Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore คู่มือนักเรียน ผู้ปกครอง การจัดการเรียนการสอนและมาตรการป้องกัน ในสถารณ์แพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19)

คู่มือนักเรียน ผู้ปกครอง การจัดการเรียนการสอนและมาตรการป้องกัน ในสถารณ์แพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19)

Published by warraphat, 2021-12-03 05:00:18

Description: คู่มือนักเรียน ผู้ปกครอง
การจัดการเรียนการสอนและมาตรการป้องกัน ในสถารณ์แพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19)

Search

Read the Text Version



๒ การจดั การเรียนการรู้ และมาตรการป้องกันของสถานศกึ ษา ในสถานการณ์ระบาดของโรคติดเชอ้ื ไวรัสโคโรนา ๒๐๑๙ (COVID-๑๙) โรงเรยี นวรพฒั น์ สำนักงานการศกึ ษาเอกชนจังหวดั สงขลา จากสถานการณ์การแพร่ระบาดโรคโควิด-๑๙ กระทรวงสาธารณสุขและกระทรวงศึกษาธิการร่วมกัน จัดแนวทางเตรียมความพร้อมการเปิดภาคเรียนของสถานศึกษา ซ่ึงเมื่อครูและบุคลากรทางการศึกษาและ นักเรยี นโรงเรียนวรพัฒน์ ไดเ้ ดินทางมาทำกจิ กรรมในสถานศึกษา โดยเฉล่ยี ๘ – ๑๐ ช่ัวโมงตอ่ วัน อาจมีความ เสี่ยงตดิ เชื้อในกลุ่มเพ่ือนและเมื่อนักเรียนกลับบ้านอาจแพร่เช้ือไปสู่คนในครอบครัวได้ ดังนั้นโรงเรียนวรพัฒน์ ได้ตระหนักถึงสุขภาพอนามัยและความปลอดภัยของนักเรียนและบุคลากรในโรงเรียนจึงได้กำหนดรูปแบบ แนวทางและมาตรการป้องกันเตรียมความพร้อมของสถานศึกษา เพ่ือให้พร้อมที่จะเปิดภาคเรียนและเป็นคู่มือ ในการปฏิบัติสำหรับสถานศึกษาในการป้องกันการแพร่ระบาดของโรคโควิด ๑๙ โดยเน้นความสอดคล้องกับ บริบทของสถานศึกษาและเอ้ืออำนวยให้เกิดการปฏิบัติงานได้อย่างมีประสิทธิภาพ เพ่ือให้นักเรียนและ บคุ ลากรในสถานศึกษาสามารถดำรงชีวิตอยู่ได้อยา่ งปลอดภัย การจัดการเรียนการรู้ ระดับปฐมวยั รปู แบบการจดั ประสบการณ์ระดับอนบุ าลสามารถจัดได้ท้งั ในรูปแบบ on-site และ online ข้ึนอยู่กับ ความพร้อมของเด็กและผูป้ กครอง โดยมรี ายละเอยี ดดงั นี้ รูปแบบ on-site เด็กมาทำกิจกรรมที่โรงเรียน เวลา ๐๘.๐๐ – ๑๑.๓๐ น. กิจกรรมท่ีจัด ได้แก่กิจกรรมตามกิจวัตร ประจำวัน กิจกรรม Theme บูรณาการ โดยครูประจำช้ันของตนเองช่วงบ่ายหลังจากที่เด็กกลับบ้าน รบั ประทานอาหารกลางวัน และพกั ผอ่ นนอนหลับ กิจกรรมท่ีจดั จะเป็นรปู แบบ online ผา่ นโปรแกรม Zoom meeting ได้แก่ กิจกรรมที่ต้องใช้อุปกรณ์ หรือครูผู้สอนร่วมกัน ได้แก่ กิจกรรม Music For Kids กิจกรรม ภาษาจีน กจิ กรรม I-Kids รปู แบบ online เด็กร่วมกิจกรรม online ในระบบ Remote learning based on Home-based learning จากท่ี บ้านผ่านโปรแกรม Zoom meeting โดยแบ่งเป็น ๒ ช่วงเวลา คือ ตอนเช้าเข้าร่วมกิจกรรมในกลุ่มกิจกรรม เสริมหลกั สูตร ต้ังแต่เวลา ๐๙.๐๐ – ๑๑.๐๐ น. ขึ้นอยู่กับตารางกิจกรรมในแตล่ ะห้องเรียน ช่วงบ่ายกิจกรรม Theme บูรณาการ โดยครูประจำชัน้ ของตนเอง ตงั้ แต่เวลา ๑๕.๐๐ – ๑๖.๓๐ น. ขนึ้ อยู่กับตารางกิจกรรมใน แตล่ ะห้องเรยี น

๓ ตัวอย่างตารางกจิ กรรมรูปแบบ on-site

ตวั อย่าง ตารางกจิ กรรมในระบบ Remote learning based on Hom

๔ me-based learning (รายเดอื น)

ตวั อย่าง ตารางกจิ กรรมในระบบ Remote learning based on Hom

๕ me-based learning (รายสัปดาห)์

ตวั อยา่ ง แผนการจดั ประสบการณฐ์ านสมรรถนะในระบบ Remote learnin

๖ ng based on Home-based learning

7 แผนการรับเด็ก ๑. การมาเรียนแบบ on-site ข้ึนอยู่กับความสมัครใจของผู้ปกครองเป็นสำคัญ โรงเรียนสามารถจัดการ เรียนรู้ให้กบั เด็กได้ทกุ รปู แบบ ๒. ในสัปดาห์ท่ี ๑ และสัปดาห์ที่ ๒ ของการเปิดเรียน เด็กมาโรงเรียน คร่งึ วัน คือต้ังแต่เวลา ๐๘.๐๐ – ๑๑.๓๐ น. หลังจากนั้นพิจารณาตามสถานการณ์การแพร่ระบาด หรือประกาศจากกระทรวงสาธารณสุข และ กระทรวงศกึ ษาธิการ ๓. ต้งั แตส่ ัปดาห์ท่ี ๓ เด็กมาโรงเรยี นแบบเตม็ วัน คอื ต้ังแตเ่ วลา ๐๗.๓๐ – ๑๕.๓๐ น. ๔. การรับนักเรียนเข้าร่วมกิจกรรมในรูปแบบ on-site จะรับในวันจันทร์ของสัปดาห์ที่ ๑ และ ๓ ของ เดอื นเทา่ นั้น โดยผู้ปกครองจะตอ้ งปฏบิ ัตติ ามมาตรการของโรงเรียนอยา่ งเครง่ ครดั ๕. นักเรียนท่ีเข้าร่วมกิจกรรมในรูปแบบ on-site สามารถปรับเปล่ียนเป็นรูปแบบ online ในระบบ Remote learning based on Home-based learning ได้ ในกรณผี ปู้ กครองมคี วามกังวลใจในสถานการณ์ ๖. นักเรียนท่ีเข้าร่วมกิจกรรมรูปแบบ online ในระบบ Remote learning based on Home-based learning สามารถปรับเปลี่ยนเป็นรูปแบบ on-site ได้ โดยผู้ปกครองจะต้องปฏิบัติตามมาตรการของโรงเรียนอย่าง เคร่งครดั ๗. การรับประทานอาหารของนักเรียนใน ๒ สัปดาห์แรก โรงเรียนจัดทำ Lunch Box เพื่อให้นักเรียนนำ กลบั ไปรบั ประทานทบ่ี า้ น หลังจากนน้ั พจิ ารณาตามสถานการณ์การแพร่ระบาด และประกาศจากต้นสังกัด หลกั การจัด Small Bubble ๑. มสี ญั ลกั ษณใ์ นการกำหนด Bubble คอื ผา้ พันคอสีทไี่ ม่ซ้ำกันในแตล่ ะห้องเรียน ใน Bubble ประกอบ ไปด้วยเดก็ และครปู ระจำช้นั ของหอ้ งนั้นๆ ๒. กำหนดครูและเด็ก ในอตั ราส่วน ๒ : ๒๕ (สมาชกิ เดมิ ทุกวัน) ๓. มกี ารกำหนดสัญลักษณ์พ้ืนทป่ี ระจำตวั สำหรบั ทำกจิ กรรมในหอ้ งเรยี น ๔. จัดให้มีการเหล่ือมเวลาในการมาโรงเรียน และเวลาพัก เพื่อลดความหนาแน่นของจำนวนนักเรียนต่อ พนื้ ท่ี ๕. งดกจิ กรรมการเขา้ แถวเคารพธงชาติ กจิ กรรมการออกกำลงั กาย และกิจกรรมทตี่ อ้ งรวมตวั กนั เป็นกลมุ่ ๖. งดการเรยี นว่ายน้ำ กจิ กรรมทัศนศึกษานอกสถานท่ี ทั้งน้ีอาจมีการเปลยี่ นแปลงข้ึนอยู่กับสถานการณ์ และประกาศจากกระทรวงสาธารณสุข ๗. จดั ชดุ อปุ กรณส์ ำหรบั ทำกิจกรรมใหเ้ ด็กเป็นรายบุคล เชน่ สี ดินสอ กาว กรรไกร และชุดฝกึ พฒั นาการ Warraphat Learning Kit ๘. ครอบครัวของสมาชกิ ในกลุม่ ต้องปฏบิ ัติตนเพือ่ ปอ้ งกนั เช้ือโรคอย่างเคร่งครัดตลอดเวลา โดยยดึ หลักการเว้นระยะห่าง การสวมหนา้ กาก การลา้ งมอื รกั ษาความสะอาด ปราศจากความแออดั

๘ ระดบั ประถมศกึ ษา แนวทางการจดั การเรียนการสอน จดั การเรียนการสอน ได้ท้ังรปู แบบ on-site หรอื online หรือแบบผสมผสาน (Hybrid) รปู แบบการ เรยี นการสอนมีดังนี้ รปู แบบ on-site นกั เรยี นมาเรียน on-site ทโี่ รงเรยี น เวลา ๐๘.๐๐-๑๑.๔๐น. ชว่ งบ่ายจะเป็นการเรียน online ตาม ตาราง ผูป้ กครองมารบั นักเรียนกลับชว่ งเทย่ี ง โดยรบั กลับภายในเวลา ๑๒.๓๐ น. นักเรยี นรบั ประทานอาหาร แบบlunch box รูปแบบ online นักเรียน เรยี น online จากท่บี า้ น ผ่าน Google meet live stream โดยใชต้ ารางเรียนเหมือนกับกล่มุ นักเรียนทมี่ าเรยี น on-site รูปแบบผสมผสาน (Hybrid) นกั เรียนกลุ่มมาเรียน on-site ควบครู่ ูปแบบ online ตวั อยา่ ง การจดั การเรยี นรู้ แบบ Online ระดับประถมศึกษา

๙ ตัวอย่าง การจัดการเรยี นรู้ แบบ on-site ระดับประถม

๑๐ แผนการรบั นักเรยี น ๑. การมาเรยี นแบบ on-site ข้ึนอยกู่ ับความสมัครใจของผู้ปกครองเปน็ สำคัญ โรงเรียนสามารถจัดการ เรียนรู้ใหก้ ับนกั เรยี นได้ทุกรูปแบบ ๒. ระดับช้ันประถมศึกษาปีที่ ๕-๖ มาเรียนครึ่งวนั ต้ังแต่เวลา ๐๘.๐๐ - ๑๑.๔๐ น. ๑ สปั ดาห์ มาเรียน เตม็ วัน ต้งั แตเ่ วลา ๐๘.๐๐ - ๑๔.๕๐น. ในสัปดาหท์ ่ี ๒ นบั จากวนั เปิดเรยี น ๓. ระดับช้นั ประถมศึกษาปที ี่ ๑-๔ มาเรยี นครง่ึ วัน ตง้ั แตเ่ วลา ๐๘.๐๐ - ๑๑.๔๐ น. ๒ สปั ดาห์ มาเรยี น เตม็ วัน ตัง้ แต่เวลา ๐๘.๐๐ - ๑๔.๕๐ น. ในสปั ดาหท์ ี่ ๓ นบั จากวนั เปดิ เรียน ๔. การรับนกั เรียนเขา้ เรยี นแบบ on-site จะรบั ในวนั จนั ทรข์ องสัปดาห์ท่ี ๑ และ ๓ เทา่ น้ัน หลกั การจดั Small Bubble ๑. มสี ญั ลกั ษณใ์ นการกำหนด Bubble คอื ผา้ พนั คอสที ่ีไม่ซำ้ กนั ในแต่ละหอ้ งเรยี น ใน Bubble ประกอบไปดว้ ยเด็กและครปู ระจำช้ันของห้องน้ัน ๆ ๒. กำหนดครแู ละเด็ก ในอตั ราส่วน ๑ : ๒๕ (เป็นสมาชกิ เดิมทุกวัน) ๓. มกี ารกำหนดท่นี ง่ั ประจำตัวในหอ้ งเรียน ๔. จดั ให้มีการเหลอื่ มเวลาในการมาโรงเรยี น และเวลาพกั เพื่อลดความหนาแนน่ ของจำนวนนักเรยี นต่อ พน้ื ที่ ๕. งดกิจกรรมการเขา้ แถวเคารพธงชาติ กจิ กรรมการออกกำลงั กาย และกจิ กรรมที่ตอ้ งรวมตวั กันเปน็ กล่มุ ๖. งดการเรียนวา่ ยน้ำ กิจกรรมลูกเสอื - เนตรนารี ชุมนุมการเรียนรู้ กจิ กรรมทัศนศึกษานอกสถานที่ ท้งั นอี้ าจมีการเปล่ียนแปลงขึ้นอยู่กบั สถานการณ์ และประกาศจากกระทรวงสาธารณสุข ๗. นักเรียนเตรียมอุปกรณ์การเรียนและเครื่องเขียน เช่น ดินสอ ปากกา ยางลบ สีไม้ ปากกาไฮไลท์ อยา่ งนอ้ ย ๒ สี กาว กรรไกร และอุปกรณท์ คี่ รูใหน้ ำมา มาเป็นของสว่ นตวั เขียนชื่อ เกบ็ ในล็อคเกอร์ ๘. ครอบครวั ของสมาชิกในกลุ่ม ตอ้ งปฏิบัติตนเพ่ือป้องกนั เช้ือโรคอย่างเครง่ ครดั ตลอดเวลา โดยยดึ หลัก การเวน้ ระยะหา่ ง การสวมหน้ากาก การล้างมอื รักษาความสะอาด ปราศจากความแออัด

๑๑ มาตรการและแนวทางปอ้ งกนั โรคตดิ เช้อื ไวรัสโคโรน่า ๒๐๑๙ (COVID-๑๙) ของโรงเรยี นวรพัฒน์ จากสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคโควิด ๑๙ ส่งผลกระทบอย่างมากต่อทุกภาคส่วน เมื่อ สถานการณ์เป็นไปในทางท่ดี ขี ้ึน การเปิดสถานศึกษาหลงั จากปิด จากสถานการณ์ โควิด ๑๙ มีความจำเป็นอยา่ ง ยิ่งในการเตรียมความพรอ้ มของสถานศึกษา การปฏิบัติตนของนักเรียนและบุคลากรในสถานศึกษาเพือ่ ลดโอกาส การติดเชื้อและป้องกันไม่ให้เกิดการติดเช้ือโรคโควิด ๑๙ ให้เกิดความปลอดภัยแก่ทุกคน มาตรการป้องกันโรค เพ่ือป้องกันการแพร่ระบาดของโควิด ๑๙ ของโรงเรียนวรพัฒน์ในสถานการณ์การแพร่ระบาดของ โรคติดเชื้อ ไวรัสโคโรนา ๒๐๑๙ (โควิด-๑๙) อันจะเป็นการวางแผนที่จะช่วยสร้างเสริมความเข้มแข็ง ด้านการคุ้มครอง สขุ ภาพและความปลอดภัยของนักเรยี นโดยมีมาตรการควบคมุ หลักในมิติการดำเนินงาน เพื่อความปลอดภัยจาก การลดการแพร่เช้อื โรค โดยมีข้อปฏิบตั ใิ นสถานศึกษา ไดแ้ ก่ เป็นหลกั การปฏบิ ตั ขิ อง นักเรยี น ครู และบุคลากรทางการศึกษาโดยนักเรยี นปฏบิ ตั ิตาม มาตรการสขุ อนามยั สว่ นบุคคลอยา่ งเขม้ ขน้ มุง่ ลดการตดิ เชอ้ื ลดการแพร่กระจาย ดงั น้ี Distancing เวน้ ระยะห่างระหว่างบคุ คลอยา่ งน้อย ๑-๒ เมตร Mask wearing สวมหนา้ กากผา้ หรอื หน้ากากอนามยั ๑๐๐%ตลอดเวลาทอ่ี ย่ใู นโรงเรยี น Hand washing ลา้ งมอื บอ่ ยๆดว้ ยสบู่และน้านาน ๒๐ วนิ าทหี รอื ใชเ้ จลแอลกอฮอล์ Testing ตรวจวดั อุณหภูมริ า่ งกาย Reducing ลดการแออดั ลดการรวมกลุ่มคนจานวนมากไม่เขา้ ไปในพน้ื ท่ี Cleaning ทาความสะอาดพน้ื ผวิ สมั ผสั รว่ ม มรี ายละเอยี ดดงั ต่อไปน้ี

๑๒ Distancing การเวน้ ระยะห่างระหว่างบคุ คลอยา่ งน้อย ๑-๒ เมตร การปฏิบตั ิ ทาเครอ่ื งหมายเวน้ ระยะหา่ งระหว่างทางเดนิ ระเบยี ง ระยะหา่ งระหว่างบุคคล อยา่ งน้อย ๑ - ๒ เมตร และจดั ทาสญั ลกั ษณ์แสดงจุดตาแหน่งชดั เจน

๑๓ Mask wearing สวมหน้ากากผ้าหรือหน้ากากอนามัย ๑๐๐% ตลอดเวลาที่อยู่ในโรงเรียน บุคคลทุกคนท่ี เข้ามาในสถานศึกษา ครู นักเรียน บุคลากรและผู้มาติดต่อราชการสวมใส่หน้ากากผา้ หรือหน้ากากอนามัย ตลอดเวลาท่ีอยู่ในโรงเรียน และครูจะต้องใส่เฟซชิลด์ (Face Sheild) ขณะปฏิบัติการสอน โดยจะต้องนำ หน้ากากผ้า หรือหน้ากากอนามัยมาโรงเรียนอย่างน้อย ๒ ชิ้น หากนักเรียนหรือผู้มาติดต่อราชการท่ี โรงเรียนลืมหรือไม่ได้เอามา สามารถขอจากทางโรงเรียนได้ ซึ่งโรงเรียนจัดหน้ากากผ้าและหน้ากาอนามัย ไว้สำรองให้

๑๔ Hand washing ล้างมือบ่อยๆดว้ ยสบ่แู ละน้ำนาน ๒๐ วินาทหี รือใชเ้ จลแอลกอฮอล์ การปฏิบัติ เตรียมสบู่ล้างมือและเจลแอลกอฮอล์ในห้องน้ำ ในห้องเรยี นหรือห้องปฏิบัติการต้องมี เจลแอลกอฮอล์ทุกห้อง เน้นย้ำให้ล้างมือด้วยสบู่ ๒๐ วินาที หรือใช้เจลแอลกอฮอล์ หลีกเลี่ยงการสัมผัส บริเวณจุดเส่ียง เช่น ราวบันได ลูกบิดประตู เป็นต้น รวมทั้งไม่ใช้มือสัมผัส ใบหน้า ตา ปาก จมูก โดยไม่ จำเปน็ และสง่ เสริมการลา้ งทีถ่ กู ต้องตาม ๗ ข้ันตอน

๑๕ Testing ตรวจวัดอณุ หภมู ิร่างกาย การตรวจคัดกรองสุขภาพเบ้ืองต้นช่วงสถานการณ์โรคโควิด-๑๙ โรงเรียนได้วางแผนดำเนินการตาม ขนั้ ตอนท่ีสำคัญ ได้แก่ การตรวจวัดอุณหภูมริ ่างกายหรือวดั ไข้ การซักประวัติ การสัมผัสในพื้นท่ีเส่ยี ง การสังเกต อาการเส่ยี งตอ่ การติดเช้ือ โดยมีวิธปี ฏบิ ัตทิ ส่ี ำคัญ ดงั นี้ ๑.๑ จดั ตั้งจุดคัดกรองบรเิ วณทางเขา้ ของสถานศึกษา โรงเรยี นวรพัฒนไ์ ดก้ ำหนดจดุ คัดกรองบคุ ลากร นกั เรียนและผมู้ าติดต่อโดยยึดหลัก Social distancing ดังนี้ ๑.๑.๑ ครู บคุ ลากรโรงเรียน กำหนดใหค้ รูและบคุ ลากรเข้าสถานศกึ ษาโดยใช้ประตูที่ ๓ ๑.๑.๒ นกั เรียน มกี ารกำหนดใหน้ ักเรยี นเข้าสถานศึกษา ดังนี้ - นักเรียนช้ันอนุบาล ๑ โดยใช้ประตูที่ ๑ เดินตามช่องทางจำนวน ๒ ช่องทาง และมีระยะห่างระหว่าง คน ๑- ๑.๕ เมตร - นักเรียนชั้นอนุบาล ๓ และนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ ๑-๖ โดยใช้ประตูที่ ๔ เดินตามช่องทาง จำนวน ๒ ชอ่ งทาง และมีระยะหา่ งระหว่างคน ๑ - ๑.๕ เมตร - นักเรียนช้ันอนุบาล ๒ โดยใช้ประตูท่ี ๑ เดินตามช่องทางจำนวน ๒ ช่องทาง และมีระยะห่างระหว่าง คน ๑ - ๑.๕ เมตร ๑.๑.๓ ผู้ปกครองหรือผู้มาตดิ ต่อ มีการกำหนดให้เข้าสถานศึกษาโดยใช้ประตูท่ี ๓ และทำการคัดกรองโดย เจา้ หน้าที่ ผ้ปู กครองหรือผทู้ มี่ าตดิ ต่อต้องแสดงผลการไดร้ บั วัคซีนครบโดส

๑๖ ๑.๒ ตรวจวัดอุณหภูมิร่างกายหรือวัดไข้ โดยใช้เคร่ืองวัดอุณหภูมิทางหน้าผาก เน่ืองจากจำนวน นักเรียนมีเป็นจำนวนมาก คนทั่วไปจะมีอุณหภูมิร่างกายอยู่ระหว่าง ๓๖.๑ - ๓๗.๒ องศาเซลเซียส สำหรับผู้ท่ี เรมิ่ มไี ข้หรือสงสัยว่าติดเช้ือจะมีอณุ หภมู ิทีม่ ากกว่า ๓๗.๕ องศาเซลเซยี ส ๑.๒.๑ ครู บุคลากรโรงเรียน จะมีเจ้าหน้าท่ีทำหน้าที่ตรวจวัดอุณหภูมิร่างกายบริเวณสแกนลายน้ิวมือ ลงชอ่ื ปฏบิ ตั ิงาน โดยเนน้ ระยะหา่ งระหวา่ งคน ๑ - ๑.๕ เมตร ๑.๒.๒ นักเรียน ในช่วงเช้า จะมีคุณครูเวรประจำวันทำหน้าที่ต้อนรับนักเรียนและทำหน้าที่ตรวจวัด อุณหภูมิร่างกายก่อนเขา้ โรงเรียน โดยเนน้ ระยะหา่ งระหว่างคน ๑ - ๑.๕ เมตร ๑.๒.๓ ผู้ปกครองหรอื ผู้มาตดิ ต่อ จะมีเจา้ หนา้ ที่ทำหนา้ ทีต่ รวจวัดอณุ หภูมริ า่ งกายบรเิ วณทางข้ึนอาคาร สำนกั งาน โดยเน้นระยะหา่ งระหว่างคน ๑ - ๑.๕ เมตร จะตอ้ งลงเบยี นการเช็คอนิ “ไทยชนะ” หรือ ลงชื่อเขา้ ใช้ บริการ กำหนดให้สำนกั งานบรหิ ารและประชาสัมพันธ์ต้องติดต้ังป้าย QR Code “ไทยชนะ” หรือสมุดลงชื่อไว้ท่ี หนา้ ห้องใหเ้ รียบรอ้ ย หากตรวจวัดอุณหภูมิร่างกายคร้ังแรก บุคลากร นักเรียนหรือผู้มาติดต่อราชการมีอุณหภูมิร่างกาย มากกว่า ๓๗.๕ องศาเซลเซียส ให้พักคอยหรือควรอยู่ในบริเวณจุดตรวจวัดอย่างน้อย ๕ นาที ก่อนการวัด อกี คร้งั - กรณี วดั อุณหภูมริ ่างกายได้ ไมเ่ กนิ ๓๗.๕ องศาเซลเซียส และไม่มีอาการทางเดินหายใจ อาทิ ไอ มีน้ำมูก เจ็บ คอ หายใจลำบาก เหนื่อยหอบ ไม่ได้กล่ิน ไมร่ รู้ ส ไมม่ ีประวัติสัมผสั ใกลช้ ิดกบั ผู้ป่วยยนื ยนั ในช่วง ๑๔ วัน ก่อนมี อาการ ถอื วา่ ผ่านการคัดกรอง จะตดิ สัญลักษณห์ รือสติก๊ เกอร์ ให้เขา้ เรียน ปฏิบัตงิ านหรือตดิ ต่อได้ตาม - กรณี วัดอุณหภูมิร่างกาย ต้ังแต่ ๓๗.๕ องศาเซลเซยี สขึ้นไป หรอื มีไข้ ร่วมกับอาการทางเดินหายใจ อยา่ ง ใดอยา่ งหน่งึ อาทิ ไอ มนี ำ้ มูก เจ็บคอ หายใจลำบาก เหนอ่ื ยหอบ ไมไ่ ด้กล่ิน ไมร่ ูร้ ส ใหป้ ฏิบตั ิ ดังน้ี แยกนกั เรยี นไปไวท้ ่หี ้องแยก ซึง่ ทางงานอนามัยโรงเรยี นไดจ้ ัดเตรียมไว้ บันทกึ รายชื่อและอาการป่วย ซกั ประวัติและสังเกตอาการเสยี่ ง แจง้ ผู้ปกครอง ๑.๓ สอบถามและซักประวัติ การสัมผัสในพ้ืนท่ีเสี่ยงและบันทึกผล ลงในแบบบันทึกการตรวจคดั กรอง สุขภาพ สำหรับนักเรยี น บคุ ลากรหรอื ผู้มา ตดิ ตอในสถานศึกษา ๑.๓.๑ หากไม่มีประวัตเิ ส่ยี ง ให้พานกั เรยี นไปพบแพทย์ และใหห้ ยุดพักจนกวา่ จะหายเป็นปกติ ๑.๓.๒ หากตรวจพบว่า มีประวัติเสี่ยง และ/หรือมีประวัติสัมผัสใกล้ชิดกับผู้ป่วยยืนยันหรือสงสัย มีประวัติ เดินทางไปในพ้ืนที่เส่ียงหรือพ้ืนท่ีเกิดโรค ไปในพื้นท่ีที่มีคนแออัดจำนวนมาก ในช่วง ๑๔ วันก่อนมีอาการ ถือว่า

๑๗ เป็นผู้สัมผสั ทม่ี ีความเสี่ยง หรือเป็นกลุ่มเสยี่ ง โดยจำแนกเป็น กลุ่มเสี่ยงมีประวัตเิ ส่ียงสูง และกลุ่มเส่ียง มีประวัติ เส่ียงตำ่ ใหป้ ฏบิ ัติ ดงั น้ี กลุม่ เสยี่ งมีประวัติเสีย่ งสงู แยกนกั เรียนไปไว้ที่หอ้ งแยกซ่ึงงานอนามยั โรงเรยี นจัดเตรยี มไว้ บันทึกรายชอ่ื และอาการป่วย แจง้ ผู้ปกครอง ให้มารับนักเรียน แลว้ พาไปพบแพทย์ แจง้ เจ้าหนา้ ท่สี าธารณสขุ ประเมินสถานการณ์ การสอบสวนโรค ทำความสะอาดจุดเสย่ี งและบรเิ วณโดยรอบ เก็บตัวอยา่ ง กกั ตัวอย่บู า้ น ติดตามอาการให้ครบ ๑๐ วัน ครรู วบรวมข้อมลู และรายงานผลใหผ้ ู้บรหิ ารสถานศึกษา ผเู้ กย่ี วขอ้ ง กลมุ่ เสี่ยงมปี ระวตั ิเสี่ยงต่ำ แยกนักเรยี นไปไว้ที่หอ้ งแยกซ่ึงงานอนามัยโรงเรยี นจัดเตรียมไว้ บนั ทกึ รายช่อื และอาการป่วย แจง้ ผปู้ กครอง ใหม้ ารับนักเรยี น แลว้ พาไปพบแพทย์ แจง้ องค์กรปกครองส่วนทอ้ งถ่ิน แจ้งทอ้ งถ่นิ ทำความสะอาด จดุ เส่ยี งและบรเิ วณโดยรอบ ตดิ ตามอาการให้ครบ ๑๐ วนั ครูรวบรวมข้อมลู และรายงานผลใหผ้ ูบ้ รหิ ารสถานศกึ ษา ผเู้ ก่ยี วขอ้ ง โรงเรียนมีการกำหนดแนวทางปฏิบัติตามระเบียบสำหรับบุคลากรและนักเรียนท่ีสงสัยติดเชื้อหรือป่วย ด้วยโรค โควิด - ๑๙ โดยไม่ถือเป็นวันลาหรือวันหยุดเรียน โดยนำหลักฐาน ใบรับรองแพทย์มายืนยัน เพ่ือกลับ เข้าเรียน ตามปกติ โดยไม่ถือว่า ขาดเรียนหรือขาดงาน และมีการกักตัวผู้ใกล้ชิดกับผู้ป่วยตามเกณฑ์ ควบคุมโรคและ ดำเนินการช่วยเหลอื เช่น เดยี วกบั ผปู้ ่วย

๑๘ Reducing ลดการแออดั ลดการรวมกลมุ่ คนจำนวนมากไม่เข้าไปในพืน้ ที่ การปฏบิ ัติ ๑) การลดความแออัดในห้องปฏิบัติการ จดั โต๊ะ เก้าอ้ี หรอื ท่ีนัง่ ในห้องเรยี นให้มีการเว้น ระยะห่างระหว่างบุคคล อย่างน้อย ๑.๕ เมตร โดยคานึงถึงสภาพบรบิ ทและขนาดพ้ืนท่ี และจดั ทา สญั ลกั ษณ์แสดงจุดตาแหน่งชดั เจน จดั ให้มกี ารสลบั วนั เรยี นแต่ละชนั้ เรยี น การแบ่งจานวนนักเรยี น หรอื การใช้พ้นื ทใ่ี ชส้ อยบรเิ วณสถานศึกษาตามความเหมาะสม ทงั้ น้ีอาจพจิ ารณาวธิ ปี ฏิบตั ิอ่นื ตาม บรบิ ทความเหมาะสม โดยยดึ หลกั Social distancing โดยกาหนดในแต่ละห้องปฏบิ ตั กิ ารไม่ใหเ้ กิน ความจุ ๒๕ คน ๒) จดั เวลาการรบั ประทานอาหารกลางวนั แบบเหลอ่ื มเวลา ๓) การรบั สง่ นกั เรยี นกลบั บา้ น กาหนดจุดรบั -สง่ ใหช้ ดั เจน มจี ดุ คดั กรอง โรงเรยี นปลอ่ ยนกั เรยี นกลบั บา้ นแบบเหล่อื มเวลา

๑๙ Cleaning ทำความสะอาดพ้ืนผิวสมั ผัสร่วม การปฏิบัติ ๑) ห้องเรียน มีการทำความสะอาดโต๊ะ เก้าอี้ อุปกรณ์ และจุดสัมผัสเสี่ยง เช่น ลูกบิดประตู เคร่ืองเล่น ของใช้ร่วมกัน ราวบันได ฯลฯ ก่อนเปิดภาคเรียน และระหว่างเปิดภาคเรียนทำความสะอาด ทุกวันอย่างน้อยวันละ ๒ ครงั้ เชา้ ก่อนเรยี น และพักเที่ยง หรือกรณีมกี ารย้ายห้องตอ้ งทำความสะอาดโต๊ะ เก้าอ้ี กอ่ นและหลงั ใช้งานทุกคร้ัง ๒) ห้องนำ้ การทำความสะอาดห้องน้ำ อย่างน้อยวันละ ๒ ครง้ั ดว้ ยนำ้ ยาทำความสะอาดทัว่ ไป พ้ืนหอ้ ง ให้ฆา่ เช้อื โดยใช้ผลิตภณั ฑ์ฆา่ เช้ือทม่ี ีส่วนผสมของโซเดียมไฮโปคลอไรท ๓) ห้องพยาบาล ทำความสะอาดเพียงเตียงและอุปกรณ์ของใช้ทุกวัน ปลอกหมอน ผ้าห่ม ผ้าปูท่ีนอน จัดชุดสำรองสำหรบั เปล่ียนทันที กอ่ นที่จะมีผปู้ ว่ ยคนใหม่มานอน ไม่ใหม้ กี ารใชซ้ ำ้ ๔) โรงอาหาร ทำความสะอาดสถานท่ีปรุง ประกอบอาหาร พ้ืนที่ตั้งตู้กดน้ำด่ืม และพื้นทบ่ี ริเวณท่ีน่งั กิน อาหารให้สะอาด ด้วยน้ำยาทำความสะอาดหรือผงซักฟอก และจัดให้มีการฆ่าเช้ือด้วยโซเดียมไฮโปคลอไรท ทำ ความสะอาดโต๊ะและที่น่ังให้สะอาด สำหรับน่ังกินอาหาร ด้วยน้ำยาทำความสะอาดหรือจัดให้มีการฆ่าเช้ือ ด้วยแอลกอฮอล์ ๗๐% ทำความสะอาดภาชนะ อุปกรณ์ และเคร่ืองใช้ให้สะอาด ด้วยน้ำยาล้า งจาน และให้มีการฆ่าเชอ้ื ดว้ ยวิธอี บดว้ ยความร้อน (เครื่องล้างจาน) ๕) พ่นน้ำยาในห้องเรียน ห้องปฏิบตั ิการ จดุ สัมผัสตา่ ง ๆ อยา่ งนอ้ ยวันละ ๒ คร้ัง ๖) รถโรงเรียน ในช่วงแรกของการระบาดงดใช้บริการรถโรงเรียน หากสถานการณ์ดีขึ้น ก่อนและหลัง ใหบ้ รกิ ารแต่ละรอบ ให้เปิดหน้าตา่ งและประตู เพื่อถ่ายเท ระบายอากาศภายในรถ และทำความสะอาดในจุดทีม่ ี การสมั ผสั บ่อย ไดแ้ ก่ ราวจับ ท่เี ปดิ ประตู เบาะนัง่ ทว่ี างแขน ด้วยนำ้ ยาฆ่าเชือ้ ๗) เปิดประตู หน้าต่าง เพื่อระบายอากาศห้องท่ีมีการใช้งานร่วมกัน เช่น ห้องเรียน สำนักงาน โรง อาหาร ห้องประชุม ห้องสมุด ห้องคอมพิวเตอร์ ห้องดนตรีห้องเก็บอุปกรณ์กีฬา หากมีเครื่องปรับอากาศให้ทำ ความสะอาดอย่างสม่ำเสมอ ๘) ซักผ้าสำหรับเช็ดทำความสะอาด และไม้ถูพ้ืน ด้วยน้ำผสมผงซักฟอกหรือน้ำยาฆ่าเช้ือ ซักด้วยน้ำ สะอาดอีกคร้งั และนำไปผึง่ ตากแดดให้แห้ง

๒๐ ๖

๒๑ Saft care ดแู ลใสใ่ จปฏบิ ัติตนมวี ินัยรับผิดชอบตนเองปฏบิ ตั ติ ามมาตรฐานอยา่ งเคร่งครดั Spoon ใช้ช้อนส่วนตัวเมอ่ื กินอาหารรสสมั ผสั ร่วมกบั ผ้อู ืน่ Eating กนิ อาหารปรุงสุกใหมร่ อ้ น Thai chana ลงทะเบียนตามทร่ี ฐั กำหนดด้วย app ไทยชนะ หรอื ลงทะเบยี นบันทกึ การเข้า – ออก อยา่ งชัดเจน Check เช็คสำรวจตรวจสอบบุคคลนักเรียนและกลุ่มเสี่ยงมาจากพื้นท่ีเสี่ยงเข้าสู่กระบวนการ คัดกรอง Quarantine กกั กันตวั เอง ๑๔ วนั เมือ่ เขา้ ไปสมั ผสั หรืออยู่ในพน้ื ท่ีเสี่ยงทม่ี กี ารระบาดของโรค Safe care ดูแลใสใ่ จปฏิบตั ติ นมวี นิ ัยรับผดิ ชอบตนเองปฏิบัตติ ามมาตรฐานอย่างเคร่งครัด การปฏิบัติ ควบคุมหลักในมิติการดำเนินการเพ่ือความปลอดภัยจากการลดการแพร่เชื้อโรคโควิด ๑๙ มี ๖ ข้อ ปฏิบตั ใิ นโรงเรียน ไดแ้ ก่ ๑) คัดกรอง (Screening) : ผู้เข้ามาในสถานศึกษาทุกคน ต้องได้รับการคัดกรองวัดอุณหภูมิร่างกาย และได้รบั วัคซนี ครบโดส ๒) สวมหน้าหาก (Mask) : ทุกคนต้องสวมหน้ากากผ้าหรือหน้ากากอนามัย ตลอดเวลาท่ีอยู่ใน สถานศกึ ษา ๓) ล้างมือ (Hand Washing) : ล้างมือบ่อยๆ ด้วยสบู่และน้ำ นานอย่างน้อย ๒๐ วินาที หรือใช้เจล แอลกอฮอล์หลีกเล่ียงการสมั ผสั บริเวณจุดเสี่ยง เชน่ ราวบันได ลูกบิดประตู เป็นตน้ รวมท้ังไมใ่ ช้มือ สัมผัส ใบหนา้ ตา ปาก จมูก โดยไม่จำเป็น ๔) เว้นระยะห่าง (Social Distancing) : เว้นระยะห่างระหว่างบุคคล อย่างน้อย ๑-๒ เมตร รวมถึง การจดั การเวน้ ระยะหา่ งของสถานที่ ๕) ทำความสะอาด (Cleaning) : เปิดประตู หน้าต่าง ให้อากาศเท ทำความสะอาดห้องเรียน และ บริเวณต่าง ๆ โดยเช็ดทำความสะอาดพ้ืนผิวสัมผัสของโต๊ะ เก้าอี้ และวัสดุอุปกรณ์ ก่อนเข้าเรียน ช่วงพักเท่ียง และหลังเลิกเรียนทุกวัน รวมถึงจัดให้มีถังขยะมูลฝอยแบบมีฝาเปิดและรวบรวมขยะ ออกจากห้องเรียน เพือ่ นำไปกำจัด ทกุ วนั ๖) ลดแออัด (Reducing) : ละระยะเวลาการทำกิจกรรมให้ส้ันลงเท่าที่จำเป็น เหล่ือมเวลาทำ กจิ กรรมและหลกี เล่ียงการทำกจิ กรรมรวมตัวกันเป็นกลุ่มลดความแออัด

๒๒ Spoon ใชช้ ้อนสว่ นตัวเม่อื กนิ อาหารรสสัมผัสร่วมกบั ผอู้ น่ื การปฏิบตั ิ จัดเจรียมอาหารปรงุ สุกใหม่ ส่งเสรมิ ให้กินอาหารรอ้ น สะอาด กินอาหารครบ ๕ หมู่ และผัก ผลไม้ ๕ สี และควรจัดอาหารกล่อง (Box set) ให้แก่นักเรียนในช่วงเช้าแทนการซ้ือจากโรงเรียน (กรณีที่ไม่ได้ ทานอาหารเช้าจากที่บา้ น) เพื่อเสรมิ สรา้ งภูมคิ ุ้มกนั ออกกำลังกายอย่างน้อย ๖๐ นาที ทกุ วันและนอนหลับอยา่ ง เพียงพอประมาณ ๙ - ๑๑ ช่ัวโมงตอ่ วนั Eating กนิ อาหารปรงุ สุกใหม่รอ้ น การปฏิบตั ิ จดั เตรยี มอาหารปรุงสุกใหม่ ส่งเสรมิ ใหก้ นิ อาหารรอ้ น สะอาด กนิ อาหารครบ ๕ หมู และผัก ผลไม้ ๕ สี และควรจดั อาหารกล อง (Box set) ให้แก่นักเรยี นในช่วงเช้าแทนการซ้ือจาก โรงเรยี น (กรณีทไ่ี ม่ได้ทานอาหารเช้าจากท่ีบ้าน) เพ่อื เสรมิ สรา้ งภูมคิ ุ้มกนั ออกกาลงั กายอย่างน้อย ๖๐ นาที ทุกวนั และนอนหลบั อย่างเพยี งพอประมาณ ๙ - ๑๑ ชวั่ โมงต่อวนั Thai chana ลงทะเบียนตามท่ีรัฐกำหนดด้วย app ไทยชนะ หรือลงทะเบียนบันทึกการเข้า – ออก อย่าง ชดั เจน Check เชค็ สำรวจตรวจสอบบุคคลนกั เรยี นและกลุ่มเส่ยี งมาจากพ้นื ทเ่ี ส่ียงเข้าสู่กระบวนการคัดกรอง การปฏบิ ตั ิ ประเมินความเส่ียงโดยการใช้ แอพพลิเคชั่น “ไทยเซฟไทย” Quarantine กักกนั ตวั เอง ๑๔ วันเมอ่ื เข้าไปสัมผสั หรอื อยใู่ นพน้ื ทีเ่ สย่ี งท่มี กี ารระบาดของโรค การปฏบิ ัติ หากนักเรียนต้องกกั ตัว ๑๔ วันเมอ่ื เขา้ ไปสัมผัสหรอื อยู่ในพืน้ ทเ่ี สีย่ งทมี่ กี ารระบาดของโรค ทางโรงเรียนตอ้ งจดั การเรียนการสอนแบบออนไลนแ์ กน่ ักเรยี นทีถ่ กู กักต

๒๓ ข้อปฏบิ ตั ิของผูบ้ รหิ าร ครู นกั เรียน และผปู้ กครอง ข้อปฏิบัติผูบ้ ริหารสถานศกึ ษา ๑. ประกาศนโยบายและแนวปฏบิ ัติในการปอ้ งกนั การแพรร่ ะบาดของโรคโควิด ๑๙ ในสถานศึกษา ๒. จัดต้ังคณะทำงานดำเนินการควบคุมดแู ลและปอ้ งกันการแพร่ระบาดของโรคโควิด ๑๙ ประกอบดว้ ย ครนู ักเรยี น ผปู้ กครอง เจ้าหนา้ ทีส่ าธารณสุข ท้องถิ่น ชมุ ชน และผเู้ กี่ยวขอ้ ง พรอ้ มบทบาทหน้าทอี่ ยา่ งชัดเจน ๓. ทบทวน ปรบั ปรงุ ซ้อมปฏบิ ัตติ ามเผชญิ เหตุของสถานศกึ ษาในภาวะทีม่ ีการระบาดของโรคติดเชอ้ื ๔. สื่อสารประชาสัมพันธ์การป้องกันโรคโควิด ๑๙ เกี่ยวกับนโยบาย มาตรการ แนวปฏิบัติ และการ จัดการเรียนการสอนให้แก่ครู นักเรียน ผู้ปกครอง และคณะกรรมการสถานศึกษา ผ่านช่องทางส่ือท่ีเหมาะสม และตดิ ตามขอ้ มลู ข่าวสารทเี่ ก่ียวข้องกับโรคโควดิ ๑๙ จากแหลง่ ข้อมลู ที่เช่ือถือได้ ๕. สื่อสารทำความเข้าใจเพือ่ ลดการรงั เกยี จและลดการตีตราทางสงั คม (Social stigma) ๖. มีมาตรการคัดกรองสุขภาพทุกคน บรเิ วณทางเข้าไปในสถานศกึ ษา (Point of entry) ให้แก่นักเรยี น ครู บคุ ลากร และผู้มาตดิ ตอ่ และจัดใหม้ พี นื้ ที่แยก และอปุ กรณป์ ้องกัน เช่น หนา้ กากผา้ หรอื หน้ากากอนามัย เจลแอลกอฮอล์ อยา่ งเพียงพอ รวมถึงเพิ่มช่องทางการส่ือสารระหว่างครู นกั เรยี น ผู้ปกครอง และเจ้าหน้าที่ สาธารณสุข ในกรณีทพี่ บนักเรียนกลมุ่ เสย่ี งหรอื สงสัย ๗. ควรพจิ ารณาการจัดให้นกั เรียนสามารถเขา้ ถงึ การเรียนการสอนที่มีคณุ ภาพเหมาะสมตามบริบท อย่างต่อเนอื่ ง ตรวจสอบตดิ ตาม กรณนี กั เรยี นขาดเรียน ลาปว่ ย การปิดสถานศกึ ษา การจดั ให้ มีการเรยี นทางไกล ส่อื ออนไลน์ การติดต่อทางโทรศพั ท์ Social media โดยตดิ ตามเปน็ รายวนั หรอื สัปดาห์ ๘. กรณพี บนักเรยี น ครู บุคลากร หรอื ผู้ปกครองอยใู่ นกล่มุ เส่ียงหรือผู้ปว่ ยยนื ยันเขา้ มาในสถานศึกษา ใหร้ บี แจง้ เจา้ หน้าทีส่ าธารณสุขในพนื้ ที่ เพ่ือดำเนนิ การสอบสวนโรคและพิจารณาปดิ สถานศึกษา ตามแนวทาง ของกระทรวงสาธารณสุข ๙. มีมาตรการให้นักเรียนได้รับอาหารกลางวันและอาหารเสริมนม ตามสิทธิท่ีควรได้รับ กรณีพบอยู่ใน กลุ่มเส่ียงหรอื กกั ตัว ๑๐. ควบคุม กำกบั ติดตาม และตรวจสอบการดำเนินงานตามมาตรการป้องกันการแพรร่ ะบาดของโรค โควิด ๑๙ ในสถานศึกษาอยา่ งเคร่งครดั และต่อเนอื่ ง

๒๔ ขอ้ ปฏิบตั ิของครู ๑. บทบาทของครูในกจิ กรรมการเรยี นการสอน มดี งั นี้ ๑.๑ การปฏิบัติงานสอน ตามตารางสอนที่โรงเรียนกำหนด สามารถปฏิบัติการสอนได้ทั้งแบบ on-site และ online ๑.๒ การจดั ตารางเรยี นตารางสอนดำเนนิ การจัดตารางเรียนตามปกติ ๑.๓ การจัดกิจกรรมการเรยี นรู้ มีการวางแผนแบง่ นักเรยี นเป็นกลมุ่ ๆ ละไม่เกนิ ๒๕ คน ๑.๔ การช่วยเหลือนักเรียนทีไ่ ม่มีความพร้อมหรือไม่สามารถเข้าถึงการจัดการเรียนการสอนทางไกล โรงเรียนกำหนดให้มีการสำรวจสภาพปัจจุบัน ปัญหา/อุปสรรคในการเรียน การสอนทางไกล ครูท่ีปรึกษาจัดทำ ข้อมลู นกั เรยี นและสง่ ข้อมูลใหก้ บั กลุม่ บริหารวชิ าการสรปุ ขอ้ มลู ให้ ความชว่ ยเหลือเปน็ รายกรณี แนวทางการจดั การเรยี นการสอน (๑) ครจู ัดทำข้อมูลนักเรียนเป็นรายบคุ คล (๒) ครูจัดทำชุดการสอน ใบกิจกรรม ใบความรู้ ใบงาน ฯลฯ มอบหมายให้ในวันที่มาเรียนท่ี โรงเรยี น (On-Site) (๓) ครูใช้ช่องทางการส่ือสารกับนักเรียนและผู้ปกครองผ่าน Line, Student care solution โทรศพั ท์ หรอื ชอ่ งทางอืน่ ๆ อธบิ ายเพิ่มเตมิ หรอื ตอบคำถามนกั เรยี น (๔) ครูวดั ผลและประเมนิ ผลตามสภาพจรงิ ตามความพร้อมและบริบทของนักเรยี น ๑.๕ การจัดการเรียนการสอนสำหรับนักเรียนท่ีป่วย กักตัว ทางโรงเรียนใช้วิธีการส่งมอบใบงาน/ใบ ความรู้/บทเรยี นสำเร็จรปู มีการติดตามและขอความร่วมมือจากผปู้ กครองในการกำกบั ดูแล แนวทางการจัดการเรยี นการสอน (๑) ครูผู้สอนทำความเข้าใจกับผู้ปกครองและนักเรียน การนับช่ัวโมงเรียน การวัดผลและ ประเมนิ ผลในระหว่างพกั รกั ษาตัว ช่วงกกั ตัว (๒) ครจู ัดมอบหมายภาระงาน ชดุ การเรียน ใบงาน ใบกจิ กรรม แบบฝึกหัดฯ ให้กับนกั เรยี น (๓) กำหนดช่องทางการสื่อสารกับผู้ปกครองและนักเรียน เพ่ืออธิบายเพ่ิมเติม ตอบคำถาม นกั เรยี นและผู้ปกครอง

๒๕ ๒. แนวปฏบิ ัตสิ ำหรับครปู ระจำช้ัน ครผู ู้ดแู ลนกั เรียน ๒.๑ ติดตามข้อมูลข่าวสาร สถานการณ์การแพร่ระบาดของโรค พ้ืนที่เสี่ยง คำแนะนำการป้องกัน ตนเองและลดความเส่ยี งจากการแพร่กระจายของเช้ือโรคโควิด-๑๙ จากแหลง่ ขอ้ มลู ท่เี ชอื่ ถอื ได้ ๒.๒ สังเกตอาการป่วยของตนเอง หากมีอาการไข้ ไอ มีน้ำมูก เจ็บคอ หายใจลำบาก เหนื่อยหอบ ไม่ได้กล่ิน ไม่รู้รส ให้หยุดปฏิบัติงานและรีบไปพบแพทย์ทันที กรณีมคี นในครอบครัวปว่ ยด้วยโรคโควิด-๑๙ หรือ กลับจากพ้นื ท่เี สี่ยงและอยใู่ นชว่ งกกั ตัว ใหป้ ฏิบตั ติ ามคำแนะนำของเจา้ หน้าทส่ี าธารณสขุ อย่างเครง่ ครัด ๒.๓ แจ้งผู้ปกครองและนักเรียน ให้นำของใช้ส่วนตวั และอุปกรณ์ป้องกันมาใช้เป็นของตนเองพร้อม ใช้ เชน่ ชอ้ น สอ้ ม แก้วนำ้ แปรงสฟี ัน ยาสฟี ัน ผ้าเช็ดหน้า หนา้ กากผา้ หรือหนา้ กากอนามยั เป็นตน้ ๒.๔ สื่อสารความรู้คำแนะนำหรือจัดหาส่ือประชาสัมพันธ์ในการป้องกันและลดความเส่ียงจากการ แพร่กระจาย โรคโควิด-๑๙ ให้แก่นักเรียน เช่น สอนวิธีการล้างมือที่ถูกต้อง การสวมหน้ากากผ้าหรือหน้ากาก อนามัย คำแนะนำการปฏิบัติตัว การเว้นระยะห่างทางสังคม การทำความสะอาด หลีกเล่ียงการทำกิจกรรม ร่วมกัน จำนวนมากเพ่อื ลดความแออัด ๒.๕ ทำความสะอาดสอ่ื การเรียนการสอนหรอื อปุ กรณข์ องใชร้ ว่ มที่เปน็ จุดสัมผัสเส่ียงทกุ ครง้ั หลงั ใช้งาน ๒.๖ ควบคุมดูแลการจัดที่น่ังในห้องเรียน ระหว่างโต๊ะเรยี น ท่ีน่ังในโรงอาหาร การจัดเว้นระยะห่าง ระหว่างบุคคลอย่างน้อย ๑ - ๒ เมตร เหลือ่ มเวลาพักทานอาหารกลางวัน กำกับให้นักเรียนสวมหน้ากากผ้าหรือ หนา้ กากอนามัยตลอดเวลา และลา้ งมอื บ่อย ๆ ๒.๗ ตรวจสอบ กำกับ ติดตามการมาเรียนของนักเรียนขาดเรียน ถูกกักตัวหรืออยู่ในกลุ่ม เส่ียงต่อ การติดโรค โควิด-๑๙ และรายงานตอ่ ผู้บรหิ าร ขอ้ ปฏิบตั ิของนกั เรยี น ๑. ติดตามข้อมูลข่าวสารสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคโควดิ ๑๙ พนื้ ที่เสย่ี ง คำแนะนำการป้องกัน ตนเองและลดความเสี่ยงจากการแพรก่ ระจายของโรคโควิด ๑๙ จากแหล่งข้อมลู ท่ีเชอ่ื ถอื ได้ ๒. สังเกตอาการป่วยของตนเอง หากมีอาการไข้ ไอ มีน้ำมูก เจ็บคอ หายใจลำบาก เหน่ือยหอบ ไม่ได้ กล่ินไม่รู้รส รีบแจ้งครูหรือผู้ปกครองให้พาไปพบแพทย์ กรณีมีคนในครอบครัวป่วยด้วยโรคโควิด ๑๙ หรือกลับ จากพ้นื ทเ่ี ส่ียงและอยูใ่ นช่วงกกั ตวั ให้ปฏบิ ตั ิตามคำแนะนำของเจ้าหนา้ ทส่ี าธารณสุขอยา่ งเครง่ ครดั ๓. นักเรียนที่มีอายุตั้งแต่ ๑๒ ปีขึ้นไป จะต้องได้รับวัคซีนป้องกันโควิดอย่างน้อยจำนวน ๒ โดส มาแล้ว ไม่น้อยกวา่ ๑๔ วนั ๔. นักเรียนทีม่ อี ายนุ อ้ ยกว่า ๑๒ ปี จะตอ้ งไดร้ ับวคั ซีนไขห้ วดั ใหญ่ ๕. นักเรียนท่ีจะมาเรียนแบบ on-site ต้องตรวจคัดกรอง Antigen Test Kit (ATK) และมีผลตรวจเป็น ลบภายใน ๒๔ ช่ัวโมง กอ่ นเขา้ สถานศกึ ษา ๖. นักเรียนต้องเขียนบันทึก Timeline กิจกรรมประจำวัน และการเดินทางเข้าไปในสถานท่ีต่าง ๆ แต่ ละวันอย่างสมำ่ เสมอ

๒๖ ๗. นักเรียนต้องประเมินความเสี่ยงใน Application Thai Save Thai (TST) ทุกวัน และต้องแสดงผล ประเมินของวันท่ีผ่านมาก่อนเข้าสถานศึกษาโดยส่งผลการประเมินผ่านทางไลน์กลุ่มห้องเรียน หรือช่องทางที่ โรงเรียนกำหนด ๘. มีและใช้ของใช้ส่วนตัว ไม่ใช้ร่วมกับผู้อื่น เช่น ช้อน ส้อม แก้วน้ำ แปรงสีฟัน ยาสีฟัน ผ้าเช็ดหน้า หนา้ กากผ้าหรือหน้ากากอนามยั และทำความสะอาดหรือเกบ็ ใหเ้ รยี บร้อย ทุกครง้ั หลังใชง้ าน ๙. สวมหน้ากากผ้าหรือหน้ากากอนามัยตลอดเวลาที่อยใู่ นสถานศึกษา ๑๐. หม่ันล้างมือบ่อย ๆ ด้วยวิธีล้างมือ ๗ ขั้นตอน อย่างน้อย ๒๐ วินาที ก่อนกินอาหาร หลังใช้ห้องน้ำ หลีกเลี่ยงใช้มือสัมผัสใบหน้า ตา ปาก จมูก โดยไม่จำเป็น รวมถึงสร้างสุขนิสัยท่ีดี หลังเล่นกับเพ่ือน เมื่อกลับ มาถงึ บา้ นตอ้ งรบี อาบน้ำ สระผม และเปลี่ยนเสือ้ ผา้ ใหมท่ ันที ๑๑. เว้นระยะห่างระหว่างบุคคล อย่างน้อย ๑ - ๒ เมตร ในการทำกิจกรรมระหว่างเรียน ช่วงพัก และ หลังเลิกเรยี น เชน่ นั่งกนิ อาหาร เลน่ กับเพอื่ น เข้าแถวตอ่ คิว ระหว่างเดินทางอยู่บนรถ ๑๒. หลกี เลีย่ งการไปในสถานทีท่ ีแ่ ออัดหรือแหล่งชมุ ชนทเ่ี ส่ยี งตอ่ การติดโรคโควดิ ๑๙ ๑๓. กรณีนักเรียนด่ืมน้ำบรรจุขวด ควรแยกเฉพาะตนเอง และทำเครื่องหมายหรือสัญลักษณ์เฉพาะ ไม่ใหป้ ะปนกับของคนอืน่ ๑๔. ดแู ลสุขภาพให้แขง็ แรง ดว้ ยการกินอาหารปรงุ สุก ร้อน สะอาด อาหารครบ ๕ หมู่ และผัก ผลไม้ ๕ สีเสริมสร้างภูมิคุ้มกัน ออกกำลังกาย อย่างน้อย ๖๐ นาที ทุกวัน และนอนหลับอย่างเพียงพอ๙ - ๑๑ ชั่วโมงต่อ วัน ๑๕. กรณีนักเรียนขาดเรียนหรือถูกกักตัว ควรติดตามความคืบหน้าการเรียนอย่างสม่ำเสมอ ปรึกษาครู เช่น การเรยี นการสอน สอ่ื ออนไลน์ อ่านหนังสอื ทบทวนบทเรียน และทำแบบฝึกหดั ท่ีบา้ น เปน็ ต้น ๑๖. หลีกเล่ียงการล้อเลียนความผิดปกติหรืออาการไม่สบายของเพ่ือน เนื่องจากอาจจะก่อให้เกิดความ หวาดกลัวมากเกนิ ไปต่อการปว่ ยหรือการตดิ โรคโควดิ ๑๙ และเกิดการแบง่ แยกกีดกนั ในหมู่นกั เรียน การปฏบิ ัติตวั ของนักเรียนขณะอยทู่ ่ีบา้ นหรือออกนอกบา้ น ๑. เมื่อนักเรียนมีอาการเจ็บป่วย เช่น ไข้ ไอ มีนำ้ มูก เจบ็ คอ หายใจไม่สะดวก เหนื่อยหอบ จะต้องบอก ผู้ปกครองให้ทราบทันที ๒. เม่ือมีความจำเป็นต้องออกนอกบ้าน จะต้องสวมหน้ากากอนามัย ตลอดเวลา ห้ามถอดโดยเด็ดขาด และตอ้ งมหี น้ากากอนามัยสำรอง ๓. เมื่อมีการสัมผัสจุดร่วมกับผู้อื่น เช่น ลูกบิดประตู ที่จับประตู ราวบันได เป็นต้น จะต้องใช้เจล แอลกอฮอล์ทำความสะอาดมือ หรอื ลา้ งมือด้วยสบู่เปน็ เวลา ๒๐ วินาทเี ปน็ อย่างน้อย ๔. น่ัง ยืน เดิน เว้นระยะห่างจากผู้อื่น อย่างน้อย ๑ เมตร และไม่ไปในแหล่งที่มีคนรวมกันจำนวนมาก หรือในสถานที่แออัด เช่น ตลาด ห้างสรรพสินค้า หากมีความจำเป็นต้องปฏิบัติตามมาตรการของสถานท่ีน้ัน อย่างเครง่ ครัด

๒๗ ๕. งดการเลน่ กีฬาเป็นทมี เปน็ กลุ่มกบั เพือ่ น เช่น ฟตุ บอล ไล่จับ เป็นต้น ๖. มีและใช้ของใช้ส่วนตัว เชน่ ช้อน ส้อม แกว้ นำ้ แปรงสีฟัน ยาสีฟัน ผา้ เช็ดหนา้ ผ้าเช็ดตัว ของตนเอง เทา่ น้นั ห้ามให้ผูอ้ ื่นยืมใชโ้ ดยเด็ดขาด ๗. นักเรียนทำการบันทึกการเดนิ ทางระหว่างบ้านและโรงเรยี น ผา่ นการสแกน QR Code ทุกวัน ๘. นักเรยี นต้องประเมนิ Thai Save Thai (TST) อยา่ งต่อเน่อื ง ๙. ดูแลสุขภาพให้แข็งแรง ด้วยการกินอาหารปรุงสุก ร้อน สะอาด อาหารครบ ๕ หมู่ ออกกำลังกาย และนอนหลบั ใหเ้ พียงพอ ๑๐. กรณีนกั เรียนขาดเรยี นหรอื ถูกกกั ตัว ควรตดิ ตามความคบื หนา้ การเรียนอยา่ งสม่ำเสมอ ขอ้ ปฏบิ ัตขิ องผู้ปกครอง ๑. ติดตามข้อมูลข่าวสารสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคโควิด ๑๙ พ้ืนทเี่ ส่ยี ง คำแนะนำการปอ้ งกัน ตนเองและลดความเสี่ยงจากการแพร่กระจายของโรค จากแหล่งขอ้ มูลท่เี ช่อื ถอื ได้ ๒. สงั เกตอาการป่วยของบตุ รหลาน หากมีอาการไข้ ไอ มีน้ำมูก เจ็บคอ หายใจลำบาก เหน่ือยหอบไมไ่ ด้ กล่ินไม่รู้รส ให้รีบพาไปพบแพทย์และแจ้งให้ครูประจำช้ันทราบ ควรแยกเด็กให้พักผ่อนอยู่ท่ีบ้านไม่ควรมา โรงเรียนจนกว่าจะหายเป็นปกติกรณีโรงเรียนตรวจพบว่านักเรียนมีไข้หรือมีอาการผิดปกติโรงเรียนจะติดต่อ ผปู้ กครองเพ่อื ส่งกลบั ทกุ กรณี ๓. นักเรยี นท่ีมอี ายุ ๑๒ ปขี นึ้ ไป ผู้ปกครองนำนกั เรยี นไปฉีดวคั ซนี ปอ้ งกันโควดิ -19 ๔. นักเรียนที่มอี ายนุ ้อยกว่า ๑๒ ปี ผู้ปกครองนำนักเรยี นไปฉีดวัคซนี ไข้หวดั ใหญ่ ๕. ผู้ปกครอง และสมาชิกในครอบครัวท่ีมีอายุตั้งแต่ ๑๒ ปีข้ึนไป จะต้องได้รับวัคซีนป้องกันโควิดอย่าง น้อยจำนวน ๒ โดส ๖. ผู้ปกครองต้องได้รับการการตรวจ Antigen Test Kit (ATK) และยืนยันผลการตรวจกับทางโรงเรียน ภายใน ๒๔ ชวั่ โมง ก่อนวันเปดิ เรยี นวันแรกของนกั เรียน ๗. ผู้ปกครองประเมินความเสี่ยงใน applicationThai Save Thai (TST) ให้กับนักเรียนทกุ วัน และต้อง แสดงผลประเมินของวันท่ีผ่านมาก่อนเข้าสถานศึกษาโดยส่งผลการประเมินผ่านทางไลน์กลุ่มห้องเรียน หรือ ชอ่ งทางทโี่ รงเรียนกำหนด ๘. ผู้ปกครองต้องเขียนบันทึก Timeline กิจกรรมประจำวันนักเรียน และการเดินทางเข้าไปในสถานที่ ต่าง ๆ แต่ละวนั อย่างสมำ่ เสมอ ๙. จัดหาของใช้ส่วนตัวให้บุตรหลานอย่างเพียงพอในแต่ละวัน ทำความสะอาดทุกวัน เช่น หน้ากากผ้า ช้อน สอ้ มแกว้ นำ้ แปรงสฟี นั ยาสีฟัน ผา้ เชด็ หนา้ ผา้ เช็ดตวั ๑๐. จัดหาเจลแอลกอฮอล์ และกำกับดูแลบุตรหลานให้ล้างมือบ่อย ๆ ก่อนกินอาหาร และ หลังใช้ ห้องน้ำ หลีกเลี่ยงการใช้มือสัมผัสใบหน้า ตา ปาก จมูก โดยไม่จำเป็น และสร้างสุขนิสัยที่ดี หลังเล่นกับเพื่อน และเมื่อกลบั มาถึงบ้าน ควรอาบนำ้ สระผม และเปลี่ยนชดุ เสื้อผา้ ใหม่ทันที ๑๑. หลีกเลี่ยงการพาบุตรหลานไปในสถานเส่ียงต่อการติดโรคโควิด ๑๙ สถานที่แออัดที่มีการรวมกัน ของคนจำนวนมาก หากจำเป็นต้องสวมหน้ากากผ้าหรือหน้ากากอนามัย ล้างมือบ่อย ๆ ด้วยวิธีการ ๗ ข้ันตอน

๒๘ ด้วยสบู่และน้ำ นาน ๒๐ วินาที (ให้นักเรียนร้องเพลงแฮปปี้เบิร์ธเดย์ ๒ คร้ัง พร้อมกับล้างมือ) หรือใช้เจล แอลกอฮอล์ ๑๒. ดแู ลสุขภาพบุตรหลาน จัดเตรียมอาหารปรุงสกุ ใหม่ ส่งเสริมให้กินอาหารร้อน สะอาด อาหารครบ ๕ หมู่และผักผลไม้ ๕ สี และควรจัดอาหารกล่อง (Box set) ให้แก่นักเรียนในช่วงเช้าแทนการซ้ือจากโรงเรียน (กรณีที่ไม่ได้กินอาหารเช้าจากที่บ้าน) เพื่อเสริมสร้างภูมิคุ้มกัน ออกกำลังกาย อย่างน้อย ๖๐ นาทีทุกวันและ นอนหลับอยา่ งเพยี งพอ ๙ - ๑๑ ชวั่ โมงต่อวัน ๑๓. กรณีมีการจัดการเรียนการสอนทางไกล ออนไลน์ผู้ปกครองควรให้ความร่วมมือกับครูในการดูแล จัดการเรยี นการสอนแกน่ กั เรียน เชน่ การสง่ การบ้านการรว่ มทำกจิ กรรม เป็นต้น ๑๔. ผู้ปกครองมารับ-ส่งนกั เรียนดว้ ยยานพาหนะสว่ นบุคคล โดยมกี ารกำกับไม่ให้มีการแวะระหว่างทาง และใหน้ กั เรยี นบนั ทกึ การเดินทางทกุ คร้ัง ตามความเปน็ จริง ผ่านการสแกน QR Code ของโรงเรยี น ๑๕. ตอนเช้ากรณีผู้ปกครองมารับ – ส่งนักเรียน ตามประตูที่โรงเรียนกำหนด และขอความร่วมมือ ผปู้ กครองไมเ่ ข้าบริเวณโรงเรยี น ถ้าต้องการติดตอ่ กับโรงเรียนใหม้ าหลงั เวลา ๐๙.๐๐ น. เปน็ ตน้ ไป หลงั เลิกเรียน นกั เรยี นจะรอผู้ปกครองอยู่บรเิ วณที่โรงเรียนกำหนด ขอให้ผ้ปู กครองมารบั บุตรหลานหลังเวลาเลิกเรยี นตามเวลา ที่กำหนด และปฏิบัติตามมาตรการฯ ของโรงเรียนอย่างเคร่งครัด อนึ่งโรงเรียนไม่มีสถานที่จอดรถสำหรับ ผปู้ กครองเพื่อจอดรอรับนักเรยี น ดังน้ันขอความกรุณาติดรายช่ือนักเรียน และระดบั ชน้ั ไว้ที่หนา้ รถ เพ่ือให้ครูเวร ประจำวันแต่ละจุดทราบและแจ้งให้นักเรียนทราบและสามารถข้ึนรถได้ทันทีเมื่อรถมาถึงหน้าโรงเรียน หากรถ ผู้ปกครองมาถึงหนา้ โรงเรยี นแล้วแตน่ กั เรียนยงั ไม่มาขอความกรุณาผปู้ กครองขบั รถวนอีกรอบหนึ่ง แนวปฏิบัติด้านอนามยั ส่ิงแวดล้อม สถานศึกษาเปน็ สถานท่ที ีม่ ีคนอยูร่ วมกนั จำนวนมาก ท้งั นกั เรียน ครู ผูป้ กครอง บุคลากร ผมู้ าตดิ ต่อ และผปู้ ระกอบการรา้ นค้า กรณีทน่ี ักเรียนตอ้ งทำกิจกรรมร่วมกับเพ่ือน ทำให้มีโอกาสใกลช้ ิดกนั มาก ทำให้เกิด ความเส่ยี งต่อการแพร่กระจายของเชื้อโรคได้งา่ ย จงึ มแี นวปฏบิ ตั ิการจัดอาคารสถานท่ี ดงั นี้ หอ้ งเรียน หอ้ งเรียนรวม เชน่ ห้องคอมพวิ เตอร์ หอ้ งดนตรี ๑. จัดโต๊ะเก้าอี้หรือที่น่ังให้มกี ารเว้นระยะห่างระหว่างบุคคลอย่างนอ้ ย ๑.๕ เมตร ควรคำนึงถึงสภาพบรบิ ท และ ขนาดพื้นที่และจัดทำสัญลักษณ์แสดงจุดตำแหน่งชัดเจน กรณีห้องเรียนไม่เพียงพอในการจัดเว้นระยะห่าง ระหว่างบุคคล ควรจัดให้มีการสลับวันเรียนแต่ละช้ันเรียน แบ่งจำนวนนักเรียน หรือการใช้พ้ืนที่ใช้สอยบริเวณ โรงเรียนตามความ เหมาะสม ทง้ั นอี้ าจพจิ ารณาวธิ ปี ฏบิ ตั ิอนื่ ตามบรบิ ทความเหมาะสม โดยปฏบิ ัติตามมาตรการ เว้นระยะห่างทางสังคม (Social distancing) ๒. การจัดนกั เรียนในห้องเรยี น ใหโ้ รงเรียนจดั นกั เรยี นเข้าชน้ั เรยี น ห้องเรียนละไมเ่ กนิ ๒๕ คน ๓. จัดให้มีการเหลื่อมเวลาเรียนการเรียนกลุ่มย่อยหรือวิธีปฏิบัติท่ีเหมาะสมตามบริบทสถานการณ์และ เนน้ ให้ นกั เรยี นสวมหน้ากากผา้ หรอื หน้ากากอนามัยขณะเรียนตลอดเวลา

๒๙ ๔. จัดให้มีการระบายอากาศท่ีดีให้อากาศถ่ายเท เช่น เปิดประตูหน้าต่าง หลีกเลี่ยงการใช้ เคร่ืองปรับอากาศ หากจำเป็นต้องใช้เคร่ืองปรับอากาศ กำหนดเวลาเปิด–ปิด เคร่ืองปรับอากาศ เปิดประตู หน้าตา่ งระบายอากาศทุก ๑ ชั่วโมง และทำความสะอาดอยา่ งสมำ่ เสมอ ๕. จดั ให้มเี จลแอลกอฮอลใ์ ชท้ ำความสะอาดมอื สำหรบั นักเรียนและครูใช้ประจำทกุ ห้องเรียนอยา่ งเพียงพอ ๖. ให้มีการทำความสะอาดโต๊ะ เก้าอ้ีอุปกรณ์ และจุดสัมผัสเสี่ยง เช่น ลูกบิดประตู เครื่องเล่นของใช่ ร่วมกัน ทุกวันอย่างน้อยวันละ ๒ ครั้ง เช้าก่อนเรียนและพักเที่ยง กรณีการย้ายห้องเรียน ต้องทำความสะอาด โต๊ะ เกา้ อ้ี กอ่ นและหลังใช่งานทุกครัง้ ๗. ติดตัง้ กลอ้ งวงจรปดิ ภายในหอ้ งเรียน หอ้ งสมดุ ๑. จัดโต๊ะเก้าอี้หรือที่นั่งให้มีการเว้นระยะห่างระหว่างบุคคล อย่างน้อย ๑.๕ เมตร และจัดทำ สัญลักษณ์แสดงจดุ ตำแหน่งชัดเจน ๒. จัดให้มีการระบายอากาศท่ีดีให้อากาศถ่ายเท เช่น เปิดประตู หน้าต่าง หากจำเป็นต้องใช้ เคร่ืองปรับอากาศ กำหนดเวลา เปิด-ปิด เครื่องปรบั อากาศ เปิดประตูหน้าต่างระบายอากาศทุก ๑ ชั่วโมง และ ทำความสะอาดอยา่ งสม่ำเสมอ ๓. จัดให้มีเจลแอลกอฮอล์ใช้ทำความสะอาดมือ สำหรับครูบรรณารักษ์ นักเรียน และผู้ใช้บริการ บรเิ วณประตู ทางเข้า และภายในห้องสมุดอยา่ งเพยี งพอ ๔. ให้มีการทำความสะอาดโต๊ะอุปกรณ์ และจุดสัมผัสเสี่ยง เช่น ลูกบิดประตู ชั้นวางหนังสือทุกวันๆ ละ ๒ ครั้ง (เช้าก่อนให้บริการ พักเที่ยง) การจำกัดจำนวนคน จำกัดเวลาในการเข้าใช้บริการห้องสมุด และให้ นักเรยี นและผู้ใช้บริการทุกคน สวมหนา้ กากผา้ หรอื หนา้ กากอนามัยขณะใช้บรกิ ารห้องสมดุ ตลอดเวลา ห้องประชุม หอประชุม ๑. จัดให้มีการคัดกรองตรวจวัดอณุ หภูมิร่างกายก่อนเข้าห้องประชุม หอประชุม หากพบ ผู้มีอาการไข้ ไอ มีน้ำมูก เจ็บคอ หายใจลำบาก เหนื่อยหอบ ไม่ได้กลิ่น ไม่รู้รส ให้แยกนักเรียน ไว้ที่ห้องที่จัดเตรียมไว้ บันทึก รายชอื่ และอาการปว่ ย ประเมนิ ความเสยี่ ง แจ้งผปู้ กครองดำเนนิ การ ตามข้นั ตอนการคดั กรอง ๒. จดั โต๊ะ เก้าอี้ หรือท่ีนั่ง ให้มีการเว้นระยะห่างระหว่างบุคคล ๑.๕ เมตร และจดั ทำสัญลักษณ์แสดง จุดตำแหนง่ ชดั เจน ๓. ผู้เข้าประชุมทุกคนสวมหน้ากากผ้าหรอื หน้ากากอนามยั ขณะประชมุ ตลอดเวลา ๔. จัดให้มีเจลแอลกอฮอล์ใช้ทำความสะอาดมือสำหรับผู้เข้าประชุม บริเวณทางเข้า ภายในอาคาร หอประชมุ บรเิ วณทางเข้าดา้ นหน้าและด้านในของห้องประชมุ อยา่ งเพียงพอและทว่ั ถงึ ๕. งดหรือหลีกเล่ยี งการใหบ้ ริการอาหารและเคร่อื งด่มื ภายในห้องประชมุ ๖. ให้มีการทำความสะอาดโต๊ะ เก้าอ้ีอุปกรณ์และจุดสัมผัสเส่ียงร่วม เช่น ลูกบิดประตู รีโมท อุปกรณ์ สอ่ื ก่อนและหลังใช้หอ้ งประชมุ ทกุ ครั้ง ๗. ติดต้ังกล้องวงจรปิดภายในหอ้ งประชมุ

๓๐ ๘. จัดให้มีการระบายอากาศท่ีดีให้อากาศถ่ายเท เช่น เปิดประตูหน้าต่าง ก่อนและหลังใช้ห้องประชุม ทุกคร้ัง หากจำเป็นต้องใชเ้ ครื่องปรับอากาศ กำหนดเวลาเปิด -ปิดเคร่ืองปรับอากาศ เปิดประตูหน้าต่าง ระบาย อากาศ ทกุ ๑ ช่ัวโมง และทำความสะอาดอยา่ งสม่ำเสมอ สถานทีแ่ ปรงฟนั โรงเรียนส่งเสริมให้มีกิจกรรมแปรงฟันหลังอาหารกลางวันอย่างถูกต้องเหมาะสม ตามสถานการณ์และ บริบท พื้นที่ หลีกเล่ียงการรวมกลุ่ม ควรจัดเว้นระยะห่างระหว่างบุคคลในการแปรงฟัน และให้มีอุปกรณ์การ แปรงฟันส่วนบุคคล ในช่วงแรกท่ีสถานการณ์ของจังหวัดยังเป็นพื้นที่สีแดง โรงเรียนของดกิจกรรมการแปรงฟัน ในช่วงพักกลางวันของนักเรียนจนกว่าสถานการณ์จะดีข้ึน หรือเป็นไปตามประกาศของกระทรวงสาธารณสุข และกระทรวงศกึ ษาธิการ หลักจากนัน้ โรงเรียนดำเนินการดังนี้ การจดั เตรยี มวสั ดอุ ปุ กรณก์ ารแปรงฟนั และแปรงสฟี นั ๑. นักเรียนทุกคนมแี ปรงสีฟันเป็นของตนเอง ห้ามใช้แปรงสีฟนั และยาสฟี ันรว่ มกนั ๒. ทำสัญลักษณ์หรือเขียนช่ือบนแปรงสีฟันของแต่ละคน เพื่อให้รู้ว่าเป็นแปรงสีฟันของใคร ป้องกัน การหยบิ ของผูอ้ นื่ ไปใช้ ๓. ควรเปลีย่ นแปรงสฟี ันใหน้ ักเรยี น ทุก ๓ เดอื น เมอื่ แปรงสีฟันเส่ือมคณุ ภาพ โดยสงั เกต ดังนี้ ▪ บริเวณหวั แปรงสีฟันมคี ราบสกปรกติดคา้ ง ล้างได้ยาก ▪ ขนแปรงสีฟันบาน แสดงว่าขนแปรงเสื่อมคุณภาพใช้แปรงฟันได้ไม่สะอาด และอาจกระแทก เหงือกให้เป็นแผลได้ ยาสีฟัน ให้นักเรียนทุกคนมียาสีฟันเป็นของตนเอง และเลือกใช้ยาสีฟันผสมฟลูออไรด์ ซ่ึงมีปริมาณ ฟลูออไรด์ ๑,๐๐๐-๑,๕๐๐ ppm. (มลิ ลกิ รัม/ลติ ร) เพ่อื ป้องกันฟนั ผุ  แก้วน้ำ จัดให้นักเรียนทุกคนมีแก้วนำ้ สว่ นตวั เป็นของตนเอง ผา้ เชด็ หน้าส่วนตัว สำหรับใชเ้ ช็ดทำความ สะอาดบรเิ วณใบหน้า ควรซกั และเปลีย่ นใหม่ทกุ วัน การเก็บอุปกรณก์ ารแปรงฟนั และแปรงสีฟนั ๑. เกบ็ แปรงสฟี นั ในบริเวณที่มอี ากาศถ่ายเทไดส้ ะดวก ไม่อบั ช้ืน และปลอดจากแมลง ๒. จัดทำที่เก็บแปรงสีฟัน แก้วน้ำ โดยเก็บของแต่ละคนแยกจากกัน ไม่ปะปนกันเว้นให้มีระยะห่าง เพยี ง พอทจ่ี ะไมใ่ ห้แปรงสฟี นั สัมผสั กนั เพื่อป้องกนั การแพรร่ ะบาดของโรคโควิด ๑๙

๓๑ ห้องนอนเดก็ เลก็ ๑. ทำความสะอาดเคร่ืองนอน เปลี่ยนผ้าปูที่นอน ปลอกหมอน และผ้ากันเปื้อนทุกวัน รวมถึงทำความ สะอาด อปุ กรณข์ องใช้ของเลน่ ตู้เกบ็ ของสว่ นบุคคลและจุดสมั ผสั เสย่ี งร่วม เป็นประจำทุกวนั ๒. จัดให้มีพ้ืนที่สำหรบั การเรียนรู้ของเด็กรายบุคคล เชน่ เรียนบนเสอ่ื ใช้สัญลักษณ์แทนขอบเขต รวมถึง การจัดทน่ี อน สำหรบั เด็กต้องเว้นระยะหา่ งระหวา่ งบุคคล อย่างน้อย ๑.๕ เมตร ๓. มแี ละใชข้ องใชส้ ว่ นตัว ไมใ่ ชข้ องใช้รว่ มกัน เชน่ ผา้ กนั เปือ้ น ผา้ เช็ดหน้า ผา้ เช็ดตัว แกว้ นำ้ ๔. จัดให้มีเจลแอลกอฮอล์ใช้ทำความสะอาดมือสำหรับครูและนักเรียน บริเวณทางเข้า และภายในห้อง อยา่ ง เพยี งพอ ๕. มีการระบายอากาศที่ดีอากาศถ่ายเทสะดวก เช่ น เปิดประตูหน้าต่าง หลีกเลี่ยง การใช้ เคร่ืองปรับอากาศ หากจำเป็นใช้เครื่องปรับอากาศต้องกำหนดเวลา เปิด-ปิด เครื่องปรับอากาศ และเปิดประตู หน้าตา่ ง ระบาย อากาศทุก ๑ ช่วั โมง และตอ้ งทำความสะอาดอย่างสม่ำเสมอ ๖. จดั อุปกรณ์การสง่ เสริมพัฒนาการเด็กอยา่ งเพยี งพอ สนามเดก็ เลน่ โรงเรยี นงดใช้สนามเด็กเล่น ในช่วงทีม่ ีการระบาดของโรค แต่กรณีท่ีสามารถใช้สนามเด็กเลน่ ได้ โรงเรยี น ดำเนนิ การดังนี้ ๑. ให้มกี ารทำความสะอาดเคร่ืองเล่นและอุปกรณ์การเล่นทุกวนั อย่างน้อยวันละ ๒ ครง้ั ทำความสะอาด ดว้ ยน้ำยาทำความสะอาด ๒. จดั เคร่ืองเล่น อปุ กรณ์การเล่น และนักเรียนให้มีการเว้นระยะห่างระหวา่ งบุคคล อย่างนอ้ ย ๑.๕ เมตร และกำกบั ดแู ลให้เดก็ สวมหน้ากากผ้าหรอื หน้ากากอนามัยตลอดเวลาการเล่น ๓. จำกัดจำนวนนักเรียน จำกัดเวลาการเล่นในสนามเด็กเล่น โดยอยู่ในความควบคุมดูแล ของครูใน ชว่ งเวลาพกั เท่ียง และหลังเลิกเรียน ๔. ให้ล้างมือด้วยสบแู่ ละนำ้ หรือเจลแอลกอฮอล์ ทำความสะอาดมอื กอ่ นและหลังการเล่นทุกครงั้ ๕. ตดิ ต้ังกล้องวงจรปดิ บริเวณสนามเดก็ เล่น

๓๒ ห้องสุขา ๑. จัดเตรียมอุปกรณ์ทำความสะอาดอย่างเพียงพอ ได้แก่ น้ำยาทำความสะอาด หรือน้ำยาฟอกขาว อุปกรณ์การตวง ถุงขยะ ถังน้ำ ไม้ถูพ้ืน คีบด้ามยาวสำหรับเก็บขยะ ผ้าเช็ดทำความสะอาด และอุปกรณ์ป้องกัน อนั ตรายส่วนบุคคลท่ีเหมาะสมกับการปฏิบัติงาน เช่น ถุงมือ หน้ากากผ้า เส้ือผ้า ที่จะนำมาเปล่ียนหลังทำความ สะอาด ๒. การทำความสะอาดห้องน้ำ ห้องส้วม ควรทำความสะอาดอย่างน้อยวันละ ๒ คร้ัง ด้วยน้ำยาทำความ สะอาดทั่วไป พื้นห้องส้วมให้ฆ่าเชื้อโดยใช้ผลิตภัณฑ์ฆ่าเช้ือท่ีมีส่วนผสมของโซเดียมไฮโปคลอไรท์ (รู้จักกันในช่ือ “น้ำยาฟอกขาว”) โดยนำมาผสมกับน้ำ เพื่อให้ได้ความเข้มข้น ๐.๑ % หรือ ๑,๐๐๐ ส่วนในล้านส่วนหรือ ผลิตภัณฑ์ฆ่าเชื้อที่มีส่วนผสมของไฮโดรเจนเปอร์ออกไซด์ โดยนำมาผสมกับน้ำเพื่อให้ได้ความเข้มข้น ๐.๕ % หรือ ๕๐๐๐ ส่วน ในลา้ นสว่ นราดนำ้ ยาฆา่ เช้อื ทิ้งไว้อย่างนอ้ ย ๑๐ นาที เน้นเช็ดบริเวณที่รองน่งั โถส้วม ฝาปดิ โถ ส้วม ที่กดชักโครก สายชำระ ราวจับ ลูกบิด หรือกลอนประตู ท่ีแขวนกระดาษชำระ อ่างล้างมือ ขันน้ำ ก๊อกน้ำ ท่ีวางสบู่ ผนัง ซอกประตู ด้วยผ้าชุบน้ำยาฟอก ขาว หรือใช้แอลกอฮอล์ ๗๐ % หรือ ไฮโดรเจนเปอร์ออกไซด์ ๐.๕๙ % ๓. หลังทำความสะอาด ควรซักผ้าเช็ดทำความสะอาด และไม้ถูพ้ืน ด้วยน้ำผสมผงซักฟอกหรือน้ำยาฆ่า เช้อื แลว้ ซกั ด้วยนำ้ สะอาดอกี ครง้ั และนำไปผึ่งแดดให้แห้ง ห้องพกั ครู ๑. จัดโต๊ะ เก้าอ้ี หรือท่ีน่ัง ให้มีการเว้นระยะห่างระหว่างบุคคล อย่างน้อย ๑.๕ เมตร ควรคำนึงถึงสภาพ บริบท และขนาดพ้ืนที่อาจพจิ ารณาใช้ฉากกั้นบนโต๊ะเรียน และจัดทำสัญลกั ษณ์แสดงจุดตำแหน่งชัดเจน โดยถือ ปฏิบัติตาหลกั Social distancing อย่างเครง่ ครดั ๒. ใหค้ รูสวมหน้ากากผ้าหรอื หนา้ กากอนามัยตลอดเวลาท่อี ยู่ในโรงเรยี น ๓. จัดให้มีการระบายอากาศที่ดีให้อากาศถ่ายเท เช่น เปิดประตูหน้าต่าง หลีกเล่ียงการใช้ เครื่องปรับอากาศ หากจำเป็นต้องใช้เคร่ืองปรับอากาศ กำหนดเวลาเปิด – ปิด เคร่ืองปรับอากาศ เปิดประตู หนา้ ตา่ ง ระบายอากาศทกุ ๑ ชัว่ โมง และทำความสะอาดอย่างสม่ำเสมอ ๔. ให้มีการทำความสะอาดโต๊ะ เก้าอ้ี อุปกรณ์ และจุดสัมผัสเส่ยี ง เช่น ลูกบิดประตู อปุ กรณ์คอมพิวเตอร์ โทรศพั ท์เป็นต้น เปน็ ประจำทุกวนั อย่างนอ้ ยวันละ ๒ ครัง้ ๕. จัดเตรยี มเจลแอลกอฮอล์ใช้ทำความสะอาดมือสำหรับครูและผู้มาติดตอ่ บรเิ วณทางเข้าด้านหน้าประตู และภายในห้องอย่างเพยี งพอและทั่วถึง

๓๓ โรงอาหาร การจัดบริการภายในโรงอาหาร การนั่งกินอาหารรว่ มกันของผู้ใช้บริการ รวมถึงอาหาร ภาชนะอุปกรณ์ ตู้ กดน้ำดื่ม ระบบกรองน้าและผู้สัมผัสอาหาร อาจเป็นแหล่งแพร่กระจายเชื้อโรค จึงควรมีการดูแล เพื่อลดและ ป้องกนั การ แพรก่ ระจายเชอ้ื โรค ดงั นี้ ๑. จดั บรกิ ารโรงอาหารกำหนดมาตรการการปฏิบตั ิให้สถานท่สี ะอาด ถกู สุขลกั ษณะ ดงั นี้ จัดให้มีอ่างล้างมือ พร้อมสบู่ สำหรับให้บริการแก่ผู้เข้ามาใช้บริการโรงอาหาร บริเวณก่อนทางเข้า โรงอาหาร ทกุ คนทีจ่ ะเข้ามาในโรงอาหาร ต้องสวมหน้ากากผา้ หรือหน้ากากอนามัย จัดใหม้ กี ารเว้นระยะหา่ งระหว่างบุคคล อยา่ งนอ้ ย ๑.๕ เมตร ในพนื้ ท่ีตา่ ง ๆ เชน่ ที่นงั่ กินอาหารจดุ รบั อาหาร จดุ ซอ้ื อาหาร จดุ รอกดน้ำด่มื จดุ ปฏิบัตงิ านร่วมกนั ของผสู้ มั ผสั อาหาร จัดเหลื่อมช่วงเวลาซื้อและกินอาหาร เพ่ือลดความแออดั พื้นทภ่ี ายในโรงอาหาร ทำความสะอาดสถานท่ีปรุง ประกอบอาหาร พน้ื ทต่ี ัง้ ตูก้ ดน้ำดม่ื และพ้ืนที่บริเวณ ท่นี งั่ กินอาหารให้ สะอาด ด้วยน้ำยาทำความสะอาดหรือผงซักฟอก และจัดให้มีการฆ่าเช้ือด้วยโซเดียม ไฮโปคลอไรท์ (น้ำยาฟอก ขาว) ท่ีมีความเข้มข้น ๑,๐๐๐ ส่วนในล้านส่วน (ใช้โซเดียมไฮโปคลอไรท์ ๖ % อัตราส่วน ๑ ช้อนโต๊ะต่อน้ำ ๑ ลิตร) ทำความสะอาดโตะ๊ และท่ีน่ังให้สะอาด สำหรบั นงั่ กนิ อาหาร ด้วยน้ำยา ทำความสะอาดหรอื จัดใหม้ ีการ ฆ่าเช้ือด้วยแอลกอฮอล์ ๗๐ % โดยหยดแอลกอฮอล์ลงบนผ้าสะอาด พอหมาด ๆ เช็ดไปในทิศทางเดียวกัน หลงั จากมีผ้ใู ชบ้ รกิ ารทกุ ครง้ั ทำความสะอาดภาชนะ อุปกรณแ์ ละเคร่อื งใชใ้ หส้ ะอาด ด้วยนำ้ ยาล้างจาน และให้มกี ารฆ่าเช้อื ดว้ ยการ แช่ในน้ำร้อน ๘๐ องศาเซลเซียส เป็นเวลา ๓๐ วินาที หรือแช่ด้วยโซเดียมไฮโปคลอไรท์ (น้ำยาฟอกขาว) ท่ีมี ความ เข้มข้น ๑๐๐ สว่ นในล้านสว่ น นาน ๑ นาที (ใช้โซเดียมไฮโปคลอไรท์ ๖ % อัตราส่วนครง่ึ ช้อนชาต่อน้ำ ๑ ลิตร) แล้วลา้ งนำ้ ใหส้ ะอาด และอบหรือผงึ่ ให้แหง้ ก่อนนำไปใชใ้ ส่อาหาร ทำความสะอาดตกู้ ดนำ้ ดื่ม ภายในต้ถู งั นำ้ เยน็ อย่างน้อยเดือนละ ๑ ครัง้ และเช็ดภายนอกต้แู ละกอ๊ กน้ำ ดื่มให้สะอาดทุกวัน และฆ่าเชื้อดว้ ยการแช่โซเดียมไฮโปคลอไรท์ (น้ำยาฟอกขาว) ที่มีความเขม้ ข้น ๑๐๐ ส่วนใน ล้าส่วน นาน ๓๐ นาที ทุกคร้ังก่อนบรรจุน้ำใหม่ ในกรณีท่ีมีเคร่ืองกรองน้ำควรทำความสะอาดด้วยการล้างย้อน (Backwash) ทุกสัปดาห์ และเปลี่ยนไส้กรองตามระยะเวลากำหนดของผลิตภัณฑ์และตรวจเช็คความชำรุด เสียหายของ ระบบไฟฟ้าท่ีใช้สายดิน ตรวจเช็คไฟฟ้าร่ัวตามจุดต่าง ๆ โดยเฉพาะบริเวณก๊อกน้ำทถี่ ือเป็นจุดเส่ียง เพื่อปอ้ งกนั ไฟฟ้าดูด ขณะใชง้ าน

๓๔ จดั บริการอาหาร เน้นคปู อง กนั การปนเปื้อนของเชอ้ื โรค เช่น อาหารปรงุ สำเร็จ สกุ ใหมท่ กุ ครั้ง หลกี เลย่ี ง การจำหน่ายอาหารเสี่ยง เช่น อาหารประเภทกะทิ หรืออาหารปรุงข้ามวัน การปกปิด อาหารปรุงสำเร็จ การใช้ ภาชนะที่เหมาะสมกับประเภทอาหาร และจัดให้มีภาชนะอุปกรณ์สำหรับการกินอาหารอย่างเพียงพอเป็น รายบุคคล เช่น จาน ถาดหลุม ชอ้ น ส้อม แก้วนา้ เป็นตน้ ประชาสัมพันธใ์ ห้ความร้ภู ายในโรงอาหาร เช่น การสวมหนา้ กากท่ีถูกวธิ ี ขัน้ ตอนการล้างมือท่ถี กู ตอ้ ง การเว้นระยะหา่ งระหว่างบคุ คล การเลือกอาหารปรุงสุกใหม่สะอาด เปน็ ต้น กรณีมีการใชบ้ รกิ ารรา้ นอาหารจากภายนอก จัดส่งอาหารให้กับโรงเรียน ควรใหค้ รหู รอื ผู้รบั ผดิ ชอบ ตรวจประเมนิ ระบบสุขาภิบาลอาหารของร้านอาหาร โดยกำหนดข้อตกลงการจดั ส่งอาหารปรุงสุกพร้อมกนิ ภายใน ๒ ช่ัวโมง หลงั ปรงุ เสร็จและมกี ารปกปดิ อาหาร เพื่อป้องกนั การปนเปื้อนสิ่งสกปรกลงในอาหาร พิจารณาทางเลอื กให้ผปู้ กครองสามารถเตรียมอาหารกลางวนั (Lunch box) ใหน้ กั เรยี นมารบั ประทาน เอง เพื่อป้องกนั เชื้อและลดการแพร่กระจายเชอ้ื ตดิ ตงั้ กลอ้ งวงจรปิดบรเิ วณโรงอาหาร ๒. ผสู้ ัมผสั อาหารตอ้ งดูแลสุขลกั ษณะสว่ นบคุ คลมีการป้องกันตนเองและป้องกนั การแพร่กระจายเช้ือโรค ดังนี้ หากมีอาการป่วย ไข้ ไอ มนี ำ้ มกู เจบ็ คอ หายใจลำบาก เหนอื่ ยหอบ ไมไ่ ด้กล่นิ ไม่รรู้ ส ใหห้ ยดุ ปฏบิ ตั ิงาน และแนะนำให้ไปพบแพทยท์ นั ที ดแู ลสุขลักษณะส่วนบุคคล มีการป้องกันตนเอง แตง่ กายให้สะอาด สวมใส่ผ้ากนั เปื้อน และอุปกรณ์ ปอ้ งกนั การปนเปื้อนสู่อาหารในขณะปฏิบัติงาน รักษาความสะอาดของมือ ด้วยการลา้ งมอื บ่อย ๆ ด้วยสบู่ และน้ำก่อนปฏิบตั ิงาน และขณะเตรยี ม อาหารประกอบอาหาร และจำหน่ายอาหาร รวมถงึ หลงั จากการจับเหรียญหรือธนบัตร หรือสัมผัสสงิ่ สกปรก อาจใชเ้ จลแอลกอฮอล์ทำความสะอาดมือร่วมดว้ ย หลีกเล่ียงการใชม้ ือสมั ผสั ใบหน้า ตา ปาก จมูก สวมใสห่ น้ากากผา้ หรอื หนา้ กากอนามัย ตลอดเวลาขณะปฏบิ ัติงาน มีพฤตกิ รรมขณะปฏิบตั งิ านป้องกนั การปนเปอ้ื นของเชื้อโรค เช่น ใชอ้ ปุ กรณ์ในการปรุงประกอบอาหาร เชน่ เขยี ง มีด การหยิบจับอาหาร แยกระหว่างอาหารสุก อาหารประเภทเนื้อสัตว์สดผักและผลไม้ หลกี เล่ียงการ ปรงุ ประกอบอาหารบนพืน้ โดยตรง จัดเมนูอาหารทีจ่ ำหน่าย เน้นอาหารปรงุ สกุ ด้วยความร้อน โดยเฉพาะเน้อื สัตวป์ รุงให้สุกดว้ ยความร้อนไม่ นอ้ ยกว่า ๗๐ องศาเซลเซียส หลีกเล่ียงการจาหนา่ ยอาหารบูดเสยี งา่ ย เช่น อาหารประเภทกะทิ และอาหารทไี่ ม่ ผ่านความร้อน เชน่ ซูชิ เปน็ ต้น

๓๕ อาหารปรุงสำเรจ็ จัดเก็บในภาชนะสะอาด มีการปกปดิ อาหารจัดเกบ็ สูงจากพ้ืนไม่นอ้ ยกว่า ๖๐ เซนติเมตร กรณีอาหารปรงุ สำเรจ็ รอการจำหนา่ ยให้นำมาอุ่น ทุก ๒ ชัว่ โมง การใช้ภาชนะบรรจอุ าหารแบบใชค้ รงั้ เดยี วทิง้ ตอ้ งสะอาดมคี ุณภาพเหมาะสม กับการบรรจอุ าหาร ปรงุ สำเรจ็ และไม่ควรใช้โฟมบรรจอุ าหาร ระหวา่ งการปฏิบตั ิงาน ให้มกี ารเว้นระยะหา่ งระหว่างบุคคล อย่างนอ้ ย ๑.๕ เมตร ควรพิจารณาให้มรี ะบบชำระเงินออนไลน์ สำหรับผบู้ ริโภค ๓. ผูท้ เี่ ข้ามาใชบ้ รกิ ารโรงอาหารต้องดำเนนิ การปอ้ งกนั ตนเองและปอ้ งกันการแพร่กระจายเชื้อโรค ดงั นี้ ล้างมอื บอ่ ยๆ ด้วยสบแู่ ละนำ้ หรอื ใช้เจลแอลกอฮอล์ทำความสะอาดมือทุกครั้งทก่อนเข้าไปในโรงอาหาร กอ่ นกนิ อาหารภายหลงั ซื้ออาหารหลงั จากจับเหรียญหรือธนบัตร หลังจากสัมผัสส่งิ สกปรก หรอื หลงั ออกจากห้องน้ำ ทุกคนต้องสวมหน้ากากผา้ หรอื หนา้ กากอนามัยตลอดเวลาที่อยใู่ นโรงอาหาร หรือเขา้ ไปในสถานทีจ่ ำ หน่ายอาหาร เลือกซื้ออาหารปรงุ สำเรจ็ สกุ ใหม่ หลีกเลย่ี งการกนิ อาหารประเภทเนอื้ สตั ว์ เคร่ืองในสตั ว์ทป่ี รงุ ไมส่ ุก และตรวจสอบคุณภาพของอาหารทันที เช่น สภาพอาหาร กล่ิน ความสะอาด และความเหมาะสมของภาชนะ บรรจุ มีการปกปดิ อาหารมดิ ชิด ไมเ่ ลอะเทอะ ไม่ฉกี ขาด เปน็ ตน้ ให้มีการเวน้ ระยะหา่ งระหว่างบุคคล อย่างนอ้ ย ๑.๕ เมตร ในการซือ้ อาหาร ขณะรออาหาร นัง่ กนิ อาหาร ขณะรอกดนำ้ ดื่ม

๓๖ รถรับ –ส่งนักเรียน ๑. พนกั งานขบั รถจะต้องไดร้ ับวคั ซนี ครบ Dose ๒. งดการใช้บริการรถรับ-ส่งนักเรียน จนกว่ากระทรวงสาธารณสุขมีการผ่อนปรนมาตรการควบคุมโรค ใหส้ ามารถใช้รบั -ส่งนักเรียนได้ ๓. ติดตั้งกล้องควบคุมเส้นทาง และกล้องวงจรปดิ ภายในรถ ๔. ทำความสะอาดรถรับนักเรียนและบรเิ วณจุดสัมผสั เส่ยี ง เชน่ ราวจับ ที่เปิดประตู เบาะน่ัง ที่วางแขน ด้วยน้ำ ผสม ผงซักฟอก หรือน้ำยาทำความสะอาดที่มีส่วนผสมของโซเดียมไฮโปคลอไรท์ (น้ำยาฟอกผ้าขาว) และปฏิบัติตาม คำแนะนำบนฉลากผลิตภัณฑ์ (เช่น ผสมโซเดียมไฮโปคลอไรท์ ความเข้มข้น ๖ % ปริมาณ ๒๐ มลิ ลลิ ติ ร ต่อนา้ ๑ ลติ ร) ๕. นักเรียนท่ีใช้บริการรถรับนักเรียน ต้องสวมหน้ากากผ้าหรือหน้ากากอนามัยตลอดเวลาที่อยู่บนรถ ลดการพูดคุยกัน เลน่ หยอกล้อกนั รวมถึงกำหนดจุด รบั – ส่ง นกั เรียนสำหรับผปู้ กครอง ๖. ตรวจวัดอุณหภูมิร่างกายของนักเรียนก่อนข้ึนรถรับนักเรียน หากตรวจพบอุณหภูมิร่างกายเท่ากับ หรอื สูงกว่า ๓๗.๕ องศา ไม่อนญุ าตให้ขึ้นรถ ๗. การจดั ท่ีนั่งบนรถรับนักเรียนควรจัดให้มีการเว้นระยะห่างระหว่างบุคคล อย่างน้อย ๑.๕ เมตร ทั้งนี้ ควร คำนึงถึงขนาดพ้ืนท่ีของรถจำนวนท่ีน่ังพิจารณาตามบริบทคุณลักษณะของรถและความเหมาะสม จัดทำ สญั ลักษณ์แสดงจุดตำแหน่งชัดเจน โดยปฏิบัติตามมาตรการเว้นระยะห่างทางสังคม (Social distancing) อย่าง เครง่ ครัด ๘. ก่อนและหลงั ใหบ้ ริการรบั นักเรียนแตล่ ะรอบควรเปิดหน้าต่าง ประตู ระบายอากาศ ให้อากาศถ่ายเท ได้ สะดวก ๙. จัดใหม้ เี จลแอลกอฮอล์สาหรับใช้ทาความสะอาดมอื บ่อย ๆ บนรถรับนักเรยี น สระว่ายน้ำ โรงเรียนงดการจัดการเรียนการสอนในสระว่ายน้ำ กรณีรัฐบาลมีการผ่อนปรนมาตรการควบคุมโรคให้ สามารถใช้สระวา่ ยน้ำได้ และควรปฏบิ ตั ิ ดงั น้ี ๑. ให้มีการคัดกรองเบ้ืองต้นหรือเฝ้าระวังมิให้ผู้มีอาการเจ็บป่วย เช่น ไข้ ไอ มีน้ามูก เจ็บคอ หายใจ ลำบาก เหนือ่ ยหอบ ไม่ได้กลน่ิ ไมร่ ู้รส ก่อนลงสระวา่ ยนำ้ ทุกคร้ัง เพ่ือปอ้ งกันการแพร่เช้ือโรค ๒. กำกับดูแลและปฏิบัติตามคำแนะนำของระบบฆ่าเชื้ออย่างเคร่งครัด เพ่ือให้ระบบมีประสิทธิภาพใน การฆ่าเช้ือ ตลอดเวลาการให้บริการ (คลอรีนอิสระคงเหลือ (Free Residual Chlorine) ใน ระดับ ๑ -๓ ส่วน ในล้านส่วน (ppm) ๓. ตรวจสอบคณุ ภาพน้ำในสระทกุ วนั และดแู ลความสะอาดของสระน้ำไม่ให้มีขยะมลู ฝอย ๔. กำหนดมาตรการก่อนลงสระว่ายน้ำ เช่น นักเรียนต้องชำระร่างกายก่อนลงสระต้องสวมหน้ากากผ้า หรือ หน้ากากอนามัยก่อนลงและข้ึนจากสระว่ายน้ำ สวมแว่นตา – หมวกว่ายน้ำ ระหว่างการว่ายน้ำห้ามบ้วน น้ำลาย ห้ามปัสสาวะ ห้ามส่ังน้ำมูกลงในน้ำ ห้ามพูดคุยกับเพ่ือนผู้สอนว่ายน้ำ (โค้ช) หรือผู้ดูแลสระน้ำต้องสวม หน้ากากผา้ หรอื หนา้ กากอนามัยตลอดเวลาท่อี ยูบ่ ริเวณสระว่ายนำ้ ๕. ทำความสะอาดอุปกรณ์ที่ใช้ในการสอนแบ่งรอบการสอนจำกัดจานวนคนและให้มีการเว้นระยะห่าง ระหว่างบคุ คล อย่างนอ้ ย ๑.๕ เมตร ๖. ควรเตรียมอุปกรณ์ของใช้ส่วนตัวสำหรับการว่ายน้ำ เช่น แว่นตา – หมวกวา่ ยน้ำชุดว่ายน้ำผา้ เช็ดตัว เปน็ ตน้ ๗. ติดตัง้ กลอ้ งวงจดปดิ บริเวณสระว่ายน้ำ

๓๗ School Isolation หากเกดิ การแพร่ระบาดภายในโรงเรียน ๑. ห้องพยาบาลสำหรบั นักเรียน/ครู/บคุ ลากร สำหรบั รองรบั การปว่ ยโรคทวั่ ไป เช่น ทำแผล ปวดทอ้ ง เป็นตน้ ๒. ห้องพยาบาลสำหรับนกั เรยี น/ครู/บุคลากร สำหรับรองรบั การป่วย เช่น มไี ข้ ไอ มนี ำ้ มกู เป็นตน้ ๓. หอ้ งผู้ปว่ ยกรณีพบนักเรียน /ครู /บุคลากรทมี่ ีผลการตรวจ ATK เปน็ บวก ๔. มีเจา้ หนา้ ทข่ี องโรงเรยี นอยปู่ ระจำ เพอื่ ดูแลช่วยเหลอื ในการปฐมพยาบาลเบอ้ื งต้น และประสานงาน หอ้ งพยาบาลสำหรับนกั เรยี น/คร/ู บคุ ลากร สำหรบั รองรับการป่วยโรคท่ัวไป

๓๘ หอ้ งพยาบาลสำหรบั นักเรยี น/คร/ู บุคลากร สำหรบั รองรบั การปว่ ย เชน่ มีไข้ ไอ มีนำ้ มูก

๓๙ ห้องผปู้ ่วยกรณีพบนักเรยี น /ครู /บุคลากรท่ีมผี ลการตรวจ ATK เปน็ บวก

๔๐ แผนเผชิญเหตุรองรบั สถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคโควดิ ๑๙ สถานการณก์ ารแพร่ระบาดของโรคโควดิ ๑๙ ในประเทศไทยมแี นวโน้มคล่คี ลายเปน็ ไปในทางท่ดี ีข้ึน แต่ สถานการณ์ท่วั โลกและประเทศใกลเ้ คียงยังมคี วามรุนแรงอย่างต่อเนื่อง ในการเปิดภาคเรยี นของสถานศึกษาให้มี การเรยี นการสอนตามปกติ ๑๐๐% ดังนั้น จึงควรกำหนดให้มีแผนเผชิญเหตุรองรับสถานการณ์การแพร่ระบาด ของโรคโควิด ๑๙ ในสถานศึกษา อ้างถึงตามประกาศกระทรวงศึกษาธิการ เรื่องมาตรการป้องกันและควบคุม สถานการณ์การแพร่ระบาด ของโรคติดเช้ือไวรัสโคโรนา ๒๐๑๙ ของกระทรวงศึกษาธิการ และประกาศ คณะกรรมการโรคติดต่อจังหวัดสงขลา ที่ ๑๑๙/๒๕๖๔ ประกาศ ณ วันท่ี ๓๐ กันยายน ๒๕๖๔ เพ่ือเป็นการ เตรียมการและเตรยี มพรอ้ มรองรบั สถานการณ์ที่อาจจะเกดิ ข้นึ อัน เป็นแนวปฏบิ ัตติ ามมาตรการการป้องกันการ แพรร่ ะบาดของโรคโควิด ๑๙ ของโรงเรยี นวรพัฒน์ (New Normal) อยา่ งเครง่ ครดั แผนเผชญิ เหตุ (Incident Action Plan : IAP) หมายถงึ แผนยุทธวธิ เี พือ่ ตอบสนองต่อเหตกุ ารณ์เฉพาะทีเ่ ป็น ภาวะฉกุ เฉนิ ทางดา้ นสาธารณสุข ประโยชน์ ของการจดั ทำแผนเผชญิ เหตุ ๑. เพ่อื ลดความคลุมเครือท่ีต้องเผชิญในภาวะฉุกเฉิน ๒. เพือ่ ลดความซ้ำซอ้ น หรืองานท่ไี ม่มีใครทำภายใตก้ ารทำงานรว่ มกันหลายฝา่ ย ๓. ชว่ ยควบคมุ และกำกับตดิ ตามการทำงานได้ แนวปฏบิ ตั แิ ผนเผชญิ เหตุรองรบั สถานการณก์ ารแพรร่ ะบาดของโรคโควิด ๑๙ ในโรงเรียน มีดังนี้ ๑. การปอ้ งกนั เช้อื โรคไวรสั โคโรนา ๒๐๑๙ (COVID – ๑๙) จากครูชาวต่างประเทศ • ครชู าวตา่ งประเทศ ตอ้ งรบั การกักตัวในสถานทีท่ ่ีรฐั จัดให้ (State quarantine) เปน็ เวลา๑๔วัน • ครูชาวต่างประเทศ เมื่อกักตัวในสถานที่ที่รัฐจัดให้ครบ ๑๐ วันแล้ว เดินทางมายังโรงเรียน จะต้องกัก ตัวในท่ี พักอาศัยที่ทางโรงเรียนจัดให้เป็นเวลา ๑๐ วัน และให้จัดทำการสอนตามปกติ Online (จัดการเรียนการ สอนผ่านอนิ เทอรเ์ นต็ ZOOM) ๒. การป้องกนั การแพร่ระบาดของโรคโควิด ๑๙ ภายในประเทศ • มศี นู ยเ์ ฉพาะกิจการจัดการศึกษาทางไกลในสถานการณ์การแพรร่ ะบาดของโรคโควิด ๑๙ • พฒั นาระบบสารสนเทศเพื่อการบรหิ ารในสถานการณก์ ารแพร่ระบาดของโรคโควดิ ๑๙ • เปิดศูนย์รับฟังความคิดเห็นเก่ียวกับการจัดการศึกษาทางไกลในสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรค โควดิ ๑๙ • จัดทำแนวทางการจัดการเรยี นการสอนทางไกลในสถานการณก์ ารแพร่ระบาดของโรคโควิด ๑๙ • จัดทำแพลตฟอรม์ การเรยี นรู้ ชุดโปรแกรม และแพลตฟอรม์ การเรียนรู้ครบวงจร • จัดทำแนวทางการบรหิ ารจัดการสำหรับโรงเรยี นเพ่ือป้องกนั และควบคมุ การแพร่ระบาด ของโรคโควดิ ๑๙

๔๑ • แนวทางรับมอื ตอบโตภ้ าวะฉุกเฉนิ กรณกี ารระบาดของโรคโควิด ๑๙ ในสถานศึกษา ๓. การเฝา้ ระวงั และการสอบสวนโรค • คัดกรองนักเรียน ผู้บริหาร ครู บุคลากร และผู้เกี่ยวข้อง โดยทำแบบประเมินความเส่ียง โดยอ้างอิงจากขอ้ มลู ของระบบไทยเซฟไทย ให้นกั เรียนและผู้ปกครองทำแบบประเมินความเสี่ยงโรคติดเช้ือไวรัส โคโรนา ๒๐๑๙ มีการสวมหน้ากาก การล้างมือ การเว้นระยะห่าง การทำความสะอาด (ห้องเรียน ห้องปฏบิ ัติการ หอประชมุ อาคารเรียน โรงอาหาร โรงครัว พื้นที่ส่วนกลาง) และลดความแออัด • มีแนวปฏิบัติสำหรับผู้บริหาร ครู และบุคลากรในสถานศึกษาในการดำเนินการเก่ียวกับโรค โควิด ๑๙ เช่น จัดทำแนวทางการบริหารจัดการสำหรบั โรงเรียนเพื่อป้องกันและควบคุมการแพร่ระบาดของโรค โควิด ๑๙ มาตรการคัดกรองสุขภาพด้านสาธารณสุข การดำเนินการเมื่อมีกลุ่มเส่ียงหรือผู้ป่วยยืนยันใน สถานศกึ ษา • การปิดสถานศึกษาทเ่ี กิดการระบาดและควบคมุ การระบาดในสถานศึกษา • รายงานการประเมินสถานการณ์ผลการดำเนินงาน ปัญหาอุปสรรค และให้ข้อเสนอแนะ แก่ หน่วยงานต้นสังกัด สำนักงานศึกษาธิการจังหวัดสงขลา และคณะกรรมการโรคติดต่อระดับจังหวัดสงขลา เพ่ือ การตดั สนิ ใจ ๔. การสรา้ งความร่วมมือจากทุกภาคส่วน • มีศนู ย์ประสานงานและตดิ ตามขอ้ มลู ระหว่างสถานศกึ ษาเอกชนและหนว่ ยงานต่างๆ • โรงเรยี นวรพัฒน์ ประสานกับโรงพยาบาลราษฎรย์ นิ ดี ในความรว่ มมือป้องกนั การแพร่ระบาด ของโรคโควิด ๑๙ • โรงเรียนแตง่ ตง้ั คณะกรรมการปอ้ งกันการแพรร่ ะบาดของโรคโควดิ ๑๙ ประกอบด้วย เจา้ หนา้ ทส่ี าธารณสุข เจา้ หน้าทอ่ี งค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ฝา่ ยปกครอง คณะกรรมการส่งเสริมการศึกษา เอกชน

๔๒ แผนเผชญิ เหตรุ องรบั สถานการณก์ ารแพร่ระบาดของโรคโควิด ๑๙ โรงเรยี นวรพฒั น์ อำเภอหาดใหญ่ จังหวดั สงขลา

๔๓ ในกรณีที่โรงเรียนพบว่ามีนักเรียน ครู หรือบุคลากรอื่น ๆ ในโรงเรียนท่ีอยู่ในกลุ่มเส่ียง ให้โรงเรียน ดำเนินการตามมาตรการป้องกันการแพร่ระบาดของโรคโควิด-๑๙ กรณีเกิดการระบาดของกรมควบคุมโรค กระทรวงสาธารณสุข ดังตอ่ ไปน้ี กรณีเกิดการระบาดในสถานศกึ ษา เหตุการณ์การระบาด หมายถึง เม่ือพบผู้ป่วยยืนยันอย่างน้อย ๑ ราย ท่ีคิดว่าอาจมีการแพร่กระจาย เช้อื ในสถานศึกษา ๑. ผู้ป่วยท่ีเข้าเกณฑ์ต้องสอบสวน (PUI = Patient Under Investigation) หมายถึง ผู้ท่ีมีประวัติไข้ หรือวัดอุณหภูมิกายได้ต้ังแต่ ๓๗.๕ องศาเซลเซียสขึ้นไป ร่วมกับอาการทางเดินหายใจอย่างใด อย่างหนึ่ง (ไอ น้ำมูก เจ็บคอ หายใจเร็ว หรือหายใจเหนื่อย หรือหายใจลำบาก) และมีประวัติสัมผัสใกล้ชิดกับผู้ป่วยยืนยัน ในช่วง ๑๔ วันกอ่ นมีอาการ ๒. ผ้ปู ว่ ยยืนยัน หมายถึง ผู้ทม่ี ผี ลตรวจทางหอ้ งปฏิบตั ิการ พบว่า ติดเชอ้ื ไวรสั โคโรนา ๒๐๑๙ ๓. ผู้สัมผัสทมี่ ีความเสี่ยงต่อการตดิ เชื้อสูง (High risk contact) หมายถึง ผู้สัมผัสใกล้ชิด ตามลกั ษณะ ข้อใดขอ้ หนง่ึ ดังน้ี - ผ้ทู ่ีเรยี นร่วมหอ้ ง ผทู้ ่ีนอนร่วมห้องหรอื เพื่อนสนทิ ที่คลุกคลกี นั - ผู้สัมผัสใกล้ชิดหรือมีการพูดคุยกับผู้ป่วยในระยะ ๑ เมตร นานกว่า ๕ นาที หรือถูกไอ จาม รดจากผูป้ ว่ ย โดยไม่มกี ารป้องกัน เช่น ไม่สวมหน้ากากอนามัย - ผู้ท่ีอยู่ในบริเวณท่ีปิด ไม่มีการถ่ายเทอากาศ เช่น ในรถปรับอากาศ ในห้องปรับอากาศ รว่ มกับผปู้ ่วยและอยูห่ า่ งจากผูป้ ่วยไม่เกนิ ๑ เมตร นานกว่า ๑๕ นาที โดยไม่มีการปอ้ งกนั ๔. ผู้สัมผัสท่ีมีความเสี่ยงต่อการติดเชื้อต่ำ (Low risk contact) หมายถึง ผู้ที่ทำกิจกรรม อื่น ๆ ร่วมกบั ผปู้ ่วย แตไ่ ม่เข้าเกณฑ์ความเสยี่ ง ๕. ผไู้ ม่ได้สัมผัส หมายถึง ผู้ทอี่ ย่ใู นสถานศึกษาแตไ่ ม่มกี จิ กรรมหรอื พบผู้ป่วยในชว่ ง ๑๔ วนั กอ่ นป่วย ๖. ผู้ท่ีมีภาวะเสี่ยงต่อการป่วยรุนแรง (Underlying condition) หมายถึง ผู้ท่ีมีภูมิต้านทานต่ำ หรือมี โรคประจำตวั หรือผูส้ งู อายุ

๔๔ กิจกรรมการเฝ้าระวังก่อนการระบาด ๑. ให้มีการตรวจสอบการลาป่วยของนักเรียนและบุคลากรในสถานศึกษา หากพบว่าป่วยมากผิดปกติ ให้รายงานเจา้ หน้าท่ีสาธารณสุขในพื้นทท่ี ราบ ๒. ให้มีการคัดกรองไข้บริเวณทางเข้าสถานศึกษาทุกวัน หากพบว่า มีเด็กท่ีมีไข้จำนวนมากผิดปกติให้ แจง้ เจ้าหน้าที่ ๓. ห้องพยาบาลให้มกี ารบนั ทกึ รายช่ือและอาการของนักเรียนทป่ี ่วย กรณนี กั เรยี นป่วย เม่ือตรวจพบผู้มีไข้สูงเกินกว่า ๓๗.๕ องศาเซลเซียส ให้ส่งต่อไปยังห้องพยาบาลของโรงเรียนเพื่อ ดำเนินการ ๑. ตรวจวดั อุณหภูมิด้วยเคร่ืองวดั อุณหภูมแิ บบแท่งแกว้ หรือแบบดิจิตอล โดยวดั ทางรักแร้ ๒. ซักประวัติเจ็บป่วย สังเกตอาการและสอบถามอาการของระบบทางเดินหายใจ เช่น ไข้ ไอ จาม มี น้ำมูก เจบ็ คอ หายใจลำบาก เหน่ือยหอบ ไมไ่ ด้กล่นิ ไม่รรู้ ส ๓. หากพบนักเรียนมีอุณหภูมิร่างกายต้ังแต่ ๓๗.๕ องศาเซลเซียสข้ึนไป หรือมีอาการระบบทางเดิน หายใจอย่างใดอย่างหนึ่ง จะจัดให้อยใู่ นพืน้ ทแ่ี ยกสว่ นเพอื่ แจ้งผปู้ กครองมารบั และพาไปพบแพทย์ ๔. จัดห้องนอนพักสำหรับนักเรียนระหว่างรอผู้ปกครองมารับ โดยจัดห้องนอนแยกจากนักเรียนป่วย ทัว่ ไป จำนวน ๒ เตียง ระยะหา่ งระหว่างเตยี ง ๑.๕ เมตร ตดิ ตงั้ ฉากพลาสติกใสกน้ั ระหว่างเตียงนอน ภายในหอ้ ง มอี ากาศถา่ ยเทสะดวก มีเจลแอลกอฮอล์ประจำทุกเตยี ง มีถงั ขยะทีม่ ีฝาปดิ มิดชิด ๕. บนั ทึกรายชือ่ และอาการป่วย กรณีนักเรียนกักตัว เมื่อพบว่านกั เรยี นติดเช้อื ไวรัสโคโรนา่ ๒๐๑๙ (COVID-๑๙) ดำเนินการดังน้ี ๑. งานพยาบาลบันทึกรายงานข้อมูลนักเรียนที่เข้าข่าย หรือเป็นกลุ่มเส่ียงในการติดเชื้อไวรัส โคโรน่า ๒๐๑๙ (COVID-๑๙) เสนอตอ่ ผูอ้ ำนวยการพิจารณาอนมุ ัติ เพ่ือกกั ตวั ๑๔ วนั ๒. โรงเรียนดำเนินการ ๒.๑ ทำหนังสือแจ้งผู้ปกครองทราบ เพื่อให้นักเรียนหยุดเรียน กักตัวอยู่ท่ีบ้าน ๑๔ วัน โดยไม่ถือว่า เป็นการขาดเรียน ๒.๒ ครูท่ีปรึกษารับทราบและประสานผู้ปกครองหรือนักเรียนเพื่อสอบถามอาการป่วยของนักเรียน เปน็ ระยะ หรอื ช่วยเหลือกรณมี ีเหตจุ ำเปน็ ๒.๓ ครูผู้สอนทุกรายวิชาที่นักเรียนเรียน ดำเนินจัดเตรียมแผนรองรับการเรียน เช่น การสอน ออนไลน์ การสอนซ่อมเสริม และมอบหมายงานให้นักเรียนทำ เพื่อให้นักเรียนได้เรียนตามหลักสูตร จนกว่า นกั เรยี นจะกลบั มาเรยี นตามปกตไิ ด้ ๓. นักเรียนนำหลกั ฐานใบรบั รองแพทยม์ ายนื ยันกับโรงเรียนเพือ่ กลบั เขา้ เรยี นตามปกติ

๔๕ กรณปี ิดชั้นเรยี น (เม่ือพบผู้ป่วยยนื ยันอยา่ งน้อย ๑ ราย ที่คิดวา่ อาจมกี ารแพร่กระจายเช้อื ใน สถานศกึ ษา) โรงเรียนมีมาตรการดำเนนิ การ ดงั น้ี ๑. ปิดช้ันเรียน เพ่ือทำความสะอาด เป็นระยะเวลา ๓ วัน โดย ผู้อำนวยการสถานศกึ ษา มอี ำนาจสัง่ ปิด ด้วยเหตุพเิ ศษ ๒. ประสานเจ้าหน้าท่ีสาธารณสุข สำรวจคัดกรองนักเรียนและครูผู้สอนในช้ันเรียนน้ัน ๆ ดำเนินการ ขั้นตอนที่กำหนด หากพบผเู้ ข้าเกณฑ์สอบสวน (PUI) ใหเ้ ก็บตัวอย่าง NP swab ส่งตรวจหาเช้อื ๓. ฉดี นำ้ ยาฆา่ เช้อื เพื่อทำความสะอาดภายในห้องนน้ั และบริเวณโรงเรยี น ๔. โรงเรียนแจ้งนักเรียน ครู ผู้ปกครอง และบุคลากรทางการศึกษา เก่ียวกับสถานการณ์ท่ีทำให้ปิด โรงเรียนกรณีเกิดโรคติดเช้ือไวรัสโคโรน่า ๒๐๑๙ (COVID-๑๙) จำนวน ๑๔ วนั โดยไม่ถือเป็นวันลาหรือวันหยุด เรียน ๕. จดั การเรียนการสอนรปู แบบออนไลน์ กรณีปิดสถานศึกษา (เมื่อพบผู้ป่วยยืนยันอย่างน้อย ๓ รายติดเช้ือข้ามห้องเรียน ท่ีคิดว่าอาจมีการ แพรก่ ระจายเช้ือในสถานศกึ ษา) ๑. ปิดสถานศึกษา/ช้ันเรียน เพ่ือทำความสะอาด เป็นระยะเวลา ๑๔ วนั โดย ผู้อำนวยการสถานศึกษา มีอำนาจส่ังปิดด้วยเหตุพิเศษ ไม่เกิน ๗ วัน ผู้อำนวยการเขตพ้ืนท่ีการศึกษา ไม่เกิน ๑๕ วัน เลขาธิการ คณะกรรมการการศกึ ษาขั้นพน้ื ฐาน ไม่เกิน ๓๐ วัน และรัฐมนตรีว่าการกระทรวงศกึ ษาธกิ าร และปลดั กระทรวง ศึกษาธิการสงั่ ปดิ ไดต้ ามความเหมาะสม ๒. ประสานเจ้าหน้าที่สาธารณสุข สำรวจคัดกรองนักเรียนและบุคลากรทุกคน บริเวณทางเข้า สถานศึกษา และดำเนินการข้ันตอนท่ีกำหนด หากพบผู้เข้าเกณฑ์สอบสวน (PUI) ให้เก็บตัวอย่าง NP swab ส่ง ตรวจหาเช้ือ ๓. ผสู้ มั ผสั กลุ่ม High risk ใหด้ ำเนนิ การเกบ็ ตัวอย่าง NP swab สง่ ตรวจเช้ือ ๔. ผู้สัมผัสกลุ่ม Low risk ไม่ต้องเก็บตัวอย่าง แต่ให้แยกตัวอยู่ที่บา้ น และรายงานอาการ (Self-report) ทุกวัน หากพบวา่ มีอาการเข้าเกณฑ์ PUI ให้ดาเนินการแบบผูป้ ่วย PUI ๕. ฉดี นำ้ ยาฆา่ เชอื้ เพอ่ื ทำความสะอาดทัว่ ทั้งโรงเรยี น ๖. โรงเรียนแจ้งนักเรียน ครู ผู้ปกครอง และบุคลากรทางการศึกษา เก่ียวกับสถานการณ์ท่ีทำให้ปิด โรงเรียนกรณีเกิดโรคติดเช้ือไวรัสโคโรน่า ๒๐๑๙ (COVID-๑๙) จำนวน ๑๔ วัน โดยไม่ถือเป็นวันลาหรือวันหยุด เรยี น ๘. เมื่อเปิดเรียน ใหม้ ีการคัดกรองไขท้ ุกวัน หากพบมีอาการเขา้ ได้กับ PUI ให้เก็บตวั อยา่ ง และพิจารณา ความเสีย่ งเพอื่ ตดั สินใจวา่ จะใหผ้ ้ปู ่วยดอู าการทบ่ี ้าน หรือตอ้ งแยกตัวในโรงพยาบาล ๘. โรงเรียนเตรียมการสอนออนไลน์ โดยใช้ Google Meet, Zoom, Line, Facebook ตามความถนัด ของครู ตามตารางทีจ่ ดั ไว้

๔๖ การกำกบั ติดตาม และรายงานผล สถานศึกษามีการกำกับติดตาม ทบทวนการดำเนินงาน ให้สอดคล้องตามแนวปฏิบัติ สถานการณ์ และ บริบทพ้ืนท่ี อย่างต่อเน่ือง กรณีพบผู้มีอาการเสี่ยงหรือป่วย ต้องรีบรายงาน ต่อผู้บริหาร และแจ้งเจ้าหน้าท่ี สาธารณสขุ ทันที ๑. รายงานต่อผ้บู รหิ ารโรงเรยี นรบั ทราบ ๒. รายงานประสานแจ้งเจ้าหนา้ ท่สี าธารณสขุ ทีร่ บั ผดิ ชอบ ๓. รายงานต่อหน่วยงานตน้ สังกดั ไดแ้ ก่ สำนักงานส่งเสรมิ การศึกษาเอกชนจังหวัดสงขลา ๔. รายงานต่อโรงเรียนท่ีเข้าร่วมกลุ่ม โครงการเปิดโรงเรียนปลอดภัย ภายใต้สถานการณ์แพร่ระบาด Covid-๑๙ “Songkhla safety school”

๔๗ แผนบรรเทาทกุ ข์