เอกสารประกอบการสอน วิ ช า ง า น เ ชื่ อ ม แ ล ะ โ ล ห ะ แ ผ่ น เ บื้ อ ง ต้ น หน่วยที่ 6 รอยต่อและตำแหน่งท่าเชื่อม วิลาศ พลพุทธ วิทยาลัยเทคนิคชุมพร
110 แผนการจดั การเรยี นร้ทู ี่ 6 สอนครั้งท่ี 9 เรื่องรอยตอ่ และตําแหน่งท่าเช่อื ม
111 แผนการจัดการเรียนรทู้ ่ี 6 ชือ่ เรอ่ื ง ชอ่ื วชิ า งานเชือ่ มและโลหะแผน่ เบ้อื งต้น เวลาเรียนรวม 4 ชวั่ โมง ชื่อหน่วย รอยตอ่ และตําแหน่งท่าเชื่อม สอนครั้งที่ 9 รอยตอ่ และตําแหน่งท่าเชื่อม จาํ นวน 4 ช่วั โมง หัวขอ้ เรอ่ื ง 6.1 ความหมายของรอยต่อ 6.2 ชนดิ ของรอยตอ่ ที่ใช้ในงานเช่ือม 6.3 การบากร่องรอยต่อ 6.4 ชนิดของรอยเชอื่ ม 6.5 ชอ่ื สว่ นตา่ งๆของแนวเชื่อม 6.6 ตาํ แหน่งทา่ เชื่อม 6.7 การสร้างบอ่ หลอมเหลว 6.8 การเชือ่ มเดนิ แนวท่าราบแบบ Forehand สาระสําคัญ การเช่ือมแก๊สเป็นการเชื่อมที่ผู้ปฏิบัติงาน จะต้องมีความรู้ความเข้าใจเก่ียวกับชนิดของรอยต่อ และ ตําแหน่งของท่าเชื่อมต่างๆ ลักษณะงานบางชนิดอาจะใช้รอยต่อและตําแหน่งท่าเชื่อมท่ีต่างกันซึ่งองค์ประกอบ เหล่าน่ีจะส่งผลให้งานท่ีไดม้ คี ุณภาพ และทาํ ใหง้ านท่ีปฏบิ ตั กิ ารเชือ่ มมคี วามแข็งแรง สมรรถนะหลกั (สมรรถนะประจําหนว่ ย) แสดงความรู้เกี่ยวกับรอยตอ่ และตาํ แหนง่ ทา่ เช่อื ม สมรรถนะย่อย (สมรรถนะการเรียนรู้) สมรรถนะทั่วไป (ทฤษฏี) 6.1 แสดงความรู้เก่ยี วกบั ความหมายของรอยตอ่ 6.2 แสดงความรู้เกย่ี วกบั ชนดิ ของรอยตอ่ ทใ่ี ช้ในงานเชื่อม 6.3 แสดงความรูเ้ กย่ี วกับการบากร่องรอยตอ่ 6.4 แสดงความรเู้ กย่ี วกบั ชนิดของรอยเชื่อม 6.5 แสดงความร้เู กีย่ วกบั ชื่อส่วนต่างๆของแนวเชื่อม 6.6 แสดงความรู้เก่ียวกบั ตาํ แหน่งทา่ เชอ่ื ม 6.7 แสดงทกั ษะในการสร้างบอ่ หลอมเหลว
112 แผนการจดั การเรียนรูท้ ี่ 6 ช่อื วิชา งานเช่อื มและโลหะแผน่ เบือ้ งตน้ เวลาเรียนรวม 4 ช่วั โมง ชอ่ื หนว่ ย รอยตอ่ และตาํ แหน่งท่าเชือ่ ม สอนครงั้ ท่ี 9 ชือ่ เร่ือง รอยต่อและตําแหนง่ ทา่ เชือ่ ม จาํ นวน 4 ช่วั โมง 6.8 แสดงทกั ษะในการเชอื่ มเดนิ แนวท่าราบแบบ Forehand สมรรถนะทีพ่ งึ ประสงค์ (ทฤษฏี) เมื่อผู้เรยี นไดศ้ ึกษาเนอ้ื หาในบทนแ้ี ล้ว ผ้เู รียนสามารถ 6.1 บอกความหมายของรอยตอ่ ได้ถกู ตอ้ ง 6.2 บอกชนิดของรอยตอ่ ทีใ่ ชใ้ นงานเชอ่ื มได้ถูกตอ้ ง 6.3 บอกการบากรอ่ งรอยตอ่ ไดถ้ กู ต้อง 6.4 บอกชนิดของรอยเช่อื มได้ถกู ตอ้ ง 6.5 บอกชอ่ื สว่ นต่างๆของแนวเชื่อมไดถ้ กู ต้อง 6.6 บอกตาํ แหน่งท่าเชอื่ มได้ถูกตอ้ ง 6.7 ปฏิบตั งิ านสรา้ งบ่อหลอมเหลวไดถ้ กู ตอ้ ง 6.8 ปฏิบัติงานเช่อื มเดนิ แนวทา่ ราบแบบ Forehandได้ถูกตอ้ ง กิจกรรมการเรียนการสอน ในการจัดกจิ กรรมการเรียนรแู้ ละรปู แบบการจกั การเรียนรู้แบบแบ่งกล่มุ ผู้เรียนคละความสามารถ (เก่ง–ปานกลาง–อ่อน)เป็นกลมุ่ ๆ เน้นรปู แบบการจดั การเรยี นรู้แบบรว่ มมือเทคนิค STAD (เพ่อื นชว่ ยเพื่อน) ร่วมกบั การเรยี นแบบผสมผสาน(Blended Learning) รว่ มกับสื่อการสอนออนไลน์ กิจกรรมการเรยี นการสอน (สอนคร้งั ที่ 9 ) เวลา 4 ชัว่ โมง/สปั ดาห์ การนาํ เขา้ สู่บทเรยี น 1. ครูเรียกช่อื สํารวจการแตง่ กายของนกั ศึกษา การเตรยี มเครื่องมอื และอุปกรณ์ พรอ้ มท้ังบันทึก ลงในแบบประเมนิ ผลคณุ ธรรม จริยธรรม 2. ครูแจง้ จุดประสงคป์ ระจาํ หนว่ ยการเรียนรู้และความสาํ คัญของเนื้อหาซ่ึงจะเป็นพ้นื ฐานในการ เรียนรู้เร่อื งอื่นต่อไป 3. ผเู้ รยี นทาํ แบบทดสอบกอ่ นเรยี น โดยใชแ้ บบทดสอบกอ่ นเรียนแบบออนไลน์ ทําเสรจ็ แลว้ ผู้เรียน ฟังครเู ฉลยและแจ้งผลการประเมนิ แบบทดสอบกอ่ นเรียน 4. ครผู ู้สอนใหน้ กั เรียน อธบิ ายถึงความสาํ คญั เกี่ยวกบั รอยต่อและตาํ แหนง่ ทา่ เชื่อม
113 แผนการจัดการเรียนรู้ท่ี 6 ชอ่ื วิชา งานเชื่อมและโลหะแผ่นเบ้ืองตน้ เวลาเรียนรวม 4 ช่วั โมง ชอื่ หนว่ ย รอยตอ่ และตาํ แหนง่ ทา่ เชอื่ ม สอนคร้ังท่ี 9 ชอ่ื เรอ่ื ง รอยต่อและตาํ แหนง่ ทา่ เช่ือม จํานวน 4 ชว่ั โมง ขัน้ การสอน ทฤษฏี 1.ครใู ชส้ อ่ื เพาเวอร์พอยต์สลบั กบั คลิปวิดีโอในการนาํ เสนอความรเู้ ก่ียวกับรอยต่อและตําแหนง่ ท่า เชือ่ ม 2.ครใู ห้นักเรยี นแตล่ ะกลุม่ ชว่ ยกนั สรปุ ความรคู้ วามเขา้ ใจในหัวข้อต่าง ๆ และตอบคาํ ถาม ในหวั ขอ้ ต่างทอ่ี าจจะเกิดความสับสน หรอื ไม่เขา้ ใจ เพ่ือใหผ้ ้เู รียนได้เกดิ ความรู้ ความเขา้ ใจเนอ้ื หามากยิง่ ขนึ้ ปฏิบัติ สปด.ท่ี 9 งานสรา้ งบ่อหลอมเหลว 1.ผู้สอนช้แี จงรายละเอยี ดเก่ียวกับจดุ ประสงคร์ ายวชิ า สมรรถนะรายวิชา การวัดและประเมินผล การเรียนรายวิชา คุณลักษณะอันพงึ ประสงคข์ องรายวชิ า และข้อตกลงในการจัดการเรียนการสอนในรายวชิ า 2.ครูผู้สอนใหผ้ ู้เรยี นแบ่งกลมุ่ ผเู้ รียนคละความสามารถ (เกง่ –ปานกลาง–อ่อน)เป็นกลุ่มๆ ศกึ ษาใบ ความรู้ ใบงาน 3.ผ้สู อนอธิบายใบความรทู้ ี่ 9 เร่อื งการสร้างบ่อหลอมเหลว 4.ครสู าธติ การปฏบิ ัติงานสรา้ งบ่อหลอมเหลว 5. ใหน้ กั เรยี นแตล่ ะกลมุ่ ได้ลงปฏิบัติงาน โดยใหแ้ ตล่ ะคนชว่ ยกันดูการทํางานของเพื่อนในกลมุ่ ที่ได้ แบง่ ไวแ้ ลว้ 6. ใหน้ ักเรยี น นาํ ช้ินงานทไี่ ด้ปฏิบัติมาสง่ ครเู พื่อตรวจประเมินผล และใหใ้ นกล่มุ มสี ว่ นร่วมในการ วิพากษก์ ารทํางานของเพื่อนร่วมกลุ่ม สปด.ที่ 9 งานเช่ือมเดนิ แนวทา่ ราบแบบ Forehand 1.ผู้สอนชี้แจงรายละเอยี ดเกยี่ วกับจุดประสงคร์ ายวิชา สมรรถนะรายวชิ า การวัดและประเมินผล การเรียนรายวชิ า คุณลกั ษณะอันพงึ ประสงค์ของรายวชิ า และข้อตกลงในการจัดการเรียนการสอนในรายวชิ า 2.ครูผสู้ อนใหผ้ ้เู รยี นแบง่ กลมุ่ ผเู้ รียนคละความสามารถ (เก่ง–ปานกลาง–ออ่ น)เป็นกลุ่มๆ ศึกษาใบ ความรู้ ใบงาน 3.ผู้สอนอธิบายใบความรูท้ ่ี 9 เร่อื งการเช่อื มเดินแนวทา่ ราบแบบ Forehand 4.ครสู าธติ การเชือ่ มเดินแนวทา่ ราบแบบ Forehand 5. ใหน้ กั เรียนแต่ละกลุ่มได้ลงปฏิบตั งิ าน โดยใหแ้ ต่ละคนชว่ ยกันดกู ารทาํ งานของเพ่ือนในกลมุ่ ทไ่ี ด้ แบง่ ไวแ้ ลว้ 6. ใหน้ ักเรียน นาํ ชิ้นงานทไี่ ดป้ ฏิบัตมิ าสง่ ครเู พอื่ ตรวจประเมนิ ผล และให้ในกลุ่มมสี ว่ นร่วมในการ
114 แผนการจัดการเรยี นรู้ที่ 6 ชอื่ วิชา งานเชื่อมและโลหะแผ่นเบอื้ งตน้ เวลาเรียนรวม 4 ช่ัวโมง ช่ือหนว่ ย รอยต่อและตาํ แหน่งท่าเชอ่ื ม สอนคร้ังท่ี 9 ชือ่ เรื่อง รอยตอ่ และตําแหน่งท่าเช่ือม จํานวน 4 ชวั่ โมง วิพากษก์ ารทาํ งานของเพือ่ นรว่ มกล่มุ การวัดผลและประเมนิ ผล ทฤษฎี 1. ครูสง่ แบบทดสอบหลงั เรยี นเรอ่ื งรอยต่อและตําแหน่งทา่ เชอ่ื มใหน้ กั เรยี นปฏบิ ัติตามคําสัง่ ของ แบบทดสอบ 2 ครูตรวจและเก็บคะแนนประจําแบบทดสอบเรื่องรอยตอ่ และตาํ แหนง่ ท่าเช่อื ม 3. ครเู ฉลยขอ้ สอบเพือ่ ให้นักเรยี นทบทวนความร้เู พอ่ื แก้ไขสว่ นท่ผี ิดในการเรียนเรื่องรอยต่อและ ตําแหน่งทา่ เช่อื ม 4. ครูเน้นยํา้ ให้นักเรยี นตระหนกั ถงึ หลกั ปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพยี งในสว่ นของ ความสนใจใฝ่รู้ ความมวี นิ ยั ตรงต่อเวลา และอย่อู ย่าง ปฏิบตั ิ ( ใบงานที่ 9 ) 1. ใหใ้ นกลมุ่ มสี ว่ นรว่ มในการวิพากษก์ ารทํางานของเพ่อื นรว่ มกลุ่ม 2. ครตู รวจประเมนิ ผลจากการปฏบิ ตั ิงานตามแบบประเมนิ ผลการปฏบิ ตั ิงานและเก็บคะแนน 3. ครปู ระเมนิ ผลด้านคณุ ลักษณะที่พงึ ประสงค์ ประกอบดว้ ย ผเู้ รียนมเี จตคตทิ ีด่ ี สามารถปฏิบัตขิ อง ตนไดโ้ ดยมีมนษุ ยสมั พันธท์ ด่ี ี มคี วามรับผิดชอบ มวี นิ ัย มีความซื่อสัตย์ มีความปลอดภัย มคี วามประหยดั มี ความสนใจใฝ่รู้ มกี ตัญญูกตเวที มีความคิดสร้างสรรค์ ตระหนักถงึ ความละเอียดรอบคอบ ปลอดภัย เปน็ ระเบียบ สะอาด ตรงตอ่ เวลา และอยู่อยา่ งพอเพียง การสรุป - ครูผ้สู อนกับผ้เู รียนรว่ มกันสรุปเน้อื หาภาคทฤษฎเี พ่อื เปน็ แนวคดิ สําคัญ เพ่อื ให้ ผู้เรียนไดน้ ําไปใชง้ านใน ภาคปฏบิ ัตไิ ดอ้ ยา่ งถูกตอ้ งต่อไป - ครสู รปุ ทบทวนในทางปฏิบัติ โดยใช้คําถามกระตุน้ นักเรยี นใหน้ ักเรยี นใช้เหตผุ ลจากความรู้ทเ่ี รยี นใน เร่ืองรอยต่อและตาํ แหนง่ ทา่ เช่ือม สอื่ การสอน 1. เอกสารประกอบการสอน ใบงาน/ใบความรู้ 2. ส่อื นาํ เสนอ Canva/ Power Point 3. ระบบการสอนแบบออนไลน์ Microsoft Teams 4. หนังสอื เรยี น งานเช่อื มโลหะเบอ้ื งต้น รหสั วิชา 20100-1004
115 แผนการจดั การเรยี นร้ทู ่ี 6 ชือ่ วิชา งานเช่อื มและโลหะแผน่ เบือ้ งต้น เวลาเรียนรวม 4 ช่ัวโมง ชอ่ื หนว่ ย รอยต่อและตาํ แหนง่ ท่าเชื่อม สอนครง้ั ท่ี 9 ชอื่ เรือ่ ง รอยตอ่ และตําแหน่งท่าเชือ่ ม จํานวน 4 ช่วั โมง งานทม่ี อบหมาย/กิจกรรม ใหน้ ักเรียนทาํ แบบฝึกเสริมทักษะท้ายหน่วยการเรยี นท่ี 6 การวัดและประเมนิ ผล 1 กอ่ นเรยี น - แบบทดสอบกอ่ นเรยี น จาํ นวน 10 ขอ้ 2 ขณะเรียน - แบบฝกึ หัดเรอ่ื ง รอยต่อและตําแหนง่ ท่าเช่ือม 3 หลังเรียน - แบบทดสอบหลงั เรียน จํานวน 10 ข้อ - การวดั และประเมนิ ผลพฤตกิ รรม คุณธรรม จรยิ ธรรม และคุณลักษณะอันพึงประสงค์ เกณฑ์การประเมนิ ผล 1 ดา้ นทฤษฎี 1.1 แบบทดสอบกอ่ นเรียน มจี ํานวน 10 ขอ้ ไม่นาํ ผลมาประเมนิ แตน่ ํา มาเปรยี บเทยี บ ผลสมั ฤทธ์ิ ทางการเรียนก่อนเรียนกับหลังเรียนของเอกสารประกอบการเรียนการสอนเทา่ น้นั 1.2 แบบฝกึ หดั มจี าํ นวน 10 ขอ้ ผ้เู รียนต้องผ่านเกณฑไ์ มน่ ้อยกวา่ รอ้ ยละ 70 1.3 แบบทดสอบหลังเรยี น มจี ํานวน 10 ขอ้ ผู้เรยี นต้องผา่ นเกณฑไ์ มน่ อ้ ยกว่ารอ้ ยละ 70 2 ด้านทักษะ หนว่ ยการเรียนรทู้ ี่ 6 ใบงานที่ 9 3 ด้านคุณธรรม จริยธรรม และคณุ ลกั ษณะอันพงึ ประสงค์ ผู้เรยี นทกุ คนต้องผา่ นเกณฑก์ ารประเมนิ จากตารางประเมนิ ผลดา้ นคณุ ธรรม จรยิ ธรรม และ คณุ ลักษณะอันพึงประสงคโ์ ดยเป็นการสังเกตพฤติกรรมของผ้เู รยี นเป็นรายบคุ คล ช่วงกอ่ นเรียน ขณะเรียน และ หลงั เรยี น ซงึ่ เปน็ ตารางการประเมนิ แบบตรวจสอบรายการ จํานวน 10 ขอ้ ๆละ 1คะแนน ซึ่งใช้เกณฑ์ การประเมนิ ดังนี้ คะแนน 9 – 10 หมายถงึ ระดับการประเมินพฤตกิ รรม ดีมาก คะแนน 7 – 8 หมายถึง ระดบั การประเมินพฤติกรรม ดี คะแนน 5 – 6 หมายถงึ ระดบั การประเมนิ พฤตกิ รรม พอใช้ คะแนน 0 – 4 หมายถึง ระดบั การประเมนิ พฤติกรรม ตอ้ งปรับปรุง
116 รหัสวิชา 20106-2109 เนื้อหา หนว่ ยท่ี 6 ชอื่ วิชา งานเช่อื มและโลหะแผน่ เบอ้ื งตน้ ชอื่ หน่วย รอยตอ่ และตาํ แหน่งทา่ เช่อื ม ชื่อเร่ือง รอยตอ่ และตําแหน่งทา่ เชอ่ื ม จาํ นวน 4 ช่วั โมง 6.1 ความหมายของรอยตอ่ 6.2 ชนิดของรอยต่อท่ีใชใ้ นงานเชอ่ื ม 6.3 การบากร่องรอยตอ่ 6.4 ชนิดของรอยเชอื่ ม 6.5 ช่อื ส่วนตา่ งๆของแนวเชอื่ ม 6.6 ตําแหน่งทา่ เชื่อม 6.7 การสร้างบอ่ หลอมเหลว 6.8 การเช่อื มเดนิ แนวท่าราบแบบ Forehand
117 แบบฝกึ เสรมิ ทกั ษะหนว่ ยการเรยี นที่ 6 ช่อื เรอื่ ง รหสั วิชา 20100-1004 ช่ือวชิ า งานเชอ่ื มและโลหะแผน่ เบื้องตน้ หน่วยที่ 6 ช่ือหนว่ ย รอยตอ่ และตําแหนง่ ท่าเชือ่ ม รอยต่อและตาํ แหน่งท่าเชื่อม จาํ นวน 4 ชัว่ โมง เฉลยแบบฝกึ หัดหนว่ ยที่ 6 คาํ ส่งั จงตอบคาํ ถามตอ่ ไปนี้ให้ถกู ต้อง 1.รอยต่อ หมายถงึ อะไร ตอบ การประสานหรือการต่อช้นิ สว่ นสองชนิ้ หรอื มากกว่า ซ่ึงอาจจะกระทาํ ไดโ้ ดยการยึดด้วยสกรู นัต การ บัดกรี หรอื วธิ กี ารเชือ่ ม 2.รอยต่อที่ใช้ในงานเช่อื มมกี ่ีแบบ อะไรบา้ ง ตอบ 5 แบบ คือ 1.รอยตอ่ ชน 2.รอยต่อเกย 3.รอยต่อขอบ 4. รอยต่อมมุ 5. รอยตอ่ ตัวที 3.จงอธิบายลกั ษณะของรอยเชื่อมสนั นนู ตอบ ลักษณะ เปน็ สันนูนขึ้นมาจะมขี นาดตา่ งๆ ข้นึ อย่กู ับการส่ายลวดเชื่อมหรือขนาดของลวดเชื่อม ใชใ้ นงาน เช่ือมพอกผวิ แข็งในงานซ่อมบาํ รุง เชอ่ื มพอกเสรมิ ชนิ้ งานใหส้ ูงขึน้ 4.จงอธิบายลกั ษณะของรอยเชอ่ื มร่อง ตอบ มีอยู่ด้วยกันหลายลักษณะซึง่ การใชง้ านจะข้ึนอยู่กับความหนาและการบากงานแบบตา่ ง ๆ ซึง่ รอยเช่อื ม ชนดิ นี้จะเชอื่ มโลหะงาน โดยเปดิ ระยะรอยต่อช้ินงานจะบากหนา้ งานหรือไมบ่ ากกไ็ ด้ 5.จงอธบิ ายลกั ษณะของรอยเชื่อมมมุ ตอบ เป็นรอยเชื่อมที่เกิดจากการวางชิ้นงานสองช้ินให้ต้ังฉากซึ่งกันและกัน ในการเช่ือมจะเชื่อมแนวเดียวหรือ หลายแนวกไ็ ดข้ น้ึ อยกู่ บั การออกแบบรอยเชอ่ื มและความหนาของงาน 6.ทา่ เชื่อมมีกี่ท่า อะไรบา้ งอธบิ าย 2.การเชื่อมท่าระดบั หรอื ขนานนอน ตอบ 4 ทา่ คือ 4.การเชือ่ มท่าเหนือศีรษะ 1. การเชอ่ื มท่าราบ 3.การเชือ่ มทา่ ตงั้ มีอยู่ 2 วิธี คือ 1. การเช่อื มท่าตั้งเชือ่ มขน้ึ 2. การเชอื่ มท่าต้งั เช่ือมลง
118 เฉลยแบบทดสอบหลงั เรียนหน่วยที่ 6 คาํ สง่ั จงทําเครอ่ื งหมายกากบาท () หน้าขอ้ ทถ่ี ูกที่สุดเพียงขอ้ เดียว 1. ข้อใดคอื ความหมายของรอยต่อท่ถี กู ต้องทส่ี ุด ก. การประสานหรือการต่อชิ้นส่วน 2 ช้นิ หรอื มากกว่า โดยการขนั ดว้ ยสกรู นัต หรือการเชอื่ ม ̷ ข. การทําให้ชนิ้ งานติดกัน ค. การทําให้ช้ินงาน 2 ช้นิ ตดิ กันโดยการบัดกรี ง. การทําใหว้ ัสดุหลอมเข้าด้วยกนั 2. รอยตอ่ ท่ใี ช้ในงานเช่ือมแบ่งออกเปน็ ก่ีแบบ ก. 2 ข. 3 ค. 4 ง. 5 ̷ 3. รอยต่อใดทม่ี ีลักษณะการนาํ ขอบช้ินงานท้ัง 2 ชิ้น มาวางให้ขอบชนกัน ก. รอยต่อชน ข. รอยตอ่ ขอบ ̷ ค. รอยต่อเกย ง. รอยตอ่ ตัวที 4. รอยตอ่ ใดที่มลี ักษณะการนําขอบชน้ิ งานทงั้ 2 ช้นิ มาวางซอ้ นเกยกัน ก. รอยต่อชน ข. รอยต่อขอบ ค. รอยตอ่ เกย ̷ ง. รอยตอ่ ตวั ที 5. รอยตอ่ ใดทีม่ ีลักษณะใชอ้ อกแบบสาํ หรบั งานบางๆ การเช่อื มไม่นิยมเติมลวด ก. รอยต่อชน ข. รอยตอ่ ขอบ ̷ ค. รอยตอ่ เกย ง. รอยตอ่ ตวั ที 6. รอยต่อใดที่มีลักษณะการตอ่ คลา้ ยๆกบั การเช่อื มแบบรอยต่อตัวทแี ตกต่างกนั ตรงทที่ ําการวางรอยตอ่ จะวาง ต้ังฉากกนั บริเวณรอยต่อชิน้ งานทัง้ 2 ก. รอยต่อชน ค. รอยตอ่ เกย ข. รอยต่อมมุ ̷ ง. รอยตอ่ ตัวที 7. รอยต่อใดท่ีมีลักษณะการวางช้ินงานตั้งฉากกันบนความกว้างของงานอีกแผ่นหนึ่ง จะมีการเติมลวดเช่ือม เพอื่ ใหช้ น้ิ งานมีความแขง็ แรง ก. รอยตอ่ ตัวที ̷ ข. รอยต่อมมุ ค. รอยตอ่ เกย ง. รอยตอ่ ชน 8. จากรูปคือลกั ษณะของการบากรอยต่อใด ก. รอยต่อชนบากเฉียงด้านเดียว ข. รอยต่อชนบากเฉียงสองดา้ น ̷ ค. ต่อชนบากตวั วดี า้ นเดยี ว ง. ตอ่ ชนบากตวั วีสองด้าน
119 9. จากรูปคอื ลักษณะของการบากรอยตอ่ ใด ก. รอยตอ่ ชนบากเฉยี งด้านเดียว ข. รอยต่อชนบากเฉียงสองด้าน ค. ต่อชนบากตวั ยดู า้ นเดยี ว ง. ต่อชนบากตัวยสู องด้าน ̷ 10. รอยเชอ่ื มใดท่มี ลี กั ษณะมีลกั ษณะเปน็ สันนนู ข้นึ มา มขี นาดต่างๆขนึ้ อยู่กบั การส่ายลวดเชือ่ ม ก. รอยเชอ่ื มร่อง ข. รอยเชือ่ มมมุ ค. รอยเช่อื มอุด ง. รอยเชือ่ มนูน ̷ 11. รอยเชือ่ มใดท่มี ีลักษณะการใชง้ านจะขนึ้ อยู่กับความหนา และการบากหน้างานแบบต่างๆ ก. รอยเชอ่ื มรอ่ ง ̷ ข. รอยเชื่อมมมุ ค. รอยเชอ่ื มอุด ง. รอยเชื่อมนูน 12. รอยตอ่ ใดทีม่ ลี ักษณะเกิดจากการวางช้ินงานสองชน้ิ ใหต้ ง้ั ฉากซ่ึงกันและกัน ก. รอยเชื่อมรอ่ ง ข. รอยเช่ือมมุม ̷ ค. รอยเชือ่ มอดุ ง. รอยเชอ่ื มนนู 13. รอยตอ่ ใดที่มีลกั ษณะ เกดิ จากการเชอ่ื มอุดรู และอุดรอ่ งบนช้นิ งานท่วี างในลกั ษณะเกยกัน ก. รอยเชือ่ มร่อง ข. รอยเชอ่ื มมมุ ค. รอยเชื่อมอุด ̷ ง. รอยเชือ่ มนูน 14. Welding Position หมายถึงอะไร ก. รอยต่อ ข. การบากร่อง ค. ชนิดของรอยเชอื่ ม ง. ทา่ เช่ือม ̷ 15. ROOT OPENING หมายถึงอะไร ก. ระยะหา่ งระหว่างรอยต่อของช้ินงานท้ังสอง ณ ส่วนลา่ งของแนวต่อ ̷ ข. ผิวหนา้ ตดั ของรอยต่อ ทตี่ ัดจากสว่ นล่างสดุ ของรอยตอ่ ค. ผิวหนา้ เอยี งของรอยต่อของชิ้นงานทงั้ สองตอ่ รอ่ งต่อ ง. ความหนาของชน้ิ งาน 16. ทา่ เชื่อมใดทม่ี ีลกั ษณะชิ้นงานจะวางอยูใ่ นลักษณะทต่ี งั้ ฉากกับแนวระนาบอยู่ในแนวดิ่ง ก. ทา่ ราบ ข. ท่าขนานนอน ค. ท่าตัง้ ̷ ง. ทา่ เหนือศีรษะ 17. ทา่ เช่ือมใดที่มีลกั ษณะทาํ การเชื่อมจากดา้ นลา่ งข้ึนด้านบน หัวทพิ เอียงทํามุม 25 – 80 องศา ก. ท่าราบ ข. ทา่ ต้งั เชื่อมลง ค. ทา่ ตั้งเชอ่ื มข้นึ ̷ ง. ท่าเหนอื ศีรษะ
120 18. ท่าเชื่อมใดเหมาะสาํ หรบั ชิ้นงานท่มี ีความหนาไมม่ ากนกั ทําการเชือ่ มจากดา้ นบนลงด้านลา่ ง คอื ก. ท่าราบ ข. ทา่ ตง้ั เช่ือมลง ̷ ค. ท่าตงั้ เชอ่ื มขน้ึ ง. ท่าเหนอื ศีรษะ 19. ข้อใดคอื ความแตกตา่ งระหวา่ งการเชื่อมทา่ ตงั้ เช่ือมลงและการเช่อื มท่าตั้งเชอ่ื มข้ึน ก. มมุ เอียงของหัวทพิ กบั ชิ้นงาน ̷ ข. เปลวไฟที่ใชใ้ นการเช่ือม ค. การเดินและการสา่ ยหัวทิพตอ้ งกระทาํ เรว็ กวา่ ง. การเดนิ และการสา่ ยหวั ทพิ ต้องกระทําเร็วกวา่ 20. ทา่ เชอ่ื มใดโลหะทห่ี ลอมละลายไหลย้อยลงมาดา้ นลา่ ง เป็นท่าเช่ือมที่ยาก ก. ทา่ ราบ ข. ทา่ ตงั้ เชื่อมลง ค. ทา่ ตั้งเช่อื มข้นึ ง. ทา่ เหนอื ศรี ษะ ̷
121 ใบงานท่ี 9 สอนคร้งั ท่ี 9 ชอ่ื รายวิชา งานเชื่อมโลหะเบอื้ งตน้ รหัส 20100 – 1004 ช่อื งาน : งานสรา้ งบอ่ หลอมเหลว เวลา 4 ชว่ั โมง แบบงาน วสั ดุ ขนาด จาํ นวน / ชิ้น เหล็กแบน St 37 100 X 50 X 3 มม. ลวดเช่อื มแกส๊ 1 ชิ้น Ø 2 มม. ยาว 36 น้วิ จุดประสงคเ์ ชงิ พฤตกิ รรม เครือ่ งมือและอุปกรณ์ 1 เตรียมเครื่องมอื และอปุ กรณเ์ ช่ือมแกส๊ ได้ถูกตอ้ ง 1.ถงั บรรจุแกส๊ ออกซเิ จนและถงั บรรจุแกส๊ 2 เปิดวาล์วแก๊สได้ถูกต้อง อะเซทลิ นี 3 สรา้ งและควบคุมบ่อหลอมละลายได้ถกู ตอ้ ง 2.อุปกรณป์ รับความดนั แกส๊ ออกซเิ จนและแกส๊ 4 ปดิ วาล์วแก๊สไดถ้ กู ตอ้ ง 5 ตรวจสอบความถกู ต้องได้ อะเซทลิ นี 6 เก็บเครื่องมอื ได้ 3.ทอรช์ เชื่อมแก๊ส 7 ทาํ ความสะอาดได้ 4.หัวทพิ 8 ปฏิบัตงิ านสร้างและควบคมุ บอ่ หลอมละลายได้ 5.สายยางและขอ้ ตอ่ 9 นําประโยชน์จากการศึกษาไปประยุกตใ์ ชใ้ นงาน 6.อุปกรณ์จุดเปลวไฟ 7.อปุ กรณก์ ันไฟยอ้ นกลบั อาชพี ได้ 8.ประแจสําหรบั เปดิ -ปิดแกส๊ 9.อปุ กรณป์ ้องกันร่างกายส่วนบคุ คล 10.น้าํ สบู่
122 ใบงาน (Job Sheet) หน่วยที่ 6 ชอ่ื หน่วย สอนคร้งั ท่ี 9 งานสร้างและควบคุมบ่อหลอมเหลว ชว่ั โมงรวม 4 จํานวนช่วั โมง 4 เครื่องมอื และอุปกรณ์ ลาํ ดบั ขนั้ การทาํ งาน 1. ถงั บรรจแุ ก๊สออกซเิ จนและถังบรรจแุ กส๊ 1. ใชป้ ระแจเปดิ วาล์วถงั แกส๊ อะเซทลิ ีนโดยให้หมุน เปิด ¼ - ½ รอบ อะเซทลิ ีน และใช้มือเปิดวาลว์ ทีถ่ ังแกส๊ ออกซเิ จนโดยใหห้ มนุ เปดิ ½ รอบ 2. อปุ กรณ์ปรบั ความดนั แก๊สออกซเิ จนและแก๊ส 2. ปรับอุปกรณ์ความดันแก๊สท้ังสองเพื่อนําไปใช้งาน โดยปรับความ อะเซทิลีน ดันแก๊สออกซิเจนอยู่ระหว่าง 25-35 ปอนด์ต่อตารางน้ิว และแก๊ส อะเซทิลนี ประมาณ 5 - 10 ปอนดต์ ่อตารางน้วิ 3. ทอร์ชเช่อื มแก๊ส 4. หัวทิพ 5. สายยางและขอ้ ตอ่ 3. ปรับเปลวไฟท่ีใช้ในการเช่ือมแก๊ส “ที่ใช้ในงานเชื่อมเหล็ก” ปรับ 6. อปุ กรณจ์ ดุ เปลวไฟ มุม-องศาของหัวเช่ือมท่ีทํากับชิ้นงานประมาณ 60 องศา ให้กรวยไฟ 7. อปุ กรณ์กันไฟย้อนกลบั ห่างจากชื้นงานประมาณ 3 มม. สร้างบ่อหลอมละลาย ความโต 8. ประแจสําหรบั เปดิ -ปิดแก๊ส ประมาณ 6 มม. เคลอ่ื นทไี่ ปทางหนา้ มอื อยา่ งสมํา่ เสมอ 9. อุปกรณป์ อ้ งกนั ร่างกายสว่ นบคุ คล 10. น้าํ สบู่ 4. ใช้ประแจปิดวาล์วถังแก๊สอะเซทิลีนให้แน่นแล้วปล่อยแก็สที่เหลือ ในท่อส่งแก๊สออก ปรับความดันแก๊สออกดูให้เกจวัดความดันกลับมา อยู่ในตําแหน่งเลข 0 ปิดวาล์วถังแก๊สออกซิเจนให้แน่นแล้วปล่อยแก็ส ที่เหลือในท่อส่งแก๊สออก ปรับความดันแก๊สออก ดูให้เกจวัดความดัน กลบั มาอยู่ในตาํ แหนง่ เลข 0 5. เกบ็ เครื่องมือและอุปกรณก์ ารเช่ือมแก๊สเขา้ ที่ 6.ทําความสะอาดพ้ืนทกี่ ารปฏิบัติงาน 7. ครตู รวจชน้ิ งาน-เครือ่ งแต่งกาย-ทรงผมและอ่นื ๆ การมอบงาน : ให้นกั เรียนศกึ ษาใบงานแลว้ ทําการสรา้ งบอ่ หลอมเหลว
ใบงานท่ี 9 123 ชอ่ื รายวิชา งานเช่ือมโลหะเบ้ืองต้น สอนครั้งท่ี 9 ชื่องาน : งานเชื่อมแก๊สต่อชนทา่ ราบ รหัส 20100 – 1004 แบบงาน เวลา 4 ช่ัวโมง วสั ดุ ขนาด จํานวน / ช้ิน เหล็กแบน St 37 100 X 50 X 3 มม. 2 ชนิ้ ลวดเชื่อมแก๊ส Ø 2 มม. ยาว 36 น้วิ จุดประสงคเ์ ชงิ พฤติกรรม เครือ่ งมอื และอุปกรณ์ 1 เตรยี มเครอื่ งมือและอปุ กรณเ์ ชื่อมแกส๊ ไดถ้ กู ต้อง 1.ถังบรรจแุ ก๊สออกซิเจนและถังบรรจแุ ก๊ส อะเซทลิ นี 2 เปิดวาลว์ แก๊สไดถ้ ูกตอ้ ง 2.อปุ กรณ์ปรบั ความดันแกส๊ ออกซิเจนและแก๊ส 3 เชอื่ มเดินแนวทา่ ราบแบบ Forehandไดถ้ ูกตอ้ ง อะเซทลิ นี 4 ปดิ วาลว์ แก๊สได้ถกู ต้อง 3.ทอร์ชเช่อื มแกส๊ 5 ตรวจสอบความถกู ตอ้ งได้ 4.หัวทิพ 6 เก็บเครื่องมือได้ 5.สายยางและข้อต่อ 7 ทําความสะอาดได้ 6.อุปกรณจ์ ุดเปลวไฟ 8 ปฏบิ ตั ิงานสรา้ งและควบคุมบ่อหลอมละลายได้ 7.อุปกรณ์กนั ไฟย้อนกลบั 9 นําประโยชนจ์ ากการศึกษาไปประยุกตใ์ ชใ้ นงานอาชพี ได้ 8.ประแจสาํ หรับเปดิ -ปิดแก๊ส 9.อุปกรณ์ป้องกันร่างกายส่วนบคุ คล 10.น้ําสบู่
124 ใบงาน (Job Sheet) หน่วยท่ี 6 ชอื่ หนว่ ย สอนครงั้ ที่ 9 งานเช่อื มแก๊สตอ่ ชนท่าราบ ช่วั โมงรวม 4 จํานวนชวั่ โมง 4 เครื่องมือและอปุ กรณ์ ลาํ ดบั ข้นั การทํางาน 1. ถงั บรรจแุ ก๊สออกซิเจนและถังบรรจแุ กส๊ 1. ใช้ประแจเปิดวาล์วถังแก๊สอะเซทิลีนโดยให้หมุน เปิด ¼ - ½ อะเซทิลีน รอบ และใช้มือเปิดวาล์วที่ถังแก๊ส ออกซิเจนโดยให้หมุนเปิด ½ 2. อุปกรณป์ รับความดนั แกส๊ ออกซเิ จนและแก๊ส รอบ 2. ปรับอปุ กรณ์ความดนั แก๊สท้ังสองเพอ่ื นาํ ไปใชง้ าน โดยปรับ อะเซทลิ นี ความดันแกส๊ ออกซเิ จนอยู่ระหวา่ ง 25-35 ปอนด์ต่อตารางนว้ิ 3. ทอรช์ เช่อื มแกส๊ และแกส๊ อะเซทลิ นี ประมาณ 5 - 10 ปอนดต์ อ่ ตารางนิว้ 4. หวั ทพิ 5. สายยางและข้อต่อ 6. อุปกรณจ์ ดุ เปลวไฟ 7. อุปกรณ์กนั ไฟย้อนกลบั 8. ประแจสาํ หรบั เปิด-ปิดแกส๊ 3. ปรับเปลวไฟท่ีใช้ในการเช่ือมแก๊ส “ท่ีใช้ในงานเชื่อมเหล็ก” 9. อุปกรณป์ อ้ งกันรา่ งกายส่วนบุคคล ปรับมุม-องศาของหัวเช่ือมที่ทํากับช้ินงานประมาณ 60 องศา 10. นา้ํ สบู่ ให้กรวยไฟห่างจากชื้นงานประมาณ 3 มม. เชื่อมเดินแนวท่าราบ แบบ Forehand ให้ความโตแนว Øประมาณ 6 มม. การเคลื่อนท่ี ไปทางหน้ามอื อย่างสมํา่ เสมอ 4. ใช้ประแจปิดวาล์วถังแก๊สอะเซทิลีนให้แน่นแล้วปล่อยแก็สที่ เหลือในท่อส่งแก๊สออก ปรับความดันแก๊สออกดูให้เกจวัดความดัน กลับมาอยู่ในตําแหน่งเลข 0 ปิดวาล์วถังแก๊สออกซิเจนให้แน่นแล้ว ปล่อยแก็สท่ีเหลือในท่อส่งแก๊สออก ปรับความดันแก๊สออก ดูให้ เกจวดั ความดันกลับมาอยู่ในตําแหนง่ เลข 0 5. เก็บเครื่องมือและอุปกรณ์การเช่อื มแก๊สเขา้ ที่ 6.ทําความสะอาดพนื้ ท่กี ารปฏิบัติงาน 7. ครูตรวจช้ินงาน ความโตแนวเช่ือม-เคร่ืองแต่งกายและทรงผม และอืน่ ๆ การมอบงาน : ให้นกั เรยี นศกึ ษาใบงานแล้ว ทําการเชือ่ มเดนิ แนวทา่ ราบแบบ Forehand
125 แบบประเมนิ ผลการปฏิบตั งิ าน ชื่อผ้ปู ฏบิ ัตงิ าน..........................................สกุล...........................................ระดบั ชัน้ ...............กลุ่ม....... สาขาวชิ า..............................................................สาขางาน..................................................................... ใบงานที่ 9 ชอ่ื งานสร้างบ่อหลอมเหลว ผลการประเมิน รายการ ดมี าก (3) ดี (2) พอใช้ (1) รวม การเตรียมการ 1. การเตรยี มงาน 2. การเตรยี มเครือ่ งมืออปุ กรณ์ คณุ ภาพผลงาน 1. ปรบั เปลวไฟเช่ือมแก๊สถูกตอ้ ง 2. วางตาํ แหน่งท่าเชอ่ื มถกู ต้อง 3. ระยะหา่ งระหวา่ งกรวยไฟกับชิ้นงานถกู ต้อง 4. ขนาดความโตแนวเชื่อมทีถ่ กู ตอ้ ง 5. การทําความสะอาดที่เรียบร้อย กิจนสิ ยั 1. ความปลอดภยั ในการปฏบิ ตั ิงาน 2. การใชแ้ ละการเกบ็ เคร่ืองมืออุปกรณ์ อยา่ งถูกวธิ ี เวลาทีใ่ ชป้ ฏิบตั งิ าน 1. ปฏบิ ตั งิ านไดต้ ามเวลาท่กี าํ หนด รวม 30 สรุป คะแนนรวมทไ่ี ด้ ..............คะแนน ดีมาก (27-30 คะแนน) ดี (21-26 คะแนน) พอใช้ (15-20 คะแนน) ปรับปรงุ * (ตํ่ากวา่ 15 * จะผา่ นเกณฑต์ อ้ งปรบั ปรุงงานหรือทําใบงานซํ้า คะแนน) ข้อเสนอแนะ ลงชื่อ..................................................ผู้ประเมนิ (...............................................)
125 แผนการจดั การเรยี นรทู้ ่ี 7 สอนครง้ั ท่ี 10 เรื่องเทคนิคการเชือ่ มแกส๊
Search
Read the Text Version
- 1 - 19
Pages: