Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore สือการสอนงานเชื่อมและโลหะแผ่นเบื้องต้น

สือการสอนงานเชื่อมและโลหะแผ่นเบื้องต้น

Published by วิลาศ พลพุทธ, 2023-07-18 02:18:28

Description: สือการสอนงานเชื่อมและโลหะแผ่นเบื้องต้น

Search

Read the Text Version

ตาแหน่งในการเชื่อม ท่าเหนือศีรษะ (Overhead Position) ท่าเหนือศีรษะเป็ นการ เชื่อมชิ้นงานทว่ี างอยู่ในแนว ระนาบ ในระดบั เหนือศีรษะ ของผู้เชื่อม

ชนิดของรอยต่อ 4.1 รอยต่อชน (BUTT JOINT) คอื การนาชน้ิ งานสองชน้ิ มา ชนกนั โดย ใหข้ อบของชน้ิ งานทง้ั สองอยู่ ในระดบั เดยี วกนั

ชนิดของรอยต่อ รอยต่อมุม (CORNER JOINT) คือการนาขอบของชิ้นงานท้งั สอง ชิ้นมาชน และจะอยใู่ นบริเวณ ปลายสุดของชิ้นงานเกิดเป็ นมุมต้งั ฉาก 90 องศา หรืออาจจะมากนอ้ ย กวา่ 90 องศา มีอยหู่ ลายลกั ษณะ ข้ึนอยกู่ บั การออกแบบ

ชนิดของรอยต่อ รอยต่อขอบ (EDGE JOINT) คอื การนาขอบของชน้ิ งานสองชน้ิ มาชนในลกั ษณะใหผ้ วิ งานทง้ั สองชน้ิ ทาบแนบชดิ กนั ขอบของ งานทง้ั สองจะชดิ และขนานกนั ไป ตลอดแนว เมอ่ื จะเชอื่ มจะต้อง เชอื่ มทผี่ วิ หนา้ ของขอบชน้ิ งาน

ชนิดของรอยต่อ รอยต่อเกย (LAP JOINT) คอื การ นาชน้ิ งานสองชน้ิ มาวางในลกั ษณะ ซ้อนกนั แนวเชอื่ มทเ่ีกดิ ขน้ึ จะรบั แรงเฉอื นใชก้ บั การเชอ่ื มด้วยความ ต้านทาน เช่น เชอ่ื มจุดหรอื ใชร้ อย เชอื่ มอุด

ชนิดของรอยต่อ รอยต่อรปู ตวั ที (T-JOINT) คอื การนาขอบของชน้ิ งานชน้ิ หนงึ่ วาง ตงั้ ลงบนผวิ ชน้ิ งานอกี ชน้ิ หนง่ึ ใหม้ ลี กั ษณะเป็นรปู ตวั อกั ษร T จะ บากงานหรอื ไม่ขน้ึ อยู่กบั ความหนา ของชน้ิ งาน รอยต่อรปู ตวั ทจี ดั เป็น รอยเชอ่ื มแบบ ฟิลเลท็ (Fillet Weld)

ข้อบกพร้องของการเชื่อม ในงานเช่ือมโลหะด้วยไฟฟ้ า ลักษณะข้อบกพร่อง สาเหตุ 1. ความเรว็ ในการเดนิ ลวด เชอ่ื มชา้ เกนิ ไป 2. ทามุมลวดเชอื่ มไม่ถูกต้อง 3. ระยะอาร์คชดิ หรอื ตงั้ กระแสไฟต่าเกนิ ไป 1. วธิ ีแก้ไข เดนิ ลวดเชอ่ื มใหเ้ รว็ ขน้ึ 2. ตงั้ มุมลวดเชอ่ื มใหถ้ ูกตอ้ ง 3. ปรบั ระยะอาร์ค และตง้ั กระแสไฟใหถ้ ูกตอ้ ง

ข้อบกพร้องของการเชื่อม ในงานเช่ือมโลหะด้วยไฟฟ้ า ลักษณะข้อบกพร่อง สาเหตุ 1.กระแสไฟสูงเกนิ ไป 2. ระยะอาร์คสูงเกนิ ไป 3. ใชล้ วดเชอื่ มผดิ ประเภท 4. ใชข้ ว้ั ไฟไม่ถูก (DCRP, DCSP) 5. การเฉของลาอาร์ค (ARC BLOW) วธิ ีแก้ไข 1.ปรบั กระแสไฟใหเ้ หมาะสม 2. ปรบั ระยะอาร์คให้ถูกต้อง 3. เลอื กลวดเชอื่ มใหเ้ หมาะกบั งาน 4. ตงั้ ขวั้ ไฟใหถ้ ูกตอ้ ง 5. ปรบั ระยะอาร์คให้ชดิ

ข้อบกพร้องของการเช่ือม ในงานเช่ือมโลหะด้วยไฟฟ้ า ลักษณะข้อบกพร่อง สาเหตุ 1. ปรบั กระแสไฟสูง หรอื ต่าเกนิ ไป 2. ใช้ลวดเชอ่ื มผดิ ประเภท 3. ความร้อนสะสมบนช้นิ งานมาก 4. ระยะอาร์คไม่สม่าเสมอ 5. เดนิ ลวดเชอื่ มไม่สม่าเสมอ วธิ ีแก้ไข 1. ปรบั กระแสไฟให้เหมาะสม 2. เลอื กลวดเชอ่ื มใหเ้ หมาะสมกบั งาน 3. หยุดพกั บา้ งอยา่ เชอื่ มตดิ ต่อกนั หลายแนว 4. รกั ษาระยะอาร์คใหค้ งท่ี 5. รกั ษาความเรว็ ใหเ้ หมาะสมและคงท่ี

ข้อบกพร้องของการเช่ือม ในงานเชื่อมโลหะด้วยไฟฟ้ า ลักษณะข้อบกพร่อง สาเหตุ 1. ปรบั กระแสไฟต่าเกนิ ไป 2. ชน้ิ งานสกปรก 3. สายดนิ ไมแ่ นน่ 4. ฟลกั ซ์คลุมปลายลวดเชอื่ ม วธิ ีแก้ไข 1.ปรบั กระแสไฟใหถ้ ูกต้อง 2. ทาความสะอาดช้นิ งาน 3. จบั สายดนิ ใหแ้ น่น 4. เคาะฟลกั ซ์ทปี่ ลายออก

ข้อบกพร้องของการเชื่อม ในงานเชื่อมโลหะด้วยไฟฟ้ า ลักษณะข้อบกพร่อง สาเหตุ 1.เนอ่ื งจากเสน้ แรงแมเ่ หลก็ มกั เกดิ กบั การเชอ่ื มด้วย กระแสตรง วธิ ีแก้ไข 1. ใชแ้ ท่งเหลก็ วางบนชน้ิ งาน เพอ่ื เปลยี่ นทศิ ทางเสน้ แรงแม่เหลก็ 2. เปลย่ี นทจี่ บั สายดนิ ใหม่ 3. เวลาเชอื่ มเรมิ่ ต้นจากใกล้ ๆ ทจี่ บั สายดนิ ออก 4. ใช้ระยะอาร์คสน้ั ๆ

ความปลอดภยั ในการเช่ือมแกส๊ 1. พนื้ ท่ีเช่ือมแกส็ ต้องมีอากาศถา่ ยเทสะดวก แสงสว่างเพียงพอไมม่ ีวสั ดไุ วไฟ 2. ติดตงั้ อปุ กรณ์ ดบั เพลิงที่หยิบง่าย มีอปุ กรณ์ และยาในการปฐมพยาบาลเบอื้ งต้น 3. ทาํ เส้นแสดงขอบเขตพนื้ ท่ีอนั ตราย ป้ ายเตือนให้ชดั เจน...

4. ห้ามใช้นํ้ามนั จาระบใี นระบบข้อต่อ 5. ไมค่ วรกลิ้งถงั แกส็ ในแนวนอนควรกลิ้งโดยเอียงท่อ แล้วหมนุ ท่อหรือใช่รถเขน็ 6. การตรวจสอบรอยรวั่ ควรใช่น้ําสบหู่ รือนํ้า ผงซกั ฟอกเท่านัน้ 7. ติดตงั้ ถงั แกส็ ให้มนั่ คงแขง็ แรง 8. ห้ามจดุ เปลวไฟจากโลหะท่ีร้อนไมข้ ีดหรือจดุ จากผู้ ปฎิบตั ิงานคนอ่ืน ควรใช่ท่ีจดุ เปลวไฟเท่านัน้ 9. ปฏิบตั ิ ตามกฎโรงงานอยา่ งเครง่ ครดั ...

1.2 เครอ่ื งมือและอปุ กรณใ์ นการเช่ือมแกส๊



รปู รถเขน็ และยดึ ถงั แกส๊

ชุดเคร่ืองมืออุปกรณ์ เช่ือมและตดั ด้วยแก๊ส

1 ท่อบรรจุแกส็ ออกซิเจน (OXYGEN CYLINDER) คณุ ลกั ษณะ เป็นท่อไม่มีตะเขบ็ หนาไม่น้อยกว่า 9 มม. ทนความดนั นํ้าได้ 3360 PSI โดยไม่ได้รบั ความเสียหาย...

แสดงส่วนประกอบท่อแก็สอ๊อกซเิ จน ขนาด 220 ลูกบาศก์ฟุต (ประมาณ 6 ลูกบาศก์เมตร)

ภาพตดั ภายในท่อแก็สอ๊อกซิเจน REMOVABLE METAL CAP ฝาครอบป้ องกนั วาล์วหัวถงั ออกซิเจน มหี น้าทป่ี ้ องกนั วาล์วหัวถังชารุด อนั เนื่องมาจากการขนส่งหรือ อบุ ัตเิ หตลุ ้มลง ถ้าไม่มฝี าครอบ วาล์วดงั กล่าวแล้ว เมอื่ เกดิ อุบัตเิ หตุ ดงั กล่าวขนึ้ อาจทาให้ออกซิเจน ภายในถังไหลออกมาช่วยการเผาไหม้ วสั ดุข้างเคยี งได้ หรืออาจทาให้ถังพ่งุ เหมอื นจรวจ

2. ท่อบรรจุ แกส็ อะเซติลนี (ACETYLENE CYLINDER) ลักษณะเกลียวข้อต่อเป็ นเกลียวขวา ความดนั เม่ือบรรจุแกส็ เตม็ ถัง 2200 PSI ขนาดของท่อปริมาตร 6 ลูกบาศก์เมตร เป็ นท่อความดันสูงทาํ ด้วยเหลก็ กล้า คาร์ บอนสูง...

ท่อแก๊สอะเซตลิ ีน Safety Fuse plugs เช่ือมตดิ ไว้ด้วยวสั ดุทม่ี จี ดุ หลอมเหลวตา่ เอาไว้ เมอื่ มอี่ ุณหภูมิ 212 องศาฟาเรนไฮต์ ปลก๊ั จะหลดุ เพอื่ ให้แก๊สระบายทงิ้ ซึ่งเป็ นการป้ องกนั การระเบิด

3.เครอ่ื งควบคมุ ความดนั (RECGULATORS) Lo เกรดวดั ความดนั ต่า Hi เกรดวดั ความดนั สูง Lo Hi Lo Hi สีแดงสาํ หรับC2H2 สีเขียวสาํ หรับO2

ภาพตดั ส่วนประกอบ ภายในเครื่องควบคุมความดนั

4. ทอรช์ เช่ือม มหี น้าท่ี เป็ นท่ีจับสาหรับเช่ือมและเป็ นห้องผสมแก็ส พร้อมท้ังควบคมุ การไหลของแก๊ส ให้ได้อัตราส่วนผสม ท่ีเหมาะกับการใช้งาน...

1.2.4 หวั ทิพ เป็ นอุปกรณ์ท่ปี ระกอบส่วนปลายทอร์ชเช่อื ม มีหน้าท่ใี ห้แกส็ ท่ปี รับส่วนผสมแล้วไหลผ่าน เพ่อื เกดิ เป็ นเปลวไฟ สาํ หรับเช่อื ม ถอดเปล่ียนได้ตามความหนาของโลหะ...

5. เขม็ แยงหวั ทพิ (Tip Cleaner) ใช้ทาํ ความสะอาดหวั ทพิ การแยงเข้าไปทาํ ความสะอาด เขม็ แยง ซ่งึ มี ลักษณะคล้ายตะไบกลมเล็กๆ มหี ลายขนาด ให้เลือกใช้ตามความโตของหวั ทพิ ...

เขม็ แยงหวั ทพิ

6. ท่จี ุดเปลวไฟ(FRICTION LIGHTER)การจุดเปลวไฟเช่ือมจะต้องใช้ท่จี ุดเปลวไฟทุกครัง้ อย่าจุด ไฟด้วยไม้ขีด หรือต่อไฟจากหวั เช่ือมอ่นื การจุดไฟด้วยไม้ ขีดไม่ปลอดภยั เน่ืองจากไม้ขีดอยู่ใกล้ไฟเกนิ ไป อาจทาํ ให้ เกดิ ระเบดิ ได้ Friction Lighter ประแจ

7. ประแจ(WRENCH) ประแจท่ใี ช้กบั อุปกรณ์เช่อื มแก๊ส เป็ นประแจพเิ ศษ ท่ผี ลิตจากโรงงานผู้ผลติ อุปกรณ์เช่ือม ให้มขี นาดพอดกี ับอุปกรณ์เช่ือม

8. แว่นตาเช่ือมแก๊ส(WELDING GOGGLE) แบบเลนซเ์ ดี่ยว จะมเี ลนซ์เป็ นรูปส่ีเหลย่ี มผนื ผ้าขนาด 50x100 มม. เหมาะสาหรับผู้ปฏบิ ัตงิ านเช่ือมท่มี ีสายตาสัน้ จาเป็ นต้องใส่แว่นสายตาทาการเช่อื ม...

แบบเลนซ์คู่ ลักษณะแว่ นตาจะมีเลนซ์ รูปร่ างกลม จานวน 2 อัน ขนาดเส้นผ่าศูนย์กลาง 50 มม. ประกอบอยู่ เหมาะสาหรับผู้ปฏบิ ัตงิ านเช่ือมโดยท่วั ไป

สายยางเช่อื ม สายแก๊ส C2H2 สายแก๊ส O2 (สีแดง) (สีเขยี ว)

สายยางเช่ือมชนิดสายคู่

กันไฟกลับหรือบางครัง้ อาจเรียกว่า CHECK VALVE สาํ หรับอะเซทลิ ีน สังเกตุได้จากรอยบากตรงกลาง สาํ หรับออกซิเจน

การประกอบข้อต่อและวาล์วกนั กลับ ทศิ ทางการไหลชองออกซเิ จน ทศิ ทางการไหลของแก๊ส



ความหมายของการเช่ือมแกส๊ การเช่อื มแก๊ส หมายถงึ การทาํ ให้ โลหะ หลอมละลายตดิ กนั โดยอาศัยความร้อนท่ี เกดิ จากการ เผาไหม้ของแก๊สเชือ้ เพลิง และ ออกซเิ จน เป็ นเปลวไฟหลอมให้โลหะตดิ กัน โดยอาจเตมิ โลหะลวดเช่ือมหรือไม่เตมิ ก็ได้...



จุดเปลวไฟ

ชนิดเปลวไฟในการเช่ือม มี 3 เปลว 1. เปลวคาร์บไู รซ่งิ มีปริมาณแก๊สอะเซตทลิ ีน มากกว่า แก๊สออกซเิ จน อตั รา 2:1 ให้ความร้อนประมาณ 3000-3150 C ใช้เช่อื มอลูมเิ นียมและบดั กรี C2H2มากกว่าO2

2. เปลวนิวตรัลเฟลม มีปริมาณแก๊สอะเซตทลิ ีนและแก๊สออกซเิ จน ในอัตราเท่ากัน C2H2=O2

3. เปลวออกซไิ ดซ่งิ มีปริมาณแก๊สอะเซตทลิ ีนและแก๊สออกซเิ จน ในอัตรา 2:1ให้ความร้อนประมาณ 3400 C C2H2น้อยกว่าO2

ลกั ษณะการเช่ือมแกส๊ มี 2 ลักษณะ คือ 1. การเช่ือมแบบ Backhand 2. การเช่ือมแบบ Forehand

1. การเชื่อมแบบ BACK HAND คือ การควบคมุ ให้เปลวเชื่อมพ่งุ ไปในทิศทาง ตรงข้ามกบั ทิศทางของการเช่ือม และถ้าใช้ลวดเช่ือมด้วย ลวดเชื่อมจะตามหลงั เปลวเชื่อม วิธีนี้ โลหะงานจะได้รบั ความร้อนมาก จึงเหมาะสาํ หรบั เช่ือมแผน่ โลหะ ที่มีความหนาตงั้ แต่ 1/4“(3 มม.) ขึ้นไป...

การเช่ือม BACKHAND

2. การเช่ือมแบบ FORE HAND คือการควบคมุ ให้เปลวเชื่อมพ่งุ ไปในทิศทางเดียวกบั ทิศทางการ เช่ือม และถา้ ใช้ลวดเช่ือม

การเช่ือม FOREHAND

ลกั ษณะรอยต่อมี 5 แบบคือ 1. ต่อมุม 2. ต่อขอบ 3. ต่อชน 4. ต่อเกย 5. ต่อตัวที

ลกั ษณะรอยต่อ ต่อชน ต่อตวั ที ต่อมมุ ต่อเกย


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook