Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore P1_10

P1_10

Published by ไกรลาศ ดอนชัย, 2019-07-31 00:08:19

Description: P1_10

Search

Read the Text Version

1 หน่วยการเรียนรู้ท่ี 1 เร่ือง ความรู้ท่วั ไปเก่ยี วกับงานเขยี นแบบ จุดประสงค์การเรียนรู้ เม่ือศกึ ษาหนว่ ยการเรียนนีแ้ ล้วให้นกั เรียนมีความรู้ความสามารถตอ่ ไปนี ้ 1. อธิบายความหมาย ความสาํ คญั ของงานเขียนแบบได้ 2. บอกประเภทของงานเขยี นแบบได้ 3. บอกประโยชน์ของงานเขยี นแบบได้ 4. จดั ทําแผนผงั มโนทศั น์เรื่องงานเขยี นแบบได้ สาระการเรียนรู้ 1. ความหมาย ความสาํ คญั ของงานเขยี นแบบ 2. ประเภทของงานเขียนแบบ 3. ประโยชน์ของงานเขียนแบบ ความหมายของงานเขียนแบบ งานเขียนแบบคอื การถ่ายทอดความคดิ และจินตนาการของวิศวกรหรือสถาปนิก ออกมาให้ปรากฏเป็นรูปร่าง ลกั ษณะและรูปทรงตา่ ง ๆ ในกระดาษเขยี นแบบ ซง่ึ สามารถนาํ ไป ปฏบิ ตั ิและทําได้จริง ดงั นนั้ การเขียนแบบจงึ เป็นงานที่ถา่ ยทอดความคิดอยา่ งสร้างสรรค์ โดย การบรู ณาการความคดิ และจินตนาการเข้าด้วยกนั อยา่ งถกู ต้องเหมาะสมและสวยงาม ความสําคัญของงานเขียนแบบ แบบคอื หวั ใจของงานชา่ งทกุ สาขา โดยเฉพาะงานช่างอุตสาหกรรม เป็น ภาษาสากลท่ีใช้แสดงหรือสอื่ ความหมายของงานทจ่ี ะสร้าง หรือท่ตี ้องการผลติ ภาพหรือรูปร่างท่ี เราเรียกกนั วา่ แบบนนั้ เขียนขนึ ้ โดยอาศยั เส้นชนิดต่าง ๆ เช่น เส้นตรง เส้นประ สัญลักษณ์ และเคร่ืองหมายเฉพาะอ่นื ๆ เม่อื ประกอบกนั ขึน้ เป็ นรูปทรง ก็ใช้ส่ือความหมายท่ใี ห้ผ้ทู ่ี เก่ยี วข้องได้เห็นรูปร่าง เหน็ ขนาด เหน็ ลักษณะของผิว สี ชนิดของวสั ดุ เหน็ วิธกี ารและ ขัน้ ตอนในการนาํ ไปสร้างหรือประกอบ ผ้ทู ี่เกี่ยวข้องสามารถนําแบบมาแยกแยะ เพ่อื คํานวณ ปริมาณของวสั ดุ ประมาณราคา และระยะเวลาในการผลติ ได้ เป็นการยากทจ่ี ะพดู วา่ อาชีพใดบ้าง ท่ไี ม่ต้องการความสามารถในการอ่าน เขียน และเข้าใจแบบ สาํ หรับอาชีพชา่ งอตุ สาหกรรมแล้วถือ วา่ แบบเป็นหวั ใจสาํ คญั ของงาน

2 การจะสร้างอาคาร สร้างรถยนต์ โทรทศั น์ วทิ ยุ ต้เู ย็น ของใช้ท่ีผลติ ขนึ ้ ในงาน อตุ สาหกรรม ท่เี ราอปุ โภค บริโภคอยทู่ กุ วนั นี ้ล้วนแล้วแตต่ ้องออกแบบและเขยี นแบบขนึ ้ มากอ่ น ทงั้ สนิ ้ เม่ือพดู ถึงการเขยี นแบบเรามกั จะรวมถงึ การออกแบบไว้ด้วย หากเราออกแบบได้สวยงาม มี ประโยชน์ เป็นท่ีประทบั ใจแก่ผ้ใู ช้ ยอ่ มถือวา่ แบบมีความสาํ คญั การออกแบบ เขียนแบบ จึง เปรียบเสมือนเป็ นการวางแผน คอื หาวธิ ที ่จี ะสร้างหรือผลิตของส่ิงหน่ึงขึน้ มาล่วงหน้า ผ้ทู ี่ คิดวางแผนอาจไม่ใช่ผ้สู ร้างหรือผ้ผู ลติ เมื่ออกแบบหรือเขยี นแบบสาํ เร็จขนึ ้ มาแล้ว ผ้ผู ลติ ต้อง สามารถเข้าใจแบบ ดงั นนั้ การเขียนแบบจะต้องชัดเจน แม่นยาํ และตีความหมายแบบได้ อย่างเดียวกัน ประเภทของงานเขียนแบบ งานเขยี นแบบแบง่ ออกเป็น ๒ ประเภท คือ 1. งานเขียนแบบด้านสถาปัตยกรรม ( Architectural Drawing) เป็นงานเขียน แบบทเี่ ก่ียวกบั สง่ิ กอ่ สร้างทกุ ชนดิ เช่น อาคาร บ้านเรือนตา่ ง ๆ แบง่ ออกเป็น 4 ชนิด คอื 1.1 แบบภาพเหมือน เป็นการแสดงให้เหน็ รูปสาํ เร็จของชิน้ งานวา่ เมื่อ สร้างเสร็จแล้วผลงานจะมีรูปร่างหน้าตาเป็นอยา่ งไร ดงั รูปที่ 1.1 รูปท่ี 1.1

3 1.2 แบบรูปด้าน แสดงให้เหน็ ด้านตา่ ง ๆ ของวตั ถุ หรือสงิ่ ก่อสร้างนนั ้ อยา่ งชดั เจน เช่น ด้านหน้า ด้านบน ด้านข้าง เป็นต้น ดงั รูปที่ 1.2 รูปท่ี 1.2 1.3 แบบโครงสร้าง เป็นการแสดงให้เหน็ รายละเอียดของโครงสร้างของอาคาร หรือสง่ิ ก่อสร้าง เชน่ แปลนพืน้ โครงหลงั คา เป็นต้น ดงั รูปท่ี 1.3 รูปท่ี 1.3

4 1.4 แบบรูปตัด เป็นการแสดงให้เห็นรายละเอียดภายในของโครงสร้างในสว่ นที่ สาํ คญั ให้เห็นอยา่ งชดั เจนมากขนึ ้ ดงั รูปท่ี 1.4 รูปท่ี 1.4 2. งานเขียนแบบด้านวิศวกรรม (Engineering Drawing) เป็นงานเขียนแบบที่ เกี่ยวกบั เคร่ืองจกั รกล ช่างกลโรงงาน แบง่ ออกเป็น 4 ชนดิ คอื 2.1 เขียนแบบเคร่ืองกล(Mechanical Drawing) เป็นการแสดงให้เห็นถงึ แบบ ชิน้ สว่ นตา่ ง ๆ ของเครื่องจกั รกล เนอ่ื งจากเครื่องจกั รกลจะประกอบด้วยรายละเอียดมากจนไม่ สามารถจะเขยี นรูปแบบทงั้ หมดได้ในแบบเดียว จําเป็นต้องแยกเขยี นเป็นชิน้ สว่ นตา่ ง ๆ เช่น เกลยี ว น๊อต ลกู สบู เฟื อง เป็นต้น ดงั รูปท่ี 1.5 รูปท่ี 1.5

5 2.2 การเขียนแบบงานโลหะ และ โลหะแผ่น (METAL&SHEETMETAL DRAWING) เป็นงานเขียนแบบท่เี ก่ียวกบั งานหลอ่ โลหะ แบบแผน่ คลตี่ า่ ง ๆ ดงั รูปท่ี 1.6 รูปท่ี 1.6 2.3 เขียนแบบงานไฟฟ้า อเิ ลคโทรนิคส์ (ELECTRICAL DRAWING) เป็น งานเขยี นแบบเก่ียวกบั อุปกรณืไฟฟา้ วงจรไฟฟา้ การวางตําแหนง่ ของวรจร อปุ กรณ์จบั ยดึ ไฟฟา้ วงจรวทิ ยุ โทรทศั น์ เป็นต้น ดงั รูปที่ 1.7 รูปวงจรสวิตซ์ 2 ทาง รูปท่ี 1.7 Survey Drawing) แสดงแผนผงั ของเมือง 2.4 การเขียนแบบช่างสํารวจ( กรรมสทิ ธิ์ทด่ี ิน รวมทงั้ ตาํ แหนง่ ของทอ่ นํา้ ประปา ทอ่ ก๊าซ เป็นต้น ดงั รูปท่ี 1.8 รูปท่ี 1.8

6 ประโยชน์ของงานเขียนแบบ 1.เพอ่ื ช่วยบนั ทกึ แนวคิดสร้างสรรค์ขนึ ้ ไว้เป็นรูปแบบท่เี ป็นรูปธรรม 2. ช่วยในการจดั สดั สว่ นของงานให้มีความงดงามลงตวั 3. ชว่ ยในการคาํ นวนณวสั ดทุ ่ีใช้ในการสร้างให้พอดีกบั การทาํ งาน 4. ช่วยให้ผ้อู ่ืนเข้าใจในความคดิ และความต้องการของผ้อู อกแบบ 5. ช่วยให้ผ้อู ื่นสามารถนําแบบนนั้ ไปสร้างได้อยา่ งถกู ต้องตามกระบวนการ ตรงตามความ ต้องการของผ้อู อกแบบ 6. ช่วยจดั นั้ ตอน วธิ ีการทาํ งานได้อยา่ งถกู ต้อง 7. ช่วยแก้ปัญหาของชา่ งที่นําแบบไปปฏิบตั จิ ริง 8. ชว่ ยประหยดั เวลาและคา่ ใช้จ่ายในการปฏบิ ตั ิงานตามแบบ

7 หน่วยการเรียนรู้ท่ี 2 เร่ือง มาตรฐานเส้นท่ใี ช้ในงานเขยี นแบบ และ มาตราส่วน จดุ ประสงค์การเรียนรู้ เม่ือศกึ ษาหนว่ ยการเรียนนีแ้ ล้วให้นกั เรียนมีความรู้ความสามารถตอ่ ไปนี ้ 1. บอกชื่อ และ ความหมายของเส้นชนดิ ตา่ ง ๆ ได้ 2. บอกมาตรฐานในการเขียนแบบเส้นที่ใช้ในงานเขียนแบบได้ 3. บอกความสาํ คญั ของมาตราสว่ นได้ 4. อธิบายมาตราสว่ นท่ใี ช้ในงานเขยี นแบบได้ สาระการเรียนรู้ 1. ชนิดและความหมายของเส้นท่ีใช้ในงานเขยี นแบบ 2. มาตรฐานการเขียนแบบเส้นทใ่ี ช้ในงานเขยี นแบบ 3. ความสาํ คญั ของมาตราสว่ น 4. ชนิดของมาตราสว่ น ชนิดและความหมายของเส้น แบบประกอบขนึ ้ ด้วยเส้นชนดิ ตา่ ง ๆ เพอ่ื ให้เกิดเป็นรูปทตี่ ้องการ เส้นก็เหมือนตวั อกั ษร เวลาเรียนเขยี นอา่ นผ้เู รียนจะเริ่มรู้จกั ตวั อกั ษรและการผสมตวั อกั ษร เขยี นแบบก็เชน่ เดยี วกนั ผ้เู รียนจะต้องรู้จกั ลกั ษณะของเส้น ทงั้ นีไ้ มว่ า่ จะเป็นเส้นชนดิ ใดก็ตามจะต้องสะอาด ทบึ และ สม่ําเสมอตลอดส้น โดยจะต้องแสดงให้เห็นความแตกตา่ งระหวา่ งเส้นหนากบั เส้นบาง เส้นที่ใช้ในงานเขยี นแบบมีหลายชนิด แตล่ ะชนิดจะมีลกั ษณะและความหมายท่ีตา่ งกนั ออกไป 1. เส้นร่างแบบ(Construction or Guide line) เป็นเส้นร่างเบา ๆ ท่ใี ช้ร่างรูปทรง ของแบบหรือวตั ถทุ ่ีต้องการผลติ นอกจากนีเ้ส้นร่างแบบยงั นาํ มาใช้ร่างเป็นแนวก่อนการเขียน ตวั อกั ษรประกอบแบบ เส้นจะต้องมีนํา้ หนกั เบา ลบได้งา่ ย ดงั รูปที่ 2.1 รูปท่ี 2.1

8 2. เส้นขอบหรือเส้นกรอบ ( Border line) เป็นเส้นแสดงกรอบรูป เพอื่ กําหนดให้เหน็ ถึงขอบเขตท่ีจะเขียนรูปให้อยภู่ ายในกรอบทีก่ ําหนด เส้นกรอบเป็นเส้นท่หี นาและ หนกั มาก มีความหนาของเส้น 0.5 - 1 มม. ดงั รูปท่ี 2.2 เม่ือติดกระดาษลงบนโต๊ะเขยี นแบบแล้ว เราจะตีกรอบให้เส้นหา่ งจากขอบกระดาษ 1 ซม. โดยรอบทงั ้ 4 ด้านของกระดาษเขยี นแบบ เพอ่ื กําหนดให้แบบหรือรูปทรงทจี่ ะเขยี นขนึ ้ อยภู่ ายในกรอบนนั้ รูปท่ี 2.2 3. เส้นรูปทรงหรือเส้นรูปวตั ถุ (Visible Object line) เป็นเส้นหนกั แตไ่ มห่ นกั และหนากวา่ เส้นกรอบ แสดงรูปทรงของแบบหรือของวตั ถทุ ตี่ ้องการสร้างหรือผลติ เส้นรูปทรงเป็น เส้นหนกั ท่ีสร้างทบั เส้นร่างแบบ หรือเส้นรูปร่างให้ชดั เจนขนึ ้ อีก เส้นรูปทรงควรจะมีนํา้ หนกั เทา่ กนั ตลอดเส้น ทกุ เส้นท่ีประกอบกนั ขนึ ้ เป็นรูปทรง เส้นรูปทรงควรมีความหนา 0.25 มม. ดงั รูปท่ี 2.3 เส้นรูปทรง รูปท่ี 2.3 4. เส้นบอกขนาด ( Dimension line) เป็นเส้นหนกั ปานกลาง หนกั กวา่ เส้นร่าง แตห่ นกั น้อยกวา่ เส้นรูป ใช้สาํ หรับบอกขนาด กว้าง ยาว สงู หรือหนาของรูปทรง ดงั รูปที่ 2.4 โดยมี หลกั เกณฑ์การเขียนดงั นี ้ เส้นบอกขนาดต้องขนานกบั เส้นรูปมีความยาวเทา่ กบั ขนาดของชิน้ งาน ใสห่ วั ลกู ศรที่ปลายทงั้ สองข้าง ขนาดของลกู ศรทีใ่ ช้ยาว 3 มม. ความหนาของหวั ลกู ศร 1 มม. เส้นบอกขนาดต้องลากยาวตดิ ตอ่ กนั และมีตวั เลขบอกขนาดอยตู่ รงกลางเหนอื เส้น

9 เส้นบอกขนาดเส้นแรกควรหา่ งจากเส้นรูปไมน่ ้อยกวา่ 8 มม. หากมีการบอกขนาดซ้อนกนั 2 เส้น เส้นที่สองจะหา่ งจากเส้นแรกอยา่ งน้อย 5 มม. เส้นบอกขนาดจะเขยี นร่วมกบั เส้นกําหนดขนาดเสมอ หากช่องทต่ี ้องการบอกขนาดมีความยาวน้อยกวา่ 10 มม. ลงมา หวั ลกู ศรควรอยดู่ ้านนอกชี ้ เข้าด้านใน และมีเส้นบอกขนาดเชื่อมโยงระหวา่ งหวั ลกู ศร เส้นบอกขนาด รูปท่ี 2.4 5. เส้นต่อ หรือเส้นช่วยกาํ หนดขนาด (Extension line) เป็นเส้นหนกั ปาน กลาง หนกั กวา่ เส้นร่างแตห่ นกั น้อยกวา่ เส้นรูป ดงั รูปท่ี 2.5 โดยมีหลกั เกณฑ์การเขียน ดงั นี ้ 5.1 เป็นเส้นทีล่ ากตอ่ ออกมาจากเส้นรูปของแบบ โดยมีระยะหา่ งจากขอบรูป ประมาณ 1-2 มม.และลากยาวเลยหวั ลกู ศรไปประมาณ 3 มม. 5.2 ไมค่ วรลากเส้นช่วยกําหนดขนาดจากภาพฉายด้านหนง่ึ ข้ามไปยงั ภาพฉาย อีกด้านหนง่ึ เสน้ ช่วยกําหนดขนาด

10 รูปท่ี 2.5 6. เส้นประหรือเส้นไข่ปลา(Hidden or Dotted line) เป็นเส้นแสดงวตั ถใุ นสว่ น ท่ถี กู บงั เอาไว้ หรือด้านหลงั ซงึ่ มองไม่เหน็ เช่น วตั ถหุ รือรูปทรงท่เี ขียนขนึ ้ มีมมุ เว้า หรือรูปทรงตา่ งไป จากด้านหน้า ก็สามารถแสดงมมุ เว้า หรือรูปทรงด้านหลงั ทมี่ องไมเ่ ห็นนนั้ ด้วยเส้นประ เส้นประมี เป็นเส้นเต็มบาง เส้นประมีลกั ษณะเป็นเส้นสนั้ ๆ แตล่ ะเส้นมีความยาว 3 มม. ช่องวา่ งระหวา่ งเส้น 1 มม. สลบั กนั ไป ข้อสาํ คญั เส้นประจะต้องเริ่มติดกบั เส้นรูปวตั ถุ และจบลงทจ่ี ดุ สดุ ท้ายสมั ผสั กบั เส้นวตั ถุ ดงั รูปที่ 2.6 เส้นประ รูปท่ี 2.6 7. เส้นศนู ย์กลาง ( Center line) ใช้แสดงศนู ย์กลางของวตั ถทุ ี่มีขนาดสองข้าง สมดลุ กนั เช่น แสดงศนู ย์กลางของวงกลม รูปทรงกระบอก เป็นเส้นเต็มบาง ยาวและสนั ้ สลบั กนั ไป เส้นยาว ยาวประมาณ 15.มม. เว้นชอ่ งวา่ 1 มม. และเส้นยาว 1 5 มม. สลบั กนั ไป เช่นนจี ้ นสนิ ้ สดุ รูปของวตั ถุ เส้นศนู ย์กลางควรเริ่มต้นและสนิ ้ สดุ ลงด้วยเส้นยาว และไม่ควรมีเส้นอื่นลากผา่ นเส้น ยาวและเส้นสนั้ ของเส้นศนู ย์กลาง แตค่ วรผา่ นทช่ี ่องวา่ งระหวา่ งเส้รทงั ้ สอง ดงั รูปท่ี 2.7 เส้นศนู ย์กลาง รูปท่ี 2.7

11 8. เส้นตดั หรือเส้นท่ใี ช้ในการแสดงแนวการผ่าวัตถุ ( Cutting Plane line) ปกตแิ บบจะแสดงรายละเอียดรูปร่างของวตั ถภุ ายนอก ผ้อู อกแบบและเขยี นแบบต้องแสดงสว่ นไม่ สามารถสองเห็นภายในไว้ด้วย โดยเฉพาะสว่ นภายในของวตั ถทุ ี่คดิ วา่ ซบั ซ้อน การแสดงวา่ แบบ หรือรูปร่างของวตั ถนุ นั้ ถกู ผา่ ณ จุดใดบ้าง จงึ แสดงด้วยเส้นตดั หรือเส้นแสดงแนวการผา่ วตั ถุ เป็น เส้นหนกั หนกั กวา่ เส้นรูปทรง แตเ่ บากวา่ เส้นกนั้ ขอบ มี ๒ ชนิด คอื 8.1 เส้นทบึ ยาว 15 – 35 มม. เส้นสนั้ ยาว 3 มม. 2 เส้น โดยเว้นชอ่ งวา่ งระหวา่ ง เส้น 1 มม. ปลายทงั้ สองข้างของเส้นหกั เป็นมมุ ฉากชีไ้ ปในทศิ ทางทวี่ ตั ถถุ กู ผา่ และใสห่ วั ลกู ศรที่ ปลายทงั้ สองข้าง ดงั รูที่ 2.8 รูปท่ี 2.8 8.2 มีลกั ษณะเหมือนเส้นประ คือเป็นเส้นสนั้ ๆ โดยขนาดของเส้นยาว 6 มม. เว้น ช่องวา่ งระหวา่ งเส้น 1 มม. ปลายทงั้ สองข้างหกั เป็นมมุ ฉากชีต้ ามทิศทางที่ถกู ผา่ และมีหวั ลกู ศรที่ ปลายเส้นทงั้ สองข้าง ดงั รูปที่ 2.9 รูปท่ี 2.9 9. เส้นแสดงผวิ ท่ถี กู ตดั เส้นแสดงหน้าตัด ( Section line) เป็นเส้นเตม็ หนา ใช้แสดงให้ทราบวา่ ผิวของวตั ถนุ นั้ เป็นผวิ ภายใน เป็นผิวทถ่ี กู ผา่ ออกมา เส้นดงั กลา่ วยงั แสดงชนดิ ของวตั ถดุ ้วย คือบอกให้ทราบวา่ เป็นผวิ ของวตั ถทุ ีเ่ ป็นโลหะ หรือไม้ หรืออื่น ๆ ลกั ษณะเป็นเส้นยาว ตลอด โดยเขียนให้เอียงทํามมุ ตามมมุ ของฉากสามเหลย่ี ม เชน่ 30 องศา 45 องศา และ 60 องศา เมื่อเขยี นเส้นแสดงผิวของวตั ถทุ ถ่ี กู ตดั ในแบบเป็นมมุ เทา่ ไร ก็ควรรักษามมุ เดมิ ไว้ตลอดในแบบอนั เดยี วกนั ดงั รูปที่ 2.10

12 รูปท่ี 2.10 10. เส้นย่นรูป เส้นแสดงรอยตดั ย่อส่วน ( Break line) เส้นนใี ้ ช้ในกรณีที่ไม่ ต้องการเขียนรูปทงั้ หมด เช่น เขยี นรูปสว่ นใดสว่ นหนงึ่ ของวตั ถเุ ทา่ นนั ้ ดงั รูปที่ 2.11 รูปท่ี 2.11

13 มาตราส่วน (Scale) ความสําคญั ของมาตราส่วน แม้วา่ ขนาดของกระดาษเขยี นแบบจะมีอยหู่ ลายขนาดตงั้ แตข่ นาด A0 ถงึ ขนาด A6 ก็ตามการเขียนแบบลงในแบบงานก็ยงั ไม่สามารถใช้ขนาดจริงของชิน้ งานได้ทกุ กรณี เน่อื งจาก บางครัง้ ชิน้ งานนนั้ มีขนาดใหญ่กวา่ กระดาษเขียนแบบมาก ทาํ ให้ไมส่ ามารถเขยี นแบบของชิน้ งาน ลงในกระดาษทมี่ ีอยไู่ ด้ และในบางครัง้ ชิน้ งานก็มีขนาดเลก็ มากจนเราไมส่ ามารถกําหนดขนาด และเขียนแบบออกมาให้เห็นได้อยา่ งชดั เจน หรือแบบทเี่ ขยี นมีขนาดไม่เหมาะสมกบั ขนาดของ กระดาษ ดงั นนั้ การเขยี นแบบงานจงึ ต้องมีการยอ่ หรือขยายภาพจากขนาดของจริงของชิน้ งาน ให้มี ความเหมาะสมกบั ขนาดของกระดาษ และขนาดท่พี อจะเขยี นได้งา่ ย มีอยู่ 2 ชนิด คือ 1. การย่อส่วน ในกรณีทขี่ นาดของวตั ถทุ เ่ี รานาํ มาเขยี นแบบมีขนาดใหญ่มาก เกินกวา่ ขนาดของกระดาษเขยี นแบบ เราจําเป็นต้องยอ่ สว่ นให้มีขนาดเลก็ ลงเหมาะกบั ขนาดของ กระดาษ เชน่ มาตราสว่ น 1:20 หมายความวา่ ขนาดของจริง 20 สว่ น ยอ่ ลงเหลอื เพยี ง 1 สว่ น ใน กระดาษเขียนแบบ ตวั อย่าง ชิน้ งานมีความกว้าง 500 มม. และยาว 1,000 มม. ใช้มาตราสว่ น 1 :10 ขนาดของ ภาพทเ่ี ขียนลงในแบบจะมีความกว้างเทา่ กบั (500/10) 50 มม. ความยาวเทา่ กบั (1,000/10) 100 มม. ซง่ึ มีขนาดเลก็ ลง 10 เทา่ 2. การขยายส่วน ในกรณีทีข่ นาดของจริงเลก็ มาก จนไม่สามารถกําหนดขนาด ลงในกระดาษเขียนแบบให้เห็นอยา่ งชดั เจนได้ เราจําเป็นต้องขยายสว่ นให้มีขนาดใหญ่ขนึ ้ เพ่อื ให้ สามารถกําหนดขนาดได้อยา่ งชดั เจนและเขยี นลงบนกระดาษเขียนแบบได้ เชน่ มาตราสว่ น 20 :1 หมายความวา่ ขนาดของจริง 1 สว่ น นําไปขยาย 20 เทา่ เขยี นลงในกระดาษเขยี นแบบ ตวั อย่าง ชิน้ งานมีความยาว 5 มม. และกว้าง 2 มม. เมื่อเขียนด้วยมาตราสว่ น 10 :1 ขนาดที่ เขยี นจะมีความยาวเทา่ กบั (5x10) 50 มม. ความกว้างเทา่ กบั (2x10) 20 มม. หมายเหตุ 1. ให้สงั เกตตําแหนง่ ของเลข 1 ถ้าเลข 1 อยหู่ น้าเครื่องหมาย : แสดงวา่ เป็นการยอ่ สว่ น ถ้าเลข 1 อยหู่ ลงั เครื่องหมาย : แสดงวา่ เป็นการขยายสว่ น 2. ในการยอ่ หรือขยายเราจะยอ่ หรือขยายเฉพาะขนาดของวตั ถเุ ทา่ นนั ้ คือ ความกว้าง ความยาว ความสงู รูปทรงของวตั ถจุ ะไมม่ ีการเปลยี่ นแปลง ดงั นนั ้ วตั ถจุ ะทาํ มมุ เทา่ ไร ก็ตาม ไมว่ า่ จะเป็นการยอ่ หรือขยายมมุ ของวตั ถจุ ะต้องเทา่ เดมิ 3. จะต้องเขยี นบอกมาตราสว่ นทใ่ี ช้ในการเขยี นแบบทกุ ครัง้ 4. มาตราสว่ น 1:1 หมายความวา่ ขนาดในแบบกบั ขนาดของจริงเทา่ กนั

14 ตารางแสดงการเปรียบเทยี บมาตราส่วน มาตราส่วน 1:1 ขนาดท่เี ขียนลงในแบบงาน 1:10 ขนาดองจริง 10 2:1 5:1 10:1 1:2 1:5 1 20 20 50 100 5 2 2 10 40 100 200 10 4 30 3 20 60 150 300 15 6 30 5. ระบบการวดั ทีใ่ ช้ในงานเขียนแบบปัจจุบนั ใช้ระบบเมตริก ซง่ึ มีหนว่ ยเป็น มิลลเิ มตร = มม. เซนติเมตร = ซม. เมตร = ม. การแปลงหนว่ ยระบบเมตริกเป็นระบบองั กฤษ(นวิ ้ ) 1 มิลลมิ ตร = 0.03937 นวิ ้ 1 เซนตเิ มตร = 0.3937 นิว้ 1 เมตร = 39.37 นิว้ 1 กิโลเมตร = 0.6214 ไมล์

15 หน่วยการเรียนรู้ท่ี 3 เร่ือง ตัวเลขและตวั อกั ษร จดุ ประสงค์การเรียนรู้ เม่ือศกึ ษาหนว่ ยการเรียนนแี ้ ล้วให้นกั เรียนมีความรู้ความสามารถตอ่ ไปนี ้ 1. อธิบายวิธีการเขียนตวั อกั ษรได้ 1. อธิบายวิธีการเขียนตวั เลขได้ 2. เขยี นตวั อกั ษรและตวั เลขได้ถกู ต้องตามหลกั เกณฑ์ สาระการเรียนรู้ 1. การเขียนตวั เลขและตวั อกั ษร 2. ฝึกเขียนตวั เลขและตวั อกั ษรตามมาตรฐาน ตวั เลขและตัวอักษร การเขียนแบบนอกจากจะใช้ภาษาแบบท่ีสร้างขนึ ้ แล้ว ยงั ต้องใช้ภาษาหนงั สอื (written language) สาํ หรับอธิบายเพอ่ื ให้แบบสมบรู ณ์ยงิ่ ขนึ ้ กลา่ วคือ ภาษาหนงั สอื อาจอธิบาย ชนดิ ของวสั ดุ ขนาด ระยะ และจํานวน ตลอดจนประเภทของสง่ิ ของในแบบ ภาษาหนงั สอื ดงั กลา่ ว นี ้มาในรูปของตวั เลขและตวั อกั ษร ดงั นนั ้ นอกจากตวั อกั ษรและตวั เลขมีความหมายตอ่ แบบ กลา่ วคอื จะต้องเป็ นตวั อักษรและตัวเลขท่สี ะอาด ชัดเจน อ่านได้ง่าย เข้าใจได้ง่าย ผ้เู รียน จะต้องหาประสบการณ์และทาํ ความเข้าใจเร่ืองการเขียนตวั เลขและตวั อักษรอีกด้วย ตวั อกั ษรและตวั เลขทใ่ี ช้ในการเขียนแบบโดยทว่ั ไป คือ ถ้าแบบจะใช้ประโยชน์กว้างขวางถึง ประเทศอ่ืน ๆ ก็นยิ มใช้ตวั อกั ษรภาษาองั กฤษ และตวั เลขอาราบคิ แตก่ ารใช้ภาษาไทยและตวั เลข ไทยก็ควรศกึ ษาไว้ ตัวอกั ษรภาษาอังกฤษ นิยมใช้อกั ษรทเ่ี รียกวา่ Single Stroke Gothic เป็นตวั อกั ษรทีเ่ ขียนงา่ ย เขยี นได้ รวดเร็วและอา่ นได้เร็ว คาํ วา่ Single Stroke หมายถงึ ตวั อกั ษรท่มี ีความกว้าง หรือความหนาของ เส้นเทา่ กบั ความหนาของไส้ดินสอ พดู งา่ ย ๆ ก็คือ ตวั อกั ษรทเ่ี ป็นเส้นชนั ้ เดยี ว การเขยี นตวั อกั ษร เพ่ือใช้ในแบบนนั้ จะใช้ ตัวอกั ษรแบบตรง (vertical) หรือแบบเอียง (inclined) ก็ได้ ข้อสาํ คญั

16 คอื ในแบบชดุ หนงึ่ ๆ ถ้าใช้ตวั อกั ษรแบบใดก็ควรใช้แบบนนั้ ตลอด ไมค่ วรปนกนั ทงั้ สองแบบ ดงั รูป ท่ี 3.1 ABCDEFHIJKLMNOPQRSTUVWXYZ ABCDEFHIJKLMNOPQRSTUVWXYZ รูปท่ี 3.1 การเขยี นตวั อกั ษรนนั้ ไมย่ ากนกั ในขนั้ ต้นควรเรียนรู้รูปร่างลกั ษณะตวั อกั ษร เรียน หลกั การเขียน เช่น ชอ่ งไฟ ความสงู และการฝึกปฏิบตั ิ เวลาเขยี นควรหมนุ ดนิ สอเพ่อื ให้ได้เส้น ตวั อกั ษรคม และมีนํา้ หนกั สมํ่าเสมอ ขยนั เหลาหรือฝนไส้ดนิ สอเม่ือเห็นวา่ เส้นแตกหนา เส้นนาํ (Guide Line) จากรูปแสดงการใช้เส้นนาํ ในการเขยี นตวั อกั ษร เป็นเส้น เบามาก ไมต่ ้องลบเมื่อเขียนตวั อกั ษรเสร็จแล้ว แตเ่ ส้นนาํ นีจ้ ะไมป่ รากฏเมื่อนาํ แบบไปทาํ พิมพ์ เขียว เส้นนําเป็นเส้นที่กําหนดความสงู ความตรง หรือเอียงของตวั อกั ษรอีกด้วย (ตวั อกั ษรเอียงทํา มมุ 67.5 องศา) ดงั รูปที่ 4.2 รูปท่ี 3.2 ช่องไฟ ( Spacing) ไมม่ ีกฎเกณฑ์ที่แนน่ อนและรวดเร็ว เพือ่ ใช้ในการกําหนด ช่องไฟในการเขยี นตวั อกั ษรแบบ Single Stroke แตใ่ ช้สายตาจดั ระยะช่องไฟระหวา่ งตวั อกั ษร มากกวา่ ใช้การวดั หลกั การก็คือ พยายามให้ตวั อกั ษรอยหู่ า่ งจากกนั เทา่ กนั โดยสายตา ข้อสงั เกต สาํ หรับตวั อกั ษรภาษาองั กฤษคือ ตวั อกั ษรที่สร้างขนึ ้ ด้วยเส้นตรง จะต้องการเนอื ้ ทมี่ ากกวา่ ตวั อกั ษรที่สร้างขนึ ้ ด้วยเส้นโค้ง ตวั อยา่ งเช่น ตวั M และ W โตกวา่ O และ D เป็นต้น สาํ หรับ ระยะหา่ งระหวา่ งคาํ และระหวา่ งประโยคนนั ้ ควรมีความหา่ งเทา่ กบั ความสงู ของตวั อกั ษรสว่ น ระยะหา่ งระหวา่ งแถว เช่น แถวบนกบั แถวลา่ งหา่ งกนั เทา่ กบั ความสงู ของตวั อกั ษร หรือน้อยกวา่ ความสงู ของตวั อกั ษรเลก็ น้อย ดงั รูปที่ 3.3 BANGBUATHONG SCHOOL LABSCHOOL IN AMPURBANGBUATHONG NONTHABURI รูปท่ี 3.3

17 ความสงู ของตวั อกั ษรทีใ่ ช้เขียนแบบทว่ั ไป นยิ มสงู ประมาณ 3 มม. สาํ หรับ ตวั อกั ษรท่ใี ช้เป็นหวั เรื่องหรือหวั ข้อ สงู 5-6 มม. กรณีที่แบบมีขนาดใหญ่ ต้องการตวั หนงั สอื ทใ่ี หญ่ กวา่ ทก่ี ลา่ วมาแล้วก็ได้ เพอ่ื ให้อ่านได้งา่ ยขนึ ้ ตวั อกั ษรภาษาองั กฤษนยิ มเขียนตวั พมิ พ์ใหญ่ มากกวา่ ตวั พมิ พ์เลก็ ในการฝึกหดั เขียนนยิ มสร่างเป็นรูปสเี่ หลย่ี มจตั รุ ัส แบง่ ออกเป็น 6 หนว่ ย ทกุ ด้านรวมกนั เป็น 36 ช่องสเ่ี หลย่ี มจตั รุ ัสเลก็ ในสเ่ี หลย่ี มจตั รุ ัสใหญ่ ควรศกึ ษาวา่ ตวั อกั ษรมีรูปร่าง สดั สว่ นและลาํ ดบั การเขยี นเป็นอยา่ งไร เชน่ ตวั I เป็นตวั อกั ษรท่อี ยกู่ ง่ึ กลางรูปสเี่ หลยี่ มจตั รุ ัสพอดี เวลาลากเส้นหรือตวั อกั ษรทสี่ ร้างขนึ ้ ตามแนวดงิ่ ก็ต้องลากเส้นจากบนลงลา่ ง ถ้าเป็นอกั ษรทเ่ี ขยี น ในแนวราบ เช่น ทอ่ นลา่ งของตวั L หรือสว่ นบนของตวั T ก็ต้องลากจากซ้ายไปขวา ตวั อกั ษรบาง ตวั ใช้เพียง 5 ชอ่ งเลก็ (สเี่ หลยี่ มจตั รุ ัสเลก็ ) และมีตวั อกั ษรหลายตวั ทีเ่ ขยี นเตม็ 6 ช่องเลก็ เชน่ M , T ,V , A สว่ นตวั อกั ษรบางตวั ดงั รูปท่ี 3.4

18 รูปท่ี 3.4 การเขียนตัวเลข (Numberals) ต้องการให้ผ้เู ขียนเอาใจใสเ่ ป็นพิเศษ คือ สงั เกตลกั ษณะของตวั เลขตา่ ง ๆ ดคู วาม แตกตา่ งในรูปร่างและขนาด เช่น เลข 1 ขนาดเลก็ กวา่ 2 , 4 , 6 และ 9 โดยปกตเิ วลาเขยี นตวั เลข ในระยะฝึกหดั มกั สร้างเป็นรูปสเ่ี หลยี่ มเชน่ เดยี วกบั ตวั อกั ษร โดยทําเป็นสเ่ี หลย่ี มจตั รุ ัสใหญ่ แล้ว แบง่ เป็น 5 ช่อง สร้างเป็นสเ่ี หลย่ี มจตั รุ ัสเลก็ ในนนั ้ ให้ได้ 25 ชอ่ ง ให้สงั เกตการณ์สร้างเลข 1 , 4 , 7 และ 2 ดงั รูปท่ี 3.5 รูปท่ี 3.5 สาํ หรับเลข 0 , 3 , 5 , 6 , 8 , 9 มีนาดโตกวา่ 4 , 7 , 2 คาํ วา่ ”และ” อาจใช้ เคร่ืองหมายอยา่ งใดอยา่ งหนง่ึ ใน 3 แบบ แทน แบบ A เป็นแบบทน่ี ยิ มใช้มากทส่ี ดุ และ แบบ C เป็นแบบทส่ี ะดวกในการเขียนด้วยมือเปลา่ เวลาปฏิบตั งิ านจริง ดงั รูปท่ี 3.6

19 รูปท่ี 3.6 การเขียนตวั อักษรภาษาไทย การเขยี นตวั อกั ษรภาษาไทยเพ่อื อธิบายแบบหรือประกอบแบบ นยิ มเขยี นเป็น ตวั หนงั สอื คดั ลายมือ คือ ตวั หนงั สอื ท่มี ีความหนาหรือความกว้างของเส้นเทา่ กบั ขนาดไส้ดนิ สอ ความหมายเดยี วกบั คาํ วา่ Single Stroke ทีใ่ ช้ในการเขียนตวั อกั ษรภาษาองั กฤษ ตวั หนงั สอื ท่ี เขียนมี 2 แบบ คอื แบบตวั ตรง หรือแบบตวั อียง ไมว่ า่ จะเป็นตวั อกั ษรชนดิ ใด ข้อสาํ คญั เวลา เลอื กใช้ในแตล่ ะครัง้ ขอให้ใช้ชนดิ ใดชนิดหนงึ่ เพียงชนดิ ใด ตวั อยา่ งตวั อกั ษร ดงั รูปท่ี 3.7 กขคฆงจฉชซฌญฎฏฐฑฒณดตถทธ นบปผฝพฟภมยรลวศษสหฬอฮ กขคฆงจฉชซฌญฎฏฐฑฒณดตถทธ นบปผฝพฟภมยรลวศษสหฬอฮ ๑๒๓๔๕๖๗๘๙๐ ๑๒๓๔๕๖๗๘๙๐ รูปท่ี 3.7 ตวั อกั ษรภาษาไทยอีกแบบหนง่ึ เป็นแบบทม่ี ีความหนา หนามากกวา่ การคดั ลายมือ ตวั อกั ษรแบบนีต้ ้องใช้เครื่องมือทมี่ ีปลายคอ่ นข้างหนาเขยี น เชน่ ปากกาปลายแบน หรือไส้ ดินสอแบนใหญ่ แม้จะเป็นตวั หนงั สอื ท่อี า่ นงา่ ย ไม่มีลวดลาย ไม่เหมาะท่ีจะนํามาใช้ประกอบการ เขยี นแบบ เหมาะทีจ่ ะใช้สาํ หรับการเขยี นเป็นปา้ ยช่ือสถานทต่ี า่ ง ๆ ดงั รูปท่ี 3.8

20 รูปท่ี 3.8 การปฏิบตั เิ พอื่ เขยี นตวั อกั ษรทงั ้ ภาษาไทยและภาษาองั กฤษ มีลกั ษณะคล้ายคลงึ กนั กลา่ วคอื จะต้องมีชอ่ งไฟ(Spacing) มีความสงู ( Height) มีชนิดของตวั อกั ษรท่จี ะเลอื กใช้ เวลา เร่ิมต้นเขยี นจะต้องสร้างหรือกําหนดสว่ นสงู กําหนดเส้นนาํ สว่ นสงู ของอกั ษรภาษาไทยควร มากกวา่ สว่ นกว้างถ้ากําหนดให้เป็นรูปสเ่ี หลยี่ มให้แตล่ ะตวั อกั ษรแล้วจะไม่เป็นสเ่ี หลยี่ มจตั รุ ัส แต่ จะเป็นรูปสเี่ หลย่ี มทีม่ ีความสงู มากกวา่ ความกว้าง ตวั อกั ษรประกอบแบบในภาษาองั กฤษ จะมี ความสงู ประมาณ 3 มม. สาํ หรับภาษาไทย อาจเป็นขนาดความสงู 5 มม. กว้าง 3 มม. เม่ือแบง่ ความกว้างออกเป็นสสี่ ว่ นแล้ว จะใช้เขยี นตวั อกั ษรเพยี งสามสว่ น อีกหนงึ่ สว่ นท่ีเหลอื เป็นช่องไฟ ฉะนนั้ การจดั ช่องไฟของตวั อกั ษรภาษาไทย จึงเทา่ กนั ทกุ ตวั เพราะหกั ออกมาหนง่ึ ในสส่ี ว่ นของ ความกว้างของตวั อกั ษรแตล่ ะตวั ยกเว้นสระบง่ ตวั เชน่ สระ เ และ สระ า

21 หน่วยการเรียนรู้ท่ี 4 เร่ือง เคร่ืองมือและอุปกรณ์งานเขยี นแบบ จดุ ประสงค์การเรียนรู้ เม่ือศกึ ษาหนว่ ยการเรียนนแี ้ ล้วให้นกั เรียนมีความรู้ความสามารถตอ่ ไปนี ้ 1. บอกช่ือเครื่องมือและอปุ กรณ์งานเขียนแบบได้ 2. อธิบายหน้าทกี่ ารใช้งานและวธิ ีการใช้เคร่ืองมืองานเขียนแบบได้ 3. ปฏบิ ตั งิ านโดยใช้เครื่องมืองานเขียนแบบได้อยา่ งมีประสทิ ธิภาพ สาระการเรียนรู้ 1. ชนิดของเคร่ืองมือและอปุ กรณ์งานเขียนแบบ 2. หน้าที่และวธิ ีการใช้เครื่องมือและอปุ กรณ์งานเขยี นแบบ เคร่ืองมอื และอปุ กรณ์งานเขียนแบบ ในการทาํ งานเขยี นแบบผ้เู รียนจําเป็นต้องรู้จกั เครื่องมือและอปุ กรณ์ที่ใช้ในงาน เขยี นแบบท่จี ําเป็น รู้จกั หลกั การใช้อยา่ งถกู วิธี เพื่อให้การทํางานเกิดประสทิ ธิภาพ สามารถทาํ งาน ได้อยา่ งรวดเร็ว ถกู ต้องและสวยงาม ตลอดจนวิธีการดแู ลรักษา เพ่ือให้เครื่องมืออยใู่ นสภาพดี สมบูรณ์ในระยะเวลายาวนาน 1. โต๊ะเขียนแบบ(DRAWING TABLE) โต๊ะเขยี นแบบโดยทวั่ ๆ ไป จะมีขนาด มาตรฐานจาก 600X900 มม. ถงึ 1,050 X 2,100 มม. คณุ ลกั ษณะทด่ี ขี องโต๊ะเขียนแบบ คอื 1.1 พืน้ โต๊ะต้องราบเรียบสนิทใช้วสั ดแุ ขง็ เรียบ ทาํ ความสะอาดงา่ ย 1.2 มีขอบด้านหนงึ่ เรียบและได้ฉากกบั พนื ้ ผวิ 1.3 ปรับพนื ้ โต๊ะให้สงู ต่ํา หรือเอียงได้เพอ่ื ความสะดวกในการเขียนแบบ ดงั รูปที่ 4.1 รูปท่ี 4.1

22 การบาํ รุงรักษา 1. ทําความสะอาดพืน้ โต๊ะทกุ ครัง้ ก่อนและหลงั จากการใช้งาน 2. รักษาพืน้ ผวิ ไมใ่ ห้มีรอยแตก หรือรอยบมุ๋ 2. กระดานเขียนแบบ(DRAWING BORAD) ในกรณีท่ีไมส่ ามารถจดั หาโต๊ะ เขียนแบบได้ ก็อาจใช้กระดานเขียนแบบแทน กระดานเขยี นแบบทําจากแผน่ กระดานไม้เนอื ้ อ่อน พนื ้ เรียบ ปพู นื ้ โต๊ด้วยวสั ดแุ ผน่ เรียบเช่นฟอร์ไมก้า และมีขอบตงั ้ ได้ฉากกบั พืน้ เมื่อตดิ กระดาษลง บนแผน่ กระดานแล้ว วางกระดานบนโต๊ะอีกครัง้ หนง่ึ แล้วใช้ปฏิบตั ิงานเขียนแบบได้ ดงั รูปท่ี 4.2 รูปท่ี 4.2 การบาํ รุงรักษา 1. ทําความสะอาดพืน้ กระดานทกุ ครัง้ ก่อนและหลงั จากการใช้งาน 2. รักษาผวิ กระดานอยา่ ให้มีรอยแตกหรือบมุ๋ 3. การจดั เก็บควรจดั เก็บในแนวตงั้ 3.ไม้ที (T-SQUARE) ใช้เป็นแนวในการลากเส้นตรงในแนวนอน (180 องศา) และใช้เป็นฐานรองรับฉากสามเหลย่ี ม เพอ่ื เขยี นเส้นในแนวตงั ้ หรือในแนวดิง่ (90 องศา) ซง่ึ จะต้อง ใช้ร่วมกบั โต๊ะเขียนแบบหรือกระดานเขยี นแบบ ฉากตวั ทปี ระกอบด้วยสว่ นหวั ( Head) และสว่ นใบ (Blade) ตดิ กนั เป็นรูปตวั ทีทํามมุ ฉากตอ่ กนั ดงั รูปท่ี 42.3 รูปท่ี 4.3

23 ขอบบนของสว่ นใบซง่ึ เป็นทใี่ ช้เพอ่ื เขียนเส้นในแนวนอนมกั ห้มุ ด้วยพลาสติก เพอ่ื รักษาขอบให้ตรง และสามารถมองเหน็ เส้นขณะเขียนได้ ความยาวของไม้ทีมีตงั ้ แต่ 45 ซม. จนถึง 180 ซม. การเลอื กใช้ไม้ทขี นาดยาวเทา่ ใดขนึ ้ อยกู่ บั ระดบั งานของผ้ใู ช้ และขนึ ้ อยกุ๋ บั ขนาดของโต๊ะ และกระดาษเขยี นแบบ ปกตขิ นาดของไม้ทีทีเ่ ลอื กใช้ ควรมีขนาดความยาวเกือบเทา่ หรือเทา่ กบั ความยาวของโต๊ะเขียนแบบ เวลาทใี่ ช้ไม้ที จะต้องให้สว่ นหวั ของไม้ทีเกาะแนน่ ขนานกบั ขอบของโต๊ะหรือ กระดานเขยี นแบบ และสว่ นใบแบนราบทบั บนพนื ้ โต๊ะบนกระดาษเขียนแบบ เวลาเขยี นเส้นใน แนวนอนเพียงใช้แรงกดเลก็ น้อย ให้สว่ นใบแบนราบกบั พนื ้ โต๊ะ และให้สว่ นหวั เกาะแนน่ กบั ขอบ โต๊ะเขยี นแบบ แล้วลากเส้นไปตามขอบบนสว่ นใบของไม้ที เลอ่ื นไม้ทีขนึ ้ ลงตามวธิ ีที่กลา่ ว เม่ือ ต้องการเขียนเส้นในตาํ แหนง่ ตา่ ง ๆ ดงั รูปท่ี 4.4,4.5 และ 4.6 รูปท่ี 4.4 รูปท่ี 4.5

24 การใช้ไม้ทีสาํ หรับลากเส้นในแนวนอน รูปท่ี 4.6 การบาํ รุงรักษา การรักษาไม้ทใี ห้ใช้ได้นาน และมีประสทิ ธิภาพ คือ 1. อยา่ ทําหลน่ ระวงั ให้สว่ นหวั ยดึ แนน่ กบั ใบ ถ้าโยกจะทาํ ให้เส้นไม่ตรง 2. ไมใ่ ช้สว่ นใบตีสง่ิ ของอ่ืน ๆ แทนค้อน จะทาํ ให้ขอบใบเสยี หายเป็นรอย 3. การเก็บให้ใช้วิธีการแขวนปลายสว่ นใบซง่ึ มีรูกลมเจาะไว้แล้ว 4. ก่อนและหลงั จากการใช้งานทกุ ครัง้ ควรใช้ผ้าเช็ดทาํ ความสะอาด ทีสไลด์ เป็นเคร่ืองมือทใ่ี ช้ทาํ งาน ในลกั ษณะเดยี วกบั ไม้ทีธรรมดา สามารถนํามาประกอบกบั โต๊ะ เขยี นแบบหรือกระดานเขยี นแบบได้ ใช้หลกั การทํางานของเชือกและรอก มีความสะดวก รวดเร็ว และมีความขนานเท่ียงตรงกวา่ ไม้ที ดงั รูปท่ี 4.7 รูปท่ี 4.7 4. ฉากสามเหล่ียม หรือ เซตสแควร์(TRIANGLE SET-SQUARE) ชุดหนงึ่ มี อยู่ 2 แบบ มีมมุ ตา่ งกนั ดงั นี ้อนั แรกเรียกวา่ ฉาก 30,60 และ 90 องศา สว่ นอนั ที่ 2 เรียกวา่ ฉาก

25 45, 45, และ 90 องศา การเขยี นมมุ ของฉากสามเหลย่ี มทงั ้ 2 อนั นี ้ จะต้องใช้นงั่ บนขอบไม้ทีเพอื่ เขียนเส้นในแนวดงิ่ หรือเส้นในแนวตงั้ (90 องศา) นอกจากนนั ้ ยงั ใช้เขยี นเส้นทํามมุ 30 , 45 , 60 องศา ฉากเหลา่ นีท้ าํ ด้วยเซลลลู อยด์ หรือพลาสตกิ มีขนาดตา่ ง ๆ กนั ทน่ี ิยมใช้กนั มากเป็นขนาด 8”,10” และ 12” ดงั รูปที่ 4.8 และ 4.9 รูปท่ี 4.8 การใช้ฉากสามเหล่ียมในการลากเส้นตัง้ ฉาก รูปท่ี 4.9 ยงั มีฉากอีกชนดิ หนง่ึ ทีป่ รับองศาได้ ( ADJUSTABLE TRIANGLE) แทนท่จี ะใช้ฉากสามเหลยี่ ม สองอนั ดงั กลา่ วข้างต้น เราสามารถใช้ฉากปรับองศาแทนได้ เพราะสะดวกกวา่ ฉากทปี่ รับองศานี ้ จะมีโปรแทรกเตอร์รวมอยดู่ ้วยในตวั ระบอุ งศาให้ปรับ ดงั รูปท่ี 4.10 องศาดงั กลา่ วมีตงั ้ แต่ 0 ถึง 90 องศา

26 รูปท่ี 4.10 การบาํ รุงรักษา 1. ไมใ่ ห้ฉากสามเหลย่ี มบิดงอ 2. ต้องเก็บโดยการวงาในแนวราบเสมอ 3. ควรใช้ผ้าเช็ดทําความสะอาดทกุ ครัง้ ทงั ้ ก่อนและหลงั การใช้งาน 4. ไม่ควรทาํ ฉากตกหลน่ โดยเฉพาะฉากปรับองศา เพราะอาจทําให้ตวั ยดึ หลวม ไม่แนน่ เส้นที่ได้จะไม่เทีย่ งตรง 5. บรรทัดสเกล (SCALE) มีหน้าทส่ี าํ หรับวดั ระยะและช่วยในการเขยี นแบบให้ ได้ ขนาดตามที่ต้องการ โดยใช้มาตราสว่ นทีเ่ หมาะสม บรรทดั สเกลมีทงั ้ แบบแบน ดงั รูปท่ี 4.11 และแบบหน้าตดั เป็นสามเหลย่ี ม ดงั รูปท่ี 4.12 ซง่ึ จะมีผิวหน้าสาํ หรับวดั มากขนึ ้ ในบรรทดั เพียงอนั เดยี ว เวลาใช้บรรทดั สเกลแบบนมี ้ กั จะมีตวั หนีบหนีบไว้ เพอ่ื ให้ผวิ หน้าที่ต้องการจะใช้หนั ขนึ ้ ข้างบนสาํ หรับใช้งานได้ทนั ที ดงั รูปท่ี 4.13 รูปท่ี 4.11

27 รูปท่ี 4.12 รูปท่ี 4.13 COMPASS) เป็นอุปกรณ์สาํ หรับเขียนวงกลมและเส้นโค้ง ดงั รูปที่ 6. วงเวยี น ( 4.14 ตา่ งจากดไิ วเดอร์ตรงทมี่ ีขาแหลมเพียงข้างเดยี ว สว่ นอีกข้างหนง่ึ เป็นท่ีใสไ่ ส้ดินสอ ในกรณีท่ี ต้องการเขยี นวงกลมที่มีขนาดใหญ่ จะมีชุดตอ่ ขาวงเวยี น(LENGTHENING BAR) ให้ยาวออกเพอ่ื เขยี นวงกลมให้โตขนึ ้ ได้ ดงั รูปท่ี 4.15 รูปท่ี 4.14

28 รูปท่ี 4.15 การบาํ รุงรักษา รักษาปลายแหลมของขาสว่ นท่ีจะใช้เป็นจุดศนู ย์กลางให้แหลมคม สว่ นปลาย ดินสอต้องเหลาให้แหลมคมอยเู่ สมอ 6. วงเวยี นวัดระยะ (DIVIDER) มีลกั ษณะคล้ายวงเวียน แตป่ ลายทงั ้ สองข้าง แหลมเหมือนกนั ใช้สาํ หรับแบง่ เส้น แบง่ ระยะ ถา่ ยระยะ เน่อื งจากปลายทงั ้ สองข้างของดไิ วเดอร์ แหลมคมมาก การถา่ ยระยะออกเป็นสว่ น ๆ ทาํ ได้แมน่ ยํากวา่ เครื่องมือ ดงั รูปที่ 4.16 รูปท่ี 4.16 7. ส่วนโค้งหรือเคริฟ ( IRREGULAR OR CURVES) ในกรณีท่ีจะเขยี นสว่ น โค้งซง่ึ ไม่ปกติ กลา่ วคือสว่ นโค้งที่ไมส่ ามารถสร้างด้วยวงเวยี นได้ ก็จําเป็นต้องใช้โค้งอปกตนิ เี ้ขียน แทน ดงั รูปที่ 4.17 การจะใช้เคริฟเพ่ือเขียนสว่ นโค้งนนั้ ควรจะกําหนดจดุ ทีจ่ ะให้สว่ นโค้งผา่ นไปไว้

29 ลว่ งหน้าก่อน อาจจะโดยการคาํ นวนณ โดยการทดลอง แล้วร่างเส้นเบา ๆ ด้วยมือเปลา่ ไว้ก่อน จึง นาํ เอาเคริฟมาทาบแล้วลากเส้นตามแนวเคริฟ ดงั รูปที่ 4.18 รูปท่ี 4.17 รูปท่ี 4.18 TEMPLATES) เป็นอุปกรณ์ท่ีชว่ ยลดเวลาในการทํางานของชา่ ง 8. เทมเพลท ( เขียนแบบ เทมเพลทเป็นแผน่ พลาสตกิ เจาะรู รูปวงกลม วงรี ห้าเหลย่ี ม ฯ ขนาดตา่ ง ๆ กนั ดงั รูป 4.19 ใช้ทาบรูปทรงทต่ี ้องการเขียนจากแผน่ เทมเพลทบนกระดาษ แล้วใช้ดินสอลากตามรูปในเทม เพลทเหลา่ นนั้ ไม่ต้องเสยี เวลาในการเขยี นตามหลกั การ รูปท่ี 4.19

30 9. ดินสอเขียนแบบ (DROWING PENCIL) งานเขียนแบบแตกตา่ งกบั งาน เขียนอื่น ๆ ตรงทจ่ี ะต้องพจิ ารณาเลอื กชนิดของไส้ดนิ สอให้เหมาะสมกบั ชนดิ ของเส้น และของ กระดาษท่ีใช้เขียนแบบ ไส้ดนิ สออาจทําจากแกรไฟท์ ดนิ เหนียว และยางสนหรือสว่ นผสมของยาง ไม้ ดนิ สอชนิดทีใ่ ช้แกรไฟท์ทาํ ไส้ ใช้มาแล้วเป็นเวลากวา่ 200 ปี และเหมาะที่จะใช้กบั กระดาษ เขียนแบบ ปัจจบุ นั ดินสอไส้แกรไฟท์ ทีม่ ีความแข็งออ่ นแตกตา่ งกนั 17 ชนิด เริ่มจากออ่ นทสี่ ดุ คือ เวลาเขยี นเส้นจะดํามากไปจนถงึ แขง็ ที่สดุ เส้นจะเบาดําน้อย โดยใช้อกั ษรยอ่ ดงั นี ้6 B,5B,4B, 3B,2B,B,HB,F,H,2H,3H,4H,5H,6H,7H,8H,9H ดนิ สอที่ไส้ออ่ นท่ีสดุ มีความดาํ มาก ๆ นนั้ ไส้จะมี ขนาดเส้นผา่ ศนู ย์กลางโตกวา่ ท่มี ีไส้แขง็ ที่สดุ เชน่ ดินสอ 6 B ไส้จะโตและเส้นดาํ กวา่ ไส้ F และ 9 H เป็นต้น ดงั รูปท่ี 4.20 รูปท่ี 4.20 การเลอื กดินสอเกรดใดใช้กบั งานชนดิ ใดขนึ ้ อยกู่ บั ผิวของวสั ดทุ ใ่ี ช้ทาํ กระดาษ เขียนแบบ ขน่ึ อยกู่ บั ชนดิ ของเส้นทตี่ ้องการ เช่น เวลาเขยี นเส้นร่าง ( LAYOUT) ใช้ดนิ สอไส้แข็ง ขนาด 4H และ 6H เวลาลงเส้นหนกั อาจใช้ HB หรือ 2H ถ้าเขยี นตวั หนงั สอื ลกู ศร เส้นกรอบรูป อาจใช้ดนิ สอ HB, F, H และ 2H เป็นต้น ช่างเขียนแบบในปัจจุบนั นยิ มใช้ดินสอแบบทเ่ี รียกวา่ MECHANICAL PENCIL เป็นดินสอท่คี ล้ายปากกาเปลยี่ นไส้ได้ ทงั้ นเี ้พราะดนิ สอประเภทนีค้ งความยาวของดินสอเทา่ เดมิ ตลอดเวลา และสามารถเปลยี่ นไส้ได้งา่ ย ดงั รูป 4.21 รูปท่ี 4.21

31 10 . กระดาษเขียนแบบ ( DRAWING SHEET) กระดาษเขยี นแบบโดยทว่ั ไปมี ลกั ษณะและหน้าทใี่ ช้สอยตา่ งกนั ออกไป ดงั นี ้ กระดาษร่าง มีลกั ษณะเหมือนกระดาษลอกลายทวั่ ไป มีความทบึ น้อยจนมอง ทะลผุ า่ นถึงแบบทร่ี ่างไว้ข้างใต้ กระดาษปอนด์ มีลกั ษณะเหมือนกระดาษวาดเขยี นทวั่ ไป แตม่ ีความหนาบาง ตา่ งกนั หลายขนาดตามนํา้ หนกั คอื ตงั้ แต่ 80-100 ปอนด์ สว่ นขนาดกว้างยาวของแผน่ กระดาษมี ขนาดมาตรฐาน กระดาษไข กระดาษชนดิ นีม้ ีเนอื ้ เรียบแขง็ และมีความขนุ่ น้อยกวา่ กระดาษร่าง บางทีก็เรียกกนั วา่ กระดาษแก้ว และผลดิ ออกขายเป็นม้วน มีความยาวประมาณ 30 เมตร กว้าง 1.10 ม. มีความหนาบางตา่ งกนั ตามเบอร์ตงั ้ แต่ 60,70,80,90 และ 100 ยงั มีกระดาษไขอีกชนิดหนง่ึ ทําจากพลาสตกิ ซง่ึ ถกู นํา้ จะไมห่ ดตวั หรือยน่ แม้การ พิมพ์ก็ได้ผลดี ไม่แตกตา่ งกบั กระดาษไขธรรมดา ผวิ หน้าทางด้านหนง่ึ เป็นผวิ ด้านจบั ดินสอและ หมกึ ได้ดี แตอ่ ีกด้านจะลนื่ อายกุ ารใช้งานสนั ้ เพราะมกั กรอบแตกเร็วกวา่ กระดาษไขธรรมดามาก กระดาษอ่ืน ๆ ทใ่ี ช้ในการเขยี นแบบ เช่น กระดาษสี กระดาษขาว-เทา และ กระดาษสาํ หรับพิมพ์แบบ กระดาษทใ่ี ช้ในการเขยี นแบบโดยทว่ั ไปจะใช้กระดาษขนาด AO ซงึ่ มีพืน้ ทเี่ ทา่ กบั 1 ตารางเมตร ความสมั พนั ธ์ระหวา่ งขนาดของกระดาษหลาย ๆ ขนาด แสดงดงั รูปท่ี 4.22 รูปท่ี 4.22

32 วธิ ีตดิ กระดาษเขียนแบบบนโต๊ะหรือกระดานเขยี นแบบ ให้ใช้ไม้ทวี างทบั กระดาษ โดยให้หวั ไม้ทีแนบขนานกบั ขอบโต๊ะหรือขอบกระดาษเขยี นแบบ และให้ขอบบนของกระดาษเขยี น แบบขนานกบั ขอบบนของไม้ที กระดาษเขียนแบบควรวางหา่ งจากขอบโต๊ะทงั ้ 4 ด้าน เทา่ ๆ กนั (ให้อยตู่ รงกลางโต๊ะ)เพื่อสะดวกในการทํางาน เม่ือขอบบนของกระดาษเขยี นแบบขนานกบั ขอบบน ของไม้ทีแล้ว เลอื่ นไม้ทีลงด้านลา่ งเลก็ น้อยและกดทบั กรัดาษไว้ ใช้สก๊อตเทปติดทม่ี มุ ทงั ้ 4 ด้าน ดงั รูป 4.23 รูปท่ี 4.23 11. ยางลบ ( RULER) รูปร่างโดยทว่ั ไปของยางลบจะเป็นรูปสเี่ หลย่ี มผืนผ้า ยางลบท่ีดไี ม่ควรแข็งเกินไป เพราะจะทําให้ผิวของกระดาษเขยี นแบบชํา้ ดงั รูปที่ 4.24 รูปท่ี 4.24 ก่อนจะใช้ยางลบควรตรวจดใู ห้แนใ่ จก่อนวา่ ยางลบอยใู่ นสภาพทสี่ ะอาด วธิ ีทํา ความสะอาดยางลบงา่ ย ๆ ก็โดยการถกู บั กระดาษสะอาด ในกรณีท่ีต้องการจะลบเส้นทีต่ ดิ อยกู่ บั สว่ นอ่ืนซง่ึ ไมต่ ้องการลบ ควรใช้ชิลด์กนั ลบ(ERASING SHIRLD) จะทําให้ทาํ งานได้สะดวกขนึ ้

33 ดงั รูปท่ี 4.2 5 ชิลด์กนั ลบมีช่องรูปร่างตา่ ง ๆ กนั สาํ หรับเลอื กใช้ให้เหมาะสมกบั สว่ นทต่ี ้องการจะ ลบ จบั ชิลด์กนั ลบให้แนน่ แล้วลบผา่ นชอ่ งวา่ งดงั กลา่ ว เม่ือลบเสร็จแล้วใช้แปรงปัด หรือผ้าสะอาด ปัดเศษยางลบทงิ ้ รูปท่ี 4.25 12. เทปกาว (Scotch Tape) ใช้ตดิ กระดาษเขยี นแบบกบั โต๊ะเขยี นแบบ หรือ กระดานเขยี นแบบให้แนน่ ในขณะเขยี นแบบทกุ ครัง้ ดงั รูปที่ 4.2 6 เพ่ือปอ้ งกนั กระดาษเลอื่ น การ ติดกระดาษเขียนแบบทถี่ กู วธิ ีนนั้ ต้องตดิ ขวางมมุ กระดาษเขียนแบบทงั ้ 4 มมุ รูปท่ี 4.26

34 หน่วยการเรียนรู้ท่ี 5 เร่ือง ภาพท่ใี ช้ในงานเขยี นแบบ จดุ ประสงค์การเรียนรู้ เม่ือศกึ ษาหนว่ ยการเรียนนแี ้ ล้วให้นกั เรียนมีความรู้ความสามารถตอ่ ไปนี ้ 1. บอกลกั ษณะของภาพ 2 มิติ และ ภาพ 3 มิติ ได้ 2. อธิบายลกั ษณะของภาพออบบลกิ (Oblique)ได้ 3. อธิบายลกั ษณะของภาพไดเมตริก(Dimetric)ได้ 4. อธิบายลกั ษณะของภาพไอโซเมตริก(Isometric)ได้ 5. อธิบายลกั ษณะของภาพไอโซเมตริก(Isometric)ได้ สาระการเรียนรู้ 1. ภาพ 2 มิติ และ ภาพ 3 มิติ 2. ภาพออบบลกิ (Oblique) 3. ภาพไดเมตริก(Dimetric) 4. ภาพไอโซเมตริก(Isometric) 5. เพอร์สเปกทีฟ(Perspective) ภาพท่ใี ช้ในงานเขียนแบบ ในงานเขยี นแบบชิน้ สว่ นของเครื่องจกั รกล หรือแบบงานทว่ั ไป ภาพที่ใช้มีอยดู่ ้วยกนั 2 ชนิด คอื ภาพ 2 มิติ และ ภาพ 3 มิติ ดงั รูปที่ 5.1 ภาพ 3 มิติ ภาพ 2 มิติ รูปท่ี 5.1

35 ภาพ 2 มิติ ภาพ 2 มิติ คอื ภาพทแ่ี สดงรูปทรงของภาพใน 2 มิติ คือ ความกว้าง และคงวามสงู หรือ ความกว้างและความยาว โดยจะมองเหน็ เป็นลกั ษณะองพืน้ ท่ี เชน่ รูปสามเหลยี่ ม สเี่ หลย่ี ม ห้าเหลยี่ ม หกเหลย่ี ม วงกลม หรือรูปทรงอื่น ๆ ดงั รูปที่ 5.2 รูปท่ี 5.2 ภาพ 3 มิติ ภาพ 3 มิติ คือภาพทีแ่ สดงรูปทรงของภาพใน 3 มิติ คอื ความกว้าง ความยาว หรือความสงู และความลกึ ลกั ษณะของภาพจะแสดงปริมาตรของสงิ่ ท่อี ยใู่ นภาพนนั ้ ๆ ดงั รูปที่ 5.3 รูปท่ี 5.3

36 ภาพสามมิตทิ ีน่ ิยมใช้ในงานเขียนแบบ มีอยดู่ ้วยกนั 4 ชนิด คอื 1. ภาพออบบลกิ (Oblique) 2. ภาพไดเมตริก(Dimetric) 3. ภาพไอโซเมตริก(Isometric) 4. เพอร์สเปกทฟี (Perspective) 1. ภาพออบบลิก (Oblique) ลักษณะของภาพออบบลิก (1) โครงร่างของขอบภาพจะประกอบด้วยเส้น 3 เส้น คอื เส้นในแนวนอน(180 องศา) เส้น ในแนวดิง่ (90 องศา) และ เส้นเอียง 45 องศา ดงั แสงดในรูปที่ 5.4 (2) ขนาดความกว้าง ความสงู ของภาพจะมีขนาดเทา่ กบั ของจริง(1 :1) สว่ นความลกึ ของ ภาพจะมีขนาดเพียงคร่ึงหนงึ่ (1:2) ของขนาดของจริง (3) ขอบของชิน้ งานหรือสว่ นทถี่ กู บงั เอาไว้จะแสดงด้วยเส้นประ ในกรณีที่รูปทรงของวตั ถมุ ีวงกลมหรือรูปไมป่ กติเขยี นยาก จะนํามาเขียนไว้ ด้านหน้าของภาพออบบลกิ เพราะเป็นด้านท่สี ามารถเขียนเป็นรูปจริง ขนาดจริงได้ เช่น ถ้ามีรูป วงกลมอยู่ เม่ือนาํ มาเขียนไว้ทีร่ ูปด้านหน้าของภาพออบบลกิ ก็ยงั คงสภาพเป็นวงกลมตามเดิม แต่ ถ้านํารูปวงกลมไปเขียนที่ด้านท่เี ป็นมมุ เอียงแล้ว รูปวงกลมนนั ้ จะกลายเป็นรูปเอลลพิ ส์ ซงึ่ เขียน ยากต้องมีหลกั การและวธิ ีการเขียนทซ่ี บั ซ้อนขนึ ้ ไปอีก รูปท่ี 5.4

37 2. ภาพไดเมตริก(Dimetric) ลักษณะของภาพไดเมตริก (1) โครงร่างของขอบภาพจะประกอบด้วยเส้นสามเส้น คอื เส้นเอียง 7 องศา เส้นใน แนวดงิ่ และเส้นเอียง 42 องศา ดงั แสดงในรูปที่ 5.5 (2) ขนาดความกว้าง ความสงู จะมีขนาดเทา่ ของจริง (1 :1) สว่ นความลกึ จะมีขนาด เพยี งครึ่งหนง่ึ (1:2) ของขนาดของจริง (3) ขอบของชิน้ งานหรือสว่ นที่ถกู บงั มองไมเ่ หน็ ใสเ่ ป็นเส้นประ ภาพไดเมตริกเป็นภาพท่ีเขยี นได้ยาก เน่อื งจากมีเส้นเอียงทํามมุ 7 องศา และ 42 องศา ต้องใช้ ฉากทป่ี รับมมุ ได้ แตร่ ูปร่างของภาพจะเหมือนจริงมากกวา่ ภาพ 3 มิติ แบบอื่น ๆ รูปท่ี 5.5 3. ภาพไอโซเมตริก(Isometric) ลักษณะของภาพไอโซเมตริก (1) โครงร่างของขอบภาพจะประกอบด้วยเส้น 3 เส้น คอื เส้นเอียง 30 องศา 2 เส้น และ เส้นในแนวด่ิง(90 องศา) 1 เส้น ดงั รูปท่ี 5.6 (2) ขนาดความกว้าง ความสงู และความลกึ ของภาพจะมีขนาดเทา่ กบั ขนาดของจริง (3) ขอบของชิน้ งานหรือสว่ นที่ถกู บงั เอาไว้หรือมองไม่เหน็ จะถกู เขยี นด้วยเส้นประ

38 รูปท่ี 5.6 5. เพอร์สเปกทฟี (Perspective) ภาพเพอร์สเปกทฟี เป็นภาพทเี่ หมือนทค่ี ล้ายภาพจริงมากท่ีสดุ หรือคล้ายกบั ภาพ จริงทตี่ ามองเหน็ มากทีส่ ดุ คอื สงิ่ ทีอ่ ยใู่ กล้ตวั จะมีขนาดใหญ่ สงิ่ ทอี่ ยไู่ กลออกไปจะมีขนาดเลก็ ลง เช่นการมองภาพทางรถไฟทีร่ างทงั้ สองข้างพงุ่ บรรจบกนั ทีป่ ลายสดุ สายตาดงั รูปท่ี 5. 7 นิยมใช้กนั มากในงานด้านสถาปัตยกรรม รูปท่ี 5.7 ลักษณะของภาพเพอร์ สเปกทฟี โครงร่างของขอบภาพจะประกอบด้วยเส้น 3 เส้น คอื เส้นเอียง 2 เส้น และเส้นในแนวดงิ่ 1 เส้น และมีจุดปลายสายตามองเหน็ ทีเ่ รียกวา่ Vanishing Point (VP) 1-3 จุด ดงั รูปท่ี 5.8 รูปท่ี 5.8

39 หน่วยการเรียนรู้ท่ี 6 เร่ือง ภาพฉาย จดุ ประสงค์การเรียนรู้ เม่ือศกึ ษาหนว่ ยการเรียนนีแ้ ล้วให้นกั เรียนมีความรู้ความสามารถตอ่ ไปนี ้ 1. บอกหลกั การเขียนภาพฉายได้ 2. อธิบายหลกั การและมาตรฐานในการมองภาพฉายได้ สาระการเรียนรู้ 1. หลกั การเขยี นภาพฉาย 2. มาตรฐานในการมองภาพฉาย หลักการเขียนภาพฉาย(Orthographic projection) Orthographic projection คือ วธิ ีการฉายภาพหรือถา่ ยทอดภาพจริงองวตั ถจุ ากลกั ษณะ ภาพสามมิติ ออกมาเป็นภาพสองมิติ ภาพท่ีตามองเห็น เช่น โต๊ะ เก้าอี ้ฯลฯ เป็นภาพสามมิติ คือ มองเห็นความกว้าง ความยาว หนา สงู หรือลกึ เมื่อนําไปเขียนในแบบหรือถา่ ยทอดออกมาเป็น เพยี งรูปด้าน เชน่ ด้านบน ด้านหน้า ฯ รูปด้านตา่ ง ๆ จะมีเพยี งสองมิติ เช่น รูปด้านบนก็จะแสดงให้ เหน็ เพยี งความกว้างกบั ความยาว หรือรูปด้านหน้าแสดงให้เหน็ เพยี งความยาวกบั ความสงู เทา่ นนั ้ วธิ ีการของ Orthographic ก็คือ การถา่ ยทอดรูปร่างจริงของวตั ถแุ ตล่ ะมมุ แตล่ ะด้านออกไปสพู่ ืน้ ราบนนั่ เอง การมองภาพฉาย การมองภาพฉายเป็นการมองตงั้ ฉากกบั ระนาบด้านตา่ ง ๆ ท่ีชิน้ งานตงั ้ อยู่ ซง่ึ ระนาบด้านจะมีอยู่ 6 ด้าน เหมือนชิน้ งานตงั ้ อยใู่ นกลอ่ งแก้วสเี่ หลยี่ มที่มีผนงั ของกลอ่ งแก้วเป็น ระนาบด้านตา่ ง ๆ ดงั ตวั อยา่ งในรูปท่ี 6.1

40 รูปท่ี 6.1 ภาพที่เกิดขนึ ้ จากการมองจะมีลกั ษณะเป็นพนื ้ ที่ของผิวชิน้ งานท่ีมีเส้นขอบของ ชิน้ งานล้อมรอบอยู่ การมองชิน้ งานในแตล่ ะด้าน จะเกิดภาพที่แตกตา่ งกนั ไปตามรูปร่างของ ชิน้ งาน และจํานวนพนื ้ ที่ผวิ ของชิน้ งานในแตล่ ะด้าน 1. การมองชิน้ งานตามทิศทางหมายเลข 1 L กลบั การมองตามทิศทางหมายเลข 1 จะเห็นผวิ ของชิน้ งาน 1 สว่ น รูปร่างเหมือนตวั ด้าน ดงั ในรูปท่ี 6.2 รูปท่ี 6.2

41 2. การมองชิน้ งานตามทิศทางของหมายเลข 2 การมองตามทิศทางของหมายเลข 2 จะเหน็ พนื ้ ท่ีผวิ องชิน้ งาน 2 สว่ น เป็นรูปสเี่ หลยี่ ม 2 รูปตดิ กนั ในแนวตงั้ ดงั รูปท่ี 6.3 รูปท่ี 6.3 3. การมองชิน้ งานตามทศิ ทางของหมายเลข 3 L การมองตามทศิ ทางองหมายเลข 3 จะเห็นพนื ้ ผวิ ของชิน้ งาน 1 สว่ น รูปร่างเหมือนตวั ซงึ่ จะตรงกนั ข้ามกบั ทศิ ทางการมองตามหมายเลข 1 ดงั รูปที่ 6.4 รูปท่ี 6.4

42 4. การมองชิน้ งานตามทิศทางของหมายเลข 4 การมองตามทิศทางของหมายเลข 4 จะเหน็ พนื ้ ที่ผวิ ของชิน้ งาน 1 สว่ น เป็นรูปสเ่ี หลย่ี ม มี เส้นประตรงกลางรูปสเ่ี หลย่ี ม ซง่ึ แสดงให้เป็นสว่ นที่บงั เอาไว้ ดงั รูปท่ี 6.5 รูปท่ี 6.5 5. การมองชิน้ งานตามทศิ ทางของหมายเลข 5 การมองตามทศิ ทางของหมายเลข 5 จะเห็นพนื ้ ทีผ่ วิ องชิน้ งาน 2 สว่ น เป็นรูปสเี่ หลยี่ ม 2 รูปตดิ กนั ดงั ในรูปท่ี 6.6 รูปท่ี 6.6

43 6. การมองชิน้ งานตามทศิ ทางของหมายเลข 6 การมองตามทิศทางของหมายเลข 6 จะเห็นพนื ้ ทีผ่ ิวองชิน้ งาน 1 สว่ น เป็นรูป สเ่ี หลยี่ มผืนผ้า มีเส้นประแสดงชิน้ งานสว่ นที่ถกู บงั เอาไว้ตรงกลาง ดงั รูปที่ 6.7 รูปท่ี 6.7 มาตรฐานในการมองภาพฉาย การมองภาพฉายจากชิน้ งานสามารถมองได้ 6 ด้าน ภาพทีเ่ กิดจากการมองในทิศทางของ หมายเลข 1 จะเหมือนกบั ทิศทางหมายเลข 3 ภาพท่ีเกิดจากการมองในทิศทางของหมายเลข 2 จะ เหมือนกบั ทศิ ทางของหมายเลข 4 และภาพทเ่ี กิดจากการมองในทิศทางของหมายเลข 5 จะคล้าย กบั ทศิ ทางการมองของหมายเลข 6 ดงั นนั ้ อาจสรุปได้วา่ ภาพฉายเพยี งสามด้านสามารถให้ รายละเอียดของชิน้ งานได้ครบถ้วน เพือ่ ให้การมองภาพฉายเป็นไปในรูปแบบท่ีเป็นมาตรฐาน และมีความเข้าใจตรงกนั ระหวา่ งผ้เู ขียนแบบกบั ผ้อู ่านแบบ ได้มีการกําหนดวธิ ีการมองภาพฉายโดยใช้หลกั การของฉากรับ ภาพท่ีมี 4 มมุ เป็นตวั กําหนดความสมั พนั ธ์ของภาพฉาย 3 ด้าน ดงั ในรูปที่ 6.8

44 รูปท่ี 6.8 จากรูปท่ี 6.8 เป็นฉากรับภาพสเ่ี หลย่ี มท่มี ีแผน่ ฉากกนั ้ ก่งึ กลาง ทาํ ให้แบง่ ฉากเป็น 4 สว่ น แตล่ ะสว่ นจะมีลกั ษณะเป็นมมุ โดยกําหนดให้ - มมุ ที่อยดู่ ้านบนขวา เป็นฉากรับภาพมมุ ที่ 1 (First Angle Projection) - มมุ ทอ่ี ยดู่ ้านบนซ้าย เป็นฉากรับภาพมมุ ที่ 2 (Second Angle Projection) - มมุ ทอี่ ยดู่ ้านลา่ งซ้าย เป็นฉากรับภาพมมุ ท่ี 3 (Third Angle Projection) - มมุ ทอี่ ยดู่ ้านลา่ งขวา เป็นฉากรับภาพมมุ ที่ 4 (Fourth Angle Projection) การมองภาพจะอาศยั ฉากรับภาพมมุ ใดมมุ หนงึ่ มาเป็นฉากรับภาพ ในระบบที่ใช้ในยโุ รปท่ี เรียกวา่ ISO Method E (E=European) จะใช้ฉากรับภาพมมุ ที่ 1(First Angle Projection) สว่ น ระบบอเมริกนั ท่เี รียกวา่ ISO Method A(A=American) จะใช้รับภาพมมุ ท่ี 3 (Third Angle Projection) หลักการมองภาพฉายมมุ ท่ี 1 เป็นฉากรับภาพมมุ ที่ 1 มาพจิ ารณา จะได้ฉากรับภาพท่ีมี 3 ด้าน ดงั ในรูปท่ี 6.9 รูปท่ี 6.9 ภาพ : นพดล เวชวฐิ าน. เขียนแบบเทคนิคเบอื้ งต้น. กรุงเทพฯ : สมาคมสง่ เสริมเทคโนโลยี (ไทย-ญี่ป่นุ ). 2547

45 เมื่อนาํ ชิน้ งานมาวางระหวา่ งฉากรับภาพทงั ้ 3 ด้าน แล้วมองชิน้ งานตามทิศทางของลกู ศร 3 ทศิ ทาง จะได้ภาพฉายท่มี องเห็นเกิดขนึ ้ ที่ฉากรับภาพด้านหลงั ทงั ้ 3 ด้าน ดงั ในรูปที่ 6.10(การ วางชิน้ งานระหวา่ งฉากรับภาพ และภาพฉายทเ่ี กิดขนึ ้ บนฉากรับภาพเป็นเพียงจินตนาการเทา่ นนั ้ ) เม่ือนําชิน้ งานออกจะได้ภาพ 2 มิติของรูปด้านทงั ้ 3 ด้านของชิน้ งาน ดงั รูปท่ี 6.11 รูปท่ี 6.10 รูปท่ี 6.11 ภาพ : นพดล เวชวิฐาน. เขียนแบบเทคนิคเบอื้ งต้น. กรุงเทพฯ : สมาคมสง่ เสริมเทคโนโลยี (ไทย-ญี่ป่นุ ). 2547 จากรูปท่ี 6.11 ภาพฉายที่เกิดขนึ ้ บนฉากทงั ้ 3 ด้าน จะมีรูปร่างท่ีแตกตา่ งกนั ตามภาพท่ี มองเหน็ ในแตล่ ะทิศทาง แตภ่ าพทเ่ี กิดขนึ ้ บนฉากรับภาพที่ทาํ มมุ ตงั ้ ฉากซงึ่ กนั และกนั ทาํ ให้ดยู าก เพ่ือความสะดวกในการดแู บบภาพฉาย จึงหมนุ ฉากรับภาพด้านขวาไป 90 องศา และหมนุ ฉากรับ ภาพด้านลา่ งลงไป 90 องศา ให้ฉากรับภาพทงั ้ สามอยใู่ นระนาบเดยี วกนั ดงั แสดงในรูปท่ี 6.12

46 รูปท่ี 6.12 จากนนั้ นาํ ฉากรับภาพ 3 ด้านทีแ่ ผอ่ อกเป็นระนาบเดียวกนั มาพจิ ารณา กําหนดให้ภาพ ฉายทอี่ ยบู่ นฉากรับภาพรูปบนด้านซ้ายเป็นภาพด้านหน้า ภาพฉายรูปบนด้านขวาเป็นภาพ ด้านข้าง และภาพฉายด้านลา่ งที่เกิดจากการมองด้านบนของชิน้ งานเป็นภาพด้านบน ดงั แสดงใน รูปที่ 6.13 F=Front view ภาพด้านหน้า S=Side view ภาพด้านข้าง T=Top view ภาพด้านบน รูปท่ี 6.13 ภาพ : นพดล เวชวิฐาน. เขียนแบบเทคนิคเบอื้ งต้น. กรุงเทพฯ : สมาคมสง่ เสริมเทคโนโลยี (ไทย-ญ่ีป่นุ ). 2547

47 เม่ือพิจารณาภาพ 3 มิติ และภาพฉายของชิน้ งานตามระบบการมองภาพฉายมมุ ท่ี 1 จะ พบวา่ ภาพฉายทงั้ 3 ด้าน มีความสมั พนั ธ์กนั คอื 1. ภาพด้านข้างเกิดจากการมองทางด้านซ้ายของภาพด้านหน้า ภาพด้านบนเกิดจาก การมองทางด้านบนของด้านหน้า 2. ขนาดความสงู ของภาพด้านหน้าจะเทา่ กบั ความสงู ของภาพด้านข้าง 3. ขนาดความกว้างของภาพด้านหน้าจะเทา่ กบั ความกว้างของภาพด้านบน 4. ขนาดความสงู ของภาพด้านบนจะเทา่ กบั ความกว้างของภาพด้านข้าง หลักการมองภาพฉายมมุ ท่ี 3 การมองภาพฉายของชิน้ งานแบบนจี ้ ะใช้ฉากรับภาพในสว่ นของมมุ ที่ 3 มาพิจารณา โดย ให้ฉากรับภาพทงั้ 3 ด้าน มีคณุ สมบตั ิเหมือนแผน่ กระจกใส ดงั ในรูปที่ 6.14 รูปท่ี 6.14 ภาพ : นพดล เวชวฐิ าน. เขียนแบบเทคนิคเบอื้ งต้น. กรุงเทพฯ : สมาคมสง่ เสริมเทคโนโลยี (ไทย-ญี่ป่นุ ). 2547 เม่ือจินตนาการวา่ นําชิน้ งานมาวางระหวา่ งฉากรับภาพทงั ้ 3 ด้าน ดงั ในรูปที่ 6.15 แล้ว มองชิน้ งานตามทิศทางของลกู ศร 3 ทศิ ทางผา่ นฉากรับภาพ ทําให้ภาพฉายทมี่ องเห็นเกิดขนึ ้ บน ฉากรับภาพทงั้ 3 ด้าน

48 รูปท่ี 6.15 เม่ือนาํ ชิน้ งานออกมาจะได้ภาพ 2 มิติ ของรูปด้านทงั ้ 3 ด้านของชิน้ งาน ดงั แสดงในรูปที่ 6.16 รูปท่ี 6.16 ภาพ : นพดล เวชวฐิ าน. เขียนแบบเทคนิคเบอื้ งต้น. กรุงเทพฯ : สมาคมสง่ เสริมเทคโนโลยี (ไทย-ญ่ีป่นุ ). 2547 จากรูปท่ี 6.16 ภาพฉายท่ีเกิดขนึ ้ บนฉากทงั ้ 3 ด้าน จะมีรูปร่างท่ีแตกตา่ งกนั ตามภาพ ที่มองเหน็ ในแตล่ ะทศิ ทาง และด้วยเหตผุ ลที่ฉากรับภาพตงั ้ ฉากซงึ่ กนั และกนั ทาํ ให้ดไู ด้ยาก จงึ ทําการหมนุ ฉากรับภาพด้านบนขนึ ้ 90 องศา และหมนุ ฉากรับภาพหลงั ออกมา 90 องศา ให้ฉากรับภาพทงั้ สามอยใู่ นแนวระนาบเดียวกนั ดงั แสดงในรูป 6.17

49 รูปท่ี 6.17 จากนนั้ นาํ ฉากรับภาพทงั้ 3 ด้าน ที่แผอ่ อกมาเป็นระนาบเดยี วกนั มาพิจารณากําหนดให้ ภาพท่ีเกิดขนึ ้ จากการมองทางด้านบนของชิน้ งานเป็นภาพด้านบน ภาพที่อยดู่ ้านลา่ งซ้ายเป็นภาพ ด้านหน้า และภาพที่อยทู่ างด้านลา่ งขวาเป็นภาพด้านข้าง ดงั แสดงในรูปท่ี 6.18 รูปท่ี 6.18 ภาพ : นพดล เวชวิฐาน. เขียนแบบเทคนิคเบอื้ งต้น. กรุงเทพฯ : สมาคมสง่ เสริมเทคโนโลยี (ไทย-ญ่ีป่นุ ). 2547 เม่ือพจิ ารณาภาพ 3 มิติ และภาพฉายของชิน้ งานตามระบบการมองภาพฉายมมุ ท่ี 3 จะ พบวา่ ภาพฉายทงั้ 3 ด้าน มีความสมั พนั ธ์กนั คือ 1. ภาพด้านข้างเกิดจากการมองทางด้านขวาของภาพด้านหน้า ภาพด้านบนเกิดจากการ มองภาพทางด้านบนของภาพด้านหน้า 2. ขนาดความสงู ของภาพด้านหน้าจะเทา่ กบั ความสงู ของภาพด้านข้าง 3. ขนาดความกว้างของภาพด้านหน้าจะเทา่ กบั ความกว้างของภาพด้านบน

50 4. ขนาดความกว้างของภาพด้านบนจะเทา่ กบั ความกว้างของภาพด้านข้าง จากหลกั การมองภาพฉายมมุ ท่ี 1 และมมุ ท่ี 3 จะเห็นวา่ มีทศิ ทางในการมอง 3 ทิศทาง เหมือนกนั แตล่ กั ษณะการพิจารณาการเกิดภาพฉายบนฉากรับภาพจะแตกตา่ งกนั ดงั รูปที่ 6.19 ในด้านการใช้งาน การมองภาพฉายมมุ ที่ 1 จะมีใช้กนั ในกลมุ่ ยโุ รป สว่ นการมองภาพฉาย มมุ ท่ี 3 จะใช้ในประเทศสหรัฐอเมริกา สาํ หรับในประเทศไทยจะมีใช้ทงั้ 2 ระบบ เนือ่ งจากประเทศ ไทยรับเทคโนโลยมี าจากยโุ รปและอเมริกา แตร่ ะบบทใี่ ช้กนั ในมาตรฐานผลติ ภณั ฑ์อุตสาหกรรมคอื การมองภาพฉายมมุ ท่ี 1 ทีเ่ ราจะศกึ ษาวธิ ีการเขียนกนั ตอ่ จากนีไ้ ปจะเป็นการเขยี นแบบภาพฉาย ท่ีเกิดจากการมองภาพฉายมมุ ท่ี 1 เทา่ นนั ้ รูปท่ี 6.19 ภาพ : นพดล เวชวฐิ าน. เขียนแบบเทคนิคเบอื้ งต้น. กรุงเทพฯ : สมาคมสง่ เสริมเทคโนโลยี (ไทย-ญ่ีป่นุ ). 2547


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook