Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore stemeducation2017-2-170317105146

stemeducation2017-2-170317105146

Published by panitaw, 2019-07-19 05:14:15

Description: stemeducation2017-2-170317105146

Search

Read the Text Version

STEM Education หลกั การจดั การเรียนการสอน ตามรูปแบบสะเตม็ ศึกษา ในศตวรรษที่ 21 รองศาสตราจารย์ ดร.ปรัชญนันท์ นิลสุข มหาวทิ ยาลยั เทคโนโลยพี ระจอมเกล้าพระนครเหนือ

ยนิ ดตี ้อนรับ

โครงการ

Contents 1 Thailand 4.0 2 STEM Education 3 มาตรฐาน STEM 4 แนวทางการจัด STEM

ประเทศไทย 4.0

ยทุ ธศาสตร์ 4.0

อตุ สาหกรรม 4.0

การศึกษา 4.0

อาชีวศึกษา 4.0

กรอบพฒั นากาลงั คน + STEM

การเรียนรู้ในศตวรรษท่ี 21

มาตรฐานสะเตม็ ศึกษา

Programme for International Student Assessment : PISA

สะเต็มศึกษาใน 5 ปี จะทาใหม้ กี ารเรยี นการสอน STEM ศกึ ษาครบทุกโรงเรียน (Science Technology Engineering and Mathematics) 14

หน่วยงานท่ีดาเนินงาน STEM 1. สถาบันวทิ ยาศาตร์และเทคโนโลยี (สสวท.) 13 ศูนย์ (91 โรงเรียน) 2. สานักงานปลัดกระทรวงวทิ ยาศาสตร์ 17 โรงเรียน (รับผดิ ชอบเฉพาะห้องเรียน วทิ ยาศาสตร์ จานวน 1 ห้อง) 3. สานักงานพฒั นาวทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ (สวทช.) 24 โรงเรียน 4. สานักงานคณะกรรมการนโยบายวทิ ยาศาตร์ เทคโนโลยีและนวตั กรรมแห่งชาติ (สวทน.) ผ่านเครือข่ายมหาวทิ ยาลัย 1. สานักงานคณะกรรมการการศึกษาเอกชน (สช.) 118 โรงเรียน 2. สานักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา (สกอ.) ดาเนินงานเป็ นพเี่ ลยี้ งให้กับ โรงเรียนท้ังหมด 147 โรงเรียน (ส่วนใหญ่เป็ นกิจกรรม ลดเวลาเรียน เพมิ่ เวลารู้) 3. สานักงานคณะกรรมการอาชีวศึกษา 5 วทิ ยาลยั ***** 15

มหาวทิ ยาลยั เป็นพ่เี ลีย้ ง โรงเรียนศักยภาพสูง โรงเรียน 154 โรง ศูนย์สะเตม็ ภาค และเครือข่าย โรงเรียนศูนย์ฝึ กอบรม และให้คาปรึกษาประจาจงั หวดั 91 โรง โรงเรียนเข้าร่วมโครงการ ขบั เคลื่อนสะเตม็ ศึกษาในปี 2559 จานวน 2,495 โรง โรงเรียนกล่มุ เป้าหมาย 10 โรง/เขต รวม 2,250 โรงเรียน ประถมศึกษา มธั ยมศึกษา มธั ยมศึกษา โรงเรียนประชารัฐ อาชีวศึกษา 1,830 โรงเรียน ตอนต้น ตอนปลาย 734 โรงเรียน 5 วทิ ยาลยั 16 1,417 โรงเรียน 420 โรงเรียน

ศูนย์สะเตม็ ศึกษา

คาสั่ง ศธ ท่ี สป. 375/2559 เรื่อง แต่งต้ังคณะกรรมการนโยบายการจดั การเรียนการสอน สะเตม็ ศึกษาในสถานศึกษา กระทรวงศึกษาธิการ คณะกรรมการอานวยการการ จดั การเรียนการสอนสะเตม็ ศึกษาในสถานศึกษา คณะกรรมการ พฒั นาหลกั สูตรการจดั การเรียนการสอนสะเตม็ ศึกษาในสถานศึกษา คณะกรรมการ ขบั เคล่ือนการจัดการเรียนการสอนสะเตม็ ศึกษาในสถานศึกษา 18

การขบั เคล่ือนการจัดการเรียนรู้สะเต็มศึกษา ปี 2559-2560 1. การจดั พมิ พ์คู่มือครู ประถม มธั ยมศึกษาและอาชีวศึกษา 2. วัสดุอุปกรณ์การทดลอง 5,000 บาท/โรง 3. การจัดพมิ พ์ส่ือการเรียนรู้ (หนังสือ) ประถมและมัธยม รวม (30 เล่ม/โรง) 4. เปิ ดระบบการอบรม online ผ่านระบบ TEPE Link IPST 5. อบรมศึกษานิเทศก์และผู้บริหาร (2,700 คน) 6. การอบรมครู แบบ face to face 6,750 คน (5วัน/รุ่น)

แนวทางการจัดสะเตม็ ศึกษา

เป้าหมายของสะเต็มศึกษาในประเทศไทย

ความหมายของสะเตม็ ศึกษา สะเตม็ ศึกษา (STEM Education) คือ แนวทางการจัด การเรียนรู้ทีบ่ ูรณาการความรู้ใน 4 วิชา ได้แก่ วทิ ยาศาสตร์ (S) เทคโนโลยี (T) วิศวกรรมศาสตร์ (E) และคณิตศาสตร์ (M) โดยเน้นการนาความรู้ไปใช้แก้ปัญหาในชีวติ จริง รวมท้งั การพฒั นากระบวนการหรือผลผลติ ใหม่ ทีเ่ ป็ นประโยชน์ ต่อการดาเนินชีวติ และการทางาน

การจดั การเรียนรู้ตามแนวทางสะเต็ม (1) เป็ นการสอนทเี่ น้นการบูรณาการ (2) ช่วยนักเรียนสร้างความเช่ือมโยงระหว่างเนื้อหาวชิ า ท้งั 4 กบั ชีวติ ประจาวนั และการทางาน (3) เน้นการพฒั นาทักษะในศตวรรษท่ี 21 (4) ท้าทายความคดิ ของนกั เรียน (5) เปิ ดโอกาสให้นักเรียนได้แสดงความคดิ เห็น และ ความเข้าใจทสี่ อดคล้องกบั เนื้อหาท้งั 4 วชิ า

การเรียนรู้แบบบูรณาการ

ระดับการจัดการศึกษาแบบสะเตม็  สาขาวิชา (Disciplinary)  ในรายวชิ า  พหุวิทยาการ (Multidisciplinary)  วิชาเดียว เน้ือหาเดียว แต่ใชห้ ลายวิชา  สหวทิ ยาการ (Interdisciplinary)  หลายวิชา  ขา้ มสาขาวชิ า (Transdisciplinary)  โครงงาน คนละสาขาวชิ า คนละรายวชิ า หลากหลายเน้ือหา

มาตรฐานสะเตม็ ศึกษา

กาหนดข้นั ตอน ของ “กจิ กรรมการเรียนรู้” ข้นั ที่ 1 - ระบุปัญหาในชีวิตจริง/นวตั กรรมทีต่ ้องการพฒั นา ข้นั ท่ี 2 - รวบรวมข้อมูลและแนวคิดทเ่ี กย่ี วข้อง ข้นั ท่ี 3 - ออกแบบวธิ ีการแก้ปัญหา (SCI+Math &T) ข้นั ที่ 4 - วางแผนและดาเนินการแก้ปัญหา (E) ข้นั ท่ี 5 - ทดสอบ ประเมินผล และปรับปรุง (E) ข้นั ท่ี 6 - นาเสนอวธิ ีการแก้ปัญหา ผลการแก้ปัญหา หรือผลการ พฒั นานวตั กรรม

กระบวนการออกแบบทางวศิ วกรรม

แนวทางการจดั สะเตม็ ศึกษาของอาชีวศึกษา  Project-based Learning (PjBL)  Active Learning  Inquiry-based Learning  Robot Contest  จนิ ตวศิ วกรรม (Imagineering)  CDIO  สิ่งประดษิ ฐ์คนรุ่นใหม่

Project-based Learning (PjBL)

Active Learning

การเรียนรู้แบบสืบเสาะ Inquiry-based Learning

Robot Contest

CDIO

จินตวศิ วกรรม (Imagineering)  การจนิ ตนาการ (Imagine)  การออกแบบ (Design)  การพฒั นา (Develop)  การนาเสนอ (Present)  การปรับปรุง (Improvement)  การประเมนิ ผล (Evaluate)

ส่ิงประดษิ ฐ์คนรุ่นใหม่อาชีวศึกษา

STEAM

Active Citizen

บทสรุป การจัดการศึกษาแบบสะเต็มศึกษา เป็ นการจัดการ เรียนรู้ แบบบูรณาการวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี วิศวกรรมและคณิตศาสตร์ มีวิธีการจัดการเรียนรู้ หลากหลายรูปแบบ เป็ นการจัดการเรียนรู้ท่ีเน้น ผู้เรียนเป็ นสาคญั ส่งเสริมการคดิ วเิ คราะห์ การปฏิบัติ การสร้างสรรค์ พัฒนาผู้เรียนให้เป็ นนวัตกรเพื่อนา ประเทศไปสู่ดจิ ทิ ลั ไทยแลนด์

คาถาม

Заголовок слайда รองศาสตราจารย์ ดร.ปรชั ญนันท์ นิลสขุ ภาควิชาครุศาสตรเ์ ทคโนโลยี คณะครศุ าสตรอ์ ุตสาหกรรม มหาวิทยาลยั เทคโนโลยีพระจอมเกลา้ พระนครเหนอื [email protected] http://www.prachyanun.com 081-7037515


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook