลี งเวลำแบบออนไลน์ รปู ภำพจำก Google From โดยการจัดฝึกอบรมประชาชนเป็นการจัดการเรียนการสอนในรูปแบบออนไลน์ผ่าน โปรแกรม Google Meet โดยครูผู้สอนควรมีการนัดหมายกับผู้เรียนและมีการแนะนาการใช้โปรแกรม Google Meet กับผลู้ งทะเบียนเขา้ รับการฝกึ อบรมและทดลองใชจ้ ริงก่อนวนั อบรม

39 6. กำรวดั ผลและประเมินผล 6.1 วิทยากรดาเนินการวัดและประเมินผล ให้เป็นไปตามวัตถุประสงค์ของ หลักสูตร โครงการและใช้เคร่ืองมือท่ีเหมาะสม เช่น แบบทดสอบหรือแบบสังเกต เกณฑ์การให้คะแนน ชิ้นงาน ทักษะ เป็นไปตามวัตถุประสงค์ของหลกั สูตรอาชีพน้ันๆ 6.2 สถานศึกษาแตง่ ตั้งคณะทางาน กากบั ตดิ ตามแบบประเมินความพึงพอใจ แบบ กศ.ตน. 10 แบบ กศ10 .ตน. 7. กำรจบหลักสตู รและออกหลกั ฐำนกำรจบหลักสูตรแกผ่ ู้เขำ้ รบั กำรฝกึ อบรม คณะทางานดาเนินการ รวบรวมหลักฐานการเข้าอบรม การวัดผลและประเมินผลผู้ท่ี ผ่านเกณฑ์เป็น ผู้จบหลักสูตรตามกาหนด และเสนอเจ้าหน้าท่ีทะเบียนออกหลักฐานการจบหลักสูตร ตามแบบที่เกี่ยวข้อง ได้แก่ แบบวุฒิบัตรผู้ผ่านการฝึกอบรม แบบ กศ.ตน. 11 (คณะทางานจะจัดส่งใบ วฒุ บิ ตั รผ้ผู ่านการฝึกอบรม ผ่านทางระบบออนไลนข์ องผู้เขา้ รบั การอบรม) แบบ กศ11 .ตน.

40 8. กำรรำยงำนผลกำรดำเนินงำน รายงานผลการดาเนินงานแก่สถานศึกษาใช้แบบเอกสารที่เก่ียวข้อง เช่น แบบรายงาน ผลการจัดโครงการฝึกอบรมประชาชน (แบบสรุปโครงการตามท่ีสถานศึกษาจัดทาข้ึนให้ ครอบคลุม การตอบโจทย์ทั้งวัตถุประสงค์ เป้าหมายเชิงปริมาณและคุณภาพ พร้อมการต่อยอดต่าง ๆ เป็นต้น แบบ กศ.ตน. 27 แบบ กศ27 .ตน. 9. กำรเบิกคำ่ ใช้จ่ำย จัดทาหลักฐานเบิกค่าใช้จ่ายโดยเบิกจ่ายตามหนังสือ ดังน้ี 9.1 หนังสือกรมบัญชีกลาง ดว่ นทสี่ ุด ท่ี กค 0406.4/06606 เรอ่ื ง ขออนมุ ัตเิ บิกค่าใช้จ่ายในการจัดกิจกรรม ลงวนั ที่ 18 กมุ ภาพันธ์ 2559 หนงั สือกรมบัญชกี ลำง ด่วนทสี่ ุด ที่ กค 0406.4/06606

41 9.2 หนังสือ สานักงาน กศน. ด่วนท่ีสุด ที่ ศธ 0201.04/8021 เร่ือง หลักเกณฑ์การเบิก ค่าใช้จ่ายการจัดกิจกรรมฝึกอบรมประชาชนของสถานศึกษา สานักงาน กศน. พ.ศ.2561 ลงวันท่ี 5 มิถุนายน 2561 หนงั สอื สำนักงำน กศน. ที่ ศธ 0201.04/8021 ลงวันที่ 5 ม.ิ ย. 2561 10. ติดตำมผลกำรจดั อบรมโครงกำรฯ การติดตามผลการจดั อบรมประชาชนในการนาความรู้ไปใช้ประโยชน์เป็นไปตามวัตถุประสงค์ ของหลกั สูตรการจดั กิจกรรมอบรมประชาชน โดยอาจใช้แบบประเมนิ ความพงึ พอใจ แบบ กศ.ตน.10 แบบ กศ.ต. 10

42 สว่ นท่ี 3 แนวทำงกำรจัดกำรศึกษำตอ่ เนือ่ งแบบออนไลน์ กำรออกแบบกระบวนกำรเรียนแบบออนไลน์ การจัดการศึกษาต่อเน่ืองในปัจจุบัน ได้มีการนาเทคโนโลยีการศึกษามาใช้เพ่ือเพิ่ม ทางเลือกในการเรียนรู้ของผู้เรียน เพ่ือพัฒนาผู้เรียนในยุคใหม่ ให้มีความรู้ความสามารถในการวิเคราะห์ สังเคราะห์ข้อมูลและข่าวสาร มีรูปแบบวิธีการเรียนการสอนท่ีเน้นความแตกต่างระหว่างบุคคลมากขึ้น เพ่ือให้สอดคล้องกับสถานการณ์ หลักสูตรการศึกษาต่อเนื่อง จาเป็นต้องวิเคราะห์เน้ือหาของหลักสูตร วา่ เนือ้ หาสว่ นใด ควรมวี ิธกี ารจัดกระบวนการเรยี นรแู้ บบใด ผูจ้ ัดการศกึ ษาตอ้ งศกึ ษาเนอื้ หาของหลกั สูตร และแบง่ เรื่องท่ตี อ้ งการสอน วา่ เนอ้ื หาส่วน ใดควรจัดรูปแบบการเรียน แบบใด หรือผสมผสานใช้ทั้ง 3 รูปแบบ โดยผู้จัดการศึกษาต้องคานึงถึง หลักสูตรที่เหมาะสมถึงความเหมาะสมของการเรียนและการฝึกปฏิบัติ ในส่วนของการฝึกการปฏิบัตินั้น ผู้จัดการศึกษาต้องจดั เตรยี มวสั ดุอปุ กรณ์ไว้ และนาสง่ ให้กับผู้เรยี นแตล่ ะคนก่อนทจี่ ะเร่ิมจดั การศึกษา วิธีการเรยี นรแู้ บบออนไลน์ สามารถจัดได้ 3 รปู แบบ ไดแ้ ก่ 1. รูปแบบ online class 2. รปู แบบ live online class 3. รูปแบบ ผสมผสาน รปู แบบ online class คือ รูปแบบการจัดการศึกษาต่อเน่ืองที่ให้ผู้เรียน เรียนจากคลิปวิดีโอที่วิทยากรได้จัดทา ไว้ตามเน้ือหาท่ีต้องการสอน โดยสามารถใช้เคร่ืองมือในการตัดต่อวิดีโอจากหลากหลายโปรแกรม เช่น viva , kine master , premier Pro เป็นต้น แล้วนาไฟล์วิดีโอท่ีจัดทาข้ึนน้ัน ไปใส่ไว้ใน youtube หรอื เวบ็ ไซต์ ผู้เรียนต้องเขา้ ไปศึกษาจากคลปิ วดิ โี อตา่ ง ๆ เหล่านั้น รูปแบบ live online class รูปแบบการจัดการศึกษาต่อเนื่องที่ผู้สอนและผู้เรียน สามารถสนทนา และส่ือสารกันได้ ในขณะสอนโดยตรง ผ่านเครือข่ายอนิ เตอรเ์ นต็ รปู แบบ offline รูปแบบการเรียนที่ผู้เรียนเรียนรู้และฝึกปฏบิ ัติด้วยตนเองจากใบความรู้ คู่มือ แบบเรียน แบบฝึกหัดและวัสดุฝึกให้ผู้เรียน นากลับไปฝึกและเรียนรู้ด้วยตนเอง โดยครูสามารถสอนเป็นรายบุคคล ดว้ ยวธิ ีการต่างๆ ได้

43 วิธกี ำรเรยี นรู้แบบออนไลน์ ผ้จู ัดการเรยี นรตู้ อ้ งสร้าง platform สาหรบั เปน็ ช่องทางใหผ้ เู้ รียนได้เข้าไปเพื่อเรยี นรู้ โดยสามารถสรา้ ง platform ได้หลายประเภท ไม่ว่าจะเป็นเวบ็ ไซตข์ องสถานศึกษา google classroom หรือ facebook เปน็ ตน้ 1. รปู แบบ online class การสอนโดยใช้รูปแบบ online class คือการทาส่ือในรูปแบบวิดีโอแล้วอัพโหลดใน Youtube แล้วนาลิงกข์ องวิดโี อ ไปใสไ่ ว้ใน platform ที่กาหนดการทาวิดีโอบน YouTube สามารถทาได้ หลายวิธี เช่น การใช้คอมพวิ เตอร์ ผ่าน Browser หรอื แท็บเล็ต มือถือ ผ่านแอพพลิเคชั่น และยงั ใช้มือถือ ถา่ ยวดิ ีโอได้ อพั โหลดไดเ้ ลยทันที สิ่งท่ตี ้องเตรียมไว้ คือ คลิปวดิ ีโอ และช่อง YouTube บัญชี Google ก็คือบัญชีเดียวกันกับ Gmail, Google Drive, Google Docs, Google Maps หรือแม้แต่บัญชีของมือถือ Android เมื่อเข้า Google Play Store หากมีบัญชีแล้ว ก็ใช้ลงช่ือบน YouTube ไดเ้ ลย แตถ่ า้ ยงั ไม่มีให้สมคั รที่ https://accounts.google.com/SignUp หรือบนมอื ถือ 1. กดที่ \"สร้างบัญชี\" หรือ Create Account หรือเขา้ youtube.com 2. กด \"ลงชือ่ เข้าใช\"้ มุมขวาบน 3. เลือก \"สร้างบัญชี\" บัญชี Gmail ล็อกอินเข้ามา สามารถเลือกกด Shortcut เข้าถึง YouTube ไดจ้ ากมมุ ขวาของเบราซเ์ ซอร์ 4. เลือก Upload โดยในคร้ังแรกจะให้ต้ังค่าช่อง ช่ือช่องหรือ Channel (Create Channel) เปน็ ชอ่ื ช่องรายการ ชอ่ ง YouTube เอง ต้ังชอ่ื ให้งา่ ยต่อการจดจาและค้นหา กำรอัพโหลดวดิ โี อไปยงั YouTube ผ่ำนคอมพิวเตอร์ 1. เข้าไปที่หน้าเวบ็ ของ youtube (ต้อง login สมาชิกก่อน เม่ือเข้าไปทห่ี นา้ เว็บ ( youtube แล้ว ก็กดปมุ่ \"อปั โหลด\"มมุ ขวาบน (ดงั รูป) 1

44 2. เลือกวิดีโอที่คุณต้องการอัพโหลดจากคอมพิวเตอร์ (แนะนาให้เอาวิดีโอจากมือถือ กล้องมาใสไ่ ว้บนคอมพิวเตอร์กอ่ น) 2 3. ใส่ค่าต่าง ๆ ตามที่ youtube กาหนดให้คุณกรอกข้อมูลใส่ ซ่ึงข้อมูลเหล่าน้ี จะปรากฎบนชอ่ ง youtube พรอ้ มกนั กับวิดโี อของคณุ 4. กดป่มุ เผยแพร่ มมุ ขวาบน (ดังรูป) 4

45 กำรอพั โหลดวดิ ีโอผำ่ นมือถอื แอพ YouTube บนสมาร์ทโฟน รองรบั การอัพโหลดวดิ โี อ โดยการบันทึกวดิ โี อใหม่ หรอื เลือกวดิ โี อที่มอี ยู่แล้วบนเครื่อง โดยมวี ิธกี ารดงั นี้ - ลงชอ่ื เข้าใชบ้ ัญชี YouTube ของคุณ จากภาพ เมนูขวาสุดจะเป็นหน้าจัดการวดิ ีโอ - แตะรูปกล้องเพ่ือถ่ายวิดีโอด้วยสมาร์ทโฟน แท็บเล็ต เพ่ือใช้ในการอัพโหลดวิดีโอขึ้น YouTube ต่อไป หรือถ้ามีวิดีโออยู่แลว้ ก็เลือกวิดีโอที่เราต้องการอัพโหลดได้เลยหรอื กดรูปกล้องเพ่ือเรมิ่ ถา่ ยวิดโี อ จากภาพ กดรปู กล้องวิดโี อเพ่ือเริม่ บนั ทึก (ถา่ ย) วิดโี อ หรือเลือกไฟล์วิดโี อที่ตอ้ งการอพั โหลด เม่ือนาวดิ โี อท่ีเตรียมไว้ ข้นึ youtube เรียบร้อยแล้ว กส็ ามารถนาลิงก์ไปใสไ่ วใ้ น platform ทีก่ าหนด

46 2. รูปแบบ live online class เปน็ การจัดการเรียนการสอนโดยการใช้ Google Hangout Mee คมู่ อื กำรใช้งำน Google Hangout Mee Hangouts Meet คอื แอปพลิเคช่นั สาหรบั การประชมุ ทางวิดโี อที่ใช้ง่ายไม่มีสะดุดจาก Google ช่วยให้ คณุ ทางานรว่ มกันและพฒั นาความสัมพนั ธ์กับทีมไดจ้ ากทุกทีบ่ นโลก คุณสมบตั ิท่สี าคัญไดแ้ ก่ • การประชมุ ทางวดิ โี อความละเอียดสูง รองรับผ้เู ขา้ รว่ มได้สูงสดุ 100 คน • เขา้ ถึงได้ง่าย เพยี งแค่แชรล์ ิงกใ์ หท้ ุกคนเข้ารว่ มไดด้ ้วยคลิกเดยี ว • รองรบั การใช้งานที่ หลากหลายบน Desktop, IOS และ Android • สามารถแชร์หน้าจอ รูปภาพ ไฟล์ และข้อความได้ หมายเหตุ - ดว้ ยสถานการณ์การระบาดของไวรสั โคโรนา่ (COVID-19) ทาง Google ไดเ้ ป็นคณุ สมบัติ พเิ ศษให้แก่ สถาบนั การศกึ ษา โดยการประชมุ ทางวดิ ีโอสามารถรองรบั ผเู้ ข้ารว่ มได้สูงสดุ 250 คน และ สามารถบันทึกวดิ ีโอการ สอน/การประชุมได้ ถงึ วันท่ี 1 กรกฎาคม พ.ศ. 2563 ขนั้ ตอนกำรติดต้ังโปรแกรม Google Meet 1. สาหรบั ผูใ้ ช้งานผ่าน Desktop สามารถใช้งานผ่านเวบ็ เบราวเ์ ซอร์ Google Chrome โดยไมต่ อ้ งติดตงั้ โปรแกรมเพิ่มเติม 2. สาหรับ Mobile สามารถดาวน์โหลดและติดต้ังโปรแกรมจาก Apple store หรือ Google play store ขน้ั ตอนกำรใช้งำน 1. เช้าใช้งานที่เว็บ https://meet.google.com/ คลิก “ลงชื่อเข้าใช้” โดยให้ครูลงช่ือ เขา้ ใช้โดยใช้ Mail ที่เป็นนามสกลุ dei

47 2. โดยใช้ รหัสผ้ใู ช้ (Username) และรหสั ผา่ น (Password) เดยี วกนั กับบญั ชีผู้ใช้งาน จดหมายอเิ ล็กทรอนิกส์ ที่ได้รับจากสานกั งาน กศน.จงั หวัดชระลยบอรุ งี รูปแบบ 421ed………[email protected] 3. เม่ือเข้าสรู่ ะบบเรยี บร้อยแล้ว จะแสดงหน้าต่างหลกั ของ Google Meet 4. เรม่ิ การประชมุ หรือการเรียนการสอน โดยคลกิ ท่ีปมุ่ “เข้าร่วมหรือเริ่มการประชมุ ” ระบบจะให้กาหนดรหสั หรอื ชื่อเล่นของการประชมุ เสรจ็ แลว้ คลิกปมุ่ “ต่อไป”


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook