Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore 2561_2_SMICT2_Research_Methodology

2561_2_SMICT2_Research_Methodology

Published by panitaw, 2019-06-20 05:42:40

Description: 2561_2_SMICT2_Research_Methodology

Search

Read the Text Version

วิชา หลกั การผลติ วสั ดกุ ราฟิค 2(4-4) [Document Subtitle] Computer Users 1996 Windows 95 Thai Edition

มคอ.3 สาขาวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศและการสอ่ื สารเพ่ือการศึกษา คณะครุศาสตรอ์ ุตสาหกรรม มหาวทิ ยาลัยเทคโนโลยพี ระจอมเกล้าพระนครเหนือ แผนการสอนประจำภาคการศึกษาที่ 2/2561 [SMICT-II] หมวดท่ี 1 ข้อมูลทว่ั ไป 1. รหสั และช่อื รายวชิ า 020015201 ระเบียบวธิ ีวิจยั (Research Methodology) 2. จำนวนหนว่ ยกติ 3 (3-0-6) 3. หลกั สตู รและประเภทของรายวิชา หลักสตู ร วิทยาศาสตรมหาบณั ฑิต ประเภทของรายวิชา วชิ าบังคบั 4. อาจารยผ์ รู้ ับผิดชอบรายวชิ าและอาจารยผ์ สู้ อน 4.1 อาจารยผ์ รู้ บั ผดิ ชอบรายวชิ า รองศาสตราจารย์ ดร.ปณติ า วรรณพิรุณ 4.2 อาจารยผ์ สู้ อน อาจารยผ์ ูส้ อนหลัก รองศาสตราจารย์ ดร.ปณิตา วรรณพริ ณุ สถานท่ตี ิดต่อ หอ้ ง 52-606 e-mail: [email protected] อาจารยผ์ ู้สอนร่วม อาจารย์ ดร.ธรี น์ วัช สขุ วิลัยหริ ญั สถานที่ตดิ ต่อ หอ้ ง 52-606 e-mail: [email protected] 5. ภาคการศึกษา / ชนั้ ปีท่ีเรยี น ภาคการศึกษาท่ี 2 ชน้ั ปที ี่ 2 6. รายวชิ าท่ีตอ้ งเรยี นมาก่อน (Pre-requisite) ไม่มี 7. รายวชิ าที่ตอ้ งเรยี นพร้อมกนั (Co-requisites) ไม่มี 8. สถานท่เี รยี น ระเบยี บวธิ วี จิ ยั (Research Methodology) หลักสูตรวทิ ยาศาสตรมหาบณั ฑิต สาขาวิชาเทคโนโลยสี ารสนเทศและการสอื่ สารเพ่ือการศกึ ษา - 1 -

มคอ.3 อาคารคณะครศุ าสตรอ์ ุตสาหกรรม ห้องเรียน 53-315A 9. วันท่จี ดั ทำหรอื ปรับปรุงรายละเอยี ดของรายวชิ าคร้ังลา่ สดุ 2 มกราคม 2562 หมวดที่ 2 จุดมงุ่ หมายและวตั ถุประสงค์ 1. จดุ มุ่งหมายของรายวิชา 1.1 วเิ คราะห์ สังเคราะหเ์ อกสารและงานวจิ ยั ทางเทคโนโลยสี ารสนเทศและการส่ือสารเพอ่ื การศกึ ษาได้ 1.2 เลอื กประเภทของการวิจยั ทเ่ี หมาะสมการการพัฒนานวัตกรรมทางการศึกษาได้ 1.3 วเิ คราะห์ปัญหาการวจิ ยั เพ่อื กำหนดหวั ข้อวจิ ัย และสรา้ งกรอบแนวคดิ ของการวิจัยได้ 1.4 เลือกออกแบบการวิจัยและกำหนดแบบแผนของการวิจัยทางเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารเพ่ือ การศึกษาได้ 1.5 กำหนดประชากรและกลุ่มตัวอยา่ งทเ่ี หมาะสมกบั วตั ถปุ ระสงค์ของการวิจัยได้ 1.6 สรา้ งเครอ่ื งมอื การวิจัยท่มี คี ุณภาพและคลอ้ งกับวตั ถปุ ระสงค์ของการวจิ ัยได้ 1.7 กำหนดวธิ กี ารเกบ็ รวบรวมขอ้ มลู และเลอื กใช้สถติ ิเพ่อื การวิเคราะห์ขอ้ มลู ที่สอดกับวัตถปุ ระสงค์ของการ วจิ ัยได้ 1.8 เขยี นโครงร่างการวิจยั เพือ่ พัฒนานวตั กรรมทางเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารเพอ่ื การศึกษาได้ 2. วัตถุประสงค์ในการพฒั นา/ปรบั ปรงุ งรายวชิ า เพอื่ ใหน้ ักศึกษาสามารถวิเคราะหแ์ ละสังเคราะห์วรรณกรรมท่เี ก่ยี วข้องกบั ประเด็นการวิจยั มสี มรรถนะนักวิจัย และมีทักษะนวัตกรผ่านกระบวนการจัดการเรียนรู้โดยใช้การวิจัยเป็นฐานแบบท้าทาย (Challenge Research- based Learning) เพอ่ื ดำเนนิ การวิจัยและพฒั นานวัตกรรมทางเทคโนโลยีสารสนเทศและการสอ่ื สารเพอ่ื การศกึ ษาได้ และสรุปองค์ความร้ใู นรปู แบบของบทความวจิ ยั เพอื่ นำเสนอในวารสารวิชาการระดบั ชาติหรอื นานาชาติได้ หมวดที่ 3 ลกั ษณะและการดำเนินการ 1. คำอธิบายรายวชิ า หลักการพื้นฐานของการวิจัย ประเภทของการวิจัย ปัญหาการวิจัย กรอบแนวคิดของการวิจัย การ กำหนดประชากรและกลุม่ ตัวอยา่ ง แบบแผนของการวจิ ัย เครื่องมือการวิจัย การเก็บรวบรวมข้อมูล การใช้สถิติ เพ่อื การวเิ คราะหข์ ้อมูล การเขียนโครงรา่ งการวจิ ยั การนำเสนอและการวพิ ากษ์โครงรา่ งการวิจัย Basic principles of research, type of research, research problems, research framework, set of population and sampling, research design, research tool, data collection, statistics for data analysis, research proposal, presentation and critical research proposal. Innovation, Cognitive Tools, ระเบยี บวิธวี ิจยั (Research Methodology) หลักสูตรวทิ ยาศาสตรมหาบณั ฑติ สาขาวชิ าเทคโนโลยสี ารสนเทศและการสือ่ สารเพ่อื การศึกษา - 2 -

มคอ.3 Digital Learning Ecosystem, Relevant Legislation in Information and Communication Technology, Approach in Information and Communication Technology for Teaching and Learning, Techniques using Information and Communication Technology for Education Effectively, Trends and Current Issues in Information and Communication Technology 2. จำนวนชว่ั โมงท่ใี ช้ต่อภาคการศกึ ษา จำนวนชั่วโมงบรรยาย 2 ชัว่ โมงตอ่ สัปดาห์ 30 ช่ัวโมงต่อภาคการศกึ ษา จำนวนช่วั โมงปฏบิ ตั ิ 2 ชวั่ โมงต่อสัปดาห์ 30 ชัว่ โมงตอ่ ภาคการศึกษา จำนวนช่วั โมงศึกษาด้วยตนเอง 6 ชั่วโมงตอ่ สปั ดาห์ 35 ชั่วโมงต่อภาคการศึกษา 3. จำนวนชวั่ โมงตอ่ สปั ดาห์ทอ่ี าจารยใ์ หค้ ำปรึกษาและแนะนำทางวชิ าการแกน่ กั ศกึ ษาเป็นรายบคุ คล 3.1. อาจารยผ์ สู้ อนหลกั รองศาสตราจารย์ ดร.ปณิตา วรรณพริ ุณ วันและเวลาใหค้ ำปรกึ ษา จันทร์ เวลา 9:00-12:00 น. 13:00-16:00 น. หอ้ ง 52-606 พธุ เวลา 16:00-20:00 น. หอ้ ง 52-606 รวม 10 ชว่ั โมงต่อสัปดาห์ 3.2. อาจารยผ์ สู้ อนหลกั อาจารย์ ดร.ธรี ์นวชั สุขวลิ ยั หริ ญั วนั และเวลาให้คำปรกึ ษา จนั ทร์ เวลา 9:00-12:00 น. 13:00-16:00 น. ห้อง 52-606 พธุ เวลา 16:00-20:00 น. ห้อง 52-606 รวม 10 ช่ัวโมงต่อสปั ดาห์ การตดิ ต่อสอื่ สารระบบสารสนเทศ Line และ e-mail ทุกวนั หมวดที่ 4 การพัฒนาผลการเรียนรขู้ องนกั ศกึ ษา 1. คุณธรรม จรยิ ธรรม 1.1 คุณธรรม จรยิ ธรรมทต่ี อ้ งพฒั นา 1.1.1 มวี นิ ยั ตรงต่อเวลา และความรบั ผดิ ชอบต่อตนเอง วิชาชีพและสงั คม 1.1.2 มภี าวะความเป็นผ้นู ำและผูต้ าม สามารถทำงานเป็นทมี และสามารถแกไ้ ขข้อขดั แย้งและลำดบั ความสำคญั 1.2 วิธกี ารสอน 1.2.1 อาจารย์ผู้สอนเข้าสอน เริ่มสอนและเลิกสอนตรงตามเวลาที่กำหนด กำหนดวันและเวลาให้ นักศกึ ษาสง่ งานทไ่ี ดร้ ับมอบหมายอยา่ งชัดเจน ให้การเสริมแรงทางบวกโดยการชมเชยในช้นั เรยี นสำหรบั นกั ศกึ ษาทมี่ ี วินัย ตรงต่อเวลา และความรับผิดชอบ ให้การเสริมแรงทางลบโดยการตักเตือนเป็นแบบส่วนตัวและตัดคะแนน สำหรบั นกั ศึกษาทขี่ าดวนิ ยั ตรงตอ่ เวลา และความรบั ผิดชอบ เพ่ือใหน้ ักศึกษาเคารพกฎระเบียบและข้อบังคับต่างๆ ขององคก์ รและสงั คม ระเบยี บวิธีวจิ ัย (Research Methodology) หลักสตู รวทิ ยาศาสตรมหาบัณฑติ สาขาวชิ าเทคโนโลยสี ารสนเทศและการสื่อสารเพ่ือการศึกษา - 3 -

มคอ.3 1.2.2 ออกแบบและจัดกิจกรรมการเรียนการสอนแบบเน้นผู้เรียนเป็นสำคัญตามแนวทฤษฎี Constructivist และ Research-based Learning มีกิจกรรมการเรียนรู้แบบรายบุคลและกิจกรรมการแลกเปลี่ยน เรยี นรู้ร่วมกนั กำหนดผูน้ ำอภปิ รายหมนุ เวยี นทกุ สปั ดาห์เพ่อื สร้างภาวะความเป็นผูน้ ำและผตู้ าม สามารถทำงานเป็น ทมี และสามารถแกไ้ ขข้อขัดแย้งและลำดบั ความสำคญั การเคารพสทิ ธิและรบั ฟงั ความคิดเหน็ ของผู้อื่น 1.3 วิธีการประเมนิ ผล การประเมินผลตามสภาพจริง กำหนดคะแนนคุณธรรมจริยธรรมในรายวิชา คิดเป็นร้อยละ 10 โดยมี เกณฑใ์ นการพิจารณาคะแนน ดังน้ี เกณฑ์ในการพิจารณาพฤตกิ รรม คะแนน (รอ้ ยละ) 2 1) ตระหนักในคุณคา่ และคุณธรรม จรยิ ธรรม เสียสละ และซ่อื สตั ย์สจุ รติ 4 6 1) ตระหนักในคณุ ค่าและคณุ ธรรม จริยธรรม เสียสละ และซอ่ื สตั ย์สจุ ริต และ 2) มีวนิ ยั ตรงตอ่ เวลา และความรับผดิ ชอบตอ่ ตนเอง วชิ าชพี และสงั คม 8 1) ตระหนกั ในคุณคา่ และคณุ ธรรม จรยิ ธรรม เสียสละ และซ่ือสตั ยส์ จุ ริต และ 10 2) มวี ินัย ตรงตอ่ เวลา และความรบั ผิดชอบต่อตนเอง วชิ าชพี และสงั คม และ 3) มภี าวะความเป็นผ้นู ำและผู้ตาม สามารถทำงานเป็นทมี และสามารถแกไ้ ขขอ้ ขัดแย้ง และลำดบั ความสำคญั 1) ตระหนักในคณุ ค่าและคณุ ธรรม จรยิ ธรรม เสยี สละ และซอื่ สัตยส์ จุ รติ และ 2) มวี นิ ัย ตรงตอ่ เวลา และความรับผิดชอบตอ่ ตนเอง วิชาชีพและสงั คม และ 3) มภี าวะความเป็นผนู้ ำและผตู้ าม สามารถทำงานเปน็ ทมี และสามารถแก้ไขข้อขดั แย้ง และลำดบั ความสำคญั และ 4) เคารพสทิ ธแิ ละรบั ฟงั ความคดิ เหน็ ของผอู้ ืน่ รวมท้ังเคารพในคณุ ค่าและศักด์ศิ รีของ ความเปน็ มนษุ ย์ 1) ตระหนกั ในคณุ คา่ และคณุ ธรรม จริยธรรม เสียสละ และซ่อื สตั ยส์ จุ รติ และ 2) มีวินัย ตรงต่อเวลา และความรับผดิ ชอบตอ่ ตนเอง วิชาชีพและสงั คม และ 3) มีภาวะความเป็นผู้นำและผูต้ าม สามารถทำงานเปน็ ทมี และสามารถแกไ้ ขขอ้ ขัดแย้ง และลำดบั ความสำคญั และ 4) เคารพสิทธแิ ละรับฟงั ความคดิ เหน็ ของผอู้ ่นื รวมทง้ั เคารพในคณุ คา่ และศักด์ศิ รี ของความเป็นมนษุ ย์ และ 5) เคารพกฎระเบยี บและข้อบงั คบั ตา่ งๆ ขององคก์ รและสงั คม 2. ความรู้ 2.1 ความรู้ที่ต้องพัฒนา ระเบยี บวธิ ีวจิ ยั (Research Methodology) หลกั สูตรวทิ ยาศาสตรมหาบัณฑติ สาขาวชิ าเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารเพอื่ การศึกษา - 4 -

มคอ.3 ยุทธวิธีวจิ ัยเพอื่ พฒั นานวตั กรรมด้านเทคโนโลยสี ารสนเทศและการสอื่ สารมาพฒั นาการจัดการศึกษา 2.2 วิธีการสอน 2.2.1 การเรียนตามรูปแบบแบบการเรยี นการสอนแบบผสมผสาน (Horizontal Blended Learning) ผู้สอนพัฒนาระบบบริหารจัดการเรียนรู้แบบปฏิสัมพันธ์ (Ubiquitous Cloud Learning Management System: UCLMS) สำหรบั รายวชิ าระเบียบวิธีวิจัยเพอ่ื เป็นสื่อหลกั ในการจดั การเรยี นการสอน โดย ข้ันตอนและกิจกรรม ดังน้ี 2.2.1.1 อธบิ ายวธิ ีการ กจิ กรรมการเรียนการสอน วิธีการวดั และประเมินผลตามรปู แบบการเรยี น การสอนแบบผสมผสาน 2.2.1.2 นกั ศึกษาสมัครเปน็ สมาชิกของระบบ ฝึกปฏบิ ตั กิ ารใชเ้ ครอ่ื งมอื ของระบบ 2.2.1.3 นักศกึ ษาดำเนนิ กิจกรรมการเรยี นตามรปู แบบการเรียนการสอนแบบผสมผสาน 2.2.2 การศึกษาคน้ คว้าหวั ข้อวิจัยทางดา้ นเทคโนโลยสี ารสนเทศและการส่ือสารเพอ่ื การศกึ ษา กำหนดให้นักศึกษา ทำการศึกษาคน้ คว้าหัวขอ้ วจิ ัยทางดา้ นเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร เพื่อการศึกษา นำเสนอและเปน็ ผูน้ ำการอภิปรายร่วมกับอาจารย์ผู้สอนและสมาชิกในชัน้ เรียนร่วมระดมสมองเพ่อื แลกเปลี่ยนเรียนรู้ร่วมกันในประเด็นที่ผู้สอนกำหนด ตามรูปแบบ Crystal-based Learning โดยขั้นตอนและ กจิ กรรม ดงั น้ี 2.2.2.1 นักศึกษาเลือกหัวข้อหลักที่อาจารย์ผู้สอนกำหนดและพิจารณาเพิ่มเติมในประเด็นย่อย ในสัปดาห์ที่ 1 ของการเรียน และศึกษาค้นคว้าหัวข้อที่เลือกโดยมีองค์ประกอบ คือ สังเคราะห์องค์ความรู้ กรณศี ึกษาการปฏิบัติดีเลศิ (Best Practice) และตัวอย่างงานวจิ ัยที่เกยี่ วข้อง 2.2.2.2 นักศกึ ษาผูน้ ำการอภปิ รายโพสต์เอกสารประกอบการบรรยายและรายงานการศกึ ษาค้นคว้า ในกลุ่มเสวนา ล่วงหน้าก่อนนำเสนอหน้าชั้นเรียน 3 วัน เพื่อให้สมาชิกรายวิชาและอาจารย์ผู้สอน ศึกษาและ พจิ ารณาประเดน็ เสวนากอ่ นนำเสนอและอภิปรายแลกเปลี่ยนเรยี นรูป้ ระจำสัปดาห์ 2.2.2.3 นักศึกษาผู้นำการอภิปราย นำเสนอและเป็นผู้นำการอภิปรายร่วมกับอาจารย์ผู้สอนและ สมาชิกในชั้นเรียนร่วมระดมสมองเพื่อแลกเปลี่ยนเรียนรู้ร่วมกัน ตามวัตถุประสงค์ของหลักสูตร คือ การบริหาร การจัดการเรยี นการสอน และการวิจัย เพ่อื นำไปสูแ่ นวทางการวจิ ยั ในอนาคต 2.2.3 สรปุ บทความวจิ ยั และบทความวชิ าการประจำสัปดาห์ กำหนดให้นักศกึ ษาสรปุ บทความวจิ ัยและบทความวชิ าการประจำสปั ดาห์ โดยขน้ั ตอนและกิจกรรม ดงั นี้ 2.2.3.1 ผู้สอนมอบหมายให้นกั ศึกษาสรปุ บทความวจิ ยั และบทความวิชาการประจำสัปดาห์ ความ ยาวไมเ่ กิน 2 หนา้ กระดาษ ประกอบดว้ ย บทความภาษาองั กฤษ 1 เร่อื ง บทความภาษาไทยและ/หรือภาษาองั กฤษ 1 เร่ือง รวมเป็นสปั ดาห์ละ 2 บทความ 2.2.3.2 ให้นักศึกษาส่งงานที่ได้รับมอบหมายผ่านระบบบริหารจัดการเรียนการสอนผ่านเว็บแบบ ปฏิสมั พนั ธ์ โดยการอัพโหลดไฟล์ 4 ไฟล์ คอื ตน้ ฉบับบทความ 2 เรื่อง และสรปุ ย่อ 2 เรอ่ื ง ระเบยี บวธิ ีวิจยั (Research Methodology) หลกั สูตรวิทยาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาเทคโนโลยสี ารสนเทศและการส่ือสารเพ่อื การศึกษา - 5 -

มคอ.3 2.2.3.3 ในสัปดาหท์ ี่ 4 และ 8 ให้นักศึกษาสรุปประเด็นท่ีสนใจและข้อค้นพบและโพสต์ในกระดาน เสวนา อาจารยผ์ ู้สอนและสมาชกิ ในชัน้ เรียนรว่ มอภิปรายระดมสมองแลกเปลย่ี นเรียนรู้ (e-Brainstorming) 2.2.3.4 เมื่อนักศึกษาศึกษาครบ 10 สัปดาห์ จัดการอภิปรายสรุปประเด็นที่สนใจและข้อค้นพบ เพื่อนำไปสู่การสร้างองค์ความรูใ้ หม่ โดยจัดทำเอกสารประมวลความรู้ที่ได้จากการสรุปบทความวิจัยและบทความ วิชาการ 2.3 วิธีการประเมนิ ผล การประเมินผลตามสภาพจริง กำหนดคะแนนความรกู้ ารวจิ ัยทางด้านเทคโนโลยีสารสนเทศและการสอ่ื สาร เพื่อการศึกษา คิดเป็นรอ้ ยละ 40 โดยกำหนดองค์ประกอบการให้คะแนนและการประเมินผล ดังน้ี 2.3.1 คะแนนการศกึ ษาค้นคว้าประเด็นวิจัยทางด้านเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารเพื่อการศึกษา ประกอบด้วย 1) ทักษะการนำเสนอ 2) การสรุปองคค์ วามรูแ้ ละการนำอภปิ ราย และ 2) เอกสารรายงานการศึกษา ค้นควา้ คิดเป็นรอ้ ยละ 20 2.3.2 คะแนนสรปุ บทความวิจัยและบทความวิชาการประจำสปั ดาห์ ประกอบดว้ ย สรปุ ยอ่ บทความวจิ ัย/ วิชาการ ภาษาไทยและภาษาอังกฤษ 20 เรือ่ ง และเอกสารประมวลความรูท้ ไ่ี ดจ้ ากการสรปุ บทความวจิ ัยและ บทความวชิ าการ คดิ เป็นรอ้ ยละ 20 3. ทักษะทางปัญญา 3.1 ทักษะทางปญั ญาทต่ี อ้ งพฒั นา สามารถอธบิ ายหลักการพน้ื ฐานของการวจิ ยั ประเภทของการวจิ ยั ปัญหาการวจิ ยั สรา้ งกรอบแนวคดิ ของ การวจิ ัย กำหนดประชากรและกลมุ่ ตวั อย่าง กำหนดแบบแผนของการวิจยั สรา้ งเครอ่ื งมอื การวจิ ัย ออกแบบการ เก็บรวบรวมข้อมลู เลือกใช้สถติ ิเพ่ือการวเิ คราะหข์ ้อมูล เพื่อเขยี นโครงรา่ งการวิจัย และเขียนบทความวจิ ัยได้ 3.2 วิธกี ารสอน จัดกิจกรรมพฒั นาทกั ษะทางปญั ญาตามรปู แบบ Crystal-based Learning ผสมผสานกบั Challenge Research-based Learning โดยมเี ปา้ หมายเพ่อื ใหน้ ักศกึ ษาสรา้ งองคค์ วามรู้ใหมผ่ ่านกระบวนการวจิ ัย ดังนี้ 3.2.1 นกั ศกึ ษาสงั เคราะหป์ ระเดน็ เทคโนโลยีสารสนเทศและการสอ่ื สารเพือ่ การศึกษา อาจารยผ์ สู้ อนและ นักศึกษาร่วมอภปิ รายแลกเปลีย่ นเรียนรเู้ พ่อื ต่อยอดองคค์ วามรู้ ทุกสปั ดาห์ 3.2.2 สปั ดาหท์ ่ี 2 นำเสนอหวั ข้อวิจยั 3.2.3 สัปดาหท์ ่ี 7 นำเสนอและวพิ ากษก์ รอบแนวคดิ การวจิ ยั 3.2.4 สปั ดาหท์ ี่ 8 นำเสนอเครือ่ งมือการวิจัยและการเกบ็ รวบรวมขอ้ มลู 3.2.5 สัปดาหท์ ี่ 12 นำเสนอผลการเกบ็ รวบรวมข้อมูล 3.2.6 สัปดาหท์ ี่ 17 นำเสนอและวิพากษโ์ ครงการวจิ ยั เพอ่ื พฒั นานวัตกรรมดา้ นเทคโนโลยีสารสนเทศและการ ส่อื สารเพือ่ การศกึ ษา พรอ้ มท้ังนำเสนอชอ่ื วารสารวชิ าการท่คี าดวา่ จะเผยแพรใ่ นช้นั เรยี น อาจารย์ผสู้ อนและนักศึกษา ร่วมอภิปรายแลกเปลี่ยนเรียนรู้ ระเบียบวธิ วี จิ ยั (Research Methodology) หลกั สูตรวิทยาศาสตรมหาบัณฑติ สาขาวิชาเทคโนโลยสี ารสนเทศและการส่อื สารเพ่อื การศกึ ษา - 6 -

มคอ.3 3.2.7 สัปดาห์ที่ 18 นักศึกษานำเสนอผลงานวิจัยฉบับสมบูรณ์ในชั้นเรียน และส่งต้นฉบับบทความวจิ ยั เพ่อื ให้กองบรรณาธกิ ารวารสารวิชาการพิจารณา 3.3 วธิ กี ารประเมินผล การประเมนิ ผลตามสภาพจริง กำหนดคะแนนการเขียนบทความวจิ ัย คิดเปน็ รอ้ ยละ 40 4. ทักษะความสมั พนั ธ์ระหว่างบคุ คลและความรบั ผดิ ชอบ 4.1 ทกั ษะความสมั พนั ธ์ระหว่างบคุ คลและความรบั ผดิ ชอบทต่ี อ้ งพัฒนา 4.1.1 สามารถให้ความชว่ ยเหลือและอำนวยความสะดวกในการแกป้ ญั หาสถานการณ์ตา่ งๆ ทงั้ ในบทบาท ของผนู้ ำ หรือในบทบาทของผรู้ ่วมทมี ทำงาน 4.1.2 สามารถใช้ความรู้ในศาสตรม์ าชีน้ ำสงั คมในประเด็นที่เหมาะสม 4.2 วธิ ีการสอน กิจกรรมการเรียนการสอนเน้นการเรียนรู้ร่วมกันเป็นทีมผ่านกระบวนการเรียนรู้ร่วมกันผ่านส่ือ อิเลก็ ทรอนกิ ส์ (e-Collaboration) และกจิ กรรมการเรียนรรู้ ว่ มกันในชน้ั เรยี น (Collaborative learning) กำหนดบทบาทผู้นำ และในบทบาทของผู้ร่วมทีมทำงานในการเรียนรู้ร่วมกันประจำสัปดาห์ เพื่อใช้ ศักยภาพของสมาชิกในช้ันเรียนให้เกิดผลึกทางความรู้และสามารถใช้ความรู้ในศาสตรม์ าช้นี ำสังคมในประเด็นที่ เกีย่ วข้องกบั เทคโนโลยสี ารสนเทศและการสอ่ื สารเพื่อการศึกษา 4.3 วิธกี ารประเมินผล การประเมินผลตามสภาพจริงโดยการสงั เกตความสามารถให้ความชว่ ยเหลือและอำนวยความสะดวกในการ แก้ปัญหาสถานการณ์ต่างๆ ทั้งในบทบาทของผู้นำและในบทบาทของผู้ร่วมทีมทำงาน จากกิจกรรมการเรียนรู้ รว่ มกนั ในช้ันเรียน และกจิ กรรมการเรียนรรู้ ่วมกนั ผ่านสอื่ อเิ ล็กทรอนิกสโ์ ดยใชร้ ่องรอยจากระบบบริหารจัดการ เรยี นรแู้ ละระบบการประมวลผลแบบกล่มุ เมฆ กำหนดคะแนนการมสี ่วนรว่ มในชั้นเรียน คิดเป็นร้อยละ 10 5. ทกั ษะการวเิ คราะห์เชงิ ตวั เลข การส่อื สาร และการใชเ้ ทคโนโลยสี ารสนเทศ 5.1 ทกั ษะการวิเคราะห์เชิงตวั เลข การสื่อสาร และการใชเ้ ทคโนโลยสี ารสนเทศท่ตี ้องพฒั นา สามารถส่อื สารอย่างมปี ระสทิ ธิภาพท้งั ปากเปลา่ และการเขียน พรอ้ มท้ังเลือกใชร้ ปู แบบของสอ่ื การนำเสนอ ไดอ้ ยา่ งเหมาะสม 5.2 วธิ ีการสอน กจิ กรรมการเรยี นการสอนเน้นพัฒนานักศกึ ษาใหม้ ีทักษะสอ่ื สารอย่างมปี ระสิทธิภาพท้ังปากเปล่าและการ เขยี น พรอ้ มทั้งเลอื กใชร้ ปู แบบของสอ่ื การนำเสนอไดอ้ ยา่ งเหมาะสม 5.3 วธิ กี ารประเมนิ ผล การประเมินผลตามสภาพจริงด้านทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลข การสื่อสารและการใช้เทคโนโลยี สารสนเทศ ร่วมกับด้านการวิจัยทางเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารเพื่อการศึกษา ในประเด็นทักษะการ ระเบยี บวธิ วี จิ ัย (Research Methodology) หลักสตู รวทิ ยาศาสตรมหาบัณฑติ สาขาวิชาเทคโนโลยสี ารสนเทศและการส่อื สารเพ่ือการศึกษา - 7 -

มคอ.3 นำเสนอและทักษะสอื่ สารอย่างมีประสิทธิภาพ การสรปุ องค์ความรู้ การนำอภปิ รายและการตอบขอ้ ซักถาม และการ เลอื กใช้รปู แบบของสื่อการนำเสนอไดอ้ ยา่ งเหมาะสม ระเบียบวิธีวิจัย (Research Methodology) หลกั สูตรวทิ ยาศาสตรมหาบัณฑติ สาขาวชิ าเทคโนโลยีสารสนเทศและการสอ่ื สารเพือ่ การศกึ ษา - 8 -

มคอ.3 หมวดที่ 5 แผนการสอนและการประเมินผล 1. แผนการสอน สัปดาห์ จำนวนชั่วโมง กิจกรรมการเรียนการสอนและสื่อการเรียนการสอน ผูส้ อน ทีส่ อน การสอน - ปฐมนเิ ทศ รศ.ดร.ปณติ า 1 (ทฤษฎ-ี ปฏิบัต-ิ คน้ ควา้ - บอกรายละเอยี ดของวิชา การวดั และประเมินผล กำหนด วรรณพิรณุ ดว้ ยตนเอง) อ.ดร.ธีรน์ วชั 2 กจิ กรรมการเรยี นการสอน ภาพรวมของรายวิชา กำหนด สุขวลิ ยั หิรัญ 3-0-6 งานและนำเสนอ 3 - นำเสนอขอบขา่ ยการวิจัยทส่ี นใจทางด้านเทคโนโลยี รศ.ดร.ปณติ า 3-0-6 สารสนเทศและการสอ่ื สารเพอื่ การศึกษา วรรณพิรุณ 4 CRBL: สรุปเป็นเด็นวจิ ัยท่ีสนใจ มอบหมายงานการวเิ คราะห์ 3-0-6 รศ.ดร.ปณติ า และสังเคราะหว์ รรณกรรมท่ีเกีย่ วข้อง วรรณพริ ุณ 3-0-6 ความรู้เบือ้ งตน้ เก่ยี วกบั การวิจยั อ.ดร.ธีรน์ วชั - ความหมายของการวิจัย สุขวลิ ยั หิรัญ - สมรรถนะนักวิจัยและจรรยาวชิ าชีพวจิ ยั - ประเภทของการวจิ ยั รศ.ดร.ปณติ า - การวิจยั เชงิ คุณภาพ วรรณพริ ณุ - การวจิ ัยเชงิ ปริมาณ อ.ดร.ธรี น์ วัช CRBL: นำเสนอหัวข้อวจิ ัย สขุ วลิ ัยหิรัญ วรรณกรรมที่เก่ียวขอ้ ง (Literature Review) - การวเิ คราะห์วรรณกรรมท่ีเกี่ยวข้อง - การสังเคราะห์วรรณกรรมทีเ่ กย่ี วข้อง - การนำเสนอผลการศกึ ษาวรรณกรรมทเี่ ก่ยี วขอ้ ง - เกณฑ์การประเมินคณุ คา่ ของวรรณกรรมที่เกยี่ วข้อง - การเขียนอา้ งอิง การกำหนดปญั หาการวจิ ัยและการต้ังชอื่ เร่อื งการวจิ ัย - การวเิ คราะห์ปญั หาการวิจยั - แนวทางการกำหนดปญั หาการวิจยั - การนำเสนอปัญหาการวจิ ัย - การตงั้ ชือ่ เร่อื งการวจิ ยั ระเบียบวิธวี ิจยั (Research Methodology) หลกั สตู รวิทยาศาสตรมหาบณั ฑติ สาขาวชิ าเทคโนโลยสี ารสนเทศและการสอ่ื สารเพ่อื การศึกษา - 9 -

มคอ.3 สปั ดาห์ จำนวนชัว่ โมง กจิ กรรมการเรยี นการสอนและสือ่ การเรยี นการสอน ผสู้ อน ท่ีสอน การสอน การกำหนดวตั ถปุ ระสงคก์ ารวจิ ัย รศ.ดร.ปณิตา 5 (ทฤษฎ-ี ปฏบิ ตั -ิ คน้ คว้า - ความหมายและประเภทของวัตถปุ ระสงคก์ ารวจิ ยั วรรณพริ ุณ 6 ด้วยตนเอง) - แนวทางการกำหนดวตั ถปุ ระสงคก์ ารวิจยั อ.ดร.ธีร์นวัช - การนำเสนอวตั ถุประสงค์การวจิ ยั สขุ วิลัยหริ ญั 7 3-0-6 - ประโยชนข์ องการวิจัย รศ.ดร.ปณติ า การตัง้ สมมติฐานและกรอบแนวคดิ การวจิ ัย วรรณพิรุณ 8 3-0-6 - ความหมายและประเภทของสมมติฐานการวจิ ยั - แนวทางการต้ังสมมตฐิ านการวิจยั อ.ดร.ธรี ์นวชั 3-0-6 - ลกั ษณะของสมมตฐิ านการวจิ ยั ทดี่ ี สขุ วลิ ยั หิรัญ - กรอบแนวคิดการวจิ ยั รศ.ดร.ปณติ า 3-0-6 - การเขียนนิยามศัพทเ์ ฉพาะ (เชงิ ปฏิบตั ิการ) วรรณพิรุณ ประชากรและกลมุ่ ตวั อยา่ ง - ความสำคญั ของประชากรและกล่มุ ตัวอย่างกบั การเก็บ อ.ดร.ธรี น์ วชั สขุ วลิ ยั หริ ญั รวบรวมขอ้ มูล รศ.ดร.ปณิตา - ประชากรและกล่มุ ตวั อย่าง วรรณพริ ุณ - ขนาดของกลุม่ ตัวอย่าง - การกำหนดขนาดของกลมุ่ ตัวอย่างในการวจิ ยั เชงิ ทดลอง - การกำหนดขนาดของกลมุ่ ตัวอย่างในการวิจยั เชงิ พรรณนา - การเลือกกลุ่มตวั อยา่ งโดยไมใ่ ช้หลกั ความนา่ จะเป็น - การเลอื กกลุ่มตวั อยา่ งโดยใชห้ ลกั ความนา่ จะเป็น - วธิ ีการเลือกกลมุ่ ตัวอยา่ ง CRBL: นำเสนอและวิพากษก์ รอบแนวคิดการวิจัย เครอ่ื งมือการวจิ ัยและการเกบ็ รวบรวมขอ้ มูล - การเก็บรวบรวมขอ้ มูล และประเภทของเครอ่ื งมือวจิ ยั - แบบสอบถาม - แบบทดสอบ - แบบวดั เจตคติ - การสัมภาษณ์ - การสงั เกต - วิธกี ารเก็บรวบรวมข้อมลู CRBL: นำเสนอเคร่ืองมอื การวจิ ยั และการเกบ็ รวบรวมข้อมูล ระเบยี บวิธีวจิ ยั (Research Methodology) หลกั สูตรวทิ ยาศาสตรมหาบณั ฑติ สาขาวชิ าเทคโนโลยสี ารสนเทศและการสื่อสารเพอ่ื การศกึ ษา - 10 -

มคอ.3 สัปดาห์ จำนวนช่วั โมง กิจกรรมการเรียนการสอนและสื่อการเรียนการสอน ผู้สอน ที่สอน การสอน อ.ดร.ธีร์นวชั การสรา้ งและตรวจสอบคณุ ภาพของเครอ่ื งมือวดั สุขวิลัยหิรญั 9 (ทฤษฎ-ี ปฏิบตั -ิ คน้ คว้า - ขั้นตอนการสรา้ งเครอ่ื งมอื วดั ดว้ ยตนเอง) - คณุ ภาพของเคร่อื งมอื วดั อ.ดร.ธรี น์ วัช 10 - ความตรง (Validity) สขุ วิลัยหริ ัญ 11 3-0-6 - ความเช่อื มั่น (Reliability) - ความยากงา่ ย (Difficulty) อ.ดร.ธีรน์ วชั 12 3-0-6 - อำนาจจำแนก (Discrimination) สุขวลิ ัยหริ ัญ การวเิ คราะหข์ อ้ มลู 3-0-6 - ความหมายของการวิเคราะห์ข้อมูลการวจิ ยั อ.ดร.ธีรน์ วัช - ความหมายและประเภทของข้อมลู สุขวิลยั หิรญั 3-0-6 - ความหมายและประเภทของสถติ ิท่ใี ชใ้ นการวจิ ยั - ข้ันตอนการทดสอบสมมตฐิ านการวิจัย - ขนั้ ตอนการวเิ คราะหข์ ้อมลู การวิจยั การใช้สถติ ิในการวเิ คราะหข์ อ้ มูล 1 - การบรรยายสรุปลักษณะของสง่ิ ท่ศี กึ ษา § สถติ พิ ืน้ ฐาน ความถ่ี สัดส่วน ร้อยละ อตั ราสว่ น § การวัดตำแหนง่ ควอไทล์ เปอร์เซน็ ไทล์ § การวดั แนวโนม้ เข้าสสู่ ่วนกลาง ฐานนิยม มัธยฐาน คา่ เฉล่ยี § การวดั การกระจาย พสิ ยั ส่วนเบี่ยงเบนควอไทล์ ส่วนเบยี่ งเบนมาตรฐาน - การศึกษาความสมั พันธ์ระหว่างตวั แปร § สถติ ิท่ใี ชว้ เิ คราะหค์ วามสมั พันธร์ ะหวา่ งตวั แปร 2 ตัว § สหสมั พนั ธ์แบบ Spearman § สหสัมพันธแ์ บบ Pearson การใชส้ ถติ ิในการวิเคราะห์ขอ้ มลู 2 - การเปรยี บเทียบความแตกตา่ งระหว่างกลมุ่ - การเปรยี บเทยี บคา่ เฉลย่ี ระหวา่ งข้อมูล 2 กลมุ่ - การเปรียบเทยี บค่าเฉลยี่ ของขอ้ มูล 2 กลุ่มทเ่ี ปน็ อิสระตอ่ กัน - การเปรียบเทียบคา่ เฉลย่ี ของข้อมลู 2 กลุม่ ทีไ่ ม่เป็นอสิ ระต่อกนั - CRBL: นำเสนอผลการเก็บรวบรวมขอ้ มลู ระเบียบวิธีวิจยั (Research Methodology) หลักสูตรวิทยาศาสตรมหาบณั ฑิต สาขาวชิ าเทคโนโลยสี ารสนเทศและการสือ่ สารเพ่อื การศกึ ษา - 11 -

มคอ.3 สปั ดาห์ จำนวนช่วั โมง กจิ กรรมการเรียนการสอนและสื่อการเรยี นการสอน ผ้สู อน ทสี่ อน การสอน 13 การออกแบบการวจิ ัย (Research Design) อ.ดร.ธรี น์ วัช (ทฤษฎ-ี ปฏบิ ัต-ิ คน้ คว้า - ความหมายของการออกแบบการวจิ ยั สุขวิลยั หิรญั 14 ดว้ ยตนเอง) - วตั ถุประสงค์ของการออกแบบการวิจัย 15 - หลกั การออกแบบการวจิ ยั รศ.ดร.ปณิตา 3-0-6 - ความเทยี่ งตรงของการออกแบบการวจิ ยั วรรณพิรุณ 16 - แบบการทดลอง อ.ดร.ธีร์นวชั 17 3-0-6 การเขียนเค้าโครงการวิจยั สขุ วิลยั หิรญั - ความหมายของเคา้ โครงการวิจยั รศ.ดร.ปณิตา 3-0-6 - ความสำคญั ของเคา้ โครงการวจิ ยั วรรณพิรุณ - สว่ นประกอบของเคา้ โครงการวิจยั อ.ดร.ธีรน์ วัช 3-0-6 การเขียนรายงานการวิจัยและบทความวชิ าการ สุขวลิ ยั หริ ญั - ความหมายและประเภทของรายงานการวจิ ยั 3-0-6 - ความหมายและประเภทของบทความวชิ าการ รศ.ดร.ปณติ า - การเขยี นรายงานการวจิ ยั ฉบับสมบูรณ์ วรรณพิรณุ - การเขยี นรานงานวิจัยในรูปแบบของบทความวิจยั อ.ดร.ธีรน์ วัช - การเขียนรายงานวิจยั ในรูปแบบของบทคดั ยอ่ สขุ วิลัยหริ ญั - การเผยแพรผ่ ลงานวิจัย รศ.ดร.ปณิตา การประเมินคณุ ภาพงานวิจัย วรรณพิรณุ - ความหมายและประเภทของการประเมนิ คุณภาพงานวิจยั อ.ดร.ธรี ์นวชั - องคป์ ระกอบของการประเมินรายงานการวิจยั สขุ วิลัยหริ ญั - ตวั อย่างแบบประเมินรายงานการวจิ ยั รศ.ดร.ปณติ า CRBL: นำเสนอและวิพากษ์โครงการวิจัยเพ่ือพฒั นานวตั กรรม วรรณพริ ุณ ดา้ นเทคโนโลยสี ารสนเทศและการส่ือสารเพื่อการศึกษา อ.ดร.ธรี ์นวชั สขุ วลิ ยั หิรัญ 18 3-0-6 CRBL: นำเสนอและวิพากษ์บทความวจิ ัยด้านเทคโนโลยี สารสนเทศและการสอื่ สารเพอ่ื การศกึ ษา ระเบียบวิธวี ิจัย (Research Methodology) หลกั สตู รวิทยาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาเทคโนโลยสี ารสนเทศและการส่ือสารเพอ่ื การศึกษา - 12 -

มคอ.3 กจิ กรรมเสรมิ การเรยี น เขา้ รว่ มประชุมและ/หรอื นำเสนอผลงานวจิ ยั ดังนี้ 1. การประชุมวชิ าการระดับชาติ โสตฯ-เทคโนฯ สัมพนั ธ์ 2. การประชุมวิชาการระดับนานาชาตดิ ้านอเี ลิรน์ นงิ (TCU International e-Learning Conference) จดั โดยสำนกั งานคณะกรรมการการอดุ มศกึ ษา โดยโครงการมหาวิทยาลัยไซเบอรไ์ ทย 3. การประชุมวชิ าการครุศาสตร์อุตสาหกรรมระดับชาตแิ ละระดับนานาชาติ จดั โดยคณะครุศาสตร์ อตุ สาหกรรม มหาวิทยาลยั เทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนอื 1. แผนการประเมนิ ผลการเรยี นรู้ การประเมินผลการเรยี นรู้ สัปดาหท์ ป่ี ระเมนิ สัดส่วน การประเมนิ ผลการเรยี นรู้ ร้อยละ 10 ร้อยละ 5 1. คุณธรรม จรยิ ธรรม ร้อยละ 5 ร้อยละ 40 1.1 มีวนิ ยั ตรงต่อเวลา และความรบั ผดิ ชอบตอ่ ตนเอง วชิ าชีพและสงั คม 1-18 ร้อยละ 20 1.2 มีภาวะความเปน็ ผนู้ ำและผู้ตาม สามารถทำงานเป็นทมี และสามารถ 1-18 แก้ไขขอ้ ขดั แย้งและลำดับความสำคญั รอ้ ยละ 20 รอ้ ยละ 40 2. ความรู้ รอ้ ยละ 40 2.1 หลกั การวจิ ยั ดา้ นเทคโนโลยสี ารสนเทศและการสอ่ื สารมาพัฒนา ร้อยละ 10 การจดั การศกึ ษา - การศกึ ษาคน้ คว้าหัวขอ้ ทางด้านเทคโนโลยสี ารสนเทศและการ สปั ดาหท์ น่ี ำเสนอ ส่อื สารเพอื่ การศกึ ษา ประกอบด้วย 1) ทกั ษะการนำเสนอ 2) การสรปุ องค์ ความรู้และการนำอภิปราย และ 3) เอกสารรายงานการศกึ ษาคน้ ควา้ - สรปุ บทความวจิ ยั และบทความวิชาการประจำสัปดาห์ 1-18 3. ทักษะทางปัญญา 3.1 สามารถรวบรวม ศึกษา วิเคราะห์ และสรปุ ประเด็นปญั หา และความตอ้ งการ - โครงการวิจัย และบทความวิจยั เพอ่ื พฒั นานวตั กรรมดา้ น 17-18 เทคโนโลยสี ารสนเทศและการส่อื สารเพอื่ การศกึ ษา 4. ทักษะความสมั พันธร์ ะหว่างบคุ คลและความรบั ผดิ ชอบ 4.1 สามารถใหค้ วามชว่ ยเหลอื และอำนวยความสะดวกในการแกป้ ัญหา 1-18 สถานการณ์ต่างๆทั้งในบทบาทของผนู้ ำ หรอื ในบทบาทของผรู้ ่วมทีมทำงาน ระเบียบวธิ ีวจิ ัย (Research Methodology) หลักสูตรวทิ ยาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาเทคโนโลยสี ารสนเทศและการสอื่ สารเพอ่ื การศกึ ษา - 13 -

มคอ.3 การประเมินผลการเรยี นรู้ สปั ดาห์ทป่ี ระเมนิ สดั สว่ น ผลการเรยี นรู้ การประเมิน 4.2 สามารถใชค้ วามรูใ้ นศาสตร์มาชน้ี ำสงั คมในประเด็นทีเ่ หมาะสม 1-18 5. ทกั ษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลข การสือ่ สาร และการใช้เทคโนโลยี สปั ดาหท์ ่นี ำเสนอ สารสนเทศ 5.1 สามารถสอื่ สารอยา่ งมปี ระสทิ ธภิ าพทั้งปากเปลา่ และการเขยี น พร้อม ทง้ั เลอื กใชร้ ปู แบบของสื่อการนำเสนอไดอ้ ย่างเหมาะสม เกณฑก์ ารประเมนิ ผลการเรยี นรู้ ผ้ทู ี่ได้คะแนนตำ่ กว่ารอ้ ยละ 55 ได้ระดบั คะแนน F และใชก้ ารประเมนิ ผลแบบอิงเกณฑ์ ดงั นี้ ชว่ งคะแนน 85 – 100 ไดร้ ะดับคะแนน A ” 80 – 84 ” B+ ” 75 – 79 ”B ” 70 – 74 ” C+ ” 65 – 69 ”C ” 60 – 64 ” D+ ” 55 – 59 ”D ” 0 – 54 ”F เกณฑ์การใหค้ ะแนน รอ้ ยละ 40 ผลงาน กจิ กรรม 50 - การสงั เคราะห์วรรณกรรมที่เก่ียวข้อง 10 - โครงการวิจัย และบทความวิจยั เพือ่ พฒั นานวัตกรรมด้านเทคโนโลยสี ารสนเทศและการ สอ่ื สารเพอื่ การศึกษา - การแลกเปล่ียนเรยี นรู้ ระเบียบวิธวี ิจยั (Research Methodology) หลักสูตรวิทยาศาสตรมหาบณั ฑิต สาขาวิชาเทคโนโลยสี ารสนเทศและการสือ่ สารเพื่อการศกึ ษา - 14 -

มคอ.3 หมวดที่ 6 ทรพั ยากรประกอบการเรยี นการสอน 1. ตำราและเอกสารหลัก ปณิตา วรรณพิรณุ และธีรน์ วัช สุขวลิ ัยหริ ญั . (2562). วิทยวิธีการวจิ ยั และการพัฒนานวตั กรรมการศกึ ษา. กรงุ เทพมหานคร: ศนู ยผ์ ลิตตำรา มหาวิทยาลยั เทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนอื . 2. เอกสารและข้อมูลสำคัญ พรรณี ลีกจิ วฒั นะ. (2558). วธิ กี ารวจิ ยั ทางการศกึ ษา. พิมพ์ครั้งท่ี 10. กรงุ เทพมหานคร: คณะครศุ าตร์ อตุ สาหกรรม สถาบันเทคโนโลยีพะจอมเกลา้ เจ้าคณุ ทหารลาดกระบงั . ISBN: 978-616-7367-92-7 ปณิตา วรรณพริ ณุ . (2562). เทคโนโลยสี ารสนเทศและนวตั กรรมการศกึ ษา (Information Technology and Educational Innovation). กรงุ เทพมหานคร: ศนู ย์ผลติ ตำรา มหาวิทยาลยั เทคโนโลยีพระจอมเกล้า พระนครเหนอื . ISBN: 978-616-413-465-2 ระบบบริหารจดั การเรียนการสอนรายวิชาระเบยี บวิธีวจิ ยั ออนไลน์ เขา้ ถึงจาก http://www.e-learning.kmutnb.ac.th 3. เอกสารและขอ้ มลู แนะนำ ปณติ า วรรณพิรุณ. (2559). เอกสารคำสอนวิชา 020015202 เทคโนโลยีสารสนเทศและการสอ่ื สารเพ่ือ การศึกษา (Information and Communication Technology for Education). กรงุ เทพมหานคร: ศนู ยผ์ ลติ ตำรา มหาวิทยาลยั เทคโนโลยพี ระจอมเกลา้ พระนครเหนอื . วรรณี แกมเกตุ. (2555). วธิ วี ิทยาการวจิ ยั ทางพฤติกรรมศาสตร์ (Research Methodology in Behavioral Sciences). กรุงเทพมหานคร: โรงเพิมพแ์ หง่ จุฬางลงกรณม์ หาวิทยาลัย. ISBN: 978-947-03-2299-3 กลุ ธิดา ทว้ มสุข และคณะ. (2561). การวจิ ยั มุษยศาสตร์ดจิ ทิ ลั (Digital Humanities Research). ขอนแก่น: มหาวทิ ยาลัยขอนแกน่ . ISBN: 978-616-438-159-9 อศิ รา กา้ นจักร. (2559). พื้นฐานทางดา้ นเทคโนโลยกี ารศึกษา (Foundation of Educational Technology). ขอนแกน่ : โรงพมิ พค์ ลงั นานาวิทยา. ISBN: 987-616-429-057-0 ระเบียบวิธีวิจยั (Research Methodology) หลกั สูตรวทิ ยาศาสตรมหาบณั ฑติ สาขาวิชาเทคโนโลยสี ารสนเทศและการสอื่ สารเพ่อื การศกึ ษา - 15 -

มคอ.3 หมวดท่ี 7 การประเมนิ และปรบั ปรงุ การดำเนินการของรายวิชา 1. กลยุทธก์ ารประเมนิ ประสิทธผิ ลของรายวชิ าโดยนักศกึ ษา เก็บรวบรวมข้อมูลเชิงคณุ ภาพและขอ้ มลู เชิงปรมิ าณของนักศึกษาจากการเรยี นตามรปู แบบแบบการเรยี นการ สอนแบบผสมผสานระหว่างกิจกรรมการเรียนแบบเผชิญหน้าในชัน้ เรียนแบบปกติ และกิจกรรมการเรียนการสอน แบบออนไลน์ผา่ นเทคโนโลยีสารสนเทศและการสือ่ สาร ได้แก่ 1) ระบบบริหารจัดการเรียนการสอนผ่านเวบ็ แบบ ปฏสิ ัมพันธ์ UCLMS 2) ระบบเครอื ขา่ ยสังคมผ่าน Line,Facebook, youtube, sildeshare และ 3) ระบบการประ ผลแบบกล่มุ เมฆ SaaS โดยใช้ Google Apps for Education 2. กลยทุ ธก์ ารประเมนิ การสอน การสังเกตพฤตกิ รรมการเรียนของศึกษา การประเมินตามสภาพจริง คุณภาพงานการศึกษาค้นคว้าหัวข้อ วิจัยทางด้านเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารเพื่อการศึกษา สรุปบทความวิจัยและบทความวิชาการประจำ สปั ดาห์ เอกสารประมวลความรทู้ ไี่ ดจ้ ากการสรุปบทความวจิ ยั และบทความวชิ าการ และบทความวชิ าการในรายวิชา ทผ่ี ่านการพิจารณาเพือ่ เผยแพร่ในวารสารวิชาการระดบั ชาติ 3. การปรับปรงุ การสอน การวิจัยเพ่อื พฒั นาคณุ ภาพการสอนในรายวชิ าระเบยี บวธิ ีวจิ ยั โดยอาจารยป์ ระจำวิชาและการสัมภาษณ์ เชงิ ลกึ นกั ศึกษาเพ่ือสงั เคราะห์แนวทางในการปรบั ปรงุ การเรยี นการสอน 4. การทวนสอบมาตรฐานผลสัมฤทธขิ์ องนกั ศกึ ษาในรายวิชา ทบทวนจากคะแนน รอ่ งรอยในการเข้ารว่ มกจิ กรรมและงานท่ีได้รับมอบหมายในระบบบรหิ ารจัดการเรียน การสอนแบบผสมผสานรายวชิ าระเบียบวธิ วี จิ ยั 5. การดำเนนิ การทบทวนและการวางแผนปรับปรุงประสทิ ธผิ ลของรายวชิ า นำผลที่ได้จากการประเมินประสิทธิผลของรายวิชาโดยนักศึกษาและกลยุทธ์การประเมินการสอนมา สงั เคราะห์ เพอื่ ออกแบบและปรับปรงุ รูปแบบแบบการเรียนการสอนแบบผสมผสานระหว่างกจิ กรรมการเรียนแบบ เผชญิ หน้าในชน้ั เรียนแบบปกตแิ ละกิจกรรมการเรียนการสอนแบบออนไลน์ผ่านเทคโนโลยสี ารสนเทศและการสื่อสาร เพื่อใชใ้ นการเรยี นครั้งตอ่ ไป ระเบยี บวธิ วี ิจยั (Research Methodology) หลักสตู รวิทยาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวชิ าเทคโนโลยีสารสนเทศและการสือ่ สารเพอ่ื การศึกษา - 16 -


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook