Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore คณะพยาบาลศาสตร์_ม.บูรพาปีที่28ฉบับที่2เม.ย-มิ.ย63

คณะพยาบาลศาสตร์_ม.บูรพาปีที่28ฉบับที่2เม.ย-มิ.ย63

Published by Sucheera Panyasai, 2020-09-17 23:34:59

Description: คณะพยาบาลศาสตร์_ม.บูรพาปีที่28ฉบับที่2เม.ย-มิ.ย63

Keywords: พยาบาล

Search

Read the Text Version

Factor analysis of the Eating Behavior Questionnaire The Journal of Faculty of Nursing 47 in Patient with Coronary Artery Disease Burapha University ตารางที่ 2 แสดงค่าความเชอื่ มน่ั และสมั ประสิทธิส์ หสัมพันธ์ของแตล่ ะองค์ประกอบของแบบสอบถาม ดา้ น จา� นวน คา่ ความ สัมประสิทธสิ์ หสัมพันธ์ ขอ้ คา� ถาม เช่อื ม่ัน UHE HE การรบั ประทานอาหารที่ไมเ่ หมาะสมตอ่ สขุ ภาพ 11 .76 (unhealthy eating behaviors: UHE) การรับประทานอาหารทม่ี ีผลดีต่อสุขภาพ 6 .72 .55* (healthy eating behaviors: HE) .81* .94* รวม 17 .87 *p <.01 (two-tailed) อภิปรายผล ไม่เหมาะสมตอ่ สขุ ภาพ (unhealthy eating behaviors) ผลการศกึ ษาครงั้ นบี้ ง่ ชว้ี า่ แบบสอบถามมคี ณุ ภาพ ประกอบด้วยข้อค�าถามจ�านวน 11 ข้อ การศึกษาครั้งนี้ ข้อมูลในการวิเคราะห์องค์ประกอบอยู่ในเกณฑ์เหมาะสม ทง้ั ดา้ นความตรงและความเทย่ี งในการวดั มคี วามเหมาะสม โดยมีค่า Kaiser-Meyer-Olkin Measurement of และสามารถน�าไปใช้ประเมินพฤติกรรมการรับประทาน sampling adequacy (KMO) ภาพรวมเทา่ กับ 0.86 ซง่ึ อาหารในผู้ป่วยโรคหลอดเลือดหัวใจได้ โดยสามารถ อยู่ในระดับดีมาก (Tienswas, 2019) และคา่ MSA ของ อภิปรายได้ดงั น้ี ข้อค�าถามแต่ละข้อเท่ากับ .604 - .908 แสดงว่ามีขนาด ของกลมุ่ ตวั อยา่ งทเี่ พยี งพอ และผลการทดสอบ Bartlett’s 1. ความตรง (Validity) Test of Sphericity มีนัยส�าคญั ทางสถิติท่รี ะดบั < .001 1.1 ความตรงตามเนอื้ หา (Content validity) บ่งช้ีว่าข้อค�าถามแต่ละข้อมีความสัมพันธ์กัน ดังน้ัน การวเิ คราะห์องคป์ ระกอบคร้ังน้จี ึงมคี วามเหมาะสม (Hair จากการทบทวนวรรณกรรม ผู้พัฒนามีการสร้างและ et al., 2010) ผลการวิเคราะหท์ ไี่ ดม้ คี วามน่าเชอื่ ถือ และ ตรวจสอบคุณภาพของแบบสอบถามนี้ตามข้ันตอนอย่าง สามารถสะท้อนบริบทโครงสร้างของแบบสอบถามได้ เป็นระบบ โดยการศกึ ษาแนวคดิ ทฤษฎี เอกสารและงาน ถกู ตอ้ ง การแยกองคป์ ระกอบไดช้ ดั เจน โดยขอ้ คา� ถามทอ่ี ยู่ วิจัยต่าง ๆ ท่ีเก่ียวข้อง และผ่านการตรวจสอบความตรง ในด้านเดียวกันสามารถแปลความหมายไปในทิศทาง ตามเน้ือหาจากผู้ทรงคุณวุฒิ ซึ่งมีค่าดัชนีความตรงตาม เดียวกันและสามารถสะท้อนองค์ประกอบได้ชัดเจน ทั้ง เนอื้ หา (Content validity index [CVI]) เทา่ กบั .92 แสดง 2 องค์ประกอบของแบบสอบถามมีความสัมพันธ์กันอย่าง ให้เห็นว่าแบบสอบถามมีความตรงตามเน้ือหาอยู่ในเกณฑ์ มีนัยส�าคัญทางสถิติ (p < .01) โดยมีค่าสัมประสิทธ์ิ ทดี่ ี (Polit & Beck, 2017) กลา่ วคอื ขอ้ ค�าถามมีเนื้อหา สหสัมพันธ์เท่ากับ .55 ซึ่งไม่เกิน .70 แสดงให้เห็นว่า สอดคล้องกับทฤษฎี หรือความรู้ที่เกี่ยวข้อง ตลอดจน องค์ประกอบในแบบสอบถามไม่มีความซ�้าซ้อน (Munro, ครอบคลมุ และสะทอ้ นถงึ พฤตกิ รรมการรบั ประทานอาหาร 2005) ตลอดจนมีความสัมพันธ์อย่างมีนัยส�าคัญทางสถิติ ในผปู้ ว่ ยโรคหลอดเลอื ดหวั ใจในบรบิ ทตา่ ง ๆ ทง้ั ทเ่ี หมาะสม (p < .01) กับการรบั ประทานอาหารโดยรวมในระดับ .94 และไมเ่ หมาะสม และ .81 นอกจากนั้นผลการจัดองค์ประกอบดังกล่าวยัง สอดคลอ้ งกบั โครงสรา้ งของแบบสอบถามเบอ้ื งตน้ ซง่ึ พฒั นา 1.2 ความตรงเชิงโครงสร้าง (Construct จากการศกึ ษาทฤษฎี และทบทวนวรรณตา่ ง ๆ ท่เี กีย่ วข้อง validity) และมีความตรงด้านเน้ือหาอยู่ในเกณฑ์ท่ีดี สามารถวัดได้ ตรงกับวัตถุประสงค์การศึกษา สะท้อนพฤติกรรม 1.2.1 ผลการตรวจสอบดว้ ยการวเิ คราะห์ องค์ประกอบ พบว่า แบบสอบถามมีองค์ประกอบหลัก 2 ดา้ น คอื 1) ดา้ นการรบั ประทานอาหารทม่ี ผี ลดตี อ่ สขุ ภาพ (healthy eating behaviors) ประกอบด้วยข้อค�าถาม จ�านวน 6 ข้อ และ 2) ด้านการรับประทานอาหารท่ี Vปoีทl่ีu2m8eฉบ28ับทN่ีo2. (2เม(A.ยp.r--มJิ.uยn.)) 22506203

48 การวิเคราะห์องคป์ ระกอบของแบบสอบถามพฤตกิ รรมการรบั ประทานอาหาร วารสารคณะพยาบาลศาสตร์ ในผูป้ ่วยโรคหลอดเลอื ดหวั ใจ มหาวิทยาลัยบรู พา การรบั ประทานอาหารในผปู้ ว่ ยโรคหลอดเลอื ดหวั ใจไดต้ าม ตรวจสอบคณุ ภาพของขอ้ คา� ถามรายขอ้ (Item analysis) บริบทที่แท้จริง อย่างไรก็ตามมีข้อที่น่าสังเกตว่าท้ัง ดว้ ยการวเิ คราะหค์ า่ สมั ประสทิ ธสิ์ หสมั พนั ธภ์ ายในกลมุ่ คา่ 2 องค์ประกอบสามารถอธิบายความแปรปรวนได้เพียง สมั ประสทิ ธแิ์ อลฟา่ ครอนบาคเปน็ คา่ ทบี่ ง่ ชถ้ี งึ ความเชอ่ื มน่ั ร้อยละ 47.50 ซ่ึงน้อยกว่าเกณฑ์ท่ีเหมาะสมคือควร ของเครอ่ื งมอื กลา่ วคอื ถา้ เครอ่ื งมอื มคี า่ แอลฟา่ ฯ สงู แสดง มากกวา่ รอ้ ยละ 50 (Beaver et al., 2013; Garson, 2008; ว่าเคร่ืองมือนั้นมีคุณภาพและมีความเชื่อมั่นในการวัดท่ีดี Peterson, 2000) ประเดน็ ทเ่ี กดิ ขน้ึ อาจมสี ว่ นเกย่ี วขอ้ งกบั ในทางตรงกนั ขา้ มหากคา่ สมั ประสทิ ธแ์ิ อลฟา่ ครอนบาคตา่� ปัจจัยอืน่ ๆ เช่น ในขน้ั ตอนการเกบ็ ข้อมลู ความเขา้ ใจและ เครอ่ื งมอื นนั้ กจ็ ะมคี วามนา่ เชอื่ ถอื ในการวดั นอ้ ย (DeVellis, การถาม-ตอบแบบสอบถาม ตลอดจนลักษณะและจ�านวน 2012) ผลการศกึ ษาพบวา่ คา่ สมั ประสทิ ธแ์ิ อลฟา่ ครอนบาค ของกลุ่มตัวอย่างท่ีอาจไม่เพียงพอถึงแม้ว่าจะอยู่ในเกณฑ์ ของแบบสอบถามท้ังฉบบั อยู่ในระดับท่ดี ีมากคอื .86 ส่วน ที่เหมาะสมก็ตาม ดังน้ันเพ่ือให้เกิดผลที่ดีที่สุดควรมี รายดา้ นมคี า่ เท่ากับ .72 และ .76 ซึง่ อย่ใู นระดบั ท่ยี อมรบั การศกึ ษาในกลุ่มตัวอยา่ งใหมท่ ่จี �านวนมากข้ึน (DeVellis, ได้ (DeVellis, 2012; Hair et al., 2010) นอกจากนั้น 2012) เพ่ือเป็นแนวทางในการพัฒนาคุณภาพของ การวิเคราะห์ข้อค�าถามรายข้อซึ่งเป็นส่วนหน่ึงท่ีส�าคัญ แบบสอบถามต่อไป ในการตรวจสอบคณุ ภาพของเครอ่ื งมอื เนอ่ื งจากคณุ สมบตั ิ ของข้อค�าถามรายข้อจะมีผลต่อคุณภาพของเครื่องมือ 1.2.2 คา่ น�า้ หนกั องค์ประกอบ (Factor ท้ังฉบับไม่ว่าจะเป็นด้านความตรงหรือความเที่ยง ดังนั้น loadings) ของข้อค�าถามในแต่ละด้าน พบว่าข้อค�าถาม ในการศึกษาครั้งน้ีได้วิเคราะห์คุณภาพของข้อค�าถามด้วย 4 ขอ้ มคี า่ นา�้ หนกั ทม่ี ากกวา่ .40 และใกลเ้ คยี งกนั ในทงั้ สอง การหาคา่ ความสอดคลอ้ งของขอ้ คา� ถาม ซง่ึ เปน็ วธิ กี ารหนงึ่ องค์ประกอบ (Cross loading) ดังน้ันหลักการเบื้องต้น ในการตรวจสอบว่าข้อค�าถามนั้น ๆ วัดในจุดมุ่งหมายท่ี จึงจัดใหข้ ้อคา� ถามนนั้ ๆ อย่ใู นองค์ประกอบท่มี คี า่ น�า้ หนัก ตอ้ งการวดั เดยี วกนั หรอื ไม่ โดยพจิ ารณาจากคา่ สมั ประสทิ ธ์ิ สูงกว่าและอธิบายความหมายขององค์ประกอบนั้นได้ สหสัมพันธ์ระหว่างรายข้อกับคะแนนรวมทั้งหมดของข้อ (Tienswad, 2019) ดังนี้ 1) ดา้ นการรบั ประทานอาหารที่ ค�าถามท่ีเหลอื (Corrected item-total correlation) ที่ ไมเ่ หมาะสมต่อสขุ ภาพ (unhealthy eating behaviors) มีค่ามากกว่า .30 (Munro, 2005) ผลการศึกษาพบว่า ขอ้ คา� ถามจา� นวน 11 ขอ้ แตล่ ะขอ้ มคี า่ นา�้ หนกั องคป์ ระกอบ ข้อค�าถามส่วนใหญ่มีค่าสัมประสิทธิ์ดังกล่าวอยู่ระหว่าง ระหวา่ ง .42 ถงึ .76 และ 2) ด้านการรับประทานอาหารท่ี .52 ถงึ .71 ซงึ่ ถือวา่ อยใู่ นระดบั ดี คอื มากกว่า .50 มีเพียง มผี ลดตี อ่ สขุ ภาพ (healthy eating behaviors) ขอ้ คา� ถาม 5 ข้อคา� ถามทมี่ คี า่ อยูใ่ นเกณฑท์ ่ียอมรับได้คือ ระหว่าง .30 จา� นวน 6 ขอ้ มคี า่ น้�าหนักองคป์ ระกอบระหว่าง .42 ถึง ถึง .48 ซึ่งแสดงว่าข้อค�าถามมีความสัมพนั ธ์กันดี มีความ .85 โดยข้อค�าถามส่วนใหญ่มีค่าน้�าหนักองค์ประกอบ เป็นเอกพันธ์ (Homogeneity) สูง กลา่ วคอื ข้อคา� ถามใน (Loading factor) อยู่ในเกณฑท์ ่ดี คี ือ มากกวา่ .50 และมี แบบสอบถามนนั้ วดั ในสง่ิ เดยี วกนั (Single phenomenon) เพยี ง 5 ขอ้ คา� ถามที่มีคา่ อยู่ระหว่าง .40 ถงึ .50 ซง่ึ ถือว่า จงึ ทา� ใหข้ อ้ มลู ทไี่ ดส้ ะทอ้ นบรบิ ททแ่ี ทจ้ รงิ ของสง่ิ ทต่ี อ้ งการ อยู่ในระดับที่ยอมรับได้ ค่าดังกล่าวบ่งชี้ว่าข้อค�าถาม ศึกษา เช่น ในกรณีนี้ ข้อค�าถามทุกข้อวดั การรับประทาน มีความสัมพันธ์กับองค์ประกอบ และสามารถสะท้อน อาหารในผู้ป่วยโรคหลอดเลือดหัวใจเหมือนกนั (DeVellis, พฤติกรรมการรับประทานอาหารในด้านต่างๆ ได้ดี (Hair 2012) ดังน้ันจากดังกล่าวเบ้ืองต้นแสดงให้เห็นว่า et al., 2010) ดังน้ันข้อมูลท่ีได้จึงมีความน่าเช่ือถือและ แบบสอบถามฉบับนี้มีคุณภาพด้านความเชื่อมั่นในการวัด สามารถสะทอ้ นบรบิ ทของพฤตกิ รรมการรบั ประทานอาหาร อยูใ่ นระดบั ทด่ี ี ในผปู้ ว่ ยโรคหลอดเลอื ดหวั ใจไดอ้ ยา่ งถกู ตอ้ งและเหมาะสม 3. การศกึ ษาเปรยี บเทยี บกบั เครอ่ื งมอื อนื่ ๆ ทเ่ี ปน็ 2. ความเท่ยี ง หรือคา่ ความเชื่อมน่ั (Reliability) มาตรฐาน การตรวจสอบความเชื่อมั่นแบบสอดคล้อง ปัจจุบันในประเทศไทยเคร่ืองมือท่ีน�ามาใช้ ภายในของแบบสอบถามทงั้ ฉบบั ดว้ ยการหาคา่ สมั ประสทิ ธ์ิ ประเมนิ การรบั ประทานอาหารในผปู้ ว่ ยโรคหลอดเลอื ดจะ แอลฟา่ ครอนบาค (Cronbach’s alpha coefficient) และ Vปoีทlี่u2m8eฉบ28ับทNี่o2. (2เม(A.ยp.r--มJิ.uยn.)) 22506203

Factor analysis of the Eating Behavior Questionnaire The Journal of Faculty of Nursing 49 in Patient with Coronary Artery Disease Burapha University มคี วามหลากหลาย สว่ นใหญพ่ ฒั นาขน้ึ ใหมต่ ามวตั ถปุ ระสงค์ Reference ของการศกึ ษาซงึ่ มคี วามคลา้ ยและแตกตา่ งกนั ไปตามบรบิ ท แต่ยังไม่พบรายงานการวิเคราะห์องค์ประกอบหรือการ Akaratanapol, P. & Deenan, A. (2016). The ตรวจสอบความตรงเชิงโครงสร้างของแบบสอบถามตาม instruments of eating behaviors: Systematic มาตรฐานการสร้างเครื่องมือดังกล่าว ดังนั้นจึงยังคงมี revies. APHEIT Journals, 5(2), 56-69 [In Thai] ขอ้ จ�ากดั ในการศกึ ษาเปรียบเทียบกบั กบั เคร่ืองมืออื่น ๆ ที่ เป็นมาตรฐาน อย่างไรก็ตามเม่ือพิจารณาในรายละเอียด Beavers, A.S., Lounsbury, J.W., Richards, J.K., Huck, ของข้อค�าถามพบวา่ แบบสอบถามการรับประทานอาหาร S.W., Skolits, G.J., & Esquivel, S.L. (2013). ทพ่ี ฒั นาขนึ้ โดยอาภรณ์ ดนี าน และคณะ มคี วามสอดคลอ้ ง Practical considerations for using กบั แบบประเมนิ การรบั ประทานอาหารอน่ื ๆ โดยเฉพาะใน exploratory factor analysis in educational ส่วนของประเภทอาหารท่ีมีผลต่อการเกิดโรคหลอดเลือด research. Practical Assessment, Research หัวใจ (Jirojanakul et al., 2013; Sangsiri et al., 2015; & Evaluation, 18(6), 1-12. Theerapunchareon, 2019) และมีข้อค�าถามบางส่วน ที่สอดคล้องกับแบบประเมินพฤติกรรมสุขภาพด้านการ Costello, A.B., & Osborne, J.W. (2005). Best รับประทานอาหารส�าหรับผู้ป่วยโรคหลอดเลือดหัวใจใน practices in exploratory factor analysis: ประเทศเกาหลขี องซองและคณะ (Song et al., 2018) ที่ Four recommendations for getting the most ผา่ นการตรวจสอบคณุ ภาพตามมาตรฐาน from your analysis. Practical Assessment, Research & Evaluation, 10(7), 1-12. โดยสรปุ ผลการศกึ ษาแสดงใหเ้ หน็ วา่ แบบสอบถาม การรับประทานอาหารที่ อาภรณ์ ดนี าน และคณะ พัฒนา Deenan, A., & Thanee, S. (2005). Factors related ขนึ้ เปน็ เครอื่ งมอื วดั ทม่ี คี ณุ ภาพทง้ั ดา้ นความตรงและความ to readmission of myocardial infarction เช่ือมั่น สามารถน�าไปประเมินพฤติกรรมการรับประทาน patients. Chonburi: Burapha University อาหารในผปู้ ่วยโรคหลอดเลือดหวั ใจได้ [In Thai] ขอ้ เสนอแนะ Deenan, A., Rattanagreetakul, S., Thanee, S., 1. แบบสอบถามฉบบั นมี้ คี วามตรงและความเชอื่ มนั่ Sumonwong, W., & Wattanakul, C. (2014). Risk reduction and quality of life ในระดบั ทไ่ี ดม้ าตรฐานสามารถนา� ไปใชใ้ นการศกึ ษาพฤตกิ รรม improvement for people with myocardial การรบั ประทานในผปู้ ว่ ยโรคหลอดเลอื ดหวั ใจหรอื คดั กรอง infarction (Phase II). Chonburi: Burapha ผทู้ มี่ พี ฤติกรรมเส่ยี งต่อการเกดิ โรคได้เหมาะสม University [In Thai] 2. เพ่ือเป็นแนวทางในการพัฒนาแบบสอบถาม DeVellis, R.F. (2012). Scale development: Theory ใหม้ คี ณุ ภาพยง่ิ ขนึ้ ควรมกี ารศกึ ษาในกลมุ่ ตวั อยา่ งใหมแ่ ละ and application. (3rd ed.). Chapel Hill: SAGE มขี นาดทใี่ หญม่ ากขนึ้ นอกจากนค้ี วรทดสอบความตรงตาม Publications, Inc. โครงสร้างโดยใช้การวิเคราะห์องค์ประกอบเชิงยืนยันและ การทดสอบความตรงวิธีอ่ืน ๆ เช่น ความตรงเชิงเสมือน Garson, D.G. (2008). Factor analysis. Retrieved from (Convergent validity) หรือการศึกษาเปรียบเทียบกับ http://www.chass.ncsu.sdu/www.snrs.org เครอื่ งมือมาตรฐานทั้งในและนอกประเทศ เป็นตน้ Hair, J.F., Black, W.C., Babin, B.J., & Anderson, R.E. (2010). Multivariate data analysis: A global perspective (7th ed.). Upper Saddle River, NJ: Pearson Education. ปVoีทl่ีu2m8eฉบ28ับทNี่o2. (2เม(A.ยp.r--มJิ.uยn.)) 22506203

50 การวเิ คราะหอ์ งคป์ ระกอบของแบบสอบถามพฤตกิ รรมการรับประทานอาหาร วารสารคณะพยาบาลศาสตร์ ในผ้ปู ่วยโรคหลอดเลือดหวั ใจ มหาวทิ ยาลัยบรู พา Health Systems Research Institute. (2014). The 5th Ponpinij, P. (2017). The effects of nurse-led Thai health survey by physical exam 2014. cardiac rehabilitation program on health Search from http://kb.hsri.or.th/dspace/ behaviors and health status in post acute handle/11228/4626. Accessed on 16 April coronary syndrome person: A randomized 2020. [In Thai] controlled trial. The doctoral degree of philosophy in nursing science the faculty Jirojanakul, P., Nipathatong, S., Keinwong, T., of nursing Burapha University. Pipatsombat, P., & Rowsathein, N. (2013). Cardiovascular risk factors in cross-sectional Saengsiri, A., Wattradul, D., Kangchanakul, S., study. Thai Journal of Cardio-Thoracic Nutthumrongkul, S., Nopplub, S., & Nursing, 24(1), 44-55. [In Thai] Wonganunnont, S. (2015). The factors influencing the self-care agency and Munro, B.H. (2005). Statistics methods for health quality of life of patients with coronary care research (5th ed.). Philadelphia: artery disease. Thai Journal of Cardio- Lippincott Williams & Wilkins Thoracic Nursing, 26(1), 104-118. [In Thai] Nangyaem, A. (2007). Determinants of eating Song, R., Oh, H., Ahn, S., & Moorehead, S. (2018). behavior of hypertensive patient. Master Validation of cardiac health behavior scale of Nursing Science Program in Adult Nursing, for Korean adults with cardiovascular risks Graduate school Burapha University. or diseases. Applied Nursing Research, 39, [In Thai] 252-258. Peterson, R.A. (2000). A meta-analysis of variance Strategy and Planning Division, Office of the accounted for and factor loadings in Permanent Secretary. (2017). Public health exploratory factor analysis. Marketing statistics. Search from http://bps.moph. Letter, 11(3), 261-275. go.th/new_bps/sites/default/files/stratistics 60.pdf. Accessed on 16 April 2020. [In Thai] Piepoli, M., Corra, U., Adamopoulos, S., Benzer, W., Bjarnason-Wehrens, B., Cupples, M., … Sumonwong, W., Deenan, A., Rattanagreetakul, S., Giannuzzi, P. (2014). Secondary prevention Thanee, S., & Wattanakul, C. (2013). Risk in the clinical management of patients with reduction and quality of life improvement cardiovascular disease. European Journal for people with myocardial infarction of Preventive Cardiology, 21(6), 664-681. (Phase I). Chonburi: Burapha University. [In Thai] Polit, D.F. & Beck, C.T. (2017). Nursing research: Generating and assessing evidence for Tabachnick, B.G., Fidell, L.S. (2007). Using nursing practice (10th eds). Philadelphia: multivariate statistics (4th ed.). Boston, MA: Wolters & Kluwer. Pearson Education. Theerapunchareon, N. (2019). The risk for cardiovascular disease among personnel in Pranakhon Si Aytthaya Rajabhat University. Journal of Health Science, 28, 137-145. [In Thai] Vปoีทl่ีu2m8eฉบ28ับทNี่o2. (2เม(A.ยp.r--มJิ.uยn.)) 22506203

Factor analysis of the Eating Behavior Questionnaire The Journal of Faculty of Nursing 51 in Patient with Coronary Artery Disease Burapha University Tiansawad, S. (2019). Instrument development Wichitthongchai, C. (2012). The factors associated for nursing research. Chiang Mai: Siampim with food consumption behaviors of nana. [In Thai] cardiac and arterial diseases patients in Queen Sirikit Heart center of the Turk-Adawi, K., & Grace, S. (2015). Narrative review northeastern region Khonkean University. comparing the benefits of participation Srinagarind Medical Journal, 27(4), 340-346. cardiac rehabilitation in high-, middle- and low-income countries. Heart, Lung & Woodruffe, S., Neubeck, L., Clark, R.A., Gray, K., Circulation, 24, 510-520. doi: 10.1016/j.hlc. Ferry, C., Finan, J., Sanderson, S., … Briffa, 201411.2013 [In Thai] T.G. (2015). Australian cardiovascular health and rehabilitation association [ACRA] core Vanichbuncha, K. (2019). Advanced statistical components of cardiovascular disease analysis with SPSS for Windows (14th ed.). secondary prevention and cardiac Bangkok: Chulalongkorn University Printing rehabilitation 2014. Heart, Lung & House. [In Thai] Circulation, 24(5), 430-41. ปVoีทlี่u2m8eฉบ28ับทN่ีo2. (2เม(A.ยp.r--มJิ.uยn.)) 22506203

ปจั จยั ทา� นายภาระของผู้ดแู ลเด็กทม่ี ีพฒั นาการล่าชา้ พิมพช์ นก จนั ทราทพิ ย์, พย.ม.1 ยุนี พงศ์จตรุ วิทย,์ Ph.D.2* นจุ รี ไชยมงคล, Ph.D.3 บทคัดย่อ เด็กท่ีมีพัฒนาการล่าช้าจะช่วยเหลือตนเองได้น้อย จึงส่งผลให้เกิดภาระของผู้ดูแลเด็ก การวิจัยครั้งนี้เป็นแบบ หาความสมั พนั ธเ์ ชงิ ทา� นายน้ี มวี ตั ถปุ ระสงคเ์ พอ่ื ศกึ ษาปจั จยั ทา� นายภาระของผดู้ แู ลเดก็ ทม่ี พี ฒั นาการลา่ ชา้ กลมุ่ ตวั อยา่ ง เป็นผู้ดูแลเด็กท่ีมีพัฒนาการล่าช้าท่ีน�าเด็กมารับบริการแผนกผู้ป่วยนอก คลินิกพัฒนาการและพฤติกรรมเด็กสถาบัน ราชานกุ ูลจังหวัดกรุงเทพมหานคร จา� นวน 76 คน คดั เลอื กกล่มุ ตัวอย่างแบบสะดวก เกบ็ รวบรวมข้อมูลระหวา่ งเดือน พฤษภาคม พ.ศ. 2562 - มิถุนายน พ.ศ. 2562 เครื่องมอื ท่ใี ช้ในการเก็บรวบรวมข้อมลู ประกอบดว้ ย แบบสอบถามข้อมลู ท่ัวไป แบบสอบถามความสามารถในการดูแลตนเองของเด็ก แบบสอบถามการสนับสนุนทางสังคม และแบบสอบถาม ภาระการดูแลของผู้ดูแลเด็กท่ีมีพัฒนาการล่าช้า ซึ่งแบบสอบถามทุกชุดได้ผ่านการตรวจสอบความตรงตามเน้ือหา จากผู้ทรงคุณวุฒิแล้ว และหาความเช่ือม่ันของแบบสอบถามมีค่าสัมประสิทธ์ิแอลฟาครอนบาค (Cronbach’s alpha coefficient) เท่ากับ .85, .92 และ .93 ตามลา� ดับ วิเคราะหข์ ้อมูลด้วยสถิติพรรณนา และสถติ ิถดถอยพหูคูณ ผลการวจิ ัยพบว่า ความสามารถในการดูแลตนเองของเดก็ และการสนับสนุนทางสงั คมสามารถท�านายภาระของ ผูด้ ูแลเดก็ ท่ีมพี ัฒนาการล่าช้าไดร้ อ้ ยละ 39.2 (Adjusted R2 = .375, p < .001) ซ่งึ ปัจจัยทสี่ ามารถทา� นายไดด้ ีที่สดุ คือ ความสามารถในการดูแลตนเองของเด็ก สามารถท�านายภาระของผู้ดูแลเด็กที่มีพัฒนาการล่าช้าได้ ร้อยละ 23.7 (b = -.441, p < .001) และปจั จยั ตวั ที่สอง คอื การสนบั สนนุ ทางสังคมร้อยละ 15.5 (b = -.396, p < .001) ผลการศกึ ษาครง้ั นเี้ สนอแนะวา่ พยาบาลควรพฒั นารปู แบบการดแู ลเดก็ ทมี่ พี ฒั นาการลา่ ชา้ โดยเนน้ ความสามารถ ในการดูแลตนเองของเด็กและการสนับสนุนทางสังคมแก่ผู้ดูแลเด็ก เพ่ือเพ่ิมประสิทธิภาพในการดูแลเด็กที่มีพัฒนาการ ล่าชา้ ใหม้ ากข้นึ ค�าสา� คญั : ภาระ ผดู้ แู ลเด็ก พัฒนาการลา่ ชา้ ความสามารถในการดูแลตนเอง การสนบั สนุนทางสงั คม 1 นิสิตหลักสูตรพยาบาลศาสตรมหาบณั ฑิต สาขาวชิ าการพยาบาลเดก็ คณะพยาบาลศาสตร์ มหาวทิ ยาลัยบรู พา 2 ผชู้ ว่ ยศาสตราจารย์ คณะพยาบาลศาสตร์ มหาวทิ ยาลยั บรู พา 3 รองศาสตราจารย์ คณะพยาบาลศาสตร์ มหาวทิ ยาลยั บรู พา * ผเู้ ขยี นหลกั e-mail: yunee1809@yahoo.com Received 24/02/2020 Revised 16/04/2020 Accept 20/04/2020

Factors Influencing Burden of Child Caregivers of Children with Delayed Development Pimchanok Juntratip, M.N.S.1, Yunee Pongjaturawit, Ph.D.2*, Nujjaree Chaimongkol, Ph.D.3 Abstract Children with delayed development have less ability to look after themselves. Self-help thus increases the burden for their caregivers. This predictive correlational research aimed to examine factors predicting the burden of caregivers for children with delayed development. Convenience sampling was used to recruit 76 caregivers of children with delayed development who brought their children to receive service at the outpatient department of the Child Development and Behavior Clinic of Rajanukul Institute, Bangkok. Data collection was carried out from May to June 2019. Research instruments were a demographic questionnaire, the child self-care ability scale, the social support questionnaire, and the burden of caregivers of children with delayed development questionnaire. Cronbach’s alpha coefficients were.85, .92 and .93, respectively. Data were analyzed with descriptive statistics and multiple linear regression. Results revealed that child self-care and social support accounted for 39.2% of variance (adjusted R2 = .375, p < .001) in predicting the burden of caregivers of children with delayed development. Self-care ability of children accounted for 23.7% (b = -.441, p < .001) of the variance in caregiver burden, while social support accounted for 15.5% (b = -.396, p < .001). To enhance the effectiveness of caring for children with delayed development, the findings suggest that nurses’ development of interventions to care for children with delayed development should focus on the child’s self-care ability and social support for caregivers. Key words: burden, child caregivers, delayed development, self-care ability, social support 1 Master of Nursing Science, Pediatric Nursing, Faculty of Nursing, Burapha University 2 Assistant Professor, Faculty of Nursing, Burapha University 3 Associate Professor, Faculty of Nursing, Burapha University * Corresponding author e-mail: yunee1809@yahoo.com

54 ปัจจัยท�านายภาระของผู้ดูแลเด็กท่มี พี ัฒนาการลา่ ช้า วารสารคณะพยาบาลศาสตร์ มหาวทิ ยาลัยบูรพา ความส�าคญั ของปญั หา ตามวัยที่มากข้ึน เด็กอาจมีปัญหาทางด้านอารมณ์และ เดก็ ทมี่ พี ฒั นาการลา่ ชา้ เปน็ ปญั หามผี ลกระทบมาก พฤติกรรมที่ก้าวร้าวรุนแรงเด็กจะไม่สามารถควบคุม ตัวเองได้ และไม่สามารถแก้ไขปัญหาในชีวิตประจ�าวันได้ ตอ่ ทง้ั ตวั เดก็ และครอบครวั เดก็ ทมี่ พี ฒั นาการลา่ ชา้ ดา้ นใด (Khunrungsissombon, 2011) ทา� ใหผ้ ู้ดแู ลนอนไมห่ ลบั ด้านหนึ่งหรือหลายด้านรวมกันทั่วโลกประมาณร้อยละ เกิดความวิตกกังวล และท�าให้เกิดภาระในการดูแลเด็ก 15-20 ส�าหรับประเทศไทย จากการส�ารวจของกรม อยา่ งมากตามมา (Palapirom, Prasopkittikun & Vich- สขุ ภาพจติ กระทรวงสาธารณสขุ พบวา่ ในปี 2554 เดก็ ไทย itsukon, 2010) ท่ีมีอายุ 6-15 ปี มีพัฒนาการช้าจ�านวน 72,780 คน (Department of Mental Health, 2014) และสถิตขิ อง ภาระการดูแล เป็นการรับรู้ของบุคคลในความ โรงพยาบาลยวุ ประสาทไวทโยปถมั ภใ์ นปี 2557 และ 2558 ต้องการการดูแลและความยากล�าบากท่ีเกิดจากการดูแล พบเดก็ มปี ญั หาความบกพรอ่ งของพฒั นาการแบบรอบดา้ น โดยตรงหรอื การปฏบิ ตั กิ จิ กรรมอนื่ ๆ ทเี่ กยี่ วขอ้ งกบั บคุ คล (Pervasive Developmental Disorders - PDDs) จา� นวน ท่ีต้องได้รับการพึ่งพา (Oberst, 1991) จากการทบทวน 20,705 และ 17,931 คน ตามล�าดับ (Yuwaprasart วรรณกรรมพบปัจจัยหลายประการท่ีมีความเกี่ยวข้องกับ Vaithayopathum Child Psychiatric Hospital, 2018) ภาระของผดู้ แู ลเดก็ ทมี่ พี ฒั นาการลา่ ชา้ ไดแ้ ก่ ความสามารถ เดก็ ทม่ี พี ฒั นาการลา่ ชา้ จะทา� ใหเ้ กดิ ปญั หาตามมาหลายอยา่ ง ในการดแู ลตนเองของเดก็ (Chomjit, 2012; Duangdech, แม้ว่าเด็กที่มีอายุ 5-18 ปี ถ้ามีพัฒนาการล่าช้าเด็กก็ 2007; Mai, Chaimongkol & Pongjaturawit, 2015; ไมส่ ามารถชว่ ยเหลอื ตนเองหรอื ทา� กจิ วตั รประจา� วนั ไดต้ าม Photong, Chansuvan, Khachat & Sanchalad, 2014) อายุจริงของเด็กจึงท�าให้เกิดเป็นปัญหาต่อตัวเด็กและ ระยะเวลาในการดูแลเด็ก (Chantarathip, 2013; ครอบครวั กลา่ วคอื ปญั หาตอ่ ตวั เดก็ ไดแ้ ก่ เดก็ จะมปี ญั หา Hayeemasae, Sangsupawanitch & Parinyasutinun, ในการปรบั ตวั ตอ่ สง่ิ แวดลอ้ มและสงั คม ไมส่ ามารถเขา้ รว่ ม 2013; Photong et al., 2014) การสนับสนนุ ทางสงั คม กับกลุ่มเพ่อื น หรือมีปฏิสมั พันธ์กบั คนรอบขา้ งได้ มคี วาม (Hayeemasae et al., 2013; Mai et al., 2015; สามารถจ�ากัดในการช่วยเหลือตนเองและการด�าเนินชีวิต Preechapongmit, 2012; Photong et al., 2014; เช่น การช่วยเหลือในการท�ากิจวัตรประจ�าวันการอาบน�้า Toomnoi, Chaimongkol & Phaktoop, 2008) การแต่งตัว การรับประทานอาหารไม่สามารถท�าเองได้ ความเครยี ดของผดู้ แู ลเดก็ (Chamchoy, 2007; Photong การท่ีเด็กมีปัญหาพัฒนาการล่าช้าน้ันส่งผลกระทบในด้าน et al., 2014; Orapiriyakul, Benjakul & Kwunkaew, ปญั หาโภชนาการเนอ่ื งจากผดู้ แู ลตอ้ งคอยชว่ ยเหลอื ในการ 2014) และภาวะซึมเศรา้ ของผู้ดแู ลเดก็ (Lalana, 2007; รับประทานอาหาร ซง่ึ เดก็ บางคนทานอาหารได้นอ้ ยท�าให้ Lerthattasilp, 2012) โดยพบวา่ ความสามารถในการดแู ล เดก็ ตวั เลก็ หรอื สว่ นสงู ตา�่ กวา่ เกณฑ์ (Charatcharungkiat, ตนเองเป็นการดูแลสุขภาพของตนเองหรือการปฏิบัติ 2013) การใช้ชีวิตตามปกติเกิดความยากล�าบากมากขึ้น กิจกรรมด้วยตนเอง เพ่ือรักษาไว้ซ่ึงชีวิต สุขภาพ และ เปน็ ต้น (Barbaresi, Katusic & Voigt, 2006) นอกจากนี้ มีความสุข เมื่อมีการปฏิบตั ิกิจกรรมไดม้ ปี ระสทิ ธภิ าพแลว้ เม่ือเด็กมีพัฒนาการล่าช้าย่อมส่งผลกระทบต่อครอบครัว จะทา� ใหโ้ ครงสรา้ งและหนา้ ทข่ี องรา่ งกายพฒั นาไปไดส้ งู สดุ โดยภาระในการดูแลเด็กจะมีความแตกต่างกันไปตาม แตเ่ มอ่ื เดก็ มปี ญั หาภาวะสขุ ภาพแลว้ เดก็ จะไมส่ ามารถดแู ล ลักษณะของเด็กแต่ละคนได้แก่ ปัญหาการดูแลตนเอง ตนเองได้ เชน่ การปฏบิ ตั กิ จิ วตั รประจา� วนั หรอื ทา� กจิ กรรม ในกิจวัตรประจ�าวัน ด้านอารมณ์และพฤติกรรม ด้าน อนื่ ๆ ได้ เดก็ จงึ ตอ้ งอาศยั ผแู้ ลในการชว่ ยเหลอื ซง่ึ อาจทา� ให้ สุขภาพของเด็กเช่นโรคหัวใจ โรคลมชักเป็นต้นและหาก เกิดเป็นภาระของผู้ดูแลเด็กได้ส�าหรับปัจจัยด้านผู้ดูแล เด็กทมี่ ีพฒั นาการช้าทงั้ 4 ดา้ น จะทา� ให้เดก็ มีความยุ่งยาก คือ ระยะเวลาในการดูแลเด็ก เป็นช่วงเวลาที่ผู้ดูแลหลัก และมีความซับซ้อนในการดูแลตนเองมากขึ้น ผู้ดูแลอาจ ให้การดูแลเด็กหลังจากท่ีแพทย์ให้การวินิจฉัยว่าเด็กมี ต้องให้การดูแลตลอดเวลาหรือต้องช่วยเหลือเด็กตลอด พฒั นาการลา่ ชา้ ระยะเวลาเปน็ ปจั จยั หนงึ่ ทส่ี ง่ ผลตอ่ ภาระ โดยเฉพาะเด็กท่ีช่วยเหลือตัวเองได้น้อย และช่วงอายุ ในการดูแลเด็กท�าให้ผู้ดูแลต้องใช้เวลาในการดูแลมากข้ึน ปVoีทl่ีu2m8eฉบ28ับทN่ีo2. (2เม(A.ยp.r--มJิ.uยn.)) 22506203

Factors Influencing Burden of Child Caregivers of Children The Journal of Faculty of Nursing 55 with Delayed Development Burapha University จึงท�าให้เกิดเป็นภาระ และการสนับสนุนทางสังคมเป็น เกิดจากการดูแลโดยตรง และเกิดจากการปฏิบัติกิจกรรม การชว่ ยเหลอื ประคบั ประคองทผ่ี ดู้ แู ลหลกั ไดร้ บั จากบคุ คล อนื่ ๆ ทเ่ี กยี่ วข้องกบั บุคคลทต่ี อ้ งได้รบั การพง่ึ พาประกอบ ในครอบครวั ชมุ ชนและบคุ ลากรดา้ นสขุ ภาพการสนบั สนนุ ด้วยองค์ประกอบ 3 ด้าน คือ 1) ด้านการดูแลโดยตรง ทางสังคม ท�าให้ผู้ดูแลเกิดก�าลังใจ เกิดความเช่ือม่ันใน (Direct care) เนน้ การดูแลดา้ นร่างกาย ไดแ้ ก่ การปฏบิ ตั ิ ตนเอง สามารถปรบั ตัวและเผชิญปญั หาได้อยา่ งเหมาะสม กิจวัตรประจ�าวัน การดูแลฟื้นฟูสมรรถภาพและการดูแล ดังนั้นในการศึกษาครั้งนี้ผู้วิจัยจึงสนใจศึกษาปัจจัยท้ังสาม รักษาพยาบาล เป็นต้น 2) ด้านการดูแลระหว่างบุคคล ดังกล่าวซึ่งครอบคลุมทั้งปัจจัยด้านตัวเด็กเองและปัจจัย (Interpersonal care) เน้นการดูแลด้านจิตใจได้แก่ ดา้ นผูด้ ูแลเด็ก การแสดงความรัก การพูดคุย การระวังการเกิดอุบัติเหตุ และการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมที่ไม่เหมาะสม เป็นต้น เด็กที่มีพัฒนาการล่าช้าจะมีปัญหาในการดูแล 3) ด้านการดแู ลทั่วไป (Instrumental care) เน้นการดแู ล ตนเองในชีวิตประจ�าวัน ซึ่งส่งผลกระทบต่อตัวเด็กและ ดา้ นเศรษฐกจิ และสงั คมไดแ้ ก่ คา่ เดนิ ทาง คา่ รกั ษาพยาบาล ครอบครวั ทั้งทางดา้ นร่างกาย จติ ใจ อารมณ์ สังคม และ และการตดิ ต่อแหลง่ ชว่ ยเหลืออ่ืน ๆ เปน็ ตน้ การประเมนิ เศรษฐกจิ โดยเฉพาะอยา่ งยงิ่ ผดู้ แู ลเดก็ จะเกดิ ภาระการดแู ล ภาระการดแู ลควรไดร้ บั การประเมนิ ผลลพั ธก์ ารจดั กระทา� เดก็ ทมี่ พี ฒั นาการลา่ ชา้ จากการทบทวนวรรณกรรมจะเหน็ การดูแลท้ังปริมาณเวลาหรือปริมาณความยากล�าบาก ได้ว่า ภาระของผู้ดูแลเด็กที่มีพัฒนาการล่าช้าถือว่าเป็น ในการดูแลซ่ึงแบ่งภาระเป็น 2 มิติ ได้แก่ ภาระการดูแล ปญั หาทส่ี �าคญั ในระบบสุขภาพอยา่ งยิง่ อย่างไรก็ตามจาก เชิงปรนัย (Objective burden) และภาระเชิงอัตนัย การทบทวนวรรณกรรมพบว่า การศึกษาเก่ียวกับภาระ (Subjective burden) (Oberst, 1991) จากแนวคิดภาระ ในการดูแลของผู้ดูแลส่วนใหญ่มุ่งเน้นในเด็กกลุ่มออทิสติก การดแู ลของผดู้ แู ลรว่ มกบั การทบทวนวรรณกรรมพบปจั จยั และโรคพิการทางสมอง (Duangdech, 2007; หลายประการท่ีเกี่ยวข้องกับภาระของผู้ดูแลเด็กท่ีมี Lerthattasilp, 2007; Mai et al., 2015; Orapiriyakul พัฒนาการล่าช้าได้แก่ ความสามารถในการดูแลตนเอง et al., 2014; Thongchit, 2011) แตย่ งั ไมพ่ บการศกึ ษา ของเดก็ โดยพบวา่ ความสามารถในการดแู ลตนเองของเดก็ ในเดก็ กลุม่ ทีม่ ีพฒั นาการล่าชา้ ผวู้ ิจัยจงึ สนใจศกึ ษาปจั จัย มคี วามสมั พนั ธท์ างลบกบั ภาระของผดู้ แู ลเดก็ กลา่ วคอื เมอื่ ท�านายภาระของผู้ดูแลเด็กที่มีพัฒนาการล่าช้าได้แก่ เดก็ สามารถดแู ลตนเองไดน้ อ้ ย ทา� ใหผ้ ดู้ แู ลตอ้ งดแู ลเดก็ ตอ้ ง ความสามารถในการดแู ลตนเองของเดก็ ระยะเวลาในการ ใชร้ ะยะเวลาในการดแู ลเดก็ มากขน้ึ (Chantarathip, 2010; ดแู ลเดก็ และการสนบั สนนุ ทางสงั คม เพอ่ื นา� ผลการวจิ ยั มา Hayeemasae et al., 2013; Mai et al., 2015; Phothong เป็นข้อมูลพื้นฐานในการพัฒนารูปแบบการดูแลเด็กที่มี et al., 2014) ส่งผลให้เกดิ เป็นภาระในการดแู ล สา� หรับ พฒั นาการลา่ ชา้ ทม่ี ปี ระสทิ ธภิ าพเพอ่ื ชว่ ยลดภาระการดแู ล ระยะเวลาในการดแู ลเดก็ เปน็ ระยะเวลาทผี่ ดู้ แู ลใหก้ ารดแู ล เด็กของผูด้ แู ลตอ่ ไป เดก็ ทมี่ พี ฒั นาการลา่ ชา้ ซงึ่ มคี วามสมั พนั ธก์ บั ภาระการดแู ล ของผู้ดูแลเด็ก โดยพบว่าระยะเวลาในการดูแลมีผลต่อ วตั ถุประสงคข์ องการวิจัย การรบั รเู้ ปน็ ภาระในการดแู ลของผดู้ แู ลเดก็ (Orapiriyakul เพื่อศึกษาปัจจัยท�านายภาระของผู้ดูแลเด็กท่ีมี et al., 2014; Wacharasin, Pakthop & Sananreangsak, 2006) และการสนับสนุนทางสังคม หากผู้ดูแลได้รับ พัฒนาการล่าช้า ได้แก่ ความสามารถในการดูแลตนเอง การสนับสนุนทางสังคมทั้งด้านอารมณ์ ด้านส่ิงของหรือ ของเด็ก ระยะเวลาในการดูแลเด็ก และการสนับสนุน การบริการและด้านข้อมูลข่าวสาร จะท�าให้ผู้ดูแลรับรู้ถึง ทางสงั คม ภาระในการดแู ลเดก็ นอ้ ยลง (Hayeemasae et al., 2013; Mai et al., 2015; Photong et al., 2014; Toomnoi กรอบแนวคิดการวิจัย et al., 2008) จึงสามารถเขยี นเป็นกรอบแนวคดิ การวจิ ยั การวิจัยครั้งน้ีใช้แนวคิดภาระของผู้ดูแลของ ไดด้ งั น้ี Oberst (1991) ท่ีกล่าวว่า ภาระการดูแลเป็นการรับรู้ ของบุคคลในการต้องการการดูแลและความยากล�าบากท่ี Vปoีทl่ีu2m8eฉบ28ับทN่ีo2. (2เม(A.ยp.r--มJิ.uยn.)) 22506203

56 ปัจจยั ทา� นายภาระของผ้ดู ูแลเดก็ ทีม่ ีพฒั นาการล่าชา้ วารสารคณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา ความสามารถในการดูแลตนเองของเด็ก ระยะเวลาในการดูแลเด็ก ภาระของผดู้ แู ลเดก็ ทม่ี พี ัฒนาการลา่ ช้า การสนับสนนุ ทางสังคม ภาพที่ 1 กรอบแนวคดิ ในการวจิ ัย วธิ ดี �าเนินการวจิ ัย พัฒนาการลา่ ช้า ได้แก่ เพศ อายุ สถานภาพสมรส ความ การศกึ ษาครงั้ นเี้ ปน็ แบบหาความสมั พนั ธเ์ ชงิ ทา� นาย สมั พนั ธก์ บั เดก็ ระดบั การศกึ ษา อาชพี รายไดข้ องครอบครวั และลักษณะครอบครวั (Predictive correlational research) ประชากร คือ ผู้ดูแลที่พาเด็กพัฒนาการล่าช้าท่ี 1.2 ข้อมูลส่วนบุคคลของเด็กท่ีมีปัญหา พัฒนาการลา่ ชา้ ได้แก่ อายุ เพศ ล�าดบั ทเ่ี กิด และระยะ มีอายุ 5-18 ปี มารับบริการท่ีคลินิกพัฒนาการและ เวลาทเ่ี ด็กได้รับการวนิ ิจฉยั วา่ มปี ัญหาพัฒนาการลา่ ช้า พฤตกิ รรมเด็ก สถาบันราชานุกูล กรุงเทพมหานคร ชดุ ท่ี 2 แบบสอบถามความสามารถในการดูแล กลุ่มตัวอย่าง เลือกกลุ่มตัวอย่างแบบสะดวก ตนเองของเด็ก เป็นแบบสอบถามทผ่ี ู้วจิ ยั ปรับปรุงมาจาก (Convenience sampling) จากผดู้ แู ลทพี่ าเดก็ พฒั นาการ แบบสอบถามความสามารถในการดูแลตนเองของ Mai ลา่ ชา้ ทมี่ ีอายุ 5-18 ปี มารบั บรกิ ารคลินิกพฒั นาการและ et al., (2015) โดยได้รับอนุญาตจากผู้นิพนธ์ ร่วมกับ พฤตกิ รรมเดก็ สถาบนั ราชานกุ ลู กรงุ เทพมหานคร กา� หนด การทบทวนวรรณกรรม ประกอบด้วย ข้อค�าถามทั้งหมด คณุ สมบตั ขิ องกลมุ่ ตวั อยา่ ง ดงั น้ี คอื 1) มอี ายุ 18 ปบี รบิ รู ณ์ 19 ขอ้ ไดแ้ ก่ การดแู ลกจิ วตั รประจา� วนั ทว่ั ไป จา� นวน 11 ขอ้ ขนึ้ ไป 2) เปน็ ผดู้ แู ลหลกั แบบไมเ่ ปน็ ทางการอยา่ งนอ้ ย 1 ปี และการดูแลการเจริญเติบโตและพัฒนาการเด็ก จ�านวน ขน้ึ ไป 3) สามารถอา่ นและเขา้ ใจภาษาไทยไดด้ ี 4) เปน็ ผดู้ แู ล 8 ขอ้ เกณฑก์ ารใหค้ ะแนนมตี ัง้ แต่ระดบั 1-5 (คะแนน 1 = เด็กท่มี พี ฒั นาการล่าชา้ อยา่ งน้อย 1 ดา้ นใน 4 ด้านโดยได้ ไม่เคยหรือแทบจะไม่เคยปฏิบัติ, 2 = ปฏิบัติได้เล็กน้อย, รับการวินิจฉัยจากแพทย์ 5) เด็กไม่มีภาวะแทรกซ้อนท่ี 3 = ปฏบิ ตั ิได้บางคร้ัง, 4 = ปฏบิ ตั ไิ ดห้ รอื บอ่ ยครั้ง, 5 = รุนแรง เช่น ระบบทางเดินหายใจ ระบบไหลเวียนโลหิต ปฏิบัติเป็นประจ�าหรือสม�่าเสมอ) คะแนนที่เป็นไปได้ของ เปน็ ตน้ และโรคอน่ื ๆ ทเ่ี ปน็ ความพกิ ารทงั้ ทางรา่ งกายและ แบบสอบถามทง้ั ชดุ เทา่ กบั 19-95 คะแนน โดยคะแนนรวม สติปญั ญา เปน็ ตน้ ดาวนซ์ นิ โดรม สมองพกิ าร เป็นต้น ย่งิ สงู หมายถึง เด็กมีความสามารถในการดูแลตนเองมาก คะแนนรวมยง่ิ ต่า� หมายถึง เด็กมีความสามารถในการดูแล การกา� หนดขนาดกลมุ่ ตวั อยา่ ง ใชว้ ธิ กี ารเปดิ ตาราง ตนเองนอ้ ยมคี า่ ความเชอ่ื มนั่ เทา่ กบั .85 (Mai et al., 2015) การวิเคราะห์ค่าอ�านาจการทดสอบ (Power analysis) (Cohen, 1992) โดยก�าหนดคา่ ความเชื่อมัน่ (α) ทีร่ ะดบั ชุดท่ี 3 แบบสอบถามการสนับสนุนทางสังคม นัยสา� คญั ท่ี .05 คา่ อ�านาจการทดสอบ (Power of test) เป็นแบบสอบถามที่ผู้วิจัยน�ามาจากแบบสอบถามการ เท่ากับ .80 และค่าอิทธิพลของตัวแปร (Effect) ขนาด สนบั สนนุ ทางสงั คมของ Toomnoi et al. (2008) โดยได้ ปานกลาง (Moderate effect size) เทา่ กบั .15 ซงึ่ ไดข้ นาด รับอนุญาตจากผู้นิพนธ์ท่ีพัฒนาตามกรอบแนวคิดของ ของกลุ่มตวั อยา่ งเท่ากบั 76 ราย Schaefer, Coyne and Lazarus (1981) แบบสอบถาม ชดุ น้ีมีข้อคา� ถาม 15 ขอ้ วัดการสนับสนุนทางสงั คม 3 ด้าน เครอื่ งมอื ทใ่ี ชใ้ นการวิจยั คอื ด้านอารมณ์ 5 ข้อ ดา้ นสงิ่ ของหรือการบรกิ าร 6 ขอ้ เครอ่ื งมอื ทใ่ี ชใ้ นการเกบ็ รวบรวมขอ้ มลู ประกอบดว้ ย และดา้ นขอ้ มลู ขา่ วสาร 4 ขอ้ โดยมขี อ้ ความเปน็ บวก 13 ขอ้ แบบสอบถามจ�านวน 4 ชุด โดยให้ผู้ดูแลเด็กเป็นผู้ตอบ คือขอ้ 1, 2, 3, 6, 7, 8, 9, 10, 11, 12, 13, 14, 15 และ แบบสอบถาม ดงั นี้ มีข้อความเป็นลบคือข้อ 4, 5 ลักษณะของค�าตอบเป็น ชดุ ท่ี 1 แบบสอบถามขอ้ มูลทัว่ ไป 1.1 ข้อมูลส่วนบุคคลของผู้ดูแลเด็กที่มีปัญหา ปVoีทl่ีu2m8eฉบ28ับทNี่o2. (2เม(A.ยp.r--มJิ.uยn.)) 22506203

Factors Influencing Burden of Child Caregivers of Children The Journal of Faculty of Nursing 57 with Delayed Development Burapha University มาตราสว่ นประมาณค่า 5 ระดับ (คะแนน 1 = ไม่เป็นจรงิ ดชั นคี วามตรงเชิงเนือ้ หา (Content Validity Index: CVI) เลย, 2 = เปน็ จรงิ น้อย, 3 = เปน็ จริงทเี่ พียงครง่ึ หนง่ึ , 4 = ไดเ้ ท่ากับ 1.00 เป็นจริงมาก, 5 = เป็นจริงมากท่ีสุด) คะแนนท่ีเป็นไปได้ การแปลผลคะแนนการสนับสนุนทางสังคมคะแนนรวม การหาความเชื่อมั่น (Reliability) ผู้วิจัยน�า ของแบบวัดท้ังชุดคะแนนสูงแสดงว่า ผู้ดูแลเด็กที่มีปัญหา แบบสอบถามท้งั 3 ชุด ได้แก่ แบบสอบถามความสามารถ พัฒนาการล่าช้าได้รับการสนับสนุนทางสังคมสูง ถ้าได้ ในการดแู ลตนเองของเดก็ แบบสอบถามการสนบั สนนุ ทาง คะแนนต่�า แสดงว่า ผู้ดูแลเด็กท่ีมีปัญหาพัฒนาการล่าช้า สงั คม และแบบสอบถามภาระของผดู้ แู ลเดก็ ทมี่ พี ฒั นาการ ได้รับการสนับสนุนจากสังคมต่�า มีค่าความเช่ือม่ันเท่ากับ ลา่ ชา้ ไปทดลองใช้ (Try out) กับผดู้ แู ลเดก็ ทีม่ ีพฒั นาการ .92 (Toomnoi et al., 2008) ลา่ ชา้ จา� นวน 15 ราย แล้วน�ามาวิเคราะหห์ าความเชือ่ มั่น โดยใชส้ ตู รสมั ประสทิ ธแิ์ อลฟาของครอนบาค (Cronbach’s ชดุ ที่ 4 แบบสอบถามภาระของผู้ดูแลเด็กที่มี alpha coefficient) ไดเ้ ทา่ กบั .85, .92 และ .93 ตามลา� ดบั พัฒนาการล่าช้า เป็นแบบสอบถามที่ผู้วิจัยน�ามาจาก แบบสอบถามความรสู้ กึ เปน็ ภาระของผดู้ แู ลเดก็ สมองพกิ าร การพิทักษ์สทิ ธิของกลุม่ ตวั อยา่ ง ของ Chumsri, Chaimongkol and Sananreungsak ภายหลังท่ีเค้าโครงวิทยานิพนธ์และเครื่องมือการ (2014) ซง่ึ สร้างข้ึนตามแนวคิด Oberst (1991) ประกอบ วิจัยได้รับการรับรองจริยธรรมการวิจัยจากคณะกรรมการ ดว้ ย ขอ้ ความทเ่ี ก่ียวกับความรู้สกึ เปน็ ภาระของผู้ดแู ลเด็ก จรยิ ธรรมการวจิ ยั ระดบั บณั ฑติ ศกึ ษา คณะพยาบาลศาสตร์ จ�านวน 30 ข้อ ซ่ึงแยกเปน็ 2 ด้าน ด้านละ 15 ขอ้ ไดแ้ ก่ มหาวทิ ยาลยั บรู พา (รหสั จรยิ ธรรม 01-11-2561) และคณะ ดา้ นปรมิ าณความตอ้ งการการดแู ล โดยประเมนิ จากการใช้ กรรมการจริยธรรมของสถาบันราชานุกูล (รหัสจริยธรรม เวลาและด้านความยากล�าบากของการดูแล โดยประเมิน RI 005/2562) ผู้วิจัยแนะน�าตัวกับกลุ่มตัวอย่าง อธิบาย จากการความยากล�าบากหรือความพยายามในการท�า รายละเอยี ดของการวจิ ยั และชแ้ี จงใหท้ ราบวา่ กลมุ่ ตวั อยา่ ง กิจกรรมการดูแล การให้คะแนนเป็นแบบประมาณค่า มีสิทธิในการตอบรับหรือปฏิเสธการเข้าร่วมวิจัยโดย (Rating scale) 5 ระดับต้ังแต่ 1-5 (คะแนน 1 = ไม่เลย, ไม่มีการบังคับใด ๆ กลุ่มตัวอย่างสามารถยุติการเข้าร่วม 2 = นอ้ ย, 3 = ปานกลาง, 4 = มาก, 5 = มากท่ีสุด) คะแนน การวิจัยได้ตลอดเวลาโดยไม่ต้องอธิบายเหตุผล และ ที่เป็นไปได้อยู่ระหว่าง 30-150 การแปลผล คะแนนรวม ไมม่ ผี ลกระทบตอ่ เดก็ และผดู้ แู ลไมว่ า่ ทางตรงหรอื ทางออ้ ม ยิ่งน้อยหรือค่อนไปทางคะแนนน้อย หมายถึง ผู้ดูแล ซ่ึงข้อมูลของกลุ่มตัวอย่างที่ได้มาทั้งหมดจะถูกเก็บเป็น มีความรู้สึกเป็นภาระน้อยในการดูแลเด็กที่มีปัญหา ความลับโดยไม่เปิดเผยชื่อ ส่วนการสรุปผล การน�าเสนอ พัฒนาการล่าช้าคะแนนรวมย่ิงมากหรือค่อนไปทาง หรอื ตีพมิ พเ์ ผยแพรข่ อ้ มลู ทไี่ ด้จาการวจิ ยั จะทา� ในภาพรวม คะแนนมาก หมายถึง ผดู้ ูแลเดก็ มีความรสู้ ึกเป็นภาระมาก เพอ่ื ใช้ประโยชนต์ ามวตั ถุประสงค์ของการวิจยั เท่านัน้ เม่อื ในการดแู ลเดก็ ทมี่ ปี ญั หาพฒั นาการลา่ ชา้ มคี า่ ความเชอื่ มน่ั กลุ่มตัวอย่างยินดีเข้าร่วมการวิจัยแล้ว ผู้วิจัยจึงขอ ของเคร่ืองมือเทา่ กบั .93 (Chumsri et al., 2014) ความยินยอมในการเข้าร่วมการวิจัยโดยให้กลุ่มตัวอย่าง พิจารณาลงนามในใบยินยอมเข้าร่วมการวิจัยด้วยตนเอง การตรวจสอบคณุ ภาพของเครือ่ งมอื การวจิ ัย ผู้วิจัยรักษาความลับของกลุ่มตัวอย่างแต่ละรายโดยมี ความตรงตามเน้ือหา (Content validity) การใชร้ หสั แทนชอื่ จรงิ การสรปุ ผล การนา� เสนอผลการวจิ ยั แบบสอบถามที่ผู้วิจัยปรับปรุงมีจ�านวน 1 ชุด ได้แก่ หรอื ตพี มิ พเ์ ผยแพรจ่ ะทา� ในภาพรวมของผลการวจิ ยั เทา่ นน้ั แบบสอบถามความสามารถในการดูแลตนเองของเด็ก และภายหลังจากผลการวิจัยได้ตีพิมพ์เผยแพร่แล้ว ข้อมูล ผู้วิจัยน�าแบบสอบถามไปให้ผู้ทรงคุณวุฒิจ�านวน 3 ท่าน ทง้ั หมดจะถูกทา� ลาย ได้แก่ อาจารย์พยาบาลผู้เช่ียวชาญด้านการพยาบาลเด็ก การเก็บรวบรวมขอ้ มูล 1 ทา่ น พยาบาลชา� นาญการดา้ นการสง่ เสรมิ พฒั นาการเดก็ ภายหลังที่โครงร่างวิทยานิพนธ์ผ่านการรับรอง 1 ท่าน และกุมารแพทย์ผู้เชี่ยวชาญด้านพัฒนาการเด็ก จริยธรรมการวิจัยจากคณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัย 1 ท่าน ตรวจสอบความตรงตามเนื้อหา และค�านวณหาค่า บูรพา และคณะกรรมการจริยธรรมของสถาบันราชานุกูล Vปoีทlี่u2m8eฉบ28ับทNี่o2. (2เม(A.ยp.r--มJิ.uยn.)) 22506203

58 ปจั จยั ทา� นายภาระของผู้ดแู ลเดก็ ที่มีพฒั นาการล่าช้า วารสารคณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลยั บูรพา แล้วผู้วิจัยด�าเนินการเก็บรวบรวมข้อมูลด้วยตนเองผู้วิจัย สถานภาพสมรสคู่มากที่สุด (รอ้ ยละ 84.2) ความสมั พนั ธ์ เข้าพบกลุ่มตัวอย่างซึ่งเป็นผู้ดูแลเด็กท่ีมีปัญหาพัฒนาการ กับเดก็ ส่วนใหญเ่ ป็นมารดา (ร้อยละ 75.0) จบการศกึ ษา ล่าช้าอายุ 5-18 ปี ท่ีเข้ารับการรักษาท่ีแผนกผู้ป่วยนอก ระดับช้ันประถมศึกษาร้อยละ 30.2 รองลงมาคือ คลินิกพัฒนาการและพฤติกรรมเด็ก สถาบันราชานุกูล มัธยมศึกษาตอนปลาย/ปวช. รอ้ ยละ 27.6 ประกอบอาชพี กรงุ เทพมหานคร โดยผวู้ จิ ยั แนะนา� ตนเอง ชแ้ี จงวตั ถปุ ระสงค์ รับจ้างร้อยละ 40.8 รองลงมาเป็นแม่บ้านร้อยละ 19.7 ของการวิจัย วิธีการเก็บรวบรวมข้อมูล และสิทธิของ มีรายไดข้ องครอบครัว 5,001-10,000 บาท/เดอื น ร้อยละ กลุ่มตัวอย่างโดยสมัครข้อมูลเม่ือกลุ่มตัวอย่างลงนามใน 26.3 รองลงมาคือ 10,001-15,000 บาท/เดือน ร้อยละ ใบยินยอมเข้าร่วมการวิจัยผู้วิจัยจึงแจกแบบสอบถามและ 25.0 ส่วนใหญ่เป็นครอบครัวขยาย (ร้อยละ 52.6) และ อธิบายวิธีการตอบแบบสอบถาม สถานท่ีท่ีใช้ในการตอบ ครอบครัวเด่ียวร้อยละ 47.4 แบบสอบถาม คอื หอ้ งประชมุ หรอื หอ้ งพกั ทจ่ี ดั เปน็ สดั สว่ น และมีสภาพแวดลอ้ มท่สี งบ ใชเ้ วลาประมาณ 20-30 นาที ส�าหรับเด็กมีพัฒนาการล่าช้าส่วนใหญ่พบว่า เม่ือกลุ่มตัวอย่างตอบแบบสอบถามเสร็จผู้วิจัยจึงเก็บ มอี ายุ 7-12 ปี (รอ้ ยละ 61.8) เปน็ เด็กเพศชาย (รอ้ ยละ รวบรวมแบบสอบถามและตรวจสอบความสมบูรณ์เพอ่ื นา� 71.1) และเด็กเพศหญิง รอ้ ยละ 28.9 สว่ นใหญ่เป็นบุตร ไปวิเคราะหข์ อ้ มลู ตอ่ ไป ล�าดบั แรกของครอบครัว (ร้อยละ 60.5) ได้รบั การวนิ ิจฉยั เป็นโรคสมาธิสั้น (Attention Deficit Hyperactivity การวเิ คราะห์ข้อมลู Disorder: ADHD) (ร้อยละ 55.2) รองลงมาคอื Autistic โดยใช้โปรแกรมคอมพิวเตอร์ส�าเร็จรูป ก�าหนดค่า ร้อยละ 25.0 และส่วนใหญ่มีระยะเวลาท่ีเด็กได้รับการ ความมีนัยส�าคัญทางสถิติที่ระดับ .05 ข้อมูลท่ัวไปของ วนิ จิ ฉัยจนถงึ ปัจจุบันเป็นระยะเวลา 1-5 ปี (รอ้ ยละ 69.7) กลุ่มตัวอย่างวิเคราะห์โดยใช้ค่าความถ่ี ร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบ่ยี งเบนมาตรฐาน และพิสยั ส่วนปัจจยั ท�านายภาระ 2. ความสามารถในการดูแลตนเองของเด็ก การ ของผู้ดูแลเด็กท่ีมีพัฒนาการล่าช้าโดยการวิเคราะห์ข้อมูล สนบั สนนุ ทางสงั คม และภาระของผดู้ แู ลเดก็ ทมี่ พี ฒั นาการ ด้วยสถิตวิ ิเคราะหถ์ ดถอยพหูคูณแบบขัน้ ตอน (Stepwise ลา่ ชา้ Multiple Regression Analysis) ความสามารถในการดูแลตนเองของเด็ก ผลการวจิ ยั โดยรวมมคี ะแนนเฉลย่ี เท่ากบั 79.63 (SD = 16.91) เมื่อ 1. ลักษณะทั่วไปของกลุ่มตัวอย่างเป็นผู้ดูแลเด็ก พิจารณาเป็นรายด้านพบว่า คะแนนเฉลี่ยด้านการดูแล กจิ วัตรท่ัวไปเทา่ กับ 48.07 (SD = 9.96) และด้านการดแู ล ทีม่ ีพัฒนาการล่าช้า จา� นวน 76 ราย พบว่า ส่วนใหญเ่ ป็น เกี่ยวกับการเจริญเติบโตและพัฒนาการเท่ากับ 31.57 เพศหญิง (รอ้ ยละ 86.8) มอี ายุ 20-40 ปี (ร้อยละ 61.8) มี (SD = 7. 89) ดงั แสดงในตารางที่ 1 ตารางที่ 1 คะแนนเฉลี่ย ส่วนเบ่ียงเบนมาตรฐาน และพิสัยของความสามารถในการดูแลตนเองของเด็กโดยรวม และ แยกรายด้าน (n = 76) ความสามารถในการดูแลตนเองของเดก็ Mean SD Actual range Possible range โดยรวม 79.63 16.91 24-95 19-95 รายดา้ น 48.07 9.96 13-55 11-55 - ด้านการดูแลกิจวัตรประจ�าวันท่วั ไป 31.57 7.89 8-40 8-40 - ด้านการดูแลเก่ียวกับการเจริญเติบโตและพัฒนาการ การสนบั สนนุ ทางสงั คมโดยรวมมคี ะแนนเฉลย่ี พบวา่ คะแนนเฉลย่ี การสนบั สนนุ ดา้ นอารมณเ์ ทา่ กบั 16.22 เท่ากับ 56.83 (SD = 8.22) เม่ือพิจารณาเป็นรายด้าน (SD = 3.38) ด้านบริการและวัตถุเท่ากับ 24.89 (SD = ปVoีทl่ีu2m8eฉบ28ับทNี่o2. (2เม(A.ยp.r--มJิ.uยn.)) 22506203

Factors Influencing Burden of Child Caregivers of Children The Journal of Faculty of Nursing 59 with Delayed Development Burapha University 4.19) และด้านขอ้ มลู ขา่ วสารเทา่ กับ 15.71 (SD = 3.89) ดังแสดงในตารางท่ี 2 ตารางท่ี 2 คะแนนเฉลี่ย สว่ นเบ่ียงเบนมาตรฐาน และพสิ ัยของการสนับสนนุ ทางสังคมโดยรวมและรายดา้ น (n = 76) การสนับสนนุ ทางสงั คม Mean SD Actual range Possible range โดยรวม 56.83 8.22 23-71 15-75 รายดา้ น 16.22 3.38 5-25 5-25 - ดา้ นอารมณ์ 24.89 4.19 14-30 6-30 - ดา้ นบริการและวตั ถุ 15.71 3.89 4-20 4-20 - ด้านขอ้ มูลข่าวสาร ภาระของผดู้ แู ลเดก็ ทม่ี พี ฒั นาการลา่ ชา้ โดยรวม 34.32 (SD = 8.63) และด้านความยากล�าบากเท่ากับ มีคะแนนเฉลี่ยเทา่ กับ 62.51 (SD = 18.78) เมือ่ พิจารณา 28.20 (SD = 10.99) ดงั แสดงในตารางที่ 3 เป็นรายด้านพบว่า คะแนนเฉลี่ยด้านการใช้เวลาเท่ากับ ตารางท่ี 3 คะแนนเฉลี่ย ส่วนเบ่ียงเบนมาตรฐาน และพิสัยของภาระของผู้ดูแลเด็กท่ีมีพัฒนาการล่าช้าโดยรวม และ รายดา้ น (n = 76) ภาระของผู้ดูแลเด็กท่ีมพี ฒั นาการลา่ ช้า Mean SD Actual range Possible range โดยรวม 62.51 18.78 36-126 30-150 รายด้าน 34.32 8.63 21-63 15-75 - ด้านการใชเ้ วลา 28.20 10.99 15-66 15-75 - ดา้ นความยากลา� บาก 3. ปัจจัยท�านาย ได้แก่ความสามารถในการดูแล พัฒนาการล่าช้าได้ ร้อยละ 39.2 (Adjust R2 = .375, ตนเองของเดก็ ระยะเวลาในการดแู ลเดก็ และการสนบั สนนุ p < .001) ซ่ึงปัจจัยที่สามารถท�านายได้ดีที่สุดคือ ความ ทางสังคมตอ่ ภาระของผูด้ ูแลเด็กทีม่ พี ฒั นาการล่าช้า สามารถในการดูแลตนเองของเด็ก สามารถท�านายภาระ ของผู้ดูแลเด็กท่ีมีพัฒนาการล่าช้าได้ ร้อยละ 23.7 (b = ผลการวเิ คราะหข์ ้อมูล พบว่า ปจั จัยทสี่ ามารถ -.441, p < .001) และปจั จยั ตวั ทสี่ อง คอื การสนบั สนนุ ทาง ท�านายภาระของผู้ดูแลเด็กท่ีมีพัฒนาการล่าช้า ได้แก่ สงั คม รอ้ ยละ 15.5 (b = -.396, p< .001) ดังแสดงใน ความสามารถในการดแู ลตนเองของเดก็ และการสนบั สนนุ ตารางท่ี 4 ทางสังคมโดยสามารถท�านายภาระของผู้ดูแลเด็กท่ีมี ตารางที่ 4 การวิเคราะห์สถิติถดถอยพหคู ณู แบบขัน้ ตอน เพื่อหาปัจจัยทา� นายภาระของผูด้ แู ลเดก็ ที่มีพัฒนาการลา่ ชา้ (n = 76) ตวั แปร DR2 b SE Beta t ความสามารถในการดแู ลตนเองของเด็ก .237 -.490 .102 -.441 -4.799*** การสนับสนุนทางสงั คม .155 -.905 .210 -.396 -4.314*** Constant = 152.94 , R2 = .392, Adjust R2 = .375, F(1, 74) = 22.965 *** ***p < .001 Vปoีทl่ีu2m8eฉบ28ับทNี่o2. (2เม(A.ยp.r--มJิ.uยn.)) 22506203

60 ปัจจัยทา� นายภาระของผู้ดแู ลเดก็ ท่ีมีพัฒนาการลา่ ชา้ วารสารคณะพยาบาลศาสตร์ มหาวทิ ยาลยั บูรพา อภปิ รายผล ช่วยเหลือตนเองได้น้อยจึงส่งผลให้มารดาและครอบครัว จากผลการวจิ ยั สามารถอภปิ รายผลตามสมมตฐิ าน รู้สึกเปน็ ภาระในการดแู ลเดก็ มากขึ้น (Shyam, Kavita & Govil, 2014) สอดคล้องกบั การศึกษาของ Viriyaprasart การวจิ ัย ดังนี้ (2007) ท่ีศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างปัจจัยบางประการ 1. ความสามารถในการดแู ลตนเองของเดก็ สามารถ ภาระการดูแลกับความผาสุกโดยท่ัวไปของผู้ดูแลเด็ก สมองพกิ ารทร่ี บั บรกิ ารแผนกผปู้ ว่ ยนอก สถาบนั ราชานกุ ลู ท�านายภาระของผู้ดูแลเด็กท่ีมีพัฒนาการล่าช้าได้ดีท่ีสุด พบว่า เด็กสมองพิการที่มีความสามารถปฏิบัติกิจวัตร ร้อยละ 23.7 (b = -.441, p < .001) หมายความวา่ เด็ก ประจ�าวันได้เองอย่างเหมาะสม มีความสัมพันธ์เชิงลบกับ ทมี่ พี ฒั นาการลา่ ชา้ ทมี่ คี วามสามารถในการดแู ลตนเองมาก การรับรู้ภาระการดูแลเด็กของผู้ดูแลเด็ก เช่นเดียวกับ จะส่งผลให้ภาระในการดูแลเด็กของผู้ดูแลลดลง ทั้งนี้ การศึกษาปัจจัยท�านายภาระของผู้ดูแลเด็กสมองพิการ ท่ี อภปิ รายไดว้ ่า เม่ือเดก็ ทมี่ พี ฒั นาการลา่ ชา้ มคี วามสามารถ พบว่าเด็กสมองพิการท่ีสามารถช่วยเหลือตนเองได้มากจะ ในการดูแลตนเองลดลงจึงต้องอาศัยการพ่ึงพาจากผู้ดูแล ส่งผลให้ภาระของผู้ดูแลลดลงและการศึกษาภาวะสุขภาพ ทา� ใหผ้ ดู้ แู ลรสู้ กึ เปน็ ภาระในการดแู ลเดก็ โดยภาระการดแู ล ภาระการดูแล และความเปน็ อยขู่ องผดู้ แู ลเดก็ สมองพกิ าร นเ้ี ปน็ การรบั รขู้ องบคุ คลในความตอ้ งการการดแู ลและเปน็ พบว่าการรับรู้ความสามารถในการดูแลตนเองของเด็กท่ี ความยากลา� บากทเ่ี กดิ จาการดแู ลโดยตรง (Oberst, 1991) มากขึ้นจะส่งผลให้ผู้ดูแลเด็กรู้สึกเป็นภาระในการดูแล โดยปกติทั่วไปเด็กท่ีมีพัฒนาการล่าช้าจะมีแบบแผน ลดลง (Sigman, 2005) ระบบการศึกษาถึงปัจจัยที่มีผล พัฒนาการเบี่ยงเบนไปจากปกติและช้ากว่าเด็กปกติในวัย ต่อภาระในการดูแลเด็กออทิสติกในเวียดนาม ที่พบว่า เดียวกัน (Srivongpanich, 2013) เด็กจะไม่สามารถ เดก็ ออทสิ ตกิ ทส่ี ามารถดแู ลตนเองไดม้ ากขน้ึ จะสง่ ผลใหเ้ กดิ ช่วยเหลือตนเองได้ จึงท�าให้เด็กกลุ่มน้ีต้องอาศัยผู้ดูแล ภาระของผดู้ ูแลนอ้ ยลง (Mai et al., 2015) ในการดแู ลเดก็ เพอื่ ใหม้ ชี วี ติ เปน็ ปกติ เกดิ ความผาสกุ ในชวี ติ ดังนั้นในเด็กที่มีพัฒนาการล่าช้าท่ีมีความสามารถในการ 2. การสนับสนุนทางสังคมสามารถท�านายภาระ ดูแลตนเองมากดังเช่นลักษณะของกลุ่มตัวอย่างท่ีพบว่า ของผู้ดูแลเด็กที่มีพัฒนาการล่าช้าได้ร้อยละ 15.5 (b = ส่วนใหญ่เป็นเด็กสมาธิส้ัน (Attention Deficit -.396, p < .001) หมายความว่า ผู้ดูแลเด็กท่ีได้รับการ Hyperactivity Disorder: ADHD) รอ้ ยละ 55.2 เปน็ เด็ก สนับสนุนทางสังคมมากจะท�าให้ภาระของผู้ดูแลเด็กลดลง ที่สามารถช่วยเหลือตนเองได้มากกว่าเด็กกลุ่มอื่น ๆ เช่น ทง้ั นอ้ี ภปิ รายไดว้ า่ การสนบั สนนุ ทางสงั คมเปน็ การชว่ ยเหลอื Autistic และ Mental Retard เดก็ มอี ายุเฉลี่ย 7-12 ปี จึง ประคบั ประคองทผ่ี ดู้ แู ลไดร้ บั จากบคุ คลในครอบครวั ชมุ ชน สามารถปฏบิ ตั กิ จิ กรรมหรอื กจิ วตั รประจา� วนั ไดม้ ากขน้ึ เชน่ และบุคลากรด้านสุขภาพซ่ึงประกอบด้วย 3 ด้าน ได้แก่ การอาบน�้า แปรงฟนั การรบั ประทานอาหาร การขบั ถา่ ย ด้านอารมณ์ ด้านสิ่งของหรือการบริการ และด้านข้อมูล เป็นต้น และดูแลเก่ียวกับการเจริญเติบโตและพัฒนาการ ขา่ วสาร โดยด้านอารมณเ์ ป็นความผูกพัน ความอ่นุ ใจและ ของตนเอง เช่น พยายามท�ากิจกรรมตามที่ผู้ดูแลบอก ความรู้สึกเช่ือม่ันและไว้วางใจช่วยให้บุคคลรู้สึกว่าตนเอง สามารถเลน่ กบั เพอ่ื นทโ่ี รงเรยี นได้ เมอ่ื มปี ญั หาเดก็ สามารถ ได้รับความรักและการดูแลเอาใจใส่ ด้านสิ่งของหรือ พูดคุยกับพี่น้องหรือญาติได้ และไม่มีปัญหายุ่งยาก การบรกิ ารเปน็ การใหค้ วามชว่ ยเหลอื ในรปู ของวตั ถุ สง่ิ ของ ในการเรียน เป็นต้น ซ่ึงเป็นการปฏิบัติเพื่อดูแลสุขภาพ แรงงาน และการบริการ และด้านข้อมลู ขา่ วสารคอื การให้ ของตนเองใหป้ ลอดภัย ลดกจิ กรรมความเสี่ยงตา่ ง ๆ ของ ข้อมูลและข้อเท็จจริง ค�าแนะน�าที่ช่วยให้บุคคลสามารถ ร่างกายและสามารถปฏิบัติหรือการกระท�าเพ่ือให้เกิด แก้ไขปัญหา และเป็นการให้ข้อมูลย้อนกลับถึงส่ิงที่บุคคล ประโยชน์สงู สุดแก่ตนเองในการดา� รงชวี ิต อยไู่ ดอ้ ย่างเปน็ ไดก้ ระทา� แลว้ ซงึ่ เมอ่ื บคุ คลไดร้ บั การชว่ ยเหลอื จากบคุ คลที่ ปกติสุข ซ่ึงช่วยลดภาระการดูแลของผู้ดูแลโดยช่วยลด มีการปฏิสัมพันธ์ดังกล่าว ท�าให้เกิดก�าลังใจ ความเชื่อมั่น การใช้เวลาในการดูแล และลดความยากล�าบากในการ ในตนเอง และท�าให้สามารถปรับตัวและเผชิญปัญหาได้ ใหก้ ารดูแลแกเ่ ดก็ ที่มีพฒั นาการลา่ ช้า อยา่ งเหมาะสม (Schaefer et al., 1981) โดยผูด้ ูแลไดร้ ับ ดังการศึกษาเด็กท่ีมีพัฒนาการล่าช้าจะดูแล Vปoีทlี่u2m8eฉบ28ับทNี่o2. (2เม(A.ยp.r--มJิ.uยn.)) 22506203

Factors Influencing Burden of Child Caregivers of Children The Journal of Faculty of Nursing 61 with Delayed Development Burapha University การสนบั สนนุ ดา้ นบรกิ ารและวตั ถุ คอื การไดร้ บั การชว่ ยเหลอื ดูแลเด็กออทิสติกไม่มีความสัมพันธ์กับภาระการดูแล อา� นวยความสะดวกในการตรวจรกั ษาไดร้ บั คา� ปรกึ ษาหรอื เด็กออทิสตกิ ของผู้ดแู ล (Orapiriyakul et al, 2014) และ การชว่ ยเหลอื จากโรงพยาบาลและทมี การดแู ล การชว่ ยเหลอื การศกึ ษาภาระในการดแู ลเดก็ ออทสิ ตกิ ในเวยี ดนามพบวา่ ติดต่อจัดสรรประสานงานกับแหล่งช่วยเหลือในเรื่อง ระยะเวลาในการดูแลเด็กไม่มีความสัมพันธ์กับภาระของ งบประมาณค่ารกั ษาดังน้ันทา� ให้ผดู้ ูแลเกดิ ก�าลงั ใจ เชอื่ มน่ั ผู้ดูแลเด็กออทิสติก (Mai, 2015) แต่ไม่สอดคล้องกับ ในตนเอง และทา� ใหส้ ามารถเผชญิ กบั ปญั หาตา่ ง ๆ ไดอ้ ยา่ ง การศึกษาท่ีพบว่าระยะเวลาในการดูแลบุตรท่ีป่วยเป็น เหมาะสม ดังน้ันผู้ดูแลเด็กที่มีพัฒนาการล่าช้าท่ีได้รับ ปจั จยั หนง่ึ ทม่ี ผี ลตอ่ ภาระในการดแู ลบตุ รโดยเมอื่ บตุ รปว่ ย การสนับสนุนทางสังคมมาก จึงส่งผลให้ผู้ดูแลเด็กรับรู้ถึง ด้วยออทิสติกแล้วท�าให้มารดาต้องให้เวลาในการดูแลบุตร ภาระในการดูแลเด็กลดลง ดังการศึกษาท่ีพบว่า ผู้ดูแล ทเี่ พมิ่ มากขนึ้ จงึ ทา� ใหเ้ กดิ เปน็ ภาระในการดแู ลบตุ รตามมา เด็กโรคหอบหืดท่ีได้รับการสนับสนุนทางสังคมมาก (Hayeemasae et al., 2013) และการศึกษาท่ีพบว่า จะส่งผลให้ผู้ดูแลรู้สึกเป็นภาระในการดูแลเด็กลดลง เด็กออทิสติกและโรคพิการทางสมองจะไม่สามารถให้การ (Preechapongmit, 2012) สอดคล้องกับการศึกษา ดูแลช่วยเหลือตนเองในการปฏิบัติกิจวัตรหรือกิจกรรม ท่ีพบว่า ผู้ดูแลเด็กกลุ่มออทิสติกท่ีได้รับการสนับสนุนทาง ต่าง ๆ ไดด้ ้วยตนเอง จึงตอ้ งอาศัยผดู้ แู ลหรือมารดาในการ สังคมน้อย จะส่งผลให้เกิดเป็นภาระและอุปสรรคในการ ช่วยเหลือดูแล ท�าให้ต้องใช้เวลาในการดูแลเด็กเป็นระยะ ดูแลเดก็ ออทสิ ติกเพมิ่ ขึน้ (Hayeemasae et al., 2013) เวลาท่ียาวนานมารดาหรือผู้ดูแลจึงรู้สึกเป็นภาระในการ การศึกษาท่ีพบว่า แหล่งสนับสนุนในด้านการให้ข้อมูล ดแู ลเด็กมากขึน้ (Pushpalatha & Shivakumara, 2015) และด้านทรัพยากรมีผลท�าให้ภาระการดูแลเด็กท่ีมีปัญหา ออทิสติกของผู้ปกครองเด็กน้อยลง (Phothong et al., ข้อจา� กัดงานวจิ ัย 2014) และการศึกษาท่ีพบว่า ผู้ดูแลเด็กออทิสติกท่ีได้รับ ระยะเวลาในการในการดูแลเด็กควรประเมินจาก การสนับสนุนทางสังคมน้อยจะส่งผลให้เกิดภาระในการ ระยะเวลาท่ีมารดาหรือผู้ดูแลให้การดูแลเด็กจริงโดยนับ ดูแลเดก็ ออทิสตกิ มากข้ึน (Mai et al., 2015) สรปุ ได้ว่า เปน็ จ�านวนชวั่ โมง/วัน ผดู้ แู ลเดก็ ทม่ี พี ฒั นาการลา่ ชา้ ถา้ ผดู้ แู ลมภี าระในการดแู ลเดก็ มากข้ึนแต่ผู้ดูแลได้รับการช่วยเหลือสนับสนุนทางสังคม ข้อเสนอแนะ จะส่งผลใหเ้ กดิ เป็นภาระในการดแู ลเดก็ ลดลง 1. พยาบาลและบุคลากรด้านสุขภาพ สามารถ 3. ระยะเวลาในการดูแลเด็ก ไม่มีความสัมพันธ์ น�าผลการวิจัยไปใช้โดยแนะน�าผู้ดูแลเด็กในการส่งเสริม และไม่สามารถท�านายภาระของผู้ดูแลเด็กที่มีพัฒนาการ ความสามารถของเดก็ ในการดแู ลตนเองในเรอ่ื งการสง่ เสรมิ ล่าช้า (p > 0.5) หมายความว่า ระยะเวลาในการดแู ลเด็ก พัฒนาการตามการเจริญเติบโตและพัฒนาการให้มากขึ้น ของผดู้ แู ลเดก็ ไมไ่ ดเ้ ปน็ ปจั จยั โดยตรงทท่ี า� ใหเ้ กดิ ภาระของ และให้การสนับสนุนช่วยเหลือผู้ดูแลเด็กในการดูแลเด็ก ผดู้ แู ลเดก็ แตอ่ าจมปี จั จยั อน่ื ทส่ี ง่ ผลรว่ มกนั ทา� ใหเ้ กดิ ภาระ ท้ังในด้านการสนับสนุนทางด้านอารมณ์ด้านส่ิงของหรือ การดูแลเด็กท่ีมีพัฒนาการล่าช้า ท้ังน้ีอาจเนื่องจากระยะ การบรกิ ารและดา้ นขอ้ มลู ขา่ วสาร เพอ่ื ลดภาระการดแู ลเดก็ เวลาในการดแู ลเดก็ ประเมนิ โดยใชเ้ วลาทผี่ ดู้ แู ลใหก้ ารดแู ล ของผูด้ ูแลเดก็ เดก็ ภายหลงั ทแ่ี พทยใ์ หก้ ารวนิ จิ ฉยั วา่ เดก็ มพี ฒั นาการลา่ ชา้ โดยนับเป็นจ�านวนปีเต็ม ซึ่งอาจท�าให้ได้ข้อมูลไม่ตรงกับ 2. ควรมีการศึกษาในรูปแบบการทดลองโดย ระยะเวลาในการดูแลเด็กจริง ซึ่งอาจตรงกับระยะเวลา พัฒนาโปรแกรมท่ีช่วยลดภาระการดูแลของผู้ดูแลเด็กท่ีมี ท่ีผู้ดูแลให้การดูแลเด็กจริงจึงอาจส่งผลต่อการวิเคราะห์ พัฒนาการล่าช้าโดยเน้นความสามารถในการดูแลตนเอง ข้อมูลและผลการวิจัยได้ สอดคล้องกับการศึกษาปัจจัย ของเดก็ และการสนบั สนนุ ทางสงั คมแกผ่ ดู้ แู ลเดก็ เพอื่ ชว่ ย ท�านายภาระการดูแลเด็กออทิสติกของผู้ดูแลหลักของ ลดภาระของผดู้ ูแลเด็กท่ีมีพฒั นาการลา่ ชา้ ต่อไป ครอบครัวไทยในจงั หวัดภาคใต้ ท่พี บวา่ ระยะเวลาในการ ปVoีทl่ีu2m8eฉบ28ับทN่ีo2. (2เม(A.ยp.r--มJิ.uยn.)) 22506203

62 ปจั จยั ท�านายภาระของผู้ดูแลเดก็ ทีม่ ีพัฒนาการล่าช้า วารสารคณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา Reference palsy. Tuesis Master of Nursing Science Barbaresi, W. J., Katusic, S. K. & Voigt, R.G. (2006). Program in Prediontric Nursing, Mahidol Autism: a review of the state of the science University. [In Thai] for pediatric primary health care clinicians. Hayeemasae, K., Sangsupawanitch, P., & Arch Pediatric Adolescent Med. 160(11), Parinyasutinun, U. (2013). Comparative 1167-75. study on social support of caregivers of Chantarathip, P. (2010). Factors predicting stress children with autism spectrum disorder in caring for mothers with autistic children. and caregivers of typical development Thesis Master of Nursing Science, Mental children in Songklanagarind hospital. The Health and Psychiatric Nursing, Graduate 4th Hatyai National and International School, Chiang Mai University. [In Thai] Conference. Research for the development Charatcharungkiat, N & Wacharasindhu, A. (2013). of Thai society (118-127). Songkla: Hatyai. Quality of life among caregivers of children [In Thai] with autistic spectrum disorders and Khunrungsissombon, K. (2011). Quality of life of associated factors. J Psychiatr Assoc parents of slow development children. Thailand, 58(3), 233-244. [In Thai] Journal of Suanprung, 28(1), 5-16. [In Thai] Chumjit, S. (2012). The effects of using Lalana, P. (2007). Effectiveness of coping skill empowerment programs on perceived training program on depression in early efficacy in the care of children with adolescent. Nursing Science, 29(12), 39-47. attention deficit hyperactivity disorder. Lerthattasilp, T. (2007). Depression and caregiver Bangkok: at Yuwaprasart Waithayopathum burden among caregivers of children with Hospital. (Research report). Bangkok. autistic spectrum disorders at Thammasat [In Thai] University Hospital. Bangkok: Thammasat Chumsri, S., Chaimongkol, N. & Sananreugsak, S. University Hospital. [In Thai] (2014). Effects of the child caregiver’s Mai, T. L. A., Chaimongkol, N, Pongjaturawit, Y. empowerment promoting program on (2015). Factors related to burden among ability and burden to care for children with caregiver of children with autism in cerebral palsy. The Journal of Faculty of Vietnam. Journal of Pediatric Nurse, 25(1), Nursing Burapha University. 22(4), 35-46. 46-56. [In Thai] [In Thai] Obert, M. T. (1991). Appraisal of caregiving scale. Cohen, J. (1992). A power primer. Psychological Madison: University of Wisconsin. Bulletins, 112, 155-159. Orapiriyakul, R., Benjakul, W. & Kwunkaew, S. Department of Mental Health. (2014). Statistical (2014). Predictor of burden of care in Report of the Department of Public Health, primary family caregivers of children with Ministry of Public Health. Can be accessed autism in the west-coast southern Thailand. from https://www.ryt9.com/s/prg/1976334. Journal of Faculty of Nursing, Prince of Duangdech, W. (2007). Predicting Factors of Songkla University, 34(3), 39-55. [In Thai] caregiver burden for children with cerebrat ปVoีทl่ีu2m8eฉบ28ับทNี่o2. (2เม(A.ยp.r--มJิ.uยn.)) 22506203

Factors Influencing Burden of Child Caregivers of Children The Journal of Faculty of Nursing 63 with Delayed Development Burapha University Palapirom, R., Prasopkittikun, T. & Vichitsukon, K. Srivongpanich, N. (2013). Children with (2010). Effects of an empowerment program developmental disabilities. Can be on mothers’ self-efficacy in the care of accessed from https://th.rajanukul.go.th/ children with developmental delays. preview-4007.html [In Thai] Journal of Nursing Mahidol University, 28(4), 68-75. [In Thai] Thongchit, S. (2011). Stress and burdens in parents of children cuko came to child psychiatric Photong, P., Chansuvarn, S., Khachat, S., & clinic at King Chulalongkorn Mermorial Sanchalad, S. (2014). The study of the Hospital Master degree of Science program health status of children with autism in mental health. Chulalongkorn University. knowledge and stress of caregivers’ autistic children receiving services from the Special Toomnoi, N., Chaimongkol, N. & Phaktoop, M. Education Center Region 5, Suphan Buri (2008). Impact of support from society and Province. Journal of Phraopokklao Nursing family, and family coping behavior on College, 25(2), 26-40. [In Thai] burden of families caring for exceptional children. Journal of Faculty of Nursing, Preechapongmit, K. (2012). Factor related to Burapha University, 16(4), 39-49. [In Thai] caregiving burden among caregivers of children with asthma. Nursing Journal, 39(4), Viriyaprasart, L. (2007). Relationship between some 1-6. [In Thai] fundamental factors, burden and general well-being in caregivers of cerebral palsy Pushpalatha, R., & Shivakumara, K. (2015). Stress, children who attained at out patient burden and coping between caregivers of service department of Rajanukul Institute. cerebral palsy and autism children. The Rajanukul institute Journal, 22(2), 95-116. International Journal of Indian Psychology, [In Thai] 4(80), 108-114. Wacharasin, C., Pakthop, M. & Sananreangsak, S. Schaefer, C., Coyne, J. C., & Lazarus, R. S. (1981). (2006). The development of empower the The health-related function of social power of relatives who care for support. Journal of Behavioral Medicine, chronically ill children: a case study of 4, 381-405. thalassemia. Chonburi: Faculty of Nursing, Burapha University. [In Thai] Shyam, R., Kavita & Govil, D. (2014). Stress and family burden in mothers of children with World Health Organization. (2012). Developmental disabilities. International Journal of difficulties in early childhood: Prevention, Interdisciplinary and Multidisciplinary early identification, assessment and Studies, 1(4), 152-159. intervention in low and middle income Sigman, M., & McGovern, C. W. (2005). countries a review. Turkey Country Office Improvement in cognitive and language and CEECIS Regional Office. skills from preschool to adolescence in Yuwaprasart Vaithayopathum Child Psychiatric autism. Journal of Autism Developmental Hospital (2018). Statistical data, outpatient, Disorders, 35(1), 15-23. older. Retrieved fromhttp://ycap.go.th/th/ index.php/about-us/stat-th/2018-09-13-03- 18-53. [In Thai] ปVoีทl่ีu2m8eฉบ28ับทNี่o2. (2เม(A.ยp.r--มJิ.uยn.)) 22506203

ผลของโปรแกรมการสง่ เสริมสขุ ภาพช่องปากต่อพฤตกิ รรมการปอ้ งกนั โรคฟันผุของนักเรยี นช้นั ประถมศกึ ษาปที ่ี 6 ในจังหวดั ตรงั เบญจวรรณ ชว่ ยแก้ว,พย.ม.1* จนั ทร์เพญ็ เลิศวนวัฒนา, พย.ม.1 วรารัตน์ ทิพยร์ ตั น์, พย.ม.1 บทคดั ยอ่ การวิจัยก่ึงทดลองน้ี มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาผลของโปรแกรมการส่งเสริมสุขภาพช่องปากต่อพฤติกรรม การปอ้ งกนั โรคฟนั ผขุ องนกั เรยี น กลมุ่ ตวั อยา่ ง คอื นกั เรยี นชน้ั ประถมศกึ ษาปที ่ี 6 โรงเรยี นในเขตเทศบาลนครตรงั อา� เภอ เมือง จังหวัดตรัง จ�านวน 42 คน จับฉลากเข้ากลุ่มทดลองและกลุ่มควบคุมด้วยวิธีจับคู่ แบ่งเป็นกลุ่มทดลองและกลุ่ม ควบคุม กลมุ่ ละ 21 คน เคร่ืองมือท่ใี ชใ้ นการทดลอง คอื โปรแกรมการส่งเสริมสขุ ภาพชอ่ งปาก ใช้ระยะเวลาด�าเนินการ 2 สปั ดาห์ ๆ ละ 60 นาที เครือ่ งมือทใ่ี ช้ในการรวบรวมขอ้ มูลประกอบด้วยแบบบนั ทกึ ขอ้ มูลสว่ นบคุ คลและแบบสอบถาม พฤติกรรมการป้องกันโรคฟันผุ คา่ ความเช่ือมัน่ เท่ากบั .86 วเิ คราะห์ข้อมูลด้วยสถติ ิเชงิ พรรณนาและการทดสอบค่าที ผลการวิจัยพบว่า ภายหลังได้รับโปรแกรมการส่งเสริมสุขภาพช่องปากนักเรียนช้ันประถมศึกษาปีที่ 6 ใน กลุ่มทดลองมีค่าเฉล่ียคะแนนพฤติกรรมการป้องกันโรคฟันผุมากกว่าก่อนได้รับโปรแกรมการส่งเสริมสุขภาพช่องปาก อย่างมีนัยส�าคัญทางสถิติท่ีระดับ .05 และภายหลังการได้รับโปรแกรมการส่งเสริมสุขภาพช่องปาก นักเรียนชั้นประถม ศกึ ษาปที ี่ 6 ในกลมุ่ ทดลองมคี า่ เฉลย่ี คะแนนพฤตกิ รรมการปอ้ งกนั โรคฟนั ผมุ ากกวา่ กลมุ่ ควบคมุ อยา่ งมนี ยั สา� คญั ทางสถติ ิ ทรี่ ะดบั .05 ผลการวจิ ยั มขี อ้ เสนอแนะวา่ พยาบาลอนามยั โรงเรยี น ครปู ระจา� ชน้ั และผอู้ า� นวยการโรงเรยี นในเขตเทศบาล นครตรงั ควรนา� โปรแกรมการสง่ เสรมิ สขุ ภาพชอ่ งปากไปใชเ้ พอ่ื ใหน้ กั เรยี นชน้ั ประถมศกึ ษาปที ่ี 6 มพี ฤตกิ รรมการปอ้ งกนั โรคฟนั ผอุ ย่างเหมาะสมและต่อเนือ่ ง คา� ส�าคัญ: โปรแกรมสง่ เสริมสขุ ภาพช่องปาก พฤติกรรมการป้องกันโรคฟันผุ นกั เรียนชน้ั ประถมศกึ ษาปที ี่ 6 1 อาจารย์ประจ�าวิทยาลัยพยาบาลบรมราชชนนี ตรัง * ผู้เขียนหลัก e-mail: Benjawanch@bcnt.ac.th Received 04/11/2019 Revised 27/04/2020 Accept 15/06/2020

The Effect of Oral Hygiene Promotion Program on Dental Caries Prevention Behaviors among Sixth Grade Students, Trang Province Benjawan Chuykeaw, M.N.S.1, Janpen Leartwanawattana, M.N.S.1, Wararat Tiprat, M.N.S.1 Abstract This quasi-experimental research aimed to examine the effect of an oral hygiene promotion program on dental caries prevention behavior among primary school students. The sample was 42 sixth grade students in the municipality school in Trang province. The random sample with matched-pair technique was used to divide the sample into experimental and control groups, with 21 students per group. The experimental group received an oral hygiene promotion program for two weeks (60 minutes per week), while the control group received routine care. Data were collected by using a demographic record form and a dental caries prevention behavior questionnaire. The Cronbach Alpha Coefficient of the questionnaires was .86. The data were analyzed by descriptive statistics and t-tests. The results showed that the experimental group, after receiving the oral health promotion program, had mean scores of dental caries prevention behaviors significantly higher than before receiving the program (p < .05) and significantly higher than in control group (p < .05). These findings suggest that primary school health nurses, principals and teachers should continue implementing the program to reduce dental caries and should make the program available for all students. Key words: oral hygiene promotion program, dental caries prevention behavior, sixth grade student 1 Lecturer, Boromarajonani College of Nursing Trang. * Corresponding author e-mail: Benjawanch@bcnt.ac.th

66 ผลของโปรแกรมการสง่ เสริมสขุ ภาพชอ่ งปากต่อพฤตกิ รรมการปอ้ งกนั โรคฟนั ผุ วารสารคณะพยาบาลศาสตร์ ของนกั เรียนช้ันประถมศึกษาปที ี่ 6 ในจังหวัดตรัง มหาวทิ ยาลัยบูรพา ความส�าคญั ของปญั หา 40.6 ซึ่งเพิ่มมากขึ้นจากพ.ศ. 2560 จะเห็นได้ว่าฟันผุใน ปัญหาทางสุขภาพช่องปากเป็นปัญหาทาง เดก็ วัยนี้เปน็ ปัญหาสา� คัญของจังหวัดตรังทยี่ ังต้องการดแู ล อยา่ งยงิ่ (Department of Health., 2017, Oral surveys, สาธารณสุขส�าคัญที่ท�าลายสุขภาพของประชาชน โรค 12-year-old children, provincial public health ในชอ่ งปากทพี่ บมากและเปน็ ปญั หาสาธารณสขุ อนั ดบั แรก offices in health zones 12, 2016, Rosphirom, ในวัยเรยี น คือ โรคฟันผุ จากรายงานผลการสา� รวจสภาวะ Malarat, & Tapchaisri 2013) สขุ ภาพช่องปากแห่งชาตคิ รงั้ ที่ 8 ประเทศไทย พ.ศ. 2560 พบวา่ เดก็ วัยเรยี นอายุ 12 ปี รอ้ ยละ 58.7 ท่เี รียนในระดบั ผลกระทบของโรคฟันผุในเด็กสามารถส่งผลต่อ ประถมศกึ ษาตอนปลาย เป็นโรคฟนั ผุร้อยละ 52.0 โดยมี สุขภาพร่างกายและสุขภาพช่องปากในอนาคตได้ การมี คา่ เฉลยี่ ฟนั ผุ ถอน อดุ 1.4 ซตี่ อ่ คน ซงึ่ ใกลเ้ คยี งกบั ผลสา� รวจ ฟันน้�านมผุ เด็กจะปวดฟัน เคี้ยวอาหารไม่ได้ ร่างกายจะ ในคร้ังที่ 7 พ.ศ. 2555 ท่ีมีความชุกและโรคฟันผุร้อยละ ได้รับสารอาหารไม่ครบถ้วน ส่งผลต่อการเจริญเติบโต 52.3 คา่ เฉล่ยี ฟนั ผุ ถอน อุด 1.3 ซ่ตี อ่ คน สภาวะการเกิด อกี ทง้ั อาการปวดฟนั ยงั สง่ ผลตอ่ การนอนหลบั และการเรยี นรู้ โรคฟันผุค่อนข้างคงที่และในการส�ารวจเด็กอายุ 12 ปี มี สิ่งเหล่านี้ล้วนกระทบต่อคุณภาพชีวิตของเด็กตัวเล็ก ๆ สภาวะเหงอื กอักเสบสงู กว่าการส�ารวจคร้งั ท่ี 7 พ.ศ. 2555 สามารถขัดขวางพัฒนาการทางร่างกาย อารมณ์และ จากร้อยละ 50.3 เป็นรอ้ ยละ 66.3 ดา้ นพฤตกิ รรมสุขภาพ สติปัญญาได้ นอกจากน้ีเด็กท่ีมีฟันน้�านมผุก็มักจะพบว่า ช่องปากและการรับบริการสุขภาพช่องปากของนักเรียน ฟันแท้ผุไปด้วย เน่ืองจากเด็กท่ีมีฟันผุจะมีเชื้อก่อโรคฟันผุ ในด้านการแปรงฟันพบว่าการแปรงฟันหลังรับประทาน ในชอ่ งปากมากกวา่ ปกตซิ งึ่ จะสง่ ผลใหฟ้ นั แทท้ ก่ี า� ลงั จะขน้ึ อาหารกลางวันลดลงจากร้อยละ 53.9เป็นร้อยละ 44.7 ใหม่น้ันเกดิ ฟนั ผไุ ด้เชน่ เดียวกนั (Phuangthong, 2013) พฤติกรรมการบริโภคท่ีเส่ียงต่อการเกิดโรคฟันผุคือ พฤตกิ รรมการดม่ื นา้� อดั ลมและนา้� หวาน การกนิ ลกู อม และ ปจั จยั ทม่ี ผี ลโดยตรงตอ่ โรคฟนั ผใุ นเดก็ วยั เรยี นอายุ การกินขนมกรุบกรอบพบว่าเด็กวัยเรียนดื่มน้�าอัดลมและ 12 ปี คอื พฤตกิ รรมการแปรงฟันซง่ึ พบวา่ เด็กวยั เรียนอายุ กินขนมกรุบกรอบทกุ วนั เพ่มิ ขึ้นจากการส�ารวจในครั้งท่ี 7 12 ปี แปรงฟันหลังรับประทานอาหารกลางวันลดลงจาก โดยดืม่ นา�้ อดั ลมทุกวนั เพม่ิ ขน้ึ จากร้อยละ 9.6 เปน็ ร้อยละ ร้อยละ 53.9 เป็นร้อยละ 44.7 เมื่อเปรียบเทียบกับผล 13.4 และกนิ ขนมกรุบกรอบทุกวันลดลงจากร้อยละ 38.8 การส�ารวจสภาวะสุขภาพช่องปากแห่งชาติครั้งที่ 7 และ เป็นรอ้ ยละ 32.6 (Department of Health., 2017) พฤตกิ รรมการบรโิ ภคอาหารทเ่ี สยี่ งตอ่ การเกดิ โรคฟนั ผโุ ดย พบว่าเด็กมีพฤติกรรมการด่ืมน�้าอัดลมทุกวันเพ่ิมขึ้นจาก จากการสา� รวจสภาวะสขุ ภาพชอ่ งปากในเดก็ วยั เรยี น รอ้ ยละ 9.6 เปน็ รอ้ ยละ 13.4 และกนิ ขนมกรบุ กรอบทกุ วนั อายุ12 ปี ในเขตสุขภาพท่ี 12 พ.ศ. 2560 ซ่งึ ประกอบด้วย ลดลงจากร้อยละ 38.8 เป็นรอ้ ยละ 32.6 สว่ นการรบั รู้และ 7 จังหวัด คือ จังหวัดสงขลา จังหวัดตรัง จังหวัดพัทลุง การรับบริการด้านสุขภาพ เด็กวัยเรียนอายุ 12 ปี พบว่า จังหวัดสตูล จังหวัดยะลา จังหวัด ปัตตานี และจังหวัด ปวดฟนั รอ้ ยละ 36.7 หยดุ เรยี นเพราะไปทา� ฟนั รอ้ ยละ 12.2 นราธวิ าส พบว่า ในภาพรวม ค่าเฉลี่ยฟนั ผุ คิดเปน็ ร้อยละ ได้รับการตรวจฟันร้อยละ 84.7 ได้รับการรักษาฟันและ 2.8 เป็นล�าดบั ท่ี 2 รองจากสภาวะสขุ ภาพชอ่ งปากในเขต เหงอื กรอ้ ยละ 50.8 สว่ นใหญจ่ ะไปใชบ้ รกิ ารทโ่ี รงพยาบาล สขุ ภาพที่ 11 ซงึ่ มคี า่ เฉลย่ี ฟนั ผุ รอ้ ยละ 3.4 โดยเดก็ วยั เรยี น ของรัฐมากว่าสถานบริการของเอกชน (DoH Annual อายุ 12 ปี มฟี นั ผใุ นระยะเบือ้ งต้น ร้อยละ 27.5 มฟี นั ผุที่ report, 2017; Buathong, Promsiripaiboon, & ไม่ได้รับการรักษา ร้อยละ 29.5 มีการสูญเสยี ฟนั รอ้ ยละ Vatchalavivat, 2015) 3.7 มีการอุดฟัน ร้อยละ 28.3 มีการเคลือบหลุมร่องฟัน ร้อยละ 28.8 สว่ นจงั หวัดตรงั น้ัน ในปี พ.ศ. 2557 เด็กอายุ เดก็ วยั เรยี นอายุ 12 ปี เปน็ กลมุ่ อายสุ า� คญั เนอื่ งจาก 12 ปี มฟี นั ผรุ อ้ ยละ 47.9 และลดลงเหลือ ร้อยละ 28.4 ใน เปน็ กลมุ่ อายทุ ใี่ ชใ้ นการเปรยี บเทยี บสภาวะสขุ ภาพชอ่ งปาก ปี พ.ศ. 2560 ซึง่ มคี ่าเฉลย่ี ฟันผุคนละ 1.2 ซี่ และ 0.7 ซี่ ในระดับสากล และเป็นชว่ งอายทุ ย่ี า่ งเขา้ สวู่ ัยร่นุ เป็นวยั ท่ี ตามลา� ดบั แตใ่ นปี พ.ศ. 2561 พบสถานการณฟ์ นั ผรุ อ้ ยละ ต้องมีความเข้าใจถึงการดูแลสุขภาพฟันของตนเองอย่าง ถกู ตอ้ ง เนอื่ งจากวยั นี้ เปน็ ชว่ งวยั ทมี่ สี ามารถแปรงฟนั และ Vปoีทlี่u2m8eฉบ28ับทNี่o2. (2เม(A.ยp.r--มJิ.uยn.)) 22506203

The Effect of Oral Hygiene Promotion Program on Dental Caries The Journal of Faculty of Nursing 67 Prevention Behaviors among Sixth Grade Students, Trang Province Burapha University เลือกรับประทานอาหารต่าง ๆ ได้เอง หากเด็กเลือก วตั ถปุ ระสงคข์ องการวจิ ัย รับประทานอาหารจ�าพวกลูกอม น�้าอัดลมก็อาจส่งผลให้ เพื่อศึกษาผลของโปรแกรมการส่งเสริมสุขภาพ ฟันของเด็กวัยน้ีผุได้ง่ายขึ้น อย่างไรก็ตาม โรคฟันผุใน เด็กวัยเรียนเป็นโรคท่ีสามารถป้องกันและแก้ไขได้ โดย ช่องปากต่อพฤตกิ รรมการปอ้ งกนั โรคฟันผุของนกั เรียนชั้น ปรับเปล่ียนพฤติกรรมสุขภาพให้เหมาะสม จากแนวคิด ประถมศกึ ษาปที ่ี 6 โรงเรยี นในเขตเทศบาลนครตรงั อา� เภอ การรบั รคู้ วามสามารถของตนเอง (Bandura, 1997) อธบิ าย เมือง จังหวัดตรงั วา่ ถา้ บคุ คลมคี วามตอ้ งการและมคี วามเชอ่ื ในความสามารถ ของตนเองวา่ สงู เมอ่ื ทา� แลว้ ไดร้ ับผลลัพธ์ตามทีค่ าดหวังไว้ สมมติฐานการวจิ ยั บคุ คลนน้ั กจ็ ะมแี นวโนม้ ทจี่ ะปฏบิ ตั ติ นตามนน้ั โดยแนวทาง 1. ภายหลังการใช้โปรแกรมการส่งเสริมสุขภาพ การพัฒนาความสามารถของตนเองประกอบด้วย 1) ประสบการณ์ที่ประสบความส�าเร็จ 2) การใช้ตัวแบบ ช่องปาก นักเรียนช้ันประถมศึกษาปีท่ี 6 ในกลุ่มทดลอง 3) การใช้ค�าพูดชักจูง และ 4) การกระตุ้นทางอารมณ์ มีค่าเฉล่ียคะแนนพฤติกรรมการป้องกันโรคฟันผุมากกว่า โดยผสมผสานการช่วยเหลือแบบกระบวนการกลุ่ม โดยมี กอ่ นการใชโ้ ปรแกรมการส่งเสรมิ สุขภาพช่องปาก การศึกษาพบว่ามีการใช้ทฤษฎีการรับรู้ความสามารถ ของตนเองได้ผลดีในการดูแลสุขภาพช่องปากในเด็ก 2. ภายหลังการใช้โปรแกรมการส่งเสริมสุขภาพ มธั ยมศกึ ษาตอนตน้ (Waeyusoh, 2014) และคะแนนเฉลย่ี ช่องปาก นักเรียนช้ันประถมศึกษาปีที่ 6 ในกลุ่มทดลอง การรับรู้ความสามารถของตนเองในการป้องกันโรคฟันผุ มีค่าเฉลี่ยคะแนนพฤติกรรมการป้องกันโรคฟันผุมากกว่า ของนักเรียนประถมศึกษาปีที่ 6 จังหวัดกระบี่สูงขึ้น กลุ่มควบคมุ (Buathong et al., 2015) นกั เรยี นชนั้ ประถมศึกษาปีท่ี 6 ซ่ึงเป็นเด็กวัยเรียนยังไม่สามารถจัดการตนเองเก่ียวกับ กรอบแนวคิดในการวิจยั การปอ้ งกนั โรคฟันผไุ ด้ ฉะนน้ั การน�าแนวคดิ การรบั รคู้ วาม การวิจัยครั้งน้ี ผู้วิจัยได้ใช้กรอบแนวคิดทฤษฎี สามารถของตนเองทปี่ ระกอบดว้ ยกจิ กรรมประสบการณท์ ี่ ประสบความส�าเรจ็ การใชต้ วั แบบ การใชค้ �าพดู ชกั จงู และ การรับรู้ความสามารถของตนเอง (Self-Efficacy) ของ การกระตุ้นทางอารมณ์ ร่วมกับความคาดหวังในผลลัพธ์ Bandura (1997) ท่กี ล่าววา่ พฤติกรรมของมนุษยจ์ ะต้อง การป้องกันโรคฟันผุ ซ่ึงกิจกรรมดังกล่าวเป็นกิจกรรมที่ วิเคราะห์เงื่อนไขและสิ่งเร้าท่ีจะมาเสริมแรงให้เงื่อนไขนั้น ท�าให้เด็กวัยเรียนเกิดความม่ันใจในความสามารถของ คงอยพู่ ฤตกิ รรมการเรยี นรขู้ องมนษุ ยจ์ งึ เกดิ จากกระบวนการ ตนเอง มาใชใ้ นกระบวนการเพอื่ ใหเ้ ด็กนกั เรยี นชน้ั ประถม เรยี นรขู้ ององคป์ ระกอบหลายอยา่ ง ถา้ หากบคุ คล มกี ารรบั รู้ ศึกษาปีท่ี 6 มีพฤติกรรมการป้องกันฟันผดุ ียิง่ ขึ้น ความสามารถตนเอง (perceived self-efficacy) และ คาดหวงั ในผลลพั ธข์ องการปฏบิ ตั ิ (outcome expectations) ผวู้ จิ ยั จงึ ใชแ้ นวคดิ การรบั รคู้ วามสามารถของตนเอง บุคคลน้ันจะแสดงซ่ึงพฤติกรรมนั้นให้บรรลุเป้าหมายท่ี ร่วมกับความคาดหวังในผลลัพธ์การป้องกันโรคฟันผุเป็น ก�าหนด งานวิจัยน้ีน�าแนวคิดดังกล่าวมาพัฒนาโปรแกรม หลักในการจัดโปรแกรมส่งเสริมสุขภาพช่องปากให้แก่เด็ก การส่งเสรมิ สขุ ภาพช่องปาก แบ่งเป็น 2 สว่ น คือ การรบั รู้ วยั เรยี น คาดวา่ ผลการศกึ ษาจะเปน็ แนวทางในการสง่ เสรมิ ความสามารถตนเอง และความคาดหวังในผลลัพธ์ พฤติกรรมการป้องกันโรคฟันผุ และน�าข้อมูลมาใช้เป็น การป้องกันโรคฟันผุ นา� ไปใชใ้ นการปรบั เปลี่ยนพฤติกรรม แนวทางในการวางแผนเพอ่ื นา� ไปจดั กจิ กรรมการเสรมิ สรา้ ง การปอ้ งกนั โรคฟนั ผุในเด็กนักเรยี นประถมศกึ ษาปที ่ี 6 ซึ่ง สขุ ภาวะชอ่ งปากทดี่ แี ก่เด็กวัยเรียนต่อไป กิจกรรมย่อยของโปรแกรมการส่งเสริมสุขภาพช่องปาก เป็นกิจกรรมที่ใกล้ตัวและท�าได้ง่าย ท�าให้เด็กวัยเรียนเกิด ความมั่นใจในการกระท�าพฤติกรรมการป้องกันโรคฟันผุ ตามมาได้ โดยผวู้ จิ ยั จดั ทา� เปน็ รปู แบบโปรแกรมการสง่ เสรมิ สุขภาพช่องปาก และสรุปเป็นกรอบแนวคิดในการศึกษา ดังภาพท่ี 1 ดังนี้ Vปoีทl่ีu2m8eฉบ28ับทN่ีo2. (2เม(A.ยp.r--มJิ.uยn.)) 22506203

68 ผลของโปรแกรมการสง่ เสรมิ สุขภาพช่องปากต่อพฤตกิ รรมการป้องกันโรคฟันผุ วารสารคณะพยาบาลศาสตร์ ของนักเรยี นชน้ั ประถมศกึ ษาปที ่ี 6 ในจังหวดั ตรงั มหาวิทยาลยั บรู พา โปรแกรมการสง่ เสริมสุขภาพชอ่ งปาก พฤติกรรมการป้องกันโรคฟนั ผุ 1. การส่งเสริมการรับรู้ความสามารถของตนเองในการป้องกันโรค ของนกั เรยี นชนั้ ประถมศกึ ษาปีที่ 6 ฟันผุ 1.1 ประสบการณท์ ป่ี ระสบความสา� เรจ็ (Mastery Experiences) 1.2 การใชต้ วั แบบ (Modeling) 1.3 การใช้คา� พดู ชกั จงู (Verbal Persuasion) 1.4 การกระตุ้นทางอารมณ์ (Emotional Arousal) 2. ความคาดหวงั ในผลลพั ธก์ ารป้องกนั โรคฟันผุ 2.1 วิเคราะห์ตนเองว่าบรรลุเป้าหมายท่ีตั้งไว้ในสัปดาห์แรก หรือไม่ 2.2 พูดระบายความรู้สึก จากการเข้าร่วมโปรแกรม ปัญหา อุปสรรคทีเ่ กิดขึน้ ภาพท่ี 1 กรอบแนวคิดในการศึกษา วิธดี �าเนินการวจิ ยั ความสามารถของตน ในการดแู ลชอ่ งปากตามหลกั ศาสนา เปน็ การวจิ ยั กงึ่ ทดลองแบบสองกลมุ่ วดั ผลกอ่ นและ ของนักเรียนมัธยมศึกษาตอนต้น จังหวัดนราธิวาส โดย น�าค่าที่เกิดจากการทดลองมาก�าหนด ขนาดกลุ่มตัวอย่าง หลงั การทดลอง (Two group pretest–posttest design) คือค่าเฉล่ียความสามารถของตนเองในการป้องกันฟันผุ ประชากรและกลุม่ ตัวอยา่ ง (x กลุ่มทดลอง = 3.41, SD = 0.62 และ x กลมุ่ ควบคมุ = ประชากรคอื นกั เรยี นชน้ั ประถมศกึ ษาปที ี่ 6 กา� ลงั 2.15, SD = 0.85) น�ามาค�านวณหาค่าขนาดอิทธิพลได้ เทา่ กับ 1.48 เน่ืองจากคา่ ขนาดอิทธพิ ล มีคา่ มากกวา่ 0.80 ศึกษาอยู่ภาคเรียนท่ี 1 ปีการศึกษา 2560 ที่มีฟันแท้ผุ ซ่งึ เปน็ คา่ อทิ ธิพลขนาดใหญ่ จึงน�าค่าอิทธพิ ล .80 มาเปดิ โดยศึกษาในโรงเรียนเขตเทศบาลนครตรัง อ�าเภอเมือง ตารางประมาณคา่ ขนาดตวั อยา่ ง (Polit & Hungler, 1999) จงั หวดั ตรงั จา� นวน 113 คน ซึ่งมี 7 โรงเรียน เป็นโรงเรียน ได้กลุ่มตัวอย่าง 19 คน เพ่ือป้องกันการสูญหายของ ขนาดใหญ่ 3 โรงเรียนขนาดกลาง 1 โรงเรยี น และโรงเรยี น กลุ่มตัวอย่างขณะศึกษา ผู้วิจัยได้เพ่ิมขนาดตัวอย่างอีก ขนาดเล็ก 3 โรงเรียน มีการเก็บรวบรวมข้อมูลในเดือน ร้อยละ 10 ซึ่งจะได้กลุ่มตัวอย่างกลุ่มละ 21 คน รวม มิถนุ ายน - สงิ หาคม พ.ศ. 2561 42 คน เป็นกลมุ่ ทดลอง 21 คน และกลุ่มควบคมุ 21 คน กลุม่ ตวั อย่าง คอื นกั เรยี นชัน้ ประถมศึกษาปที ่ี 6 ที่ ข้ันตอนในการเลือกกลุ่มตัวอย่าง โดยใช้วิธีเลือก มีฟันแท้ผุ ท่ีได้รับการประเมินจากทันตแพทย์ร่วมกับ ดังนี้ พยาบาลเวชปฏิบัติของโรงพยาบาล และก�าลังศึกษาอยู่ ภาคเรยี นท่ี 1 ปีการศกึ ษา 2560 โดยมเี กณฑ์คัดเขา้ ไดแ้ ก่ 1. เลอื กโรงเรยี นทม่ี เี ดก็ นกั เรยี นมขี นาดของปญั หา เป็นนักเรียนช้ันประถมศึกษาปีท่ี 6 ก�าลังศึกษาอยู่ใน ฟนั ผใุ กลเ้ คยี งกนั เปน็ กลมุ่ ตวั อยา่ ง และสมุ่ เขา้ กลมุ่ ทดลอง โรงเรียนในเขตเทศบาลนครตรัง ภาคเรียนท่ี 1 ปีการศึกษา และกลมุ่ ควบคมุ ไดโ้ รงเรยี นเทศบาล 1 อา� เภอเมอื ง จงั หวดั 2560 มีฟนั แทผ้ ุจ�านวน 1 ซข่ี นึ้ ไป และไดร้ ับความยนิ ยอม ตรงั เป็นกลมุ่ ทดลอง และโรงเรียนเทศบาล 2 อ�าเภอเมือง จากผปู้ กครอง สว่ นเกณฑค์ ดั ออก ไดแ้ ก่ นกั เรยี นไมส่ ามารถ จังหวดั ตรัง เปน็ กลมุ่ ควบคุม ซ่งึ โรงเรยี นทงั้ 2 โรงเรยี นเปน็ เข้าร่วมการวิจัยตลอดขั้นตอนของการด�าเนินการวิจัยและ โรงเรยี นขนาดใหญ่เหมือนกนั นกั เรยี นขอถอนตวั จากโครงการวจิ ัย 2. สุ่มนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีท่ี 6 ท่ีมีฟันผุ การกา� หนดขนาดของกลมุ่ ตวั อยา่ ง จากการคา� นวณ ในโรงเรยี นเทศบาล 1 จากนักเรียนประถมศึกษาปีที่ 6 ท้งั คา่ ขนาดอทิ ธพิ ล (Effect size) จากงานวจิ ยั ของ Waeyusoh 3 หอ้ งเรยี นมาห้องเรียนละ 7 คน โดยวธิ ีจับฉลาก จนได้ (2014) ในการศึกษาเรื่องประสิทธิผลของการส่งเสริม Vปoีทlี่u2m8eฉบ28ับทNี่o2. (2เม(A.ยp.r--มJิ.uยn.)) 22506203

The Effect of Oral Hygiene Promotion Program on Dental Caries The Journal of Faculty of Nursing 69 Prevention Behaviors among Sixth Grade Students, Trang Province Burapha University นักเรียนกลุ่มทดลองจ�านวน 21 คน และผู้วิจัยใช้การสุ่ม สขุ ภาพชอ่ งปาก ดงั นี้ กลุ่มควบคุมเช่นเดียวกับสุ่มกลุ่มทดลอง ได้กลุ่มควบคุม สัปดาหท์ ี่ 1 (ใชเ้ วลา 60 นาที) มีกจิ กรรมดงั นี้ จ�านวน 21 คน โดยให้มีคุณสมบัติเข้าคู่กันตามเกณฑ์ที่ 1. ประสบการณ์ท่ีประสบความสา� เรจ็ (Mastery กา� หนด ประกอบดว้ ย 1) อายุ 2) เพศ และ 3) จา� นวนฟนั แท้ ที่ผุ Experiences) ประกอบดว้ ย 1) กจิ กรรมสรา้ งสมั พนั ธภาพ ร้องเพลงสันทนาการ 2) กิจกรรมกลุ่มสัมพันธ์ เกี่ยวกับ เคร่ืองมือที่ใช้ในการวิจัย ประกอบด้วย 2 ส่วน “อะไรเอ่ยอยใู่ นปาก” และ “เราจะเหน็ อวัยวะในช่องปาก ดงั น้ี ไดท้ ่ีไหน” 3) บรรยายความรู้โรคฟนั ผุ พร้อมดรู ปู ภาพฟัน ประกอบ 4) ให้นักเรียนต้ังเป้าหมายของตนเองเพื่อให้มี 1) เครอ่ื งมือในการเกบ็ รวบรวมข้อมูล ประกอบ พฤตกิ รรมการปอ้ งกันโรคฟนั ผุ ด้วย 2. การใช้ตัวแบบ (Modeling) ประกอบด้วย 1.1 แบบบนั ทกึ ขอ้ มลู สว่ นบคุ คล เปน็ ขอ้ คา� ถาม 1) คัดเลือกนักเรียนท่ีไม่มีฟันผุ มาเล่าเก่ียวกับการดูแล แบบเลอื กตอบ จา� นวน 9 ขอ้ ได้แก่ เพศของเด็กอาชพี ของ สุขภาพของช่องปาก 2) ให้นักเรียนอภิปรายพฤติกรรม บดิ า อาชพี ของมารดา ปจั จบุ นั นกั เรยี นพกั อาศยั อยกู่ บั ใคร ของตนเองทท่ี า� ใหเ้ กดิ ฟนั ผุ เปรยี บเทยี บกบั นกั เรยี นตวั แบบ นักเรียนแปรงฟันวันละก่ีคร้ัง เมื่อมีปัญหาเก่ียวกับฟัน 3) รว่ มกนั วเิ คราะหป์ ญั หา อปุ สรรค และแนวทางการแกไ้ ข นักเรียนจะปรึกษาใครเป็นคนแรก หลังการแปรงฟัน ในการปรบั เปลย่ี นพฤติกรรมการป้องกนั โรคฟันผุ จากนั้น นักเรียนเคยตรวจดูความสะอาดการแปรงฟันของตัวเอง ผูว้ ิจยั สรุปประเดน็ ส�าคัญอีกคร้งั หรอื ไม่ พบทนั ตแพทยท์ กุ ๆ 6 เดอื นหรือไม่ ครูประจ�าชน้ั หรอื ครอู นามยั สอนใหน้ ักเรยี นแปรงฟันและตรวจสขุ ภาพ สัปดาห์ท่ี 2 (ใช้เวลา 60 นาท)ี มกี จิ กรรมดังนี้ ช่องปากใหน้ ักเรียนบ่อยเพียงใด 3. การใช้ค�าพูดชักจูง (Verbal Persuasion) ประกอบดว้ ย 1) การเสรมิ แรงโดยการใหก้ า� ลงั ใจกลมุ่ ทดลอง 1.2 แบบสอบถามพฤติกรรมการป้องกัน หลังเขา้ รว่ มโปรแกรมทกุ ครง้ั ครงั้ ละ 10 นาที และเนน้ ยา�้ โรคฟนั ผขุ องนกั เรยี น ปรบั ปรงุ ขอ้ คา� ถามจากแบบสอบถาม ให้มพี ฤติกรรมท่ีเหมาะสมตอ่ ไป ของ Buathong, Promsiripaiboon & Vatchalavivat 4. การกระตนุ้ ทางอารมณ์ (Emotional Arousal) (2015) ประกอบดว้ ย การปฏบิ ตั ติ นในการปอ้ งกนั โรคฟนั ผุ ประกอบด้วย 1) สาธิตการแปรงฟันท่ีถูกวิธี พร้อมกับ จ�านวน 20 จากนั้นนา� แบบสอบถามที่ได้จากการปรบั ปรุง การเลือกแปรงสีฟันและยาสีฟันท่ีถูกต้อง 2) ให้นักเรียน ไปหาความตรงตามเนอื้ หาจากผทู้ รงคณุ วฒุ จิ า� นวน 3 ทา่ น สาธิตย้อนกลับการแปรงฟันที่ถูกวิธี จากน้ันตรวจสอบ โดยเลือกข้อค�าถามท่ีมีค่า IOC ต้ังแต่ 0.5 ขึ้นไป ซ่ึงข้อ ประสทิ ธิภาพของการแปรงฟันโดยการป้ายสียอ้ มฟัน แล้ว คา� ถามทงั้ 20 ขอ้ ผา่ นเกณฑ์ 0.50 ขนึ้ ไปทุกข้อคา� ถาม และ ตรวจการติดสีด้วยตนเองและผู้วิจัยเป็นผู้ตรวจสอบ หาก หาคา่ ความเชือ่ มัน่ ไดเ้ ท่ากับ .86 โดยเรียงล�าดับพฤติกรรม พบว่ามีการติดสี ก็แนะน�าให้ฝึกแปรงฟันบริเวณนั้นซ้�าอีก การป้องกันโรคฟันผุของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 จนสะอาด ซ่ึงทางผู้วิจัยจะมีการบันทึกจ�านวนครั้งของ มากไปหานอ้ ยและมคี วามสอดคลอ้ งกบั โปรแกรมการสง่ เสรมิ การแปรงฟันของนักเรียนแต่ละคนไว้ พร้อมทั้งการพูดคุย สขุ ภาพชอ่ งปากสา� หรับนักเรยี นช้ันประถมศึกษาปีท่ี 6 ท่ี ชักจูง และให้ก�าลังใจนักเรียนในกรปฏิบัติพฤติกรรมท่ีดี สรา้ งขน้ึ ลกั ษณะคา� ตอบเปน็ แบบมาตรประมาณคา่ 5 ระดบั 3) ร่วมกันวิเคราะห์ปัญหาอุปสรรค และแนวทางแก้ไข คือปฏิบัติทุกครั้ง ปฏิบัติบ่อยครั้ง ปฏิบัติบางครั้ง ปฏิบัติ เกี่ยวกับการแปรงฟันท่ีถูกวิธี 4) มอบรางวัลแก่นักเรียนท่ี นอ้ ยครง้ั และไมเ่ คยปฏบิ ตั ิ นกั เรยี นทม่ี คี ะแนนรวมสงู แสดง แปรงฟนั ถูกวิธี ว่ามีพฤติกรรมป้องกันโรคฟันผุสูงกว่านักเรียนที่มีคะแนน สปั ดาห์ท่ี 3 และ 4 (ใช้เวลา 60 นาที) ผวู้ จิ ัยพูดคุย รวมต่า� สอบถามถึงพฤติกรรมของนักเรียนท่ีเปล่ียนไป พร้อม ทบทวนความรูจ้ ากกิจกรรมท่ใี หไ้ ปในสปั ดาหท์ ี่ 1 จากนน้ั 2) เคร่อื งมอื ท่ีใช้ในการทดลอง ให้นักเรียนตัวแบบ คือนักเรียนท่ีแปรงฟัน 1 คร้ังแล้ว ผู้วิจัยน�าแนวคิดของแบนดูรา (Bandura, 1997) และงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง มาพัฒนาโปรแกรมการส่งเสริม ปVoีทlี่u2m8eฉบ28ับทNี่o2. (2เม(A.ยp.r--มJิ.uยn.)) 22506203

70 ผลของโปรแกรมการสง่ เสริมสขุ ภาพชอ่ งปากตอ่ พฤติกรรมการป้องกันโรคฟันผุ วารสารคณะพยาบาลศาสตร์ ของนกั เรยี นชั้นประถมศึกษาปีท่ี 6 ในจังหวดั ตรัง มหาวิทยาลัยบรู พา ตรวจสอบประสทิ ธภิ าพของการแปรงฟนั โดยปา้ ยสยี อ้ มฟนั ผอู้ า� นวยการโรงเรยี น และเมอ่ื ไดร้ บั อนญุ าต จากผอู้ า� นวยการ ไม่มีการติดสี มาแนะน�าวิธีการแปรงฟัน เพื่อให้นักเรียน โรงเรยี น ผูว้ ิจัยเข้าพบครปู ระจา� ช้ันของนักเรยี นชน้ั ประถม ทราบว่าการแปรงฟนั ที่ถกู วิธีนัน้ ทุกคนสามารถทา� ได้ หลงั ศกึ ษาปที ่ี 6 ของโรงเรยี นทเี่ ปน็ กลมุ่ ควบคมุ และกลมุ่ ทดลอง จากนนั้ ใหน้ กั เรยี นแปรงฟนั อกี ครงั้ พรอ้ มทงั้ การตรวจสอบ เพื่อแนะน�าตัวและชี้แจงวัตถุประสงค์การวิจัย วิธีการเก็บ ประสิทธิภาพของการแปรงฟนั โดยการป้ายสีย้อมฟนั เพื่อ รวบรวมข้อมูล การนัดหมายผู้ปกครองของกลุ่มตัวอย่าง ดพู ฤตกิ รรมการแปรงฟนั ทเี่ ปลยี่ นไปของนกั เรยี นแตล่ ะคน และนดั หมายวันและเวลาทีใ่ ช้ในการทดลอง หลงั สน้ิ สดุ การแปรงฟนั จะใหน้ กั เรยี นสรปุ ความรู้ อปุ สรรค และระบายความรู้สึกท่ีได้เข้าร่วมโปรแกรมการส่งเสริม 2. เม่ือผู้วิจัยได้รับความยินยอมจากเด็กนักเรียน สุขภาพช่องปาก ช้นั ประถมศึกษาปที ่ี 6 และผู้ปกครอง ผู้วิจยั จงึ ดา� เนินการ ประเมนิ พฤตกิ รรมการปอ้ งกนั โรคฟนั ผขุ องกลมุ่ ทดลองและ สปั ดาห์ท่ี 5 (ใชเ้ วลา 60 นาท)ี ความคาดหวงั ใน กลมุ่ ควบคุมก่อนการทดลอง ผลลัพธ์การป้องกันโรคฟันผุ ประกอบด้วย 1) วิเคราะห์ ตนเองว่าบรรลุเป้าหมายท่ีตั้งไว้ในสัปดาห์แรกหรือไม่ 3. กลุ่มควบคุมได้รับการดูแลตามปกติ ส่วน 2) พูดระบายความรูส้ ึก จากการเขา้ รว่ มโปรแกรม ปัญหา กลมุ่ ทดลองไดร้ บั โปรแกรมการสง่ เสรมิ สขุ ภาพชอ่ งปากซง่ึ อปุ สรรคท่เี กดิ ขึน้ จัดกิจกรรมทง้ั หมด 5 สปั ดาห์ ๆ ละ 1 ชว่ั โมง การพิทักษส์ ิทธิกลมุ่ ตวั อย่าง 4. ผู้วิจัยประเมินพฤติกรรมการป้องกันโรคฟันผุ การพทิ กั ษส์ ทิ ธกิ ลมุ่ ตวั อยา่ งในการเขา้ รว่ มการศกึ ษา ของกล่มุ ทดลองและกลุม่ ควบคมุ หลงั สิน้ สดุ โปรแกรมฯ ใน ครงั้ นี้ โดยโครงการวจิ ยั นไี้ ดร้ บั การรบั รองจากคณะกรรมการ สัปดาห์ที่ 6 พจิ ารณาจรยิ ธรรมการวจิ ัยในมนษุ ย์ของวิทยาลยั พยาบาล บรมราชชนนี ตรัง เลขท่ี 15/2560 ผู้วิจัยท�าหนังสือ การวเิ คราะหข์ อ้ มูล ขออนญุ าตแกผ่ อู้ า� นวยการโรงเรยี นเทศบาล 1 และโรงเรยี น การวิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้โปรแกรมคอมพิวเตอร์ เทศบาล 2 อา� เภอเมือง จังหวดั ตรงั และบดิ า มารดาหรือ สา� เรจ็ รปู โดยกา� หนดคา่ นยั สา� คญั ทางสถติ ทิ ร่ี ะดบั .05 ดงั น้ี ผปู้ กครองของกลมุ่ ตวั อยา่ งในเรอ่ื งการพทิ กั ษส์ ทิ ธขิ องกลมุ่ 1. ข้อมูลทั่วไปของกลุ่มตัวอย่าง โดยใช้สถิติ ตัวอย่าง โดยบอกวัตถุประสงค์ของการวิจัยและขอความ พรรณนา ได้แก่ ความถี่ ร้อยละ คา่ เฉลีย่ และส่วนเบี่ยงเบน ร่วมมือในการตอบแบบสอบถามโดยใช้เวลาในการตอบ มาตรฐาน แบบสอบถามประมาณ 30-50 นาที และในการเข้าร่วม 2. เปรียบเทียบค่าเฉลี่ยของค่าคะแนนพฤติกรรม การศกึ ษาครง้ั น้ี เปน็ ไปตามความสมคั รใจของกลมุ่ ตวั อยา่ ง การปอ้ งกนั โรคฟนั ผุ กอ่ นและหลงั การใชโ้ ปรแกรมการสง่ เสรมิ กลมุ่ ตวั อยา่ งสามารถสนิ้ สดุ การเขา้ รว่ มโปรแกรมฯ ไดท้ นั ที สุขภาพช่องปากในกลุ่มทดลองโดยใช้สถิติ Dependent หากไมป่ ระสงคจ์ ะเข้าร่วมโปรแกรมฯ และตอบขอ้ คา� ถาม t-test อีกต่อไป ขอ้ มูลต่าง ๆ ท่ไี ด้รับจากการศกึ ษาครง้ั น้ถี ือเป็น 3. เปรียบเทียบค่าเฉลี่ยของค่าคะแนนพฤติกรรม ความลับ การนา� เสนอขอ้ มูลตา่ ง ๆ จะนา� เสนอในภาพรวม การปอ้ งกนั โรคฟนั ผุ กอ่ นและหลงั การใชโ้ ปรแกรมการสง่ เสรมิ ไม่มีการเปิดเผยชื่อและนามสกุลที่แท้จริง กลุ่มตัวอย่าง สขุ ภาพช่องปาก ระหว่างกลุม่ ทดลองและกลุม่ ควบคมุ โดย สามารถแจ้งขอออกจากการวิจัยได้ตลอดเวลาก่อนท่ี ใช้สถิติ Independent t-test การวิจัยจะส้ินสุดลงโดยไม่ต้องให้เหตุผลหรือค�าอธิบาย ใด ๆ เมื่อเผยแพร่ผลงานวิจัยเรียบร้อยแล้วข้อมูลท้ังหมด ผลการวิจัย จะถูกทา� ลาย 1. ขอ้ มลู สว่ นบคุ คลของกลมุ่ ตวั อยา่ ง กลมุ่ ทดลอง การเก็บรวบรวมขอ้ มลู 1. ผู้วิจัยน�าหนังสือขออนุญาตเก็บรวบรวมข้อมูล เป็นเพศชาย คิดเป็นร้อยละ 52.40 บิดามีอาชีพเป็น จากวิทยาลัยพยาบาลบรมราชชนนี ตรัง เสนอต่อ พนักงาน/ลูกจ้าง ร้อยละ 38.10 มารดามีอาชีพค้าขาย รอ้ ยละ 52.40 สว่ นใหญพ่ กั อาศยั อยกู่ บั บดิ ามารดา รอ้ ยละ 57.10 มกี ารแปรงฟนั 2 ครงั้ (เชา้ -กอ่ นนอน) รอ้ ยละ 76.20 เม่อื มีปญั หาเก่ียวกับฟันนักเรยี นปรกึ ษาผปู้ กครอง ร้อยละ Vปoีทlี่u2m8eฉบ28ับทN่ีo2. (2เม(A.ยp.r--มJิ.uยn.)) 22506203

The Effect of Oral Hygiene Promotion Program on Dental Caries The Journal of Faculty of Nursing 71 Prevention Behaviors among Sixth Grade Students, Trang Province Burapha University 90.40 นักเรียนมีการตรวจดูความสะอาดของฟันหลัง หลังการแปรงฟัน ร้อยละ 61.30 การพบทันตแพทย์มี การแปรงฟนั รอ้ ยละ 61.90 นกั เรยี นไมเ่ คยพบทนั ตแพทย์ นกั เรยี นไมเ่ คยพบทนั ตแพทย์ รอ้ ยละ 45.90 และมบี างสว่ น ร้อยละ 47.60 และมีบางส่วนเคยพบทันตแพทย์ 1-2 ครัง้ / เคยพบทันตแพทย์ 1-2 คร้ัง/ปี ร้อยละ 45.90 และ ปี ร้อยละ 47.60 และครูประจ�าช้ันสอนให้นักเรียน ครปู ระจา� ชน้ั สอนใหน้ กั เรยี นแปรงฟนั และตรวจสขุ ภาพชอ่ ง แปรงฟันและตรวจสุขภาพช่องปากให้นักเรียน เทอมละ ปากใหน้ ักเรยี น เทอมละ 1 ครั้ง รอ้ ยละ 53.20 1 ครั้ง รอ้ ยละ 52.40 เมื่อทดสอบความแตกต่างของข้อมูลส่วนบุคคล กลมุ่ ควบคมุ เปน็ เพศชาย คดิ เปน็ รอ้ ยละ 54.6 บดิ า ระหว่างกลมุ่ ทดลองและกล่มุ ควบคมุ โดยใช้สถิติไคสแควร์ มีอาชพี ทา� สวน รอ้ ยละ 32.90 มารดามีอาชีพเปน็ ลูกจา้ ง พบว่าไม่มีความแตกต่างกันอย่างมีนัยส�าคัญทางสถิติ รอ้ ยละ 46.90 สว่ นใหญพ่ กั อาศยั อยกู่ บั บดิ ามารดา รอ้ ยละ (p < .05) 56.70 มกี ารแปรงฟนั 2 ครงั้ (เชา้ -กอ่ นนอน) รอ้ ยละ 70.40 บคุ คลทน่ี กั เรยี นปรกึ ษาเมอื่ มปี ญั หาเกย่ี วกบั ฟนั คอื ผปู้ กครอง 2. เปรียบเทียบค่าเฉล่ียของคะแนนพฤติกรรม ร้อยละ 91.50 นักเรียนมีการตรวจดูความสะอาดของฟัน การป้องกันโรคฟันผุของกลุ่มทดลอง ก่อนและหลังการ ไดร้ บั โปรแกรมการส่งเสรมิ สุขภาพช่องปาก ตารางท่ี 1 เปรียบเทียบค่าเฉล่ียของคะแนนพฤติกรรมการป้องกันโรคฟันผุของกลุ่มทดลอง ก่อนและหลังการได้รับ โปรแกรมการสง่ เสรมิ สุขภาพชอ่ งปาก (n = 21) ชว่ งการทดลอง พฤติกรรมการป้องกนั โรคฟันผุ t df p-value M SD กอ่ นทดลอง (N = 21) 65.76 9.78 3.86 20 .001 หลงั ทดลอง (N = 21) 78.95 2.56 จากตารางท่ี 1 หลงั จากกลมุ่ ทดลองไดร้ บั โปรแกรม (t = 3.86, p < .05 ) การส่งเสริมสุขภาพช่องปาก พบว่าค่าเฉลี่ยของคะแนน 3. เปรียบเทียบค่าเฉลี่ยของคะแนนพฤติกรรม พฤติกรรมการป้องกันโรคฟันผุสูงกว่าก่อนได้รับโปรแกรม การส่งเสริมสุขภาพช่องปากอย่างมีนัยส�าคัญทางสถิติ การปอ้ งกนั โรคฟนั ผรุ ะหวา่ งกลมุ่ ทดลองและกลมุ่ ควบคมุ ภายหลงั การไดร้ บั โปรแกรมการสง่ เสรมิ สขุ ภาพชอ่ งปาก ตารางท่ี 2 เปรยี บเทยี บคา่ เฉลยี่ ของคะแนนพฤตกิ รรมการปอ้ งกนั โรคฟนั ผรุ ะหวา่ งกลมุ่ ทดลองและกลมุ่ ควบคมุ ภายหลงั การไดร้ บั โปรแกรมการสง่ เสรมิ สุขภาพชอ่ งปาก (n = 21) ช่วงการทดลอง พฤตกิ รรมการปอ้ งกันโรคฟันผุ t df P- value กล่มุ ทดลอง (n=21) กลุ่มควบคุม (n=21) M SD M SD ก่อนทดลอง 65.76 -1.24 69.00 6.96 -1.24 40 .06 หลังทดลอง 78.95 3.08 70.00 3.08 3.08 40 .01 ตารางที่ 2 พบวา่ คา่ เฉลย่ี ของคะแนนพฤติกรรม กลุ่มทดลองมีค่าเฉล่ียของคะแนนพฤติกรรมการป้องกัน การป้องกันโรคฟันผุของกลุ่มทดลองและกลุ่มควบคุม โรคฟันผุสูงกว่ากลุ่มควบคุมอย่างมีนัยส�าคัญทางสถิติท่ี ก่อนการทดลองไม่แตกต่างกัน (t = -1.24, p < .06) และ ระดบั .05 (t = 3.08, p < .05 ) ภายหลังการได้รับโปรแกรมส่งเสริมสุขภาพ พบว่า ปVoีทl่ีu2m8eฉบ28ับทNี่o2. (2เม(A.ยp.r--มJิ.uยn.)) 22506203

72 ผลของโปรแกรมการส่งเสริมสุขภาพชอ่ งปากต่อพฤติกรรมการป้องกันโรคฟันผุ วารสารคณะพยาบาลศาสตร์ ของนกั เรยี นช้ันประถมศกึ ษาปีท่ี 6 ในจังหวัดตรัง มหาวิทยาลยั บูรพา การอภิปรายผล โปรแกรมส่งเสริมสุขภาพช่องปาก พบว่า ด้านการรับรู้ การศกึ ษาครงั้ น้ี พบวา่ กอ่ นการทดลอง กลมุ่ ควบคมุ ความสามารถตนเองในการปอ้ งกนั โรคฟนั ผมุ คี ะแนน เฉลยี่ 64.32 ± 4.76 ด้านความคาดหวังในการป้องกันโรคฟันผุ และกลุ่มทดลองมีคะแนนเฉล่ียพฤติกรรมการป้องกันโรค คะแนนเฉลย่ี 35.15 ± 3.03 ดา้ นการปฏิบตั ิในการป้องกัน ฟนั ผขุ องนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 ไมแ่ ตกตา่ งกัน แต่ โรคฟันผุ 55.65 ± 3.98 เมอื่ เปรียบเทยี บกับกล่มุ ควบคมุ ภายหลังการทดลองพบว่ากลุ่มทดลองมีคะแนนเฉลี่ย พบวา่ คา่ เฉลย่ี แตกตา่ งกนั อยา่ งมนี ยั สา� คญั ทาง สถติ ทิ รี่ ะดบั พฤตกิ รรมการปอ้ งกนั โรคฟนั ผขุ องนกั เรยี นชนั้ ประถมศกึ ษา 0.05 และยังสอดคล้องกับงานวิจัยของ Wangtapane ปีที่ 6 สูงกว่ากลุ่มควบคมุ แสดงว่า โปรแกรมการสง่ เสริม (2016) ท่ีศึกษา การพัฒนาพฤติกรรมทันตสุขภาพโดย สุขภาพช่องปากที่ใช้แนวคิดทฤษฎีการรับรู้ความสามารถ การประยุกต์ใช้ทฤษฎีความสามารถของตนเองร่วมกับ ของตนเองของ Bandura (1997) มีประสิทธิภาพในการ แรงสนับสนุนทางสังคมเพ่ือป้องกันโรคฟันผุของนักเรียน ท�าให้เกิดพฤติกรรมการป้องกันโรคฟันผุของนักเรียนช้ัน ช้ันประถมศึกษาปีที่ 4-6 อ�าเภอวังยาง จังหวัดนครพนม ประถมศึกษาปีท่ี 6 อ�าเภอเมือง จังหวัดตรัง ซ่ึงการที่ ผลการวิจัยพบว่ากลุ่มทดลองมีคะแนนเฉล่ียด้านความรู้ นกั เรยี นชนั้ ประถมศกึ ษาปที ี่ 6 มพี ฤตกิ รรมการปอ้ งกนั โรค เกี่ยวกับโรคฟันผุและการป้องกันโรคฟันผุ และเจตคติ ฟันผุ อาจเน่ืองจากกิจกรรมการใช้ตัวแบบ โดยคัดเลือก เกย่ี วกบั การปอ้ งกนั โรคฟนั ผสุ งู กวา่ กอ่ นทดลองและสงู กวา่ นักเรียนท่ีไม่มีฟันผุ มาเล่าเก่ียวกับการดูแลสุขภาพของ กลุ่มเปรียบเทียบ การรับรู้ความสามารถตนเองในการ ชอ่ งปาก ทา� ใหก้ ลมุ่ ตวั อยา่ งเหน็ ตวั แบบพฤตกิ รรมทสี่ ามารถ ปอ้ งกนั โรคฟนั ผุ และความคาดหวงั ในผลดขี องการปอ้ งกนั ปฏบิ ตั ิตามไดไ้ ม่ยาก เกิดการรบั รู้ว่าตนเองสามารถปฏบิ ัติ โรคฟันผุและการปฏิบัติตัวในการป้องกันโรคฟันผุ สูงกว่า ได้เช่นกัน ท�าให้เกิดความม่ันใจในการกระท�าพฤติกรรม กอ่ นการทดลอง และสงู กวา่ กลมุ่ เปรยี บเทยี บ สว่ นปรมิ าณ การปอ้ งกนั โรคฟนั ผุ นอกจากนกี้ ารทผ่ี วู้ จิ ยั ไดใ้ ชค้ า� พดู ชกั จงู แผ่นคราบจุลินทรีย์ในกลุ่มทดลองมีปริมาณท่ีลดลงกว่า เสริมแรงโดยการให้ก�าลังใจกลุ่มทดลอง หลังเข้าร่วม ก่อนการทดลองและลดลงกวา่ กลุม่ เปรยี บเทียบ โปรแกรมฯ ทกุ ครง้ั ๆ ละ 10 นาที และเนน้ ยา�้ ใหม้ พี ฤตกิ รรม ป้องกันโรคฟันผุที่เหมาะสมต่อไป ร่วมกับการกระตุ้นทาง ฉะน้ันการสร้างความตระหนักและความรับรู้ อารมณ์ การรว่ มกนั วเิ คราะหป์ ญั หา อปุ สรรค และแนวทาง ความสามารถของตนเองใหม้ พี ฤตกิ รรมการปอ้ งกนั โรคฟนั ผุ การแกไ้ ขในการปรบั เปลย่ี นพฤตกิ รรมการปอ้ งกนั โรคฟนั ผุ ในเดก็ นกั เรยี นชนั้ ประถมศกึ ษาปที ่ี 6 เปน็ การสรา้ งสขุ ภาวะ ท�าให้นักเรียนช้ันประถมศึกษาปีท่ี 6 ได้ ซักถามข้อสงสัย ท่ีดีแก่เด็กเนื่องจากเป็นวัยที่ก�าลังจะเติบโตเป็นวัยรุ่นท่ีครู ผอ่ นคลายความวิตกกังวล ทา� ให้นกั เรียนช้ันประถมศกึ ษา หรือผู้ปกครองไม่สามารถบังคับให้แปรงฟันได้ และการท่ี ปีที่ 6 เกิดความเชื่อม่ันว่าตนเองมีความสามารถในการมี บคุ คลจะมคี วามตระหนกั รู้ ทีจ่ ะการทา� พฤติกรรมใด ๆ จงึ พฤติกรรมการป้องกันโรคฟันผุได้ และจากผลการวิจัยยัง ขนึ้ อยกู่ บั ความสามารถของตนเองในสภาวการณน์ นั้ ๆ และ พบวา่ นกั เรยี นชน้ั ประถมศกึ ษาปที ่ี 6 หลงั ไดร้ บั โปรแกรมฯ บุคคลนนั้ จะมพี ฤตกิ รรมการป้องกันโรคฟนั ผุทีด่ ีตอ่ ไป มีพฤติกรรมการป้องกันโรคฟันผุในระดับที่เพิ่มมากขึ้น ในหวั ขอ้ หลงั จากแปรงฟนั เสรจ็ นกั เรยี นทา� ความสะอาดลน้ิ สรุปและขอ้ เสนอแนะ โดยแปรงล้ิน (ก่อนการทดลองมีค่าเฉล่ียปานกลาง หลัง 1. พยาบาลอนามัยโรงเรียนควรด�าเนินการใช้ การทดลองมีค่าเฉล่ียมากท่ีสุด) นักเรียนบ้วนปากหลังกิน ขนมขบเคย้ี ว (กอ่ นการทดลองมคี า่ เฉลยี่ นอ้ ย หลงั การทดลอง โปรแกรมการส่งเสริมสุขภาพช่องปากเพ่ือให้นักเรียน มคี า่ เฉลยี่ มาก) และในหวั ขอ้ ทม่ี คี า่ เฉลยี่ เทา่ เดมิ คอื นกั เรยี น ช้ันประถมศึกษาปีที่ 6 มีพฤติกรรมการป้องกันโรคฟันผุ ยงั คงใชแ้ ปรงสฟี นั ทมี่ ขี นแปรงฟบู าน เพอื่ ประหยดั คา่ ใชจ้ า่ ย และไม่เกดิ โรคทเ่ี กิดจากฟนั ผตุ ามมา (ก่อนและหลังการทดลองมีค่าเฉล่ียมาก) สอดคล้องกับ การศึกษาของ Buathong et al. (2015) พบว่าผล 2. ผอู้ า� นวยการโรงเรยี นควรประกาศเปน็ นโยบาย การศึกษาพฤติกรรมการป้องกันโรคฟันผุหลังจากการใช้ ของโรงเรียนให้นักเรียนทุกคนปฏิบัติตามโปรแกรม การส่งเสริมสขุ ภาพชอ่ งปาก 3. ครปู ระจา� ชน้ั ควรสง่ เสรมิ ใหน้ กั เรยี นชน้ั ประถม Vปoีทl่ีu2m8eฉบ28ับทNี่o2. (2เม(A.ยp.r--มJิ.uยn.)) 22506203

The Effect of Oral Hygiene Promotion Program on Dental Caries The Journal of Faculty of Nursing 73 Prevention Behaviors among Sixth Grade Students, Trang Province Burapha University ศกึ ษาปที ี่ 6 ไดต้ ระหนกั และตดั สนิ ใจในการแสดงพฤตกิ รรม Oral surveys, 12-year-old children, provincial การป้องกันฟันผุอย่างถูกต้อง โดยการกระตุ้นนักเรียน public health offices in health zones 12. ในเรื่องการเลือกแปรงสีฟันที่เหมาะสมกับวัย การไม่ใช้ (2016) Retrieved from http://dental2. แปรงสีฟันที่ขนแปรงฟูบาน วิธีการแปรงฟันท่ีสะอาด anamai.moph.go.th/ewtadmin/ewt/dental/ การบ้วนปากหลังกินขนมขบเคี้ยวเพื่อเป็นพฤติกรรมที่ดี main.php?filena me=stat ติดตัวเด็กก่อนเขา้ สวู่ ยั รนุ่ ต่อไป Pantaewan, P. (2017). Self-efficacy theory and smoking cessation. Journal of The Royal Reference Thai Army Nurses, 18(3), 35-43. [In Thai] Bandura, A. (1997). Self-Efficacy: The Exercise of Phuangthong, K. (2013). Oral and dental diseases. control. New York: W.H. Freeman. Bangkok: Amarin Health Publishing. [In Thai] Buathong, C., Promsiripaiboon, Y., & Vatchalavivat, Rosphirom, S., Malarat, A., & Tapchaisri, C. (2013). A. (2015). The effects of oral health The effectiveness of a dental health promotion program on dental caries education program applying self-efficacy prevention behaviors of grade six students theory on dental health behavior of at Ban Banghean school at Plaipraya district, prathomsuksa 4 students in Muang district, Krabi Province. Journal of Community Nakhon Pathom province. Journal of Health Development Khon Kaen Faculty of Physical Education, 16(1), University, 3(2), 293-306. [In Thai] 145-157. [In Thai] Department of Health. (2017). Oral health survey Srisathitnarakur, B. (2007). Research methods in results report country Level No. 8. Retrieved nursing (4th ed.). Bangkok: U & I Inter Media. from http://www.anamai.moph.go.th/ewt. [in Thai] [In Thai] Thimayom, P. (2012). The Effect of Self-efficacy Division of Dental Public Health (2017). Trang program on self-care behavior of hemiparesis Provincial Health Office. Performance of patients). Journal of Behavioral Science Do Annual report. 2017. Retrieved from for Development, 4(1), 63-74. [In Thai] http://dental2.anamai.moph.go.th/ Waeyusoh, N. (2014). Effectiveness of self-efficacy ewtadmin/ewt/dental/ewt_dl_link.php? in oral health care based on Muslim’s faith nid=1691&filename=st [ In Thai ] among junior high school students, Narathiwat Jarintana, P. (2019). The effects of ability province. Journal of Public Health and promoting program for caregivers of Development, 12(1), 53-74. [In Thai] school-age children with epilepsy using CAI Wangtapane, P. (2016). Development of dental on knowledge, perceived self- efficacy, and health behavior by self-efficacy theory and outcome expectancy. The Journal of social support application for dental caries Faculty of Nursing Burapha University, 27(1), prevention among children grade 4-6 13-22. [In Thai] primary school, WangYang district, Nakhon Phanom province. Research and Development Health System Journal, 9(3), 1-10. [In Thai] Vปoีทlี่u2m8eฉบ28ับทNี่o2. (2เม(A.ยp.r--มJิ.uยn.)) 22506203

ปัจจยั ทมี่ ีอิทธพิ ลตอ่ การเกดิ ภาวะแทรกซอ้ นของหลอดเลือดแดง ขนาดเล็กในผทู้ ่เี ปน เบาหวานชนดิ ท่ี 2 สายฝน ม่วงคมุ้ , Ph.D.1* พรพรรณ ศรโี สภา, พย.ม.2 วลั ภา คุณทรงเกียรติ, พย.ด.1 ปณิชา พลพนิ ิจ, Ph.D.3 วิภา วิเสโส, Ph.D.1 ชุติมา ฉนั ทมติ รโอภาส, Ph.D.1 ชัยชาญ ดีโรจนวงศ,์ M.D.4 บทคดั ยอ่ การวิจัยคร้ังนี้เป็นการวิจัยเชิงพรรณาแบบภาคตัดขวาง เพ่ือศึกษาปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อการเกิดภาวะแทรกซ้อน ของหลอดเลอื ดแดงขนาดเล็กในผู้เปน็ เบาหวานชนดิ ที่ 2 ทม่ี ารบั บริการทค่ี ลนิ กิ เบาหวาน แผนกผปู้ ่วยนอก โรงพยาบาล ของรฐั 11 แห่งในเขตภาคตะวันออก จา� นวน 350 คน วิเคราะหข์ ้อมูลโดยหา ค่ารอ้ ยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบ่ียงเบนมาตรฐาน และ การวิเคราะหก์ ารถดถอยโลจิสติคทวิ ผลการวิจัยพบวา่ พบว่าผเู้ ป็นเบาหวาน 236 รายมภี าวะแทรกซ้อนของหลอดเลือดแดงขนาดเลก็ คิดเปน็ อัตรา ความชุก ร้อยละ 67.43 (95 %CI: 62.49% - 72.36%) ภาวะแทรกซอ้ นหลอดเลือดแดงขนาดเลก็ ท่ีพบมากท่ีสดุ ไดแ้ ก่ โรคไตจากเบาหวานพบร้อยละ 62 เบาหวานข้ึนจอประสาทตาร้อยละ 16.86 และระบบประสาทรับความรู้สึกท่ีเท้า ร้อยละ 2.85 ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อการเกิดภาวะแทรกซ้อนของหลอดเลือดแดงขนาดเล็กอย่างมีนัยส�าคัญทางสถิติ (p < .05) ได้แก่ อายุ ระยะเวลาการเป็นเบาหวาน ระดับน้�าตาลสะสมในเลือด ความดันโลหิตเร่ิมผิดปกติ และไขมัน ไตรกลเี ซอร์ไรด์ในเลอื ด โดยพบวา่ ผทู้ ่มี อี ายุ 60 ปขี ึ้นไปมโี อกาสเกดิ ภาวะแทรกซ้อน 13.12 เท่า (OR = 13.12) เม่ือเทียบ กับผูท้ ่มี ีอายนุ ้อยกวา่ 39 ปี ผูท้ ่เี ปน็ เบาหวานมากกว่า 20 ปี มโี อกาสเกิดภาวะแทรกซ้อนของหลอดเลือดแดงขนาดเล็ก 7.47 เท่า (OR = 7.47) เม่อื เทยี บกบั ผู้เปน็ เบาหวานน้อยกว่าหรอื เทา่ กบั 5 ปี ผู้ท่ีมรี ะดบั HbA1C มากกวา่ 8% มโี อกาส เเรกิ่มิดผภดิ าปวะกแตทิ มรีโกอซก้อานสนเก้อิดยภกาวว่าะแ0ท.4ร4กซเอ้ทน่าข(อOงRหล=อด0เ.ล4ือ4ด) แเดมง่ือขเทนียาดบเกลับก็ ผนู้ทอ้ ี่มยีกHวา่bA01.2C 6อเยทู่ใา่นร(OะดRับ=ป0ก.ต2ิ6ผ)ู้ทเมี่คื่อวเาทมียดบันกโับลหผูท้ิต่ี มีความดนั ปกติ และผทู้ ม่ี ีไตรกลีเซอไรดใ์ นเลอื ดสงู มีโอกาสเกดิ ภาวะแทรกซอ้ นของหลอดเลอื ดแดงขนาดเล็ก 2.15 เท่า (OR = 2.15) เมอ่ื เทยี บกบั ผูท้ ีม่ ีไตรกลีเซอไรด์ปกติ ผลการวิจัยน�าเสนอข้อมูลพื้นฐานท่ีส�าคัญให้กับบุคลากรสุขภาพ ในการพัฒนาการบริการสุขภาพ แก่ผู้ท่ีได้รับ วินิจฉัยว่าเป็นเบาหวานชนิดท่ี 2 ตั้งแต่ระยะแรก เพื่อป้องกันและชะลอการเกิดภาวะแทรกซ้อน ของหลอดเลือดแดง ขนาดเลก็ โดยการคดั กรองเบอื้ งต้นในผู้ทีม่ ีความเสยี่ งสงู คา� สา� คัญ: ภาวะแทรกซ้อน หลอดเลอื ดแดงขนาดเลก็ เบาหวานชนิดท่ี 2 1 ผชู้ ว่ ยศาสตราจารย์ สาขาวชิ าการพยาบาลผู้ใหญ่ คณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา 2 ผชู้ ว่ ยศาสตราจารย์ สาขาวิชาการพยาบาลสุขภาพจิตและจติ เวช คณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลยั บรู พา 3 อาจารยส์ าขาวิชาการพยาบาลผูใ้ หญ่ คณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยบรู พา 4 ศาสตราจารย์คลินิก แพทยผ์ ู้เชย่ี วชาญ เบาหวานและต่อมไร้ทอ่ โรงพยาบาลราชวิถี * ผู้เขยี นหลัก e-mail: saifone7015@hotmail.com Received 06/05/2020 Revised 08/06/2020 Accept 18/06/2020

Factors Influencing Microvascular Complications among Persons with Type 2 Diabetes Saifone Moungkum, Ph.D.1* Pornpan Srisopa, M.N.S.2, Wanlapa Kunsongkeit, Ph.D.1 Panicha Ponpinij, Ph.D.3, Wipa Wiseso, Ph.D.1, Chutima Chantamit-O-Pas, Ph.D.1 Chaicharn Deerochanawong, M.D.4 Abstract The purpose of this cross-sectional descriptive study was to examine the prevalence of microvascular complications and determining factors influencing microvascular complications among persons with type 2 diabetes. Data were collected from 350 patients with type 2 diabetes, who received the cares at the diabetes clinics from eleven public hospitals, Eastern region of Thailand. The data were analyzed by means of descriptive statistics, and binary logistic regression analysis. The results revealed that the prevalence rate of microvascular complications were 67.43 (95 %CI: 62.49 - 72.36). Among diabetic patients with microvascular complications, 62% had diabetic kidney disease, 16.86 and 2.85 % were diabetic retinopathy and peripheral neuropathy, respectively. There were associations between the following variables: age, duration of diabetes, HbA1C, prehypertension, triglycerides level, and the complications as such with statistical significance (p <. 05). Participants over age sixty had about 13.12 times the risk of microvascular complications (OR = 13.12, 95% CI: 2.11 - 81.49) compared to participants younger than 39 years old. Those with type 2 diabetes for over 20 years showed a 7.47 times greater chance of microvascular complications than those with diabetes of shorter duration (OR = 7.74, 95% CI: 1.77 - 31.58). Those with HbA1C level above 8% had a lower chance of microvascular complications compared to those with HbA1C level less than 7% (OR = 0.44, 95% CI: 0.22 - 0.87). Participants with high level of triglyceride showed a 2.15 times of microvascular complications (OR = 2.15, 95% CI: 1.20 - 3.85) than those with normal level. Moreover, those with prehypertension showed a lower chance of microvascular complications than those with normal blood pressure (OR = 0.26, 95% CI: 0.08 - 0.86). The findings provide significant information for health care providers in developing precise interventions, targeting patients with early-diagnosed diabetes mellitus, to prevent microvascular complications including diabetic kidney disease, diabetic retinopathy, and diabetic neuropathy, and to delay occurrences of complications by early screening in high-risk patients. Key words: Microvascular, complications, type 2 diabetes mellitus 1 Assistant Professor, Department of Adult Nursing Faculty of Nursing Burapha University 2 Assistant Professor, Department of Psychiatric and Mental Health Nursing Faculty of Nursing Burapha University 3 Lecturer, Department of Adult Nursing Faculty of Nursing Burapha University 4 Professor Dr. Clinic Diabetic & Metabolic Rajavithi Hospital * Corresponding Author e-mail: saifone7015@hotmail.com

76 ปจั จยั ทีม่ อี ิทธิพลตอ่ การเกิดภาวะแทรกซอ้ นของหลอดเลือดแดงขนาดเล็ก วารสารคณะพยาบาลศาสตร์ ในผทู้ ี่เป็นเบาหวานชนดิ ที่ 2 มหาวทิ ยาลัยบูรพา ความสา� คญั ของปญั หา และถูกตัดน้ิวเท้า เท้า และขาในที่สุด จากสถิติท่ัวโลก เบาหวานเป็นโรคไม่ติดต่อเรื้อรังท่ีเป็นปัญหา พบว่า ทุก ๆ 30 วินาทีจะมผี เู้ ป็นเบาหวาน ถูกตดั น้ิวเทา้ หรือเท้า 1 คน (IDF Atlas, 2017) ซ่งึ ก่อให้เกิดความพิการ สาธารณสุขของทุกประเทศทั่วโลก จากการส�ารวจของ ในผู้ท่ีเป็นเบาหวาน นอกจากนี้การเกิดภาวะแทรกซ้อน สมาพนั ธเ์ บาหวานนานาชาตใิ นปี พ.ศ. 2562 พบวา่ ผใู้ หญ่ สง่ ผลตอ่ ภาวะคา่ ใชจ้ า่ ยที่สูงขึน้ ผู้ทเี่ ปน็ เบาหวานท่มี ีภาวะ ท่ีมีอายุ 20-79 ปี ในทวีปมหาสมุทรแปซิฟิกซึ่งรวม แทรกซ้อนท่ีไตมีรายจ่ายสูงกว่าคนที่ไม่มีภาวะแทรกซ้อน ประเทศไทย มีผเู้ ปน็ เบาหวาน ทั้งสิ้น 163 ลา้ นคน และ ร้อยละ 50 ในท�านองเดียวกัน ผู้ที่มีแผลที่เท้าเบาหวาน คาดการณ์ว่า ในปี พ.ศ. 2573 จะมผี เู้ ป็นเบาหวาน เพ่มิ ขนึ้ มีรายจ่ายสูงกวา่ ผไู้ มม่ ีแผลทีเ่ ท้า 5 เทา่ (IDF Atlas, 2017) เปน็ 197 ลา้ นคน (International Diabetes Federation Atlas: IDF Atlas, 2019) โดยเฉพาะอยา่ งย่งิ จ�านวนผเู้ ป็น จากการสา� รวจภาวะแทรกซอ้ นของผเู้ ปน็ เบาหวาน เบาหวานชนิดที่ 2 ที่พบถึงร้อยละ 95-97 ส�าหรับใน ในประเทศไทยพบว่า ร้อยละ 34 มีภาวะแทรกซ้อนของ ประเทศไทยจ�านวนผู้เป็นเบาหวานมีแนวโน้มเพ่ิมสูงข้ึน ระบบประสาททเี่ ทา้ รอ้ ยละ 17.0 มภี าวะแทรกซอ้ นทางไต เชน่ เดยี วกนั โดยเพิ่มจาก 4 ล้านคน ในปี พ.ศ. 2558 เปน็ และร้อยละ 13.6 พบภาวะเทรกซ้อนทางตา (Nitiyanant 5.5 ลา้ นคน ในปี พ.ศ. 2562 ในจา� นวนผปู้ ว่ ยดงั กลา่ วผเู้ ปน็ et al., 2007) และการศกึ ษาสภาวะเทา้ ของผเู้ ปน็ เบาหวาน เบาหวานท่ีสามารถควบคุมระดับน�้าตาลในเลือดได้ตาม ชนิดที่ 2 ในภาคตะวันออกของประเทศไทย พบว่ามี เกณฑ์ (< 130 มก./ดล.) มจี �านวนลดลงจาก ร้อยละ 28.5 ความเส่ือมของประสาทส่วนปลายท่ีเท้าร้อยละ 30.22 เป็น ร้อยละ 23.5 (Aekplakorn, Porapukham, (Moungkum, 2011) จากสถติ ิดงั กล่าวข้างตน้ สะทอ้ นให้ Taneepanichsku, Pukjaroon, & Thaikla, 2016) ส่งผล เหน็ วา่ ภาวะแทรกซอ้ นเรอื้ รงั ของหลอดเลอื ดแดงขนาดเลก็ ใหอ้ ตั ราการเสยี ชวี ติ จากโรคเบาหวานในเมอื งไทยมมี ากถงึ ในผู้ที่เป็นเบาหวานยังคงมีแนวโน้มเพ่ิมมากข้ึน ซึ่งภาวะ 200 รายตอ่ วนั (Diabetes Association of Thailand, แทรกซ้อนเร้ือรังมิได้ก่อให้เกิดผลกระทบและความทุกข์ 2017) จากสถติ ดิ งั กลา่ ว เราจะเหน็ ไดว้ า่ ผทู้ มี่ คี วามสามารถ ทรมานต่อผู้ท่ีเป็นเบาหวานและครอบครัวเท่าน้ัน แต่ยัง ในการควบคมุ ระดบั นา�้ ตาลในเลอื ดใหอ้ ยใู่ นเกณฑม์ จี า� นวน ส่งผลต่อระบบเศรษฐกิจและประเทศชาติ ผู้ป่วยและ ลดลง ซง่ึ ระดบั น�้าตาลในเลือดทีส่ งู กวา่ ปกติเป็นระยะเวลา ครอบครัวไม่เพียงแต่มีค่าใช้จ่ายในการรักษาเบาหวาน นาน ส่งผลให้เกิดภาวะแทรกซ้อนของหลอดเลือดแดง และภาวะแทรกซ้อนสูงข้ึน แต่รวมไปถึงปัญหาค่าใช้จ่าย ทั่วร่างกายโดยเฉพาะอย่างยิง่ หลอดเลือดแดงขนาดเลก็ ท่ีเกิดจากการขาดงาน การสูญเสียผลผลิต ความพิการ การเกษียณอายุก่อนวัย ตลอดจนการเสียชีวิตก่อนวัย การเกิดภาวะแทรกซ้อนของหลอดเลือดแดง อันควร (Cooney, 2014) ขนาดเลก็ ในผทู้ เ่ี ปน็ เบาหวานเปน็ ปญั หาสาธารณสขุ ทสี่ า� คญั ก่อให้เกิดภาวะทุพพลภาพ และอันตรายถึงแก่ชีวิต โดย อยา่ งไรก็ตาม การศึกษาทีผ่ ่านมายงั ไมพ่ บว่ามีการ เฉพาะอยา่ งยงิ่ การเกดิ ภาวะแทรกซอ้ นของหลอดเลอื ดแดง ศึกษาถึงปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อการเกิดภาวะแทรกซ้อน ขนาดเลก็ ทไ่ี ปเลย้ี งไต ทา� ใหไ้ ตขบั ของเสยี ไดน้ อ้ ยลง ของเสยี ของหลอดเลอื ดแดงขนาดเล็กในผู้ทเี่ ป็นเบาหวานชนดิ ท่ี 2 คั่งในร่างกาย และยังท�าให้มีโปรตีนรั่วมากับปัสสาวะ ผู้ที่ ในเขตภาคตะวนั ออก ผวู้ จิ ยั จงึ มคี วามสนใจศกึ ษาปจั จยั ทม่ี ี เปน็ เบาหวานมโี อกาสเกดิ โรคไตเรอื้ รงั ระยะสดุ ทา้ ย 10 เทา่ อิทธิพลต่อการเกิดภาวะแทรกซ้อนเรื้อรังของหลอดเลือด เมอ่ื เทียบกับผู้ทีไ่ มเ่ ป็นเบาหวาน (IDF Atlas, 2017) ส่วน แดงขนาดเลก็ ในผทู้ เี่ ปน็ เบาหวานชนดิ ท่ี 2 ซง่ึ จะทา� ใหท้ ราบ ภาวะแทรกซอ้ นทางตา ทา� ใหก้ ารมองเหน็ ลดลง หนงึ่ ในสาม ถึงปัจจัยท่ีมีอิทธิพลต่อการเกิดภาวะแทรกซ้อนดังกล่าว ของผเู้ ปน็ เบาหวานจะนา� ไปสปู่ ัญหาเร่ืองการมองเหน็ โดย เพื่อน�าไปสู่การพัฒนาโปรแกรมหรือวางแนวทางในการ เฉพาะในวยั ท�างาน (IDF Atlas, 2017) และปัญหาท่ีเกดิ ให้บริการผู้เป็นเบาหวาน เพ่ือชะลอภาวะแทรกซ้อนให้มี กับเท้า เกิดการสูญเสียการปกป้องอันตรายที่เท้าจาก ประสิทธภิ าพต่อไป ประสาทรับความรู้สึกเสียหน้าที่ และประสาทส่ังการเสีย หนา้ ที่ ทา� ใหเ้ ทา้ ผดิ รปู ซง่ึ เปน็ สาเหตขุ องการเกดิ แผลทเี่ ทา้ Vปoีทlี่u2m8eฉบ28ับทNี่o2. (2เม(A.ยp.r--มJิ.uยn.)) 22506203

Factors Influencing Microvascular Complications among Persons The Journal of Faculty of Nursing 77 with Type 2 Diabetes Burapha University วตั ถุประสงคก์ ารวจิ ยั ในการวจิ ยั ครง้ั นี้ มตี วั แปรทน่ี า� มาศกึ ษาจา� นวน 11 ตวั แปร เพื่อศึกษาอัตราชุกของภาวะแทรกซ้อนของ ดงั นน้ั ขนาดกลมุ่ ตวั อยา่ งทใ่ี ชใ้ นการศกึ ษามจี า� นวน 330 คน และผวู้ จิ ยั เพม่ิ กลมุ่ ตวั อยา่ งรอ้ ยละ 6 ไดข้ นาดกลมุ่ ตวั อยา่ ง หลอดเลอื ดแดงขนาดเลก็ และปจั จยั ทม่ี อี ทิ ธพิ ลตอ่ การเกดิ ทงั้ สน้ิ 350 ราย ภาวะแทรกซ้อนของหลอดเลือดแดงขนาดเล็กในผู้ท่ีเป็น เบาหวานชนิดท่ี 2 ในเขตภาคตะวันออกของประเทศไทย การคัดเลือกกลุ่มตัวอย่าง ด้วยการสุ่มแบบแบ่ง ชน้ั ภมู ิ (Stratified random sampling) โดยใชเ้ กณฑข์ นาด กรอบแนวคิดการวจิ ยั ของโรงพยาบาลของกระทรวงสาธารณสุข ในการแบ่ง กรอบแนวคดิ การวจิ ยั พฒั นามาจากการบรู ณาการ ชั้นภูมิ จากน้ันใช้วิธีการสุ่มแบบง่าย (Simple random sampling) โดยการจบั ฉลากชนดิ ไม่แทนท่ี ได้โรงพยาบาล หลกั ฐานเชงิ ประจกั ษแ์ ละพยาธสิ รวี ทิ ยาเกยี่ วกบั ความเสอื่ ม ศูนย์ 2 แห่ง โรงพยาบาลท่ัวไป 4 แหง่ โรงพยาบาลชุมชน ของหลอดเลือดแดงขนาดเล็กกับโรคเบาหวาน ปัจจัยท่ีมี 5 แหง่ ในเขตภาคตะวนั ออก จากนน้ั สมุ่ จา� นวนกลมุ่ ตวั อยา่ ง อิทธิพลต่อการเกิดภาวะแทรกซ้อนของหลอดเลือดแดง ตามสัดส่วนประชากรจากโรงพยาบาลท่ีสุ่มมาได้จนครบ ขนาดเลก็ ในผทู้ เี่ ปน็ เบาหวานชนดิ ที่ 2 ประกอบดว้ ย ปจั จยั 350 ราย ทางกายภาพ ไดแ้ ก่ เพศ อายุ ระยะเวลาการเป็นเบาหวาน และปัจจยั เก่ียวกบั พฤตกิ รรมสุขภาพ ได้แก่ ระดบั นา้� ตาล เคร่ืองมือท่ีใช้ในการวิจัย ประกอบด้วย 2 ส่วน สะสมในเลือด (HbA1C) ระดับความดนั โลหิต ระดับไขมัน ดงั น้ี ในเลือด ดัชนีมวลกาย และการสูบบุหรี่ 1. เคร่ืองมือที่ใช้ประเมินภาวะแทรกซ้อนของ วิธีด�าเนนิ การวิจัย หลอดเลือดแดงขนาดเลก็ ประกอบดว้ ย เครื่องชง่ั น้�าหนัก การวิจัยคร้ังนี้เป็นการวิจัยเชิงพรรณาแบบภาคตัด เคร่ืองวัดความสูงของแต่ละโรงพยาบาลท่ีได้รับรอง มาตรฐาน เพื่อใช้ค�านวณดัชนีมวลกายของกลุ่มตัวอย่าง ขวาง (cross - sectional study) ซ่ึงเป็นส่วนหนึ่งของ ในวันเกบ็ ขอ้ มลู โดยแบ่งเป็น 3 ระดับ ไดแ้ ก่ ดชั นีมวลกาย โครงการวิจัยเรื่องรูปแบบการจัดการตนเองในการชะลอ = 18.5 - 22.9 กก./เมตร2 แปลว่า น�้าหนักปกติ ดัชนี ภาวะแทรกซ้อนของผู้เป็นเบาหวานชนิดท่ี 2 เขตภาค มวลกาย = 23.0 - 24.9 กก./เมตร2 แปลว่า น้�าหนกั เกนิ ตะวนั ออกของประเทศไทย และดชั นีมวลกาย 25 กก./เมตร2 แปลว่า อ้วน เคร่อื งวดั ความดันโลหิตใช้เครื่องเดียวกันทุกโรงพยาบาล ระดับ ประชากร คือผู้ที่เป็นเบาหวานชนิดท่ี 2 ท่ีมารับ ความดนั โลหติ SBP < 120 และ/หรอื DBP < 80 mmHg บริการ ตรวจรักษา ที่คลินิกเบาหวาน แผนกผู้ป่วยนอก แปลว่า ปกติ ระดับ SBP = 120 - 139 และ/หรือ DBP = โรงพยาบาลศนู ย์ โรงพยาบาลทวั่ ไป และโรงพยาบาลชมุ ชน 80-89 mmHg แปลวา่ prehypertension และระดบั SBP ในภาคตะวนั ออก = 140 - 159 และ/หรือ DBP = 90 - 99 mmHg แปลว่า Hypertension stage I และ SBP ≥ 160 และ/หรือ DBP กลุ่มตัวอย่าง ผู้เป็นเบาหวานชนิดที่ 2 ท่ีมารับ ≥ 100 mmHg แปลวา่ Hypertension stage II เครอ่ื ง บริการท่ีคลินิกเบาหวาน แผนกผู้ป่วยนอกโรงพยาบาล ตรวจระดับน�้าตาลสะสมในเลอื ด (HbA1C) และระดบั ไขมนั รฐั บาล ในเขตภาคตะวนั ออก มคี ณุ สมบตั ขิ องกลมุ่ ตวั อยา่ ง ในเลือดของแต่ละโรงพยาบาล ตรวจดว้ ยเครอื่ งอัตโนมัตทิ ่ี (inclusion criteria) ดงั น้ี ไดร้ บั การวินิจฉยั จากแพทย์ว่า เปน็ บรษิ ทั เดยี วกนั ในทกุ โรงพยาบาล และไดร้ บั การรบั รอง เป็นเบาหวานชนิดท่ี 2 ตง้ั แต่ 1 ปีขึน้ ไป มอี ายตุ งั้ แต่ 18 ปี มาตรฐานจากสภาเทคนิคการแพทย์แห่งประเทศไทย ข้ึนไป ยินดีเข้าร่วมการวิจัย และไม่มีประวัติถูกตัดนิ้วเท้า แปลผลดังน้ี HbA1C < 7% แสดงวา่ ควบคมุ เบาหวานได้ดี หรือเท้า ถ้า HbA1C = 7% - 8% แสดงว่า ควบคุมเบาหวานได้ ปานกลาง และ HbA1C > 8% แสดงวา่ ควบคมุ เบาหวานไมด่ ี ขนาดของกลมุ่ ตวั อยา่ ง ประมาณจากสตู ร สา� หรบั ระดบั ไขมนั ในเลอื ดคอเลสเตอรอล นอ้ ยกวา่ 200 มลิ ลกิ รมั การวเิ คราะหก์ ารถดถอยโลจสิ ตกิ ส์ ดงั นี้ จา� นวนกลมุ่ ตวั อยา่ ง เทา่ กบั อยา่ งนอ้ ย 30 เทา่ ของจา� นวนตวั แปรทตี่ อ้ งการศกึ ษา (Logistic Regression Analysis) (Peduzzi et al., 1996) Vปoีทl่ีu2m8eฉบ28ับทN่ีo2. (2เม(A.ยp.r--มJิ.uยn.)) 22506203

78 ปจั จยั ท่มี อี ิทธพิ ลตอ่ การเกดิ ภาวะแทรกซ้อนของหลอดเลอื ดแดงขนาดเล็ก วารสารคณะพยาบาลศาสตร์ ในผูท้ ีเ่ ปน็ เบาหวานชนิดที่ 2 มหาวิทยาลัยบูรพา เปอรเ์ ซน็ ต์ แปลวา่ ปกติ คอเลสเตอรอลมากกวา่ หรอื เทา่ กบั ประสาทอตั โนมตั ิ กรณที กี่ ลมุ่ ตวั อยา่ งเขยี นหนงั สอื ไมไ่ ด้ ให้ 200 มิลลิกรัมเปอร์เซ็นต์แปลว่าผิดปกติ ไตรกลีเซอไรด์ พมิ พล์ ายนว้ิ หวั แมม่ อื ขา้ งขวา และสามารถยตุ กิ ารใหข้ อ้ มลู น้อยกว่า 150 มิลลิกรัมเปอร์เซ็นต์ แปลว่าปกติ ไดต้ ลอดเวลาทตี่ อ้ งการ โดยไมม่ ผี ลกระทบใด ๆ ตอ่ การเขา้ ไตรกลเี ซอไรด์ มากกว่า หรอื เท่ากบั 150 แปลวา่ ผิดปกติ รบั การรกั ษาจากโรงพยาบาล ผวู้ จิ ยั มกี ารเกบ็ รกั ษาความลบั LDL < 160 มิลลิกรัมเปอรเ์ ซ็นต์ แปลว่า ก�า้ กึง่ ปกติ LDL ของกลุ่มตัวอย่าง โดยไม่ระบุชื่อสกุลของกลุ่มตัวอย่างใน ≥ 160 มิลลิกรัมเปอรเ์ ซน็ ต์ แปลวา่ ผดิ ปกติ HDL เพศชาย แบบสอบถามและการนา� เสนอผลการวจิ ัยในภาพรวม น้อยกวา่ 40 มลิ ลกิ รัมเปอรเ์ ซ็นต์ แปลว่า ไมด่ ี เพศหญงิ นอ้ ยกว่า 50 มลิ ลกิ รมั เปอรเ์ ซน็ ต์ ไมด่ ี การเกบ็ รวบรวมขอ้ มูล หลงั จากไดร้ บั อนมุ ตั จิ ากคณะกรรมการการพจิ ารณา 2. เคร่ืองมือที่ใช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูล จรยิ ธรรมการวจิ ัยในมนุษย์ มหาวิทยาลัยบูรพา และคณะ ประกอบดว้ ย แบบบนั ทกึ ขอ้ มลู สว่ นบคุ คล ขอ้ มลู การเจบ็ ปว่ ย กรรมการพจิ ารณาจรยิ ธรรมการวจิ ยั ของแตล่ ะโรงพยาบาล และแบบบันทึกผลตรวจทางห้องปฏิบัติการ ที่ผู้วิจัย แล้ว ผู้วิจัยขออนุญาตผู้อ�านวยการโรงพยาบาลและผู้ท่ี สรา้ งขึ้น และผ่านการตรวจสอบความตรงตามเนอื้ หา โดย เกี่ยวข้อง เพ่ือขอความร่วมมือในการเก็บรวบรวมข้อมูล ผูท้ รงคณุ วฒุ ิ 3 ทา่ น ประกอบดว้ ย อายรุ แพทยต์ ่อมไรท้ อ่ หลังจากนั้นผู้วิจัยคัดเลือกกลุ่มตัวอย่างโดยการสุ่มแบบ 1 ทา่ น จกั ษแุ พทย์ 1 ทา่ น และพยาบาลวชิ าการชา� นาญการ ไมแ่ ทนทตี่ ามวนั เวลาทมี่ คี ลนิ กิ เบาหวานของแตล่ ะโรงพยาบาล (วฒุ บิ ตั รแสดงความรคู้ วามชา� นาญ เฉพาะทางการพยาบาล ในวนั เกบ็ ขอ้ มลู ผวู้ จิ ยั เขา้ ไปแนะนา� ตวั เองกบั ผเู้ ปน็ เบาหวาน และการผดุงครรภ์ สาขาการพยาบาล อายุรศาสตร์- ชนดิ ที่ 2 ทมี่ ารบั การรกั ษาขณะทรี่ อรบั การตรวจ เพอ่ื ชแี้ จง ศัลยศาสตร์ และประกาศนียบัตร สาขาการพยาบาล วตั ถปุ ระสงคข์ องการทา� วจิ ยั ประโยชนแ์ ละความเสยี่ งของ ผจู้ ดั การรายกรณโี รคเรอื้ รงั เบาหวานและความดนั โลหติ สงู ) การวิจัย และรายละเอียดของการเข้าร่วมการวิจัยตาม 1 ท่าน พจิ ารณาความสอดคลอ้ งของเนื้อหา เอกสารชี้แจง ให้กลุ่มตัวอย่างเข้าใจและซักถามข้อสงสัย เม่อื ผเู้ ป็นเบาหวาน เข้าใจและยนิ ดีเข้าร่วมการวจิ ยั ผวู้ จิ ยั การพทิ ักษส์ ทิ ธ์ขิ องกลุ่มตวั อยา่ ง ให้ลงนามเข้าร่วมการวิจัย เพื่อการพิทักษ์สิทธ์ิของ การวิจัยน้ีผ่านการพิจารณาและได้รับอนุมัติ กลุ่มตัวอย่าง และพาผู้ป่วยไปตรวจเท้าอย่างละเอียด ใน การพิจารณาจริยธรรมการวิจัยในมนุษย์ มหาวิทยาลัย ห้องที่จัดเตรียมไว้ เพ่ือความเป็นส่วนตัวและอิสระของ บูรพา รหัส 63/2558 และได้รับอนุมัติการพิจารณาจาก กลุ่มตัวอย่าง จากนั้นแจกแบบสอบถามข้อมูลทั่วไปและ คณะกรรมการจริยธรรมการวิจัยจากโรงพยาบาลระยอง ข้อมูลการเจ็บป่วย กรณีเป็นผู้สูงอายุและมีปัญหาในการ รหสั RYH 61/2559 โรงพยาบาลชลบุรี รหัส 01/59/O/h อ่านแบบสอบถาม ผู้ช่วยวิจัยอ่านแบบสอบถามให้และให้ โรงพยาบาลพุทธโสธร รหัส BSH-IRB 003/2559 และ กลมุ่ ตวั อยา่ งตอบดว้ ยตนเอง ใชเ้ วลาทง้ั สนิ้ ประมาณ 45 นาที โรงพยาบาลสมเดจ็ พระยพุ ราชสระแกว้ ท่ี สก. 32.222/6946 ผู้วิจัยติดตามผลตรวจทางห้องปฏิบัติการและตรวจสอบ และได้รับอนุญาตให้ท�าวิจัยจากโรงพยาบาลบางละมุง ความครบถ้วนของแบบบันทึกข้อมูล ก่อนน�าข้อมูลไป โรงพยาบาลบา้ นบงึ โรงพยาบาลเขาคชิ ฌกูฏ โรงพยาบาล วิเคราะหต์ อ่ ไป เขาสมิง โรงพยาบาลแปลงยาว โรงพยาบาลบ่อไร่และ การวิเคราะหข์ อ้ มลู โรงพยาบาลสอยดาว ผู้วิจัยได้ด�าเนินการพิทักษ์สิทธ์ิ ผวู้ ิจัยวิเคราะหข์ อ้ มลู ตามระเบยี บวิธีทางสถิติ โดย กลุ่มตัวอย่างดังนี้ ผู้วิจัยขอความร่วมมือจากกลุ่มตัวอย่าง ใช้โปรแกรมคอมพิวเตอร์ส�าเร็จรูป วิเคราะห์ข้อมูลทั่วไป แนะน�าตัว ช้ีแจงวัตถุประสงค์ของการวิจัย เปิดโอกาสให้ และข้อมูลเกี่ยวกับการเจ็บป่วยด้วยสถิติเชิงพรรณนา ใช้ เข้าร่วมโครงการด้วยความสมัครใจพร้อมลงนามยินยอม การแจกแจงความถี่ รอ้ ยละ และวเิ คราะหป์ จั จยั ทมี่ อี ทิ ธพิ ล ในเอกสารแสดงความยินยอม และกลุ่มตัวอย่างจะได้รับ ต่อภาวะแทรกซ้อนของหลอดเลือดแดงขนาดเล็ก การตรวจสภาวะเท้าอย่างละเอียด ประกอบด้วย ตรวจ ดว้ ยการวเิ คราะห์การถดถอยโลจิสติคทวิ (Binary logistic ประสาทรับความรู้สึกที่เท้าด้วย 5.07 monofilament regression) ขนาด 10 กรัม ตรวจการทา� หนา้ ที่ของประสาทสั่งการและ ปVoีทlี่u2m8eฉบ28ับทN่ีo2. (2เม(A.ยp.r--มJิ.uยn.)) 22506203

Factors Influencing Microvascular Complications among Persons The Journal of Faculty of Nursing 79 with Type 2 Diabetes Burapha University ผลการวิจยั NPDR (Non Proliferative Diabetic Retinopathy: ข้อมูลทั่วไปของกลุ่มตัวอย่าง จ�านวน 350 คน NPDR) จ�านวน 17 ราย คิดเป็นร้อยละ 68.00 ระดับ Moderate NPDR จ�านวน 8 ราย คิดเปน็ ร้อยละ 32.00 พบว่า รอ้ ยละ 61.43 เป็นเพศหญงิ อายุเฉลี่ย 60.58 ปี ความผดิ ปกตติ าหนง่ึ ขา้ ง มรี ะดบั ของความผดิ ปกตสิ ว่ นใหญ่ (สว่ นเบยี่ งเบนมาตรฐาน 10.66) จบการศกึ ษาระดบั ประถม ระดบั Mild NPDR จา� นวน 20 ราย คดิ เปน็ ร้อยละ 58.33 ศกึ ษารอ้ ยละ 64.86 สว่ นขอ้ มลู เกยี่ วกบั การเจบ็ ปว่ ยพบวา่ Moderate NPDR จา� นวน 12 ราย คิดเป็นรอ้ ยละ 35.29 กลุ่มตัวอย่างส่วนใหญ่มีระยะเวลาการเป็นเบาหวานอยู่ใน และ Severe NPDR จา� นวน 2 ราย คดิ เป็นรอ้ ยละ 5.88 ชว่ ง 1-5 ปี คิดเปน็ ร้อยละ 37.71 และอยูใ่ นชว่ ง 6-10 ปี คดิ เปน็ รอ้ ยละ 30.29 มรี ะดบั นา�้ ตาลสะสมในเลอื ด (HbA1C) 3. ภาวะแทรกซอ้ น ของระบบประสาทรบั ความรสู้ กึ มากกวา่ 7% รอ้ ยละ 61.14 ระดบั น�้าตาลสะสมในเลือด ที่เท้า (Neuropathic foot) ประเมินจากผลการตรวจ เฉล่ียของกลุ่มตัวอย่างเท่ากับ 7.78% (ส่วนเบี่ยงเบน การรับความรสู้ ึกทเี่ ท้าด้วย 5.07 monofilament ขนาด มาตรฐาน 1.82) ระดับความดันโลหิตผิดปกติ ร้อยละ 10 กรมั พบว่า กลุ่มตวั อย่างมีความผดิ ปกตขิ องประสาท 92.57 ระดบั ไขมนั คอเลสเตอรอลในเลอื ด อยใู่ นระดบั ปกติ รับความรสู้ กึ ของเท้าทง้ั หมด 13 ราย คดิ เปน็ รอ้ ยละ 3.71 รอ้ ยละ 69.14 ระดบั ไขมันไตรกลีเซอไรด์ในเลือด รอ้ ยละ โดยที่มีความผิดปกติทั้งสองข้าง 10 ราย คิดเป็นร้อยละ 58.29 อยใู่ นระดบั ปกติ กลมุ่ ตวั อยา่ งรอ้ ยละ 58.86 มดี ชั นี 2.85 ผิดปกตขิ ้างเดยี ว 3 ราย คิดเป็นร้อยละ 0.85 ผดิ ปกติ มวลกายอยใู่ นระดบั อว้ น และกลมุ่ ตวั อยา่ งสว่ นใหญร่ อ้ ยละ เทา้ ขา้ งขวา 11 ราย คิดเป็นร้อยละ 3.14 และ ผิดปกตเิ ท้า 76.57 ไมเ่ คยสบู บหุ รี่ ข้างซา้ ย 12 ราย คิดเปน็ รอ้ ยละ 3.43 ภาวะแทรกซ้อนของหลอดเลือดแดงขนาดเล็ก ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อการเกิดภาวะแทรกซ้อน พบว่าอัตราภาวะแทรกซ้อนของหลอดเลือดแดงขนาดเล็ก ของหลอดเลือดแดงขนาดเล็ก พบว่า ปัจจัยท่ีมีอิทธิพล 236 ราย มอี ตั ราชกุ เทา่ กบั 67.43 (95%CI: 62.49 - 72.36) ต่อภาวะแทรกซ้อนของหลอดเลือดแดงขนาดเล็กอย่างมี เรยี งตามลา� ดับมากทส่ี ดุ ไปนอ้ ยท่ีสดุ ดงั น้ี นัยส�าคัญทางสถิติท่ีระดับ .05 ได้แก่ อายุ ระยะเวลา การเป็นเบาหวาน ระดับน�้าตาลสะสมในเลือด ความดัน 1. ภาวะแทรกซ้อนที่ไตหรือโรคไตจากเบาหวาน โลหิตเริ่มผิดปกติ และ ระดับไขมันไตรกลีเซอไรด์ในเลือด (Diabetic kidney disease) พบมากท่ีสุด โดยใช้ผล ส่วนการสูบบุหรี่และดัชนีมวลกายไม่มีอิทธิพลกับการเกิด การตรวจอัตราการกรองของไต Estimated glomerular ภาวะแทรกซ้อนของหลอดเลือดแดงขนาดเล็กอย่างมี filtration rate: eGFR พบอัตราการกรองของไตผดิ ปกติ นยั ส�าคัญทางสถติ ทิ ร่ี ะดบั .05 (ตารางที่ 1) รอ้ ยละ 62 (217 ราย) รายละเอียดดังนี้ ระดับคา่ eGFR = 60 - 89 จ�านวน 131 ราย คดิ เปน็ รอ้ ยละ 37.43 ค่า eGFR ผลการวเิ คราะหอ์ ทิ ธพิ ลของปจั จยั ตา่ ง ๆ ตอ่ การเกดิ = 30 - 59 จ�านวน 75 ราย คิดเป็นรอ้ ยละ 21.43 ค่า eGFR ภาวะแทรกซ้อนของหลอดเลือดแดงขนาดเล็กด้วย = 15 - 29 จา� นวน 9 ราย คิดเป็นรอ้ ยละ 2.57 และคา่ Adjusted Odd Ratio พบว่ากลมุ่ ตัวอยา่ งผู้ท่ีมอี ายุ 60 ปี eGFR < 15% จ�านวน 2 ราย คิดเปน็ รอ้ ยละ 0.57 ข้ึนไป มีโอกาสเกิดภาวะแทรกซ้อนของหลอดเลือดแดง ขนาดเลก็ 13.12 เทา่ เมอ่ื เทยี บกบั ผทู้ ม่ี อี ายนุ อ้ ยกวา่ 39 ปี 2. ภาวะแทรกซอ้ นทต่ี าหรอื เรยี กวา่ ภาวะเบาหวาน (95%CI = 2.11 - 81.49, P < .001) ข้นึ จอประสาทตา (Diabetic retinopathy) ประเมินจาก ผลตรวจ Fundus camera อ่านผลโดยจักษุแพทย์ ผู้ที่มีระยะเวลาเป็นเบาหวาน 6-10 ปี, ระยะ กลุ่มตัวอย่างมีความผิดปกติของจอประสาทตาทั้งหมด 11-15 ปี และมากกวา่ 20 ปี มโี อกาสเกิดภาวะแทรกซอ้ น 59 ราย คดิ เป็นรอ้ ยละ 16.86 โดยพบวา่ คนท่มี ีตาผดิ ปกติ ของหลอดเลอื ดแดงขนาดเลก็ 2.10 เทา่ 3.68 เทา่ และ สองข้าง จ�านวน 25 ราย คดิ เปน็ ร้อยละ 7.14 คนที่มตี า 7.47 เท่า (95%CI = 1.09 - 4.03, P < .01, 95%CI = ผดิ ปกตหิ นึ่งข้าง จา� นวน 34 ราย คดิ เปน็ รอ้ ยละ 9.71 เมอื่ 1.34 - 10.08, P < .01; 95 %CI = 1.77 - 31.58, P < .006) จ�าแนกตามระดับความรุนแรงของความผิดปกติของตา ตามล�าดับ เมื่อเทียบกับผู้ท่ีมีระยะเวลาเป็นเบาหวาน พบว่า ในผู้ท่ีตามีความผิดปกติท้ังสองข้าง ระดับ Mild น้อยกว่าหรอื เท่ากับ 5 ปี Vปoีทlี่u2m8eฉบ28ับทNี่o2. (2เม(A.ยp.r--มJิ.uยn.)) 22506203

80 ปจั จัยทมี่ ีอทิ ธพิ ลตอ่ การเกดิ ภาวะแทรกซอ้ นของหลอดเลอื ดแดงขนาดเล็ก วารสารคณะพยาบาลศาสตร์ ในผู้ท่ีเป็นเบาหวานชนิดที่ 2 มหาวทิ ยาลัยบูรพา ผู้ที่มีระดับน�้าตาลสะสมในเลือด เท่ากับ 7-8 % ผู้ท่ีความดันโลหิตเร่ิมผิดปกติ มีโอกาสเกิดภาวะ มโี อกาสเกดิ ภาวะแทรกซอ้ นของหลอดเลอื ดแดงขนาดเลก็ แทรกซ้อนของหลอดเลือดแดงขนาดเล็ก 0.26 เท่า เมื่อ ลดลง 0.30 เทา่ เมอื่ เทยี บกบั ทมี่ รี ะดบั นา�้ ตาลในเลอื ดสะสม เทียบกับผ้ทู ี่ความดันโลหิตปกติ (95% CI = 0.08 - 0.86, นอ้ ยกวา่ 7 (95%CI = 0.15 - 0.60, P < .001) และผู้ที่มี p < .02) ระดบั นา้� ตาลในเลอื ดสะสมมากกวา่ 8% มโี อกาสเกดิ ภาวะ แทรกซ้อนของหลอดเลือดแดงขนาดเล็กลดลง 0.44 เท่า ผู้ทีม่ ีระดับไขมนั ไตรกลเี ซอไรด์ในเลอื ดสงู กวา่ ปกติ เมื่อเทียบกับท่ีมีระดับน�้าตาลในเลือดสะสมน้อยกว่า 7% มโี อกาสเกดิ ภาวะแทรกซอ้ นของหลอดเลอื ดแดงขนาดเลก็ (95%CI = 0.22 - 0.87, P < .01) 2.15 เท่าเม่ือเทียบกับผู้ท่ีระดับไขมันไตรกลีเซอไรด์ปกติ (95%CI = 1.20 - 3.85, P < .01) ตารางที่ 1 ปัจจัยที่มอี ิทธพิ ลต่อการเกดิ ภาวะแทรกซอ้ นของหลอดเลือดแดงขนาดเล็ก Univariable analysis Multivariable analysis Crude OR 95%CI p-value Adjusted OR 95%CI p- value Lower Upper Lower Upper อายุ (ป)ี ≤ 39 1 40 - 59 4.34 0.89 21.12 .069 3.36 0.56 20.36 .187 ≥ 60 18.59 3.78 91.44 <.001 13.12 2.11 81.49 <.001 เพศ เพศหญิง 1 เพศชาย 1.22 0.77 1.94 .400 ระยะเวลาเปน เบาหวาน (ปี) ≤5 1 6 - 10 1.90 1.11 3.25 <.001 2.10 1.09 4.03 <.001 11 - 15 3.87 1.67 8.95 <.001 3.68 1.34 10.08 <.001 16 - 20 3.97 1.72 9.18 <.001 2.40 0.91 6.34 <.05 > 20 5.73 1.62 20.21 <.001 7.47 1.77 31.58 <.001 สูบบหุ ร่ี ไมส่ ูบบุหร่ี 1 เคยสูบ 0.96 0.45 2.07 .920 0.81 0.31 2.14 .668 ปัจจุบันสูบ 1.09 0.56 2.11 .799 0.90 0.40 2.02 .800 HHbbAA1C1C(%<)7% 1 HbA1C 7 - 8% 0.42 0.24 0.75 <.001 0.30 0.15 0.60 <.001 HbA1C > 8% 0.58 0.34 1.00 <.05 0.44 0.22 0.87 <.001 ความดนั โลหิต (mmHg) ปกติ 1 Prehypertension 0.36 0.13 0.95 <.05 0.26 0.08 0.86 <.05 Hypertension 0.88 0.34 2.32 .790 0.76 0.23 2.48 .647 ปVoีทl่ีu2m8eฉบ28ับทNี่o2. (2เม(A.ยp.r--มJิ.uยn.)) 22506203

Factors Influencing Microvascular Complications among Persons The Journal of Faculty of Nursing 81 with Type 2 Diabetes Burapha University ตารางที่ 1 (ตอ่ ) Univariable analysis Multivariable analysis Crude OR 95%CI p-value Adjusted OR 95%CI p- value Lower Upper Lower Upper ดัชนีมวลกาย (กก/เมตร2) ปกติ 1 นน. เกนิ 1.04 0.47 2.27 .929 1.10 0.44 2.77 .841 อว้ น 0.45 0.24 0.84 <.001 0.59 0.27 1.26 .171 Cholesterol (มลิ ลิกรัมเปอรเ์ ซน็ ต์) < 200 1 ≥ 200 1.68 1.01 2.80 <.05 1.31 0.69 2.46 .407 Triglyceride (มิลลกิ รัมเปอรเ์ ซ็นต)์ < 150 1 ≥ 150 1.60 1.00 2.54 <.05 2.15 1.20 3.85 <.001 อภปิ รายผล แทรกซ้อนของหลอดเลือดแดงขนาดเล็ก 1.07 เท่า เมื่อ อัตราการเกิดภาวะแทรกซ้อนของหลอดเลือดแดง เทียบกับผู้เป็นเบาหวานท่ีมีอายุน้อยกว่า ผู้ที่มีระยะเวลา เป็นเบาหวานมากกวา่ 20 ปี มีโอกาสเกดิ ภาวะแทรกซอ้ น ขนาดเลก็ ในผ้ทู ่เี ปน็ เบาหวานชนิดที่ 2 เขตภาคตะวันออก ของหลอดเลือดแดงขนาดเลก็ 7.48 เทา่ เม่ือเทยี บกับผู้ท่มี ี ของประเทศไทย พบว่ามีภาวะแทรกซ้อนของหลอดเลือด ระยะเวลาเปน็ เบาหวานนอ้ ยกวา่ หรอื เทา่ กบั 5 ปี สอดคลอ้ ง แดงขนาดเล็ก 236 ราย คิดเป็นรอ้ ยละ 67.43 (95%CI: กับการศึกษาที่ผ่านมาของ Hurst et al. (2015) พบว่า 62.49 ถงึ 72.36) พบภาวะแทรกซ้อนทางไต ตา และเท้า ระยะเวลาเปน็ เบาหวานทนี่ าน มโี อกาสเกดิ ภาวะแทรกซอ้ น ตามล�าดับ จากการเปรียบเทียบผลการศึกษาภาวะ ของหลอดเลือดแดงขนาดเล็ก 1.21 เท่า เมอ่ื เทยี บกบั ผูท้ ี่ แทรกซ้อนของหลอดเลือดแดงขนาดเลก็ กับการศกึ ษาของ เปน็ เบาหวาน 5 ปี และการศึกษาของ Laksawut (2014) Nitiyanant et al. (2007) พบว่า ภาวะแทรกซอ้ นดงั กล่าว พบว่า ผู้ท่ีเป็นเบาหวานมากกว่า 5 ปี มีความเส่ียงต่อ มแี นวโนม้ สงู ขน้ึ ภาวะแทรกซอ้ นทางไตเพมิ่ ขน้ึ จากรอ้ ยละ การเกดิ ภาวะไตเสอื่ ม 1.94 เทา่ ของผ้ปู ว่ ยเบาหวานทเ่ี ปน็ 17.0 เป็น ร้อยละ 37.43, ทางตา 13.6 เปน็ ร้อยละ 16.90 น้อยกว่าหรอื เทา่ กับ 5 ปี ในขณะท่ีการศึกษาคร้ังน้ีตรวจพบความผิดปกติประสาท ส่วนปลายท่ีเท้าลดลงจากการศึกษาที่ผ่านมาจาก ร้อยละ จะเห็นได้ว่าผู้ท่ีมีอายุมากข้ึน และระยะเวลา 34.0 และร้อยละ 27.16 (Moungkum, 2011) เป็น การเป็นเบาหวานนานขึ้น มีโอกาสเกิดภาวะแทรกซ้อน ร้อยละ 3.71 อาจเน่ืองมาจากในระยะ 10 ปีท่ีผ่านมา ของหลอดเลอื ดแดงขนาดเลก็ มากขนึ้ จากกลไกภาวะเสอื่ ม สาธารณสุขของประเทศไทย มีการรณรงค์อย่างเข้มแข็ง ตามวัยของร่างกาย เมื่ออายุที่เพ่ิมมากข้ึน พยาธิสภาพ เร่อื งการดูแลเทา้ เบาหวาน ซ่ึงนับว่าการรณรงค์ไดผ้ ลดี ของหลอดเลือดท่ัวร่างกาย ย่อมมีความเส่ือมลงปีละ ประมาณ 1% มีผลให้ปริมาณเลือดไปเลี้ยงอวัยวะต่าง ๆ กลุ่มตัวอย่างผู้ที่มีอายุ 60 ปีขึ้นไป มีโอกาสเกิด ได้แก่ ไต ตา และระบบประสาททเ่ี ท้า ลดลง ร่วมกบั ระยะ ภาวะแทรกซอ้ นของหลอดเลือดแดงขนาดเล็ก 13.12 เท่า เวลาเป็นเบาหวานที่นาน จะส่งเสริมให้หลอดเลือดแดง เมอื่ เทยี บกบั ผทู้ ม่ี อี ายนุ อ้ ยกวา่ หรอื เทา่ กบั 39 ปี สอดคลอ้ ง เสื่อม ตามระยะเวลาที่เพิ่มข้ึน กบั การศกึ ษาทีผ่ ่านมาของ Hurst, Thinkhamrop, and Tran (2015) พบว่า อายุที่มากข้ึน มีโอกาสเกิดภาวะ ผู้ท่ีมีระดับน�้าตาลสะสมในเลือดมากกว่า 8% มี ปVoีทlี่u2m8eฉบ28ับทNี่o2. (2เม(A.ยp.r--มJิ.uยn.)) 22506203

82 ปจั จยั ทีม่ อี ทิ ธิพลต่อการเกดิ ภาวะแทรกซ้อนของหลอดเลือดแดงขนาดเล็ก วารสารคณะพยาบาลศาสตร์ ในผู้ทเ่ี ปน็ เบาหวานชนิดท่ี 2 มหาวทิ ยาลยั บูรพา โอกาสเกิดภาวะแทรกซ้อนของหลอดเลือดแดงขนาดเล็ก (2014) พบวา่ ผทู้ ม่ี ไี ตรกลเี ซอรไ์ รดส์ งู กวา่ ปกตมิ โี อกาสเกดิ ลดลง 0.44 เทา่ เมอ่ื เทยี บกบั ทม่ี รี ะดบั นา�้ ตาลสะสมในเลอื ด ภาวะแทรกซ้อนของหลอดเลือดแดงขนาดเล็ก 1.01 เท่า น้อยกว่า 7% ผลการศึกษาครั้งนี้แตกต่างจากการศึกษา และสอดคล้องกับการศึกษาของ Yang et al. (2019) ทผ่ี ่านมาของ จCะhเeพeิ่มmโอaกาeสtเกaิดl.ภ(า2ว0ะ1แ8ท) รพกบซว้อ่านทHี่bไAต1Cตทาี่ พบว่าผู้ที่มีไตรกลีเซอร์ไรด์สูงกว่าปกติ มีโอกาสเกิดภาวะ เพ่ิมข้ึน 1% แทรกซอ้ นโรคไตจากเบาหวาน 1.7 เท่า และระบบประสาทเปน็ 1.14, 1.15, และ 1.12 เท่า ตาม ลา� ดับ ผู้ทรี่ ะดบั นา้� ตาลสะสมในเลอื ดผิดปกติ มีโอกาสเกิด ขอ้ เสนอแนะ ควรนา� ผลการศกึ ษานไ้ี ปใชเ้ ปน็ ขอ้ มลู ภาวะแทรกซ้อนของหลอดเลือดแดงขนาดเล็กน้อยกว่า พ้ืนฐานท่ีส�าคัญให้กับบุคลากรสุขภาพ ในการพัฒนา ผู้ที่ระดับน�้าตาลสะสมในเลือดปกติ อาจเน่ืองมาจาก การบรกิ ารสขุ ภาพ สา� หรบั ผทู้ ไี่ ดร้ บั วนิ จิ ฉยั วา่ เปน็ เบาหวาน กลุ่มตัวอย่างที่มีผลตรวจทางห้องปฏิบัติการระดับน้�าตาล ชนิดที่ 2 ต้ังแต่ระยะแรก เพ่ือป้องกันและชะลอการเกิด สะสมในเลือดคร้ังนผ้ี ดิ ปกติ แตอ่ าจเป็นไปได้ว่า ทผ่ี า่ นมา ภาวะแทรกซ้อนของหลอดเลือดแดงขนาดเล็ก โดยการ ระดับน�้าตาลสะสมในเลือดไม่ได้ผิดปกติ ระดับน้�าตาล คดั กรองเบอ้ื งตน้ ในผทู้ ม่ี คี วามเสย่ี งสงู นอกจากนก้ี ารศกึ ษา สะสมในเลอื ดสงู เปน็ ระยะเวลานาน ๆ จะสง่ ผลกระทบตอ่ ต่อไปควรเพ่ิมการตรวจ Albumin Creatinine ratio การไหลเวยี นของหลอดเลอื ดแดงขนาดเลก็ ซง่ึ ระดบั นา�้ ตาล รว่ มกบั คา่ eGFR เพอื่ การวนิ จิ ฉยั ภาวะแทรกซอ้ นตอ่ ไตจาก สะสมในเลอื ดทตี่ รวจแตล่ ะครง้ั เปน็ ตวั บง่ ชวี้ า่ มรี ะยะเวลา เบาหวานไดถ้ กู ตอ้ งมากขน้ึ น�้าตาลในเลือดสูงอยู่นานประมาณ 8-12 สัปดาห์ ซึ่ง การศึกษาน้ี เกบ็ ข้อมูลครง้ั เดยี ว จึงอาจไมส่ ามารถอธิบาย กติ ติกรรมประกาศ แนวโน้มของภาวะน�า้ ตาลในเลอื ดสูงเรอ้ื รงั ได้ ประกอบกบั ผู้วิจัยขอขอบคุณส�านักงานคณะกรรมการวิจัย กลุ่มตัวอย่าง ร้อยละ 37.71 มีระยะเวลาเป็นเบาหวาน น้อยกว่าหรือเท่ากับ 5 ปี และกลุ่มตัวอย่างส่วนใหญ่ แหง่ ชาตทิ ม่ี อบทนุ อดุ หนนุ การวจิ ยั น้ี และขอขอบคณุ พน่ี อ้ ง มีค่าระดับน�้าตาลสะสมในเลือดเฉลี่ยเท่ากับ 7.78% อาจ พยาบาลทม่ี สี ว่ นชว่ ยอา� นวยความสะดวกในการเกบ็ รวบรวม เป็นปัจจัยร่วมกันท�าให้ผู้ท่ีมีระดับน้�าตาลสะสมในเลือดที่ ข้อมูลและที่สา� คัญอย่างย่ิง ขอขอบคุณกลุ่มตัวอย่างผู้เป็น สงู กวา่ ปกตเิ ลก็ นอ้ ย มโี อกาสเกดิ ภาวะแทรกซอ้ นแทรกซอ้ น เบาหวานทกุ ทา่ นทเี่ ป็นสว่ นหน่ึงของงานวจิ ยั น้ี น้อยกว่าผูท้ ี่ระดบั น�้าตาลสะสมในเลอื ดปกติ ภาวะ Prehypertension มีความเก่ียวข้องกับ Reference เบาหวาน โดยเฉพาะอยา่ งยง่ิ ผทู้ ม่ี ภี าวะ Prehypertension Aekplakorn, W., Porapukham, Y., Taneepanichsku, มกั จะเปน็ ผทู้ ม่ี ภี าวะอว้ นลงพงุ ซงึ่ เกยี่ วขอ้ งกบั ภาวะดอ้ื ตอ่ อินซูลิน ที่ท�าให้ร่างกายหล่ังสารฮีสตามีน ส่งผลให้ผนัง S., Pukjaroon, H., W., & Thaikla, K. (2016). หลอดเลือดช้ัน endothelium เกิดการอักเสบขึ้น เพ่ิม Thai National Health Examination Survey, การแข็งของหลอดเลอื ด (Hadi & Suwadi, 2007) ทา� ให้ NHES V. Nonthaburi: The Graphico Systems. การไหลเวยี นของหลอดเลอื ดแดงขนาดเล็กลดลง และเกิด (In Thai) ภาวะแทรกซอ้ นของหลอดเลอื ดแดงขนาดเลก็ มากขน้ึ และ Bansal, D. et al. (2014). Microvascular กลมุ่ นจี้ ะยงั ไมไ่ ดร้ บั การวนิ จิ ฉยั วา่ เปน็ ความดนั โลหติ สงู จงึ Complications and Their Associated Risk ยงั ไม่ได้รบั การรกั ษา Factors in Newly Diagnosed Type 2 ผทู้ ม่ี รี ะดบั ไขมนั ไตรกลเี ซอรไ์ รดใ์ นเลอื ดสงู กวา่ ปกติ Diabetes Mellitus Patients. International journal of chronic diseases, 2014, 201423. https://doi.org/10.1155/2014/201423. มโี อกาสเกดิ ภาวะแทรกซอ้ นของหลอดเลอื ดแดงขนาดเลก็ 2.15 เท่า เม่ือเทียบกับผู้ที่ระดับไขมันไตรกลีเซอร์ไรด์ ในเลอื ดปกติ สอดคลอ้ งกับการศกึ ษาของ Bansal et al. ปVoีทlี่u2m8eฉบ28ับทNี่o2. (2เม(A.ยp.r--มJิ.uยn.)) 22506203

Factors Influencing Microvascular Complications among Persons The Journal of Faculty of Nursing 83 with Type 2 Diabetes Burapha University Cheema, S., Maisonneuve, P., Zirie, M., Jayyousi, Hurst, C., Thinkhamrop, B., & Tran, H.T. (2015). A., Alrouh, H., Abraham, A., Al-Samraye, S., The Association between Hypertension Mahfoud, Z., Al-Janahi, M., Ibrahim, B., Comorbidity and Microvascular Lowenfels, A. B., Mamtani, R. (2018). Risk Complications in Type 2 Diabetes Patients: Factors for Microvascular Complications of A Nationwide Cross-Sectional Study in Diabetes in a High-Risk Middle East Thailand. Diabetes & Metabolism Journal, Population. Journal of Diabetes Research, 39(5), 395-404. 8964027. https://doi:10.1155/2018/8964027. International Diabetes Federation [IDF] Atlas. Chuengsamarn, S., Sangpanich, A., & Laoopugsin, (2017). IDF Diabetes atlas (8th ed.). Retrieved N. (2010). Prevalence and risk factors of October 5, 2019, from: http://www.diabet peripheral arterial disease in type 2 esatlas.org/resources/2015 diabetic patients at HRH Princess Maha Chakri Sirindhorn Medical Center. Journal International Diabetes Federation [IDF] Atlas. of the Medical Association of Thailand, (2019). IDF Diabetes atlas (9th ed.). Retrieved 93(Suppl 2), S32-S38. (In Thai) October 5, 2019, from: http://www.diabet esatlas.org/resources/2015 Cooney, N. (2014). Literature Review: The current situation and care model of non- Laksawut, S. (2014). Factor affecting diabetes communicable diseases. Nonthaburi: nephropathy of diabetes type 2 patient, Art Qualifier. (In Thai) Nongkungsri hospital, Kalasin public health office 2556. Research and development Dechma, J., Durongritchai, W., & Kijtorntham, W. health system journal, 7(1), 198-207. (2013). The study of predictive factors’ complications of diabetes mellitus client Mongkolsomlit, S. & Rawdaree, P. (2010). Factors in community under King’s nursing theory. affecting microalbuminuria in type 2 Journal of Public Health Nursing, 27(2), Diabetes: Meta-analysis. Srinagarind 63-80. (In Thai) Medical Journal, 25(3), 185-193. (in Thai) deWit, S.C. & Kumagai, C.K., (2013). Care of patients Moungkum, S. (2011). Factors influencing foot with hypertension and peripheral vascular conditions among people with type 2 disease. In S.C. deWit & C.K. Kumagai (Eds), diabetes in East Thailand. Journal of Medical-Surgical Nursing concepts & Science, Technology, and Humanities, 9(2), practice (2nd ed.). Missouri: Elsevier. 65-74. Hadi, H. A., & Suwadi, J. A. (2007). Endothelial Nitiyanant, W., Chetthakul, T., Sang-A-kad, P., dysfunction in diabetes mellitus. Vascular Therakiatkumjorn, C., Kunsuikmengrai, K., & Health and Risk Management, 3(6), 853-876. Yeo, J. P. (2007). A survey study on diabetes management and complication status in primary care setting in Thailand. Journal of the Medical association of Thailand, 90(1), 65-71. (In Thai) ปVoีทlี่u2m8eฉบ28ับทN่ีo2. (2เม(A.ยp.r--มJิ.uยn.)) 22506203

84 ปัจจัยที่มีอทิ ธิพลตอ่ การเกิดภาวะแทรกซอ้ นของหลอดเลอื ดแดงขนาดเล็ก วารสารคณะพยาบาลศาสตร์ ในผทู้ ่เี ปน็ เบาหวานชนิดท่ี 2 มหาวิทยาลัยบูรพา Orasanu, G., & Plutzky, J. (2009). The continuum Sriwijitkamol, A., Moungngern, Y., & Vannaseang, of diabetic vascular disease: From macro - S. (2011). Assessment and Prevalence of to micro. Journal of the American College diabetic complications in 722 Thai Type 2 of Cardiology, 53(Suppl 5), S35-S42. Diabetes Patients. Journal of the Medical Association of Thailand, 94(Suppl. 1), Peduzzi, P., Concato, J., Kemper, E., Holford, T., & S168-S174. Feinstein, A. (1996). A simulation of the number of events per variable in logistic Wilson, A. M., Sadrzadeh-Rafie, A. H., Myers, J., regression analysis. Journal of Clinical Assimes, T., Nead, K. T., Higgins, M., ... Cooke, Epidemiology, 99, 1373-1379. J. P. (2011). Low lifetime recreational activity is a risk factor for peripheral Pichiwong, W. (2015). Diabetes and-Kidney arterial disease. Journal of Vascular Surgery, Disease. Journal of the department of 54(2), 427-432. medical service, September - October, 19-24. (In Thai) Yang, H., Young, D., Gao, J., Yuan, Y., Shen, M., Zhang, Y., ... Sun, X. (2019). Are blood Rhee, S. Y., Guan, H. Liu, Z. M., Cheng, S.W., lipids associated with microvascular Waspadji, S., Palmes, P., ... Kim, Y. S. (2007). complications among type 2 diabetes Multi-country study on the prevalence mellitus patients? A cross-sectional study and clinical features of peripheral arterial in Shanghai, China. Lipids in health and disease in Asian type 2 diabetes patients disease, 18(1), Doi.org/10.1186/s12944-019- at high risk of atherosclerosis. Diabetes 0970-2. Research and Clinical Practice, 76(1), 82-92. Satirapod, B. (2011). Diagnosis and management of diabetic nephropathy. Royal Thai Army Medical Journal, 64(1), 53-63. (In Thai) ปVoีทlี่u2m8eฉบ28ับทN่ีo2. (2เม(A.ยp.r--มJิ.uยn.)) 22506203

ปัจจยั ท�านายคุณภาพชีวิตการท�างานของพยาบาลวิชาชพี ในโรงพยาบาลส่งเสริมสขุ ภาพต�าบล ภาคตะวนั ออก มโนวรรณ มากมา, พย.ม.1, สวุ รรณา จนั ทร์ประเสรฐิ , ส.ด.2* นสิ ากร กรงุ ไกรเพชร, ส.ด.3 บทคัดย่อ คุณภาพชีวิตการท�างานเป็นความพึงพอใจตามความนึกคิดของผู้ท�างานที่มีต่อการท�างาน การมีส่วนร่วมในงาน และได้รับการตอบสนองต่อความต้องการข้ันพ้ืนฐานในการด�ารงชีวิตอย่างมีความสุข การวิจัยคร้ังน้ีมีวัตถุประสงค์เพ่ือ ศึกษาปัจจัยท�านายคุณภาพชีวิตการท�างานของพยาบาลวิชาชีพในโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพต�าบล ภาคตะวันออก กลุ่มตัวอย่างเป็นพยาบาลวิชาชีพในโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพต�าบล ภาคตะวันออก จ�านวน 145 คน ได้จากการสุ่ม ตวั อย่างแบบหลายข้นั ตอน เครอ่ื งมือทใ่ี ช้ในการวจิ ยั เป็นแบบสอบถามประกอบด้วย ข้อมลู ปัจจัยสว่ นบุคคล ปัจจยั สภาพ การท�างาน และคุณภาพชีวิตการท�างาน ประเมินค่าความเชื่อม่ันด้วยวิธีหาค่าสัมประสิทธิ์แอลฟาของครอนบาคของ แบบวัดคุณภาพชวี ติ การท�างานเท่ากับ .97 วเิ คราะหข์ ้อมูลด้วยสถติ ิบรรยายและสถติ ิถดถอยพหุคูณแบบข้ันตอน ผลการวิจัย พบว่า คุณภาพชีวิตการท�างานของกลุ่มตัวอย่างอยู่ในระดับปานกลางค่อนข้างสูง (M = 3.50, SD = 0.56) ปัจจัยท่ีมีความสมั พนั ธ์และร่วมกนั ท�านายคุณภาพชีวติ การทา� งาน (QOWL) ของพยาบาลวชิ าชพี คือ ภาวะ การเจ็บป่วย (Sickness) การสนับสนุนจากหัวหน้างาน (Train) และการสนับสนุนจากชุมชน (Comsupp) สามารถ ร่วมกันท�านายคณุ ภาพชีวิตการทา� งานไดร้ อ้ ยละ 28.8 โดยภาวะการเจ็บปว่ ยมอี ทิ ธิพลในการท�านายมากที่สุด (b = -.44) รองลงมาคือ การสนับสนุนจากหัวหน้างาน (b = .30) และสุดทา้ ยคอื การสนบั สนุนจากชมุ ชน (b = -.28) ตามสมการ ดงั น้ี QOWL = 3.21 -.52 (Sickness) + .05 (Train) + .42 (Comsupp) ผลการวจิ ยั ครงั้ นสี้ ามารถนา� ไปทา� นายคณุ ภาพชวี ติ การทา� งานของพยาบาลวชิ าชพี ในโรงพยาบาลสง่ เสรมิ สขุ ภาพ ต�าบล เพื่อก�าหนดกลุ่มเป้าหมายและแนวทางการพัฒนาคุณภาพชีวิตการท�างานให้ดีข้ึน และเป็นแนวทางการพัฒนา โปรแกรมการปรับปรงุ คณุ ภาพชวี ติ การท�างานใหด้ ีย่งิ ขนึ้ ค�าสา� คญั : คณุ ภาพชวี ิตการทา� งาน พยาบาลวิชาชีพ โรงพยาบาลสง่ เสริมสุขภาพตา� บล 1 นสิ ติ หลักสูตรพยาบาลศาสตรมหาบัณฑติ สาขาวชิ าการพยาบาลเวชปฏบิ ตั ิชุมชน คณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลยั บรู พา 2 รองศาสตราจารย์ คณะพยาบาลศาสตร์ มหาวทิ ยาลยั บูรพา 3 ผูช้ ว่ ยศาสตราจารย์ คณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลยั บรู พา * ผูเ้ ขยี นหลัก e-mail: suwanna@buu.ac.th Received 15/07/2019 Revised 01/08/2019 Accept 05/08/2019

Factors Predicting Quality of Work Life Among Professional Nurses at Sub-district Health Promotions Hospitals in Eastern Region Manowan Makma, M.N.S.1, Suwanna Junprasert, Dr.P.H.2*, Nisakorn Krungkraipetch, Dr.P.H.3 Abstract Quality of work life is a satisfaction measure based on the mindset of the employee towards the work, participation in the work, and work’s providing the basic needs to live happily. This research aimed to study the factors predicting quality of work life among professional nurses at sub-district health promoting hospitals in eastern region of Thailand. The multi-stage random sampling yielded 145 professional nurses in sub-district health promoting hospitals professional nurses in the eastern region. The questionnaire gathered personal data and data on working conditions and quality of work life. The Cronbach’s alpha coefficient for quality of work life was .97. The data were analyzed using descriptive statistics and stepwise multiple regression. The research found that the nurses’ quality of work life was being at a medium-to-high level (M = 3.50, SD = 0.56). Factors related to and predicting quality of work life of professional nurses were: sickness status (Sickness); support from supervisors (Train), and support from the community (Comsupp). The findings could predict 28.8% of the quality of working life. Sickness status had the most predictive influence (b = -.44), followed by support from supervisors (b = .30), and then support from the com- munity (b = -.28), per this equation: QOWL = 3.21 -.52 (Sickness) + .05 (Train) + .42 (Comsupp) This research contributes to the ability to predict and improve the quality of work life for professional nurses at sub-district health promoting hospitals, and suggests guidelines for developing programs to improve the quality of working lives for these nurses. Keywords: quality of work life, professional nurse, sub-district health promoting hospitals 1 Master of Nursing Science Program in Community Nurse Practitioner, Faculty of Nursing, Burapha University 2 Associate Professor, Faculty of Nursing, Burapha University 3 Assistant Professor, Faculty of Nursing, Burapha University * Corresponding author e-mail: suwanna@buu.ac.th

Factors Predicting Quality of Work Life Among Professional Nurses The Journal of Faculty of Nursing 87 at Sub-district Health Promotions Hospitals in Eastern Region Burapha University ความส�าคญั ของปญั หา (2) ปัจจัยสภาพการท�างานเป็นการจัดระบบงานและ คุณภาพชีวิตท่ีดีเป็นเป้าหมายส�าคัญและเป็นสิ่งที่ มอบหมายงานท่ีมีความเหมาะสมกับคนท�างาน และ (3) ปัจจัยสิ่งแวดล้อมการท�างานเป็นส่ิงคุกคามสุขภาพ ทกุ คนตอ้ งการในการดา� เนนิ ชวี ติ ของตนเอง การมคี ณุ ภาพ จากการทา� งาน ซง่ึ ลว้ นเปน็ ปจั จยั ทกี่ อ่ ใหเ้ กดิ ความเจบ็ ปว่ ย ชีวิตท่ีดีแสดงถึงการเป็นอยู่ที่ดี สามารถด�ารงชีวิตอยู่ใน และโรคจากการทา� งาน สงั คมไดอ้ ยา่ งปกตสิ ขุ (Ngamlamom, 2014) คณุ ภาพชวี ติ การท�างานเป็นองค์ประกอบท่ีส�าคัญของคุณภาพชีวิต การศกึ ษาคณุ ภาพชวี ติ การทา� งานในกลมุ่ พยาบาล เนื่องจากในแต่ละวันผู้ปฏิบัติงานต้องท�างานและใช้ชีวิต ท่ีปฏิบัติงานในโรงพยาบาลระดับทุติยภูมิและตติยภูมิ ซ่ึง ในการท�างานมากถึง 8 ช่ัวโมงต่อวัน หรือ 1 ใน 3 ของ พบวา่ คณุ ภาพชวี ติ การทา� งานในภาพรวมอยใู่ นระดบั ดี แต่ ระยะเวลาในแต่ละวัน (Kittisuksathit, Chamchan, มีภาระงานมาก ต้องขึ้นปฏิบัติงานทั้งในเวลาราชการและ Tangchonthip & Holumyong, 2013) คุณภาพชีวิต นอกเวลาราชการ เน่ืองจากขาดแคลนบุคลากรพยาบาล การท�างานของพยาบาลมีความส�าคัญอย่างยิ่ง เน่ืองจาก วิชาชีพ (Imjai, 2019) แต่ยังไม่มีการศึกษาคุณภาพชีวิต พยาบาลเป็นบุคลากรท่ีส�าคัญในองค์กรท่ีจะขับเคล่ือน การท�างานของพยาบาลวิชาชีพและปัจจัยท่ีเกี่ยวข้องกับ ระบบบรกิ ารสกู่ ารพฒั นาสขุ ภาพของประชาชน โดยเฉพาะ การท�างานในโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพต�าบล (รพ.สต.) อย่างย่ิงพยาบาลในโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพต�าบล ภาคตะวันออก ซึ่งมีสภาพบริบทการท�างาน วิถีชีวิตของ ท่ีมีบทบาทส�าคัญในการให้บริการสุขภาพแก่ประชาชน ประชาชนแตกต่างจากภาคอ่ืน ๆ ดังน้ันเพ่ือให้สอดคล้อง ท้ังการดูแล รักษาโรคเบ้ืองต้น การช่วยฟื้นฟูสภาพ และ กับแผนพัฒนาด้านสาธารณสุขในพื้นที่ระเบียงเศรษฐกิจ การป้องกันโรค เพื่อให้ประชาชนมีคุณภาพชีวิตท่ีดี พเิ ศษ ภาคตะวนั ออก พ.ศ. 2560-2564 เกย่ี วกบั การพฒั นา (Phutphong, Theerawit & Sawangdee, 2017) การที่ ระบบบริการสุขภาพให้ทันสมัยและสอดคล้องกับบริบท พยาบาลมคี ณุ ภาพชวี ติ การทา� งานทด่ี ี กจ็ ะสง่ ผลตอ่ คณุ ภาพ ของพน้ื ที่ ไดแ้ ก่ การพฒั นาระบบบรกิ ารปฐมภมู ิ การสง่ เสรมิ บรกิ ารและคุณภาพชีวติ ของประชาชนตอ่ ไป ป้องกันโรค การพัฒนาระบบข้อมูล และระบบบริหาร การประกันสุขภาพ เป้าหมายเพ่ือยกระดับให้เกิดระบบ คุณภาพชีวิตการท�างานเป็นความพึงพอใจตาม บรกิ ารทพี่ งึ ประสงค์ มกี ารสรา้ งเสรมิ สขุ ภาพ เนน้ การบรกิ าร ความนึกคิดของผู้ท�างานที่มีต่อการท�างาน การมีส่วนร่วม ปฐมภูมิท่ีมีคุณภาพ ทั่วถึง พ่ึงได้ ประชาชนได้รับความ ในงาน และไดร้ บั การตอบสนองตอ่ ความตอ้ งการขนั้ พนื้ ฐาน สะดวกและมีความพึงพอใจ (Thatphitakkul, 2017) ในการด�ารงชีวิตอย่างมีความสุข (Walton, 1973) ซึ่ง สอดคล้องกับการท่ีประชากรส่วนใหญ่เป็นวัยแรงงานใน ประกอบด้วย 8 ด้าน คือ (1) ค่าตอบแทนที่เพียงพอ โรงงานอุตสาหกรรม จ�าเป็นที่ต้องได้รับการดูแลในบริบท และยุติธรรม (2) ส่ิงแวดล้อมและสภาพการท�างานที่มี ของการป้องกัน และการส่งเสริมสุขภาพ โดยบทบาท ความปลอดภยั (3) โอกาสในการพฒั นาความรคู้ วามสามารถ ดังกล่าวส่วนใหญ่เป็นบทบาทของพยาบาลท่ีให้บริการใน (4) ความมน่ั คงและความกา้ วหนา้ ในงาน (5) การบรู ณาการ รพ.สต. ที่ต้องรับมือกับการเปลี่ยนแปลงของโรค รวมทั้ง ทางสงั คม (6) การเคารพสทิ ธสิ ว่ นบุคคล (7) ความสมดุล บริการให้สอดคล้องกับการเปล่ียนแปลงของความเจริญ ระหว่างชีวิตกับการท�างาน และ (8) ความเกี่ยวข้องหรือ กา้ วหนา้ ในภาคตะวนั ออก จงึ ทา� ใหข้ าดขอ้ มลู ในการวางแผน สัมพนั ธท์ างสังคม พัฒนาคุณภาพชีวิตการท�างานของพยาบาลท่ีปฏิบัติงานท่ี รพ.สต. ดงั นนั้ การศกึ ษาปจั จยั ทา� นายคณุ ภาพชวี ติ การทา� งาน แนวคิด Occupational health (National ของพยาบาลวชิ าชพี ใน รพ.สต. ภาคตะวนั ออก นค้ี รอบคลมุ Institute for Occupational Safety and Health, ปัจจัยส่วนบุคคล สภาพการทา� งาน และภาวะการเจ็บป่วย 2012) ได้กล่าวไว้ว่า คุณภาพชีวิตการท�างานที่ดีแสดงถึง ของพยาบาลตามแนวคดิ Occupational health (National การไดร้ บั การสง่ เสรมิ สขุ ภาวะดา้ นรา่ งกาย จติ ใจ และสงั คม Institute for Occupational Safety and Health, 2012) ของคนท�างาน โดยมีปัจจัยท่ีเกี่ยวข้อง 3 ปัจจัย ได้แก่ ผลของการศึกษาจะเป็นแนวทางการพัฒนาคุณภาพชีวิต (1) ปจั จยั สว่ นบคุ คล ซง่ึ เปน็ โอกาสเสยี่ งตอ่ การเกดิ โรคหรอื ความเจบ็ ปว่ ย ซงึ่ ขนึ้ อยกู่ บั ลกั ษณะพนื้ ฐานของแตล่ ะบคุ คล ปVoีทl่ีu2m8eฉบ28ับทN่ีo2. (2เม(A.ยp.r--มJิ.uยn.)) 22506203

88 ปัจจยั ทา� นายคณุ ภาพชีวิตการทา� งานของพยาบาลวชิ าชีพ วารสารคณะพยาบาลศาสตร์ ในโรงพยาบาลสง่ เสริมสุขภาพต�าบล ภาคตะวนั ออก มหาวทิ ยาลยั บรู พา การท�างานทีด่ ีของพยาบาลทปี่ ฏิบตั ิงานท่ี รพ.สต. เพ่อื ให้ กรอบแนวคดิ ในการวจิ ยั สามารถจดั บรกิ ารสุขภาพท่ีมคี ณุ ภาพแก่ประชาชนต่อไป คุณภาพชีวิตการท�างานเป็นความรู้สึกนึกคิดของ วัตถปุ ระสงค์ของการวิจยั บุคคลที่มีตอ่ การท�างาน ประกอบดว้ ย 8 ดา้ น (Walton, 1. เพอื่ ศกึ ษาคณุ ภาพชวี ติ การทา� งานของพยาบาล 1973) จากการทบทวนปัจจัยที่ส่งผลต่อคุณภาพชีวิตการ ท�างานตามแนวคิด Occupational health (National วชิ าชพี ใน รพ.สต. ภาคตะวนั ออก Institute for Occupational Safety and Health, 2012) 2. เพื่อศึกษาปัจจัยด้านสภาพการท�างานของ สรุปปัจจัยท่ีน�ามาศึกษาความสัมพันธ์และท�านายคุณภาพ ชวี ติ การทา� งานของพยาบาลในโรงพยาบาลสง่ เสรมิ สขุ ภาพ พยาบาลวชิ าชพี ใน รพ.สต. ภาคตะวันออก ต�าบล ประกอบด้วย ปัจจัยด้านคนท�างานหรือปัจจัยส่วน 3. เพอื่ ศกึ ษาความสมั พนั ธแ์ ละอา� นาจการทา� นาย บุคคล และปจั จยั ด้านสภาพการทา� งาน สรุปกรอบแนวคิด การวจิ ัย ได้ดังภาพท่ี 1 ของปจั จัยสว่ นบุคคล และปัจจยั ดา้ นสภาพการท�างาน ต่อ คุณภาพชีวิตการท�างานของพยาบาลวิชาชีพ ใน รพ.สต. ภาคตะวันออก ตัวแปรต้น ตวั แปรตาม 1. ปจั จัยส่วนบคุ คล คุณภาพชีวิตการท�างาน 1.1 อายุ ประกอบด้วย 1.2 สถานภาพสมรส - คา่ ตอบแทน 1.3 ระดับการศึกษา - ส่งิ แวดล้อมและความปลอดภยั 1.4 การอบรมเฉพาะทางการพยาบาล - การพัฒนาความรคู้ วามสามารถ 1.5 ประสบการณท์ า� งานใน รพ.สต. - ความมัน่ คงและความก้าวหน้า 1.6 รายได้ - การบูรณาการทางสงั คม 1.7 ภาวะการเจบ็ ป่วย - การเคารพสทิ ธสิ ่วนบคุ คล - ความสมดลุ ระหวา่ งชีวติ กบั การทา� งาน 2. ปจั จยั สภาพการท�างาน - ความเกีย่ วขอ้ งหรอื สัมพนั ธ์ทางสงั คม 2.1 ช่วั โมงการท�างาน 2.2 การนอนหลับพกั ผ่อน 2.3 การปฏิบตั ิงานนอกเวลา 2.4 สัดสว่ นประชากรต่อพยาบาลวิชาชีพ 2.5 ประชากรแฝง 2.6 บุคลากรสขุ ภาพใน รพ.สต. 2.7 การสนับสนุนจากหวั หนา้ งาน 2.8 การสนับสนนุ จากชุมชน ภาพที่ 1 กรอบแนวคดิ ในการวจิ ัย วิธดี า� เนนิ การวจิ ยั ในการวจิ ยั ครง้ั นค้ี อื พยาบาลวชิ าชพี ในโรงพยาบาลสง่ เสรมิ รูปแบบการวิจัย เป็นการศึกษาความสัมพันธ์เชิง สุขภาพต�าบล ภาคตะวันออก ทั้งหมด 7 จังหวัด ได้แก่ จังหวัดชลบุรี จังหวัดระยอง จังหวัดปราจีนบุรี จังหวัด ท�านาย (predictive correlation research) ฉะเชิงเทรา จังหวัดตราด จังหวัดสระแก้ว และจังหวัด ประชากรและกลุ่มตัวอย่าง ประชากรที่ใช้ ปVoีทl่ีu2m8eฉบ28ับทNี่o2. (2เม(A.ยp.r--มJิ.uยn.)) 22506203

Factors Predicting Quality of Work Life Among Professional Nurses The Journal of Faculty of Nursing 89 at Sub-district Health Promotions Hospitals in Eastern Region Burapha University จันทบุรี เป็นพยาบาลวิชาชีพที่ประจ�าในโรงพยาบาล สว่ นที่ 1 ปจั จยั สว่ นบุคคล ไดแ้ ก่ อายุ สถานภาพ สง่ เสรมิ สขุ ภาพตา� บล ทงั้ หมด 706 คน (Region 6 Health สมรส ระดับการศึกษา การอบรมเฉพาะทางสาขา Provider, 2016) การพยาบาลเวชปฏิบัติทั่วไป (การรักษาโรคเบ้ืองต้น) กลุ่มตัวอย่างท่ีใช้ในการวิจัยครั้งน้ีคือ พยาบาล ประสบการณ์ท�างานในโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพต�าบล วชิ าชพี ในโรงพยาบาลสง่ เสรมิ สขุ ภาพตา� บล ภาคตะวนั ออก รายได้ และภาวะสุขภาพ โดยลักษณะของแบบสอบถาม จา� นวน 144 คน ซง่ึ คา� นวณไดจ้ ากสตู ร n = ( )_l__1_-_R_2Y_/ X_ เปน็ ปลายเปดิ และปดิ จ�านวน 9 ขอ้ R2 Y/X สว่ นที่ 2 ปจั จยั ดา้ นสภาพการทา� งาน ประกอบดว้ ย (Cohen, 1988) ส่วนย่อย ได้แก่ จ�านวนช่ัวโมงการท�างาน การนอนหลับ เม่อื n แทน ขนาดตัวอย่าง พักผ่อน การปฏิบตั ิงานนอกเวลา จา� นวนพยาบาลวิชาชพี l แทน คา่ ที่ไดจ้ ากการเปิดตาราง Cohen ใน รพ.สต. จ�านวนประชากรท่ี รพ.สต. รบั ผิดชอบ จา� นวน (1988) โดยพจิ ารณาจากคา่ V = N-u-1, power of test ประชากรแฝง จ�านวนบุคลากรสุขภาพใน รพ.สต. ก�าหนดคา่ .80 กา� หนดค่าระดับนยั สา� คญั (α) ท่ี .05 การสนับสนุนจากหัวหน้างาน การสนับสนุนจากชุมชน เม่ือ N เท่ากับจ�านวนประชากร และ u เท่ากับ โดยลักษณะของแบบสอบถามเป็นแบบปลายเปิดและปิด จ�านวนตวั แปรต้น แทนค่า V = 706-15-1 = 690 จา� นวน 9 ข้อ น�าคา่ V ไปเปดิ ตาราง Cohen (1988) (power = .80, α = .05, V = 690) ไดค้ า่ = 18.8 ส่วนที่ 3 แบบวัดคุณภาพชีวิตการท�างาน ผู้วิจัย ถดถอยRจ2Yา/Xกง=านคว่าิจสัยัมทปี่ผร่าะนสมิทาธท์ิก่ีใากรลท้เ�คานียางยกไับดเ้ขรื่อองงทสมี่ก�กาลาัรง สรา้ งขนึ้ ตามแนวคดิ ของ Walton (1973) เปน็ แบบสอบถาม ศึกษา หากไม่มีอาจพิจารณาค่าสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์ รวมท้ังหมด 46 ข้อ ประกอบด้วย 8 ด้าน ได้แก่ ของตัวแปรหลักที่จะศึกษาจากงานวิจัยที่ผ่านมา แล้ว ด้านค่าตอบแทนที่เป็นธรรมและเพียงพอ จ�านวน 5 ข้อ ยกกา� ลงั สอง ในการศกึ ษาครงั้ นใี้ ช้ R2 = 0.135 จากงานวจิ ยั ด้านสุขลักษณะและความปลอดภัยของสิ่งแวดล้อม เร่ืองคุณภาพชีวิตของพยาบาลวิชาชีพโรงพยาบาลชุมชน ในที่ท�างาน จา� นวน 10 ข้อ ดา้ นการพัฒนาความสามารถ เขตพื้นที่ 1 จังหวัดนครศรีธรรมราช (Kangsanan & ของบคุ คล จา� นวน 5 ขอ้ ดา้ นความกา้ วหนา้ และความมน่ั คง Klinhom, 2017) ในงาน จ�านวน 7 ข้อ ด้านการบูรณาการด้านสังคมและ การไดม้ าซงึ่ กลมุ่ ตวั อยา่ ง ทา� การสมุ่ ตวั อยา่ งแบบ การท�างานรว่ มกนั จ�านวน 4 ขอ้ ดา้ นธรรมนูญในองคก์ าร หลายข้ันตอน (multi-stage random sampling) โดย หรอื สทิ ธสิ ว่ นบคุ คล จา� นวน 4 ขอ้ ดา้ นความสมดลุ ของชวี ติ ดา� เนนิ การ ดังน้ี งานโดยรวม จ�านวน 6 ขอ้ และดา้ นการเกี่ยวขอ้ งระหว่าง ข้ันท่ี 1 การสุ่มตัวอย่างแบบแบ่งช้ัน (stratified งานกบั สงั คม จา� นวน 5 ขอ้ มลี กั ษณะเปน็ มาตรประมาณคา่ random sampling) โดยค�านวณขนาดตัวอย่างตาม 5 ระดับ (1-5) ได้แก่ พึงพอใจน้อยท่ีสุด พึงพอใจน้อย สดั สว่ นประชากรของทง้ั 7 จงั หวัด พึงพอใจปานกลาง พึงพอใจมาก และพึงพอใจมากที่สุด ขั้นท่ี 2 การสุ่มตัวอย่างแบบกลุ่ม (cluster ตามล�าดับ คะแนนรวมท่ีมากกว่า แสดงว่ามีคุณภาพชีวิต random sampling) โดยการจับฉลากรายช่ืออ�าเภอ การท�างานสูงกว่า โดยให้ความหมายเพื่อการพรรณนา 1 ใน 4 ของอ�าเภอท้ังหมดแต่ละจังหวัด และเก็บข้อมูล ข้อมูลดังนี้ 4.51-5.00 หมายถึง คุณภาพชีวิตการท�างาน พยาบาลวิชาชีพทุกคน ในทุกต�าบลที่ท�าการสุ่มตัวอย่าง อยใู่ นระดบั สงู มาก 3.51-4.50 หมายถงึ ระดบั สงู 2.51-3.50 อ�าเภอของแต่ละจงั หวัดได้ หมายถึง ระดับปานกลาง 1.51-2.50 หมายถึง ระดับต่�า เครอื่ งมอื ทใี่ ชใ้ นการวจิ ยั เปน็ แบบสอบถามทผ่ี วู้ จิ ยั และ 1.00-1.50 หมายถึง ระดับตา่� มาก สรา้ งขน้ึ จากการทบทวนวรรณกรรม และงานวจิ ยั ทเี่ กยี่ วขอ้ ง ประกอบดว้ ย 3 สว่ น ดังน้ี การตรวจสอบคุณภาพเครื่องมือวิจัย โดย (1) น�าแบบสอบถามที่ได้ให้ผู้ทรงคุณวุฒิ จ�านวน 5 ท่าน ซงึ่ ประกอบดว้ ย อาจารยพ์ ยาบาลเวชปฏบิ ตั ชิ มุ ชน จา� นวน 2 ทา่ น อาจารยผ์ เู้ ชยี่ วชาญดา้ นอาชวี อนามยั จา� นวน 2 ทา่ น Vปoีทlี่u2m8eฉบ28ับทN่ีo2. (2เม(A.ยp.r--มJิ.uยn.)) 22506203

90 ปจั จัยท�านายคณุ ภาพชีวติ การท�างานของพยาบาลวิชาชพี วารสารคณะพยาบาลศาสตร์ ในโรงพยาบาลสง่ เสรมิ สุขภาพต�าบล ภาคตะวันออก มหาวทิ ยาลยั บรู พา และพยาบาลวิชาชีพที่ปฏิบัติงานในโรงพยาบาลส่งเสริม สาธารณสุขจังหวัดแล้ว ผู้วิจัยประสานงานกับเจ้าหน้าท่ี สขุ ภาพตา� บล จา� นวน 1 ท่าน เพือ่ ตรวจสอบความถกู ต้อง สาธารณสุขจังหวัดท่ีเป็นผู้ประสานงานกับกลุ่มตัวอย่าง ทางภาษา เนอื้ หา และโครงสรา้ งของแบบสอบถาม นา� มา โดยน�าหนังสือจากคณะกรรมการพิจารณาจริยธรรม ปรับแก้ไขและค�านวณค่าดัชนีความตรงตามเน้ือหา การวจิ ยั ระดบั บณั ฑติ ศกึ ษา เอกสารชแ้ี จงผเู้ ขา้ รว่ มการวจิ ยั (Content validity index [CVI]) ของแบบวดั คณุ ภาพชวี ติ (แนบคิวอาร์โค้ดเพ่ือสแกนตอบแบบสอบถาม) แบบ การท�างาน ค่า CVI = .80 ต่อจากนั้น (2) นา� ไปทดลองใช้ สอบถาม (ต้นฉบับ) และหนังสือให้ความอนุเคราะห์ (Try out) กบั พยาบาลวชิ าชพี ในโรงพยาบาลสง่ เสรมิ สขุ ภาพ เก็บข้อมูลโดยส�าเนาเรียนหนังสือไปยังสาธารณสุขอ�าเภอ ต�าบลทม่ี ีลกั ษณะคลา้ ยคลึงกบั กล่มุ ตวั อย่าง ที่ รพ.สต. ใน ที่เป็นกลุ่มตัวอย่าง เพื่อน�าแจ้งในการประชุมประจ�าเดือน อา� เภอบางนา้� เปรย้ี ว จงั หวดั ฉะเชงิ เทรา จา� นวน 30 คน ดว้ ย ของกล่มุ ตวั อยา่ งในแตล่ ะอา� เภอ เพือ่ ขอความร่วมมอื ตอบ วธิ กี ารเกบ็ ขอ้ มลู แบบเดยี วกบั ทใี่ ชเ้ กบ็ ขอ้ มลู จรงิ เพอื่ ทดสอบ แบบสอบถามโดยสแกนควิ อารโ์ ค้ด ผ้วู ิจัยรอการตอบกลบั ความเข้าใจในภาษาท่ีใช้ วิธีการตอบค�าถาม ตรวจสอบ ผ่านระบบออนไลน์ของผู้ตอบแบบสอบถามประมาณ ความชดั เจนของขอ้ คา� ถาม (Objectivity) และความสะดวก 1 เดือน เม่ือได้รับการตอบกลับจากผู้ตอบแบบสอบถาม ในการน�าเคร่ืองมือไปใช้โดยพิจารณาจากค�าตอบ และ ตามทีก่ �าหนดขนาดของกลุม่ ตัวอย่าง และมีความครบถว้ น การตอบของกลุ่มตัวอย่าง แล้วน�าข้อมูลมาวิเคราะห์ สมบูรณ์ของแบบสอบถาม น�ามาวิเคราะห์ข้อมูลจ�านวน ความเช่ือมั่น (Reliability) ของแบบวัดคุณภาพชีวิตการ 145 คน จากท่คี �านวณ 144 คน ท�างาน ด้วยการหาค่าสัมประสิทธิ์แอลฟาของครอนบาค (Cronbach’s alpha coefficient) ได้คา่ เท่ากับ .97 วิเคราะห์ข้อมูล โดยใช้โปรแกรมคอมพิวเตอร์ สา� เรจ็ รูป กา� หนดนัยสา� คญั ทางสถติ ทิ รี่ ะดบั .05 ดว้ ยสถิติ การพิทักษ์สิทธิกลุ่มตัวอย่าง ผู้วิจัยค�านึงถึงสิทธ์ิ ดงั นี้ ของกลุ่มตัวอย่าง โดยน�าเสนอเค้าโครงวิทยานิพนธ์ และ เคร่ืองมือท่ีใช้ในการวิจัยคร้ังน้ีต่อคณะกรรมการพิจารณา 1. พรรณนาข้อมูลปัจจัยส่วนบุคคล สภาพ จรยิ ธรรมการวจิ ยั ระดบั บณั ฑติ ศกึ ษา คณะพยาบาลศาสตร์ การท�างาน และคุณภาพชีวิตการท�างาน โดยใช้สถิติเชิง มหาวิทยาลัยบูรพา เลขที่การรับรอง 01-02-2562 ก่อน พรรณนา (descriptive statistics) ได้แก่ ค่าความถี่ การด�าเนินการวิจัย ได้จัดท�าเอกสารแนะน�าตัว อธิบาย (frequency) ร้อยละ (percentage) ค่าเฉล่ีย (mean) วัตถุประสงค์ ช้ีแจงให้ทราบถึงสิทธ์ิของผู้เข้าร่วมวิจัย สว่ นเบี่ยงเบนมาตรฐาน (standard deviation) ค่าสูงสุด ในการตอบรับหรือปฏิเสธการวิจัยคร้ังน้ี และข้อมูลท่ีได้ (maximum) และคา่ ต�่าสดุ (minimum) ถือเป็นความลับ ซึ่งในการรวบรวมข้อมูลจะไม่ระบุช่ือ หรอื ทอี่ ยู่ ผลการวจิ ยั จะนา� เสนอในภาพรวม ไมไ่ ดว้ เิ คราะห์ 2. หาความสัมพันธ์และอ�านาจท�านายของ แยกตาม รพ.สต. จงึ ไมไ่ ด้มีการลงนามเอกสารยนิ ยอมรว่ ม คุณภาพชีวิตการท�างาน โดยใช้การวิเคราะห์สถิติถดถอย การวิจัย เป็นการยินยอมโดยการกระท�า (consent by พหุคูณแบบขั้นตอน (stepwise multiple regression) action) ข้อมูลท้ังหมดจะถูกท�าลายภายหลังผลการวิจัย ไดร้ ับการเผยแพร่ 1 ปี 3. ทดสอบขอ้ ตกลงเบือ้ งตน้ (assumption) ของ การวเิ คราะหถ์ ดถอยพหคุ ณู โดย (3.1) ทดสอบการแจกแจง การเกบ็ รวบรวมขอ้ มลู ผวู้ จิ ยั ดา� เนนิ การเกบ็ ขอ้ มลู แบบโค้งปกติ (normal distribution) พบว่า ตัวแปร เมอื่ ไดร้ บั การรบั รองจากคณะกรรมการพจิ ารณาจรยิ ธรรม การปฏิบตั ิงานนอกเวลา และจ�านวนประชากรแฝง มีการ การวิจัยระดับบัณฑิตศึกษา คณะพยาบาลศาสตร์ แจกแจงแบบไมป่ กติ จึงไมไ่ ดน้ า� มาวิเคราะห์ (3.2) ทดสอบ มหาวิทยาลัยบูรพาแล้ว โดยท�าหนังสือจากคณะ ความสัมพันธ์ร่วมเส้นตรง (multicollinearity) ด้วยการ พยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา ถึงนายแพทย์ ทดสอบค่า VIF, tolerance, autocorrelation และ สาธารณสุขจังหวัดทั้ง 7 จังหวัด เพื่อขอความร่วมมือ ค่าสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์ของเพียร์สัน พบว่า อายุกับ จัดเก็บข้อมูลในการวิจัยเมื่อได้รับอนุญาตจากนายแพทย์ ประสบการณ์ และอายุกับรายได้มีความสัมพันธ์ร่วมเส้น ตรงกนั (r = .86 และ .82 ตามล�าดับ) (Gorson, 2008) จงึ ไมน่ �าประสบการณ์และรายไดม้ าวิเคราะห์ถดถอยพหคุ ณู Vปoีทlี่u2m8eฉบ28ับทN่ีo2. (2เม(A.ยp.r--มJิ.uยn.)) 22506203

Factors Predicting Quality of Work Life Among Professional Nurses The Journal of Faculty of Nursing 91 at Sub-district Health Promotions Hospitals in Eastern Region Burapha University ผลการวิจยั เฉลี่ย 3,418.68 คน (SD = 1,368.16, Min = 650, 1. ปัจจัยส่วนบคุ คลของกลุ่มตัวอย่าง Max = 6,800) โดยมีจ�านวนประชากรแฝงในพ้ืนที่เฉลี่ย 1.1 ปจั จยั สว่ นบคุ คลทวั่ ไป พบวา่ กลมุ่ ตวั อยา่ ง 525.34 คน (SD = 677.51, Min = 30, Max = 3,000) และมจี า� นวนบคุ ลากรสุขภาพใน รพ.สต. เฉล่ยี 4.24 คน มีอายุเฉลย่ี 38.61 ปี (SD = 7.15 ปี) มีสถานภาพสมรสคู่ (SD = 1.18, Min = 1, Max = 6) ได้รบั การสนบั สนุนจาก คดิ เปน็ ร้อยละ 49.70 รองลงมามีสถานภาพสมรสโสด คดิ หัวหน้างาน ไปประชุมวิชาการ/การฝึกทักษะในรอบปีที่ เปน็ รอ้ ยละ 43.40 สว่ นใหญศ่ กึ ษาระดบั ปรญิ ญาตรี คดิ เปน็ ผ่านมาเฉล่ีย 5.06 คร้ัง (SD = 3.21, Min = 0, Max = 15) รอ้ ยละ 85.50 และไดร้ บั การอบรมเฉพาะทางการพยาบาล และการสนับสนนุ จากชุมชน สนบั สนนุ งบประมาณดา� เนนิ เวชปฏิบัติท่ัวไป (การรักษาโรคเบื้องต้น) คิดเป็นร้อยละ โครงการในรอบปีท่ีผ่านมาเฉล่ีย 4.28 โครงการ (SD = 83.40 มีประสบการณ์ทา� งานใน รพ.สต. เฉล่ยี 10.19 ปี 2.22, Min = 0, Max = 10) (SD = 6.40 ป)ี รายไดต้ อ่ เดอื นเฉลยี่ เทา่ กบั 33,602.28 บาท (SD = 8,839.00 บาท) 3. คุณภาพชีวิตการท�างานของพยาบาลวิชาชีพ พบว่า กลุ่มตัวอย่างมีคุณภาพชีวิตการท�างานอยู่ในระดับ 1.2 ภาวะการเจ็บป่วย พบว่า กลุ่มตัวอย่าง ปานกลางคอ่ นขา้ งสงู (M = 3.50, SD = 0.56) เมอ่ื พจิ ารณา มีโรคประจ�าตัว คือ โรคความดันโลหิตสูง คิดเป็นร้อยละ คณุ ภาพชีวติ การทา� งานรายดา้ น พบวา่ ด้านทอี่ ย่ใู นระดบั 9.00 มีโรคที่อาจเกิดจากการท�างานหรืออาจเก่ียวข้อง ปานกลาง ไดแ้ ก่ ด้านคา่ ตอบแทน (M = 2.81, SD = 0.70) จากการทา� งาน คอื ไวรสั ตับอกั เสบบี คดิ เปน็ ร้อยละ 2.80 ดา้ นสง่ิ แวดลอ้ มและความปลอดภยั (M = 3.42, SD = 0.66) อาการผิดปกติท่ีอาจเกิดจากการท�างานหรือเกี่ยวข้องจาก ดา้ นการพฒั นาความรคู้ วามสามารถ (M = 3.42, SD = 0.86) การทา� งาน คอื ความเครยี ด คดิ เปน็ รอ้ ยละ 23.40 โดยรวม และดา้ นความสมดลุ ระหวา่ งชวี ติ กบั การทา� งาน (M = 3.45, แล้วมีภาวะการเจบ็ ปว่ ย คดิ เปน็ รอ้ ยละ 65.50 SD = 0.74) สว่ นดา้ นทอี่ ยใู่ นระดบั สงู ไดแ้ ก่ ดา้ นความมน่ั คง และความก้าวหน้า (M = 3.62, SD = 0.66) ด้านการ 2. ปจั จยั ดา้ นสภาพการทา� งาน พบวา่ กลมุ่ ตวั อยา่ ง บรู ณาการทางสงั คม (M = 3.74, SD = 0.62) ดา้ นการเคารพ ท�างานเฉล่ีย 51.50 ชั่วโมงต่อสัปดาห์ (SD = 9.55, สิทธิส่วนบุคคล (M = 3.90, SD = 0.82) และด้าน Min = 35, Max = 72) มีเวลานอนหลบั พักผ่อนเฉลีย่ 6.34 ความเกย่ี วขอ้ งหรอื สมั พนั ธท์ างสงั คม (M = 3.86, SD = 0.69) ช่วั โมงตอ่ วัน (SD = 0.94, Min = 3, Max = 8) ตอ้ งทา� งาน ดงั รายละเอียดในตารางที่ 1 นอกเวลาราชการเฉลย่ี 2.45 ชว่ั โมงตอ่ สปั ดาห์ (SD = 1.30, Min = 1, Max = 6) มสี ดั สว่ นประชากรตอ่ พยาบาลวชิ าชพี ตารางที่ 1 คา่ เฉลย่ี (mean) ส่วนเบ่ียงเบนมาตรฐาน (SD) และการแปลผลระดบั คุณภาพชีวติ การท�างานของพยาบาล วิชาชีพ (n = 145 คน) คุณภาพชีวิตการทา� งาน M SD ระดับ ดา้ นคา่ ตอบแทน 2.81 0.70 ปานกลาง ด้านสงิ่ แวดล้อมและความปลอดภัย 3.42 0.66 ปานกลาง ด้านการพัฒนาความรคู้ วามสามารถ 3.42 0.86 ปานกลาง ด้านความมน่ั คงและกา้ วหนา้ 3.62 0.66 สงู ดา้ นการบรู ณาการทางสงั คม 3.74 0.62 สูง ด้านการเคารพสทิ ธิสว่ นบุคคล 3.90 0.82 สูง ดา้ นความสมดุลระหวา่ งชวี ิตกับการทา� งาน 3.45 0.74 ปานกลาง ด้านเกยี่ วขอ้ งหรอื สัมพันธ์ทางสังคม 3.86 0.69 สงู คา่ เฉล่ยี รวมทั้ง 8 ดา้ น 3.50 0.56 ปานกลาง หมายเหตุ คา่ เฉล่ยี ท่ีเป็นไปไดอ้ ย่รู ะหวา่ ง 1.00-5.00 Vปoีทlี่u2m8eฉบ28ับทN่ีo2. (2เม(A.ยp.r--มJิ.uยn.)) 22506203

92 ปจั จยั ทา� นายคณุ ภาพชวี ิตการท�างานของพยาบาลวชิ าชพี วารสารคณะพยาบาลศาสตร์ ในโรงพยาบาลสง่ เสรมิ สขุ ภาพต�าบล ภาคตะวนั ออก มหาวทิ ยาลยั บูรพา 4. ความสมั พนั ธแ์ ละอา� นาจการทา� นายของปจั จยั ท�านายคุณภาพชีวิตการท�างานร้อยละ 28.8 โดยปัจจัย ส่วนบุคคล และปัจจัยสภาพการท�างานต่อคุณภาพชีวิต ภาวะการเจ็บป่วยมีอิทธิพลท�านายมากที่สุด (b = -.44) การท�างานของพยาบาลวิชาชีพ โดยใช้การวิเคราะห์สถิติ รองลงมา คอื การสนบั สนนุ จากหวั หนา้ งาน (b = .30) และ ถดถอยพหุคูณแบบขั้นตอน (stepwise multiple สุดท้าย คือ การสนับสนุนจากชุมชน (b = .28) ดัง regression) พบว่า ภาวะการเจบ็ ป่วย การสนับสนนุ จาก รายละเอยี ดในตารางท่ี 2 หวั หนา้ งาน และการสนับสนุนจากชุมชน สามารถรว่ มกนั ตารางท่ี 2 คา่ สัมประสทิ ธิ์ถดถอยของปัจจยั ทท่ี �านายคุณภาพชีวติ การทา� งาน (QOWL) ของพยาบาลวชิ าชีพ ปัจจัยทา� นาย b SE Bata t p ภาวะการเจบ็ ปว่ ย (Sickness) -.52 .07 -.44 -6.05 < .001 การสนับสนนุ จากหัวหน้างาน (Train) .05 .01 .30 4.32 < .001 การสนับสนนุ จากชุมชน (Comsupp) .42 .11 .28 3.85 < .001 คา่ คงท่ี (a) 3.21 .12 - 26.68 < .001 R = .54, R2 = .288, R2 = .30, F = 14.83, p < .001, n = 145 adjusted สมการ: QOWL = 3.21 - 0.52 (Sickness) + 0.05 (Train) + 0.42 (Comsupp) อภปิ รายผลการวิจยั รอ้ ยละ 78.00 แตเ่ นอื่ งจากพยาบาลวชิ าชพี ในโรงพยาบาล ผลการศกึ ษามปี ระเดน็ สา� คญั ทน่ี า� มาอภปิ ราย ดงั น้ี ทว่ั ไป ตอ้ งขน้ึ เวรเวลากลางคนื ใหบ้ รกิ ารในผปู้ ว่ ยทมี่ อี าการ คุณภาพชีวิตการท�างานของพยาบาลวิชาชีพใน หนักกว่า และเส่ยี งตอ่ การเกดิ โรคจากการท�างาน คณุ ภาพ ชีวิตการทา� งานของพยาบาลจงึ อยใู่ นระดับปานกลาง รพ.สต. ภาคตะวันออก อยู่ในระดับปานกลางค่อนข้างสูง (M = 3.50, SD = 0.56) ทงั้ น้เี พราะบริบทการท�างานของ ปัจจัยท่ีมีความสัมพันธ์และร่วมกันท�านาย พยาบาลวชิ าชพี ใน รพ.สต. ตอ้ งทา� งานเชงิ รุก และเชิงรับ คุณภาพชีวิตการท�างานของพยาบาลวิชาชีพใน รพ.สต. เพ่ือให้ประชาชนสามารถเข้าถึงบริการได้อย่างสะดวก ภาคตะวันออก คอื ภาวะการเจ็บป่วย การสนับสนุนจาก โดยเฉพาะพยาบาลวิชาชีพที่ปฏิบัติงานในภาคตะวันออก หวั หนา้ งาน และการสนบั สนุนจากชุมชน สามารถร่วมกนั ที่มีความเจริญก้าวหน้าแบบก้าวกระโดด วิถีชีวิตของ ทา� นายคุณภาพชีวติ การท�างาน อภิปรายดังนี้ ประชาชนได้รับผลกระทบจากการเติบโตของภาค อตุ สาหกรรม ทา� ใหส้ ขุ ภาพรา่ งกายเกดิ การเจบ็ ปว่ ยดว้ ยโรค ภาวะการเจ็บป่วย เป็นปัจจัยท่ีมีความสัมพันธ์กับ ตา่ ง ๆ มากขนึ้ พยาบาลวชิ าชพี จงึ มบี ทบาทสา� คญั ในการดแู ล คุณภาพชีวิตการท�างานของพยาบาลวิชาชีพ อธิบายได้ว่า สุขภาพแกป่ ระชาชนจ�านวนมาก จึงทา� ให้พยาบาลวชิ าชีพ เม่ือมีการเจ็บป่วยส่งผลให้คุณภาพชีวิตการท�างานอยู่ใน ใน รพ.สต. ภาคตะวันออก ได้รับการยอมรับจากสังคม ระดับต่�า สอดคล้องกับการศึกษาของ Opastiragul, ในระดับสูง มีอิสระในการตัดสินใจในการปฏิบัติหน้าท่ี Chanprasit and Kaewthummanukul (2015) ท่ีพบว่า การงาน จึงท�าให้พยาบาลวิชาชีพท่ีปฏิบัติงานใน รพ.สต. ภาวะสุขภาพตามความเส่ยี งในส่วนของการเจบ็ ป่วยทีอ่ าจ ภาคตะวันออก มีคุณภาพชีวิตการท�างานระดับปานกลาง เกี่ยวเน่ืองจากงานของพยาบาลวิชาชีพ ในโรงพยาบาล ค่อนข้างสูง (Pongnaphatrasakun, 2013) ซึ่งต่างกัน มหาราชนครเชียงใหม่ ส่งผลต่อประสิทธิภาพการท�างาน กับการศึกษาคุณภาพชีวิตการท�างานของพยาบาลวิชาชีพ เน่ืองจากภาวะการเจ็บป่วยดังกล่าวท�าให้พยาบาลต้อง ในโรงพยาบาลทั่วไปของ Laohawatanapinyo, Suriyo, หยดุ งานชวั่ คราวเพอ่ื รกั ษารา่ งกาย หรอื ตอ้ งลาออกจากงาน Limpisil & Yimsrual (2009) ท่ีพบวา่ คุณภาพชวี ิตของ เนอื่ งจากรา่ งกายไมส่ ามารถปฏบิ ตั หิ นา้ ทไ่ี ดอ้ ยา่ งเตม็ ความ พยาบาลวิชาชีพในภาพรวมอยู่ในระดับปานกลาง คิดเป็น สามารถ ประสิทธภิ าพการทา� งานลดลง สง่ ผลต่อคณุ ภาพ ชีวิตการทา� งานของพยาบาลวิชาชีพลดลง Vปoีทlี่u2m8eฉบ28ับทN่ีo2. (2เม(A.ยp.r--มJิ.uยn.)) 22506203

Factors Predicting Quality of Work Life Among Professional Nurses The Journal of Faculty of Nursing 93 at Sub-district Health Promotions Hospitals in Eastern Region Burapha University การสนับสนนุ จากหัวหนา้ งาน เป็นปจั จยั ท่ีมีความ ท่ีมีอายุน้อย เนื่องจากท่ีบุคคลที่มีอายุมากขึ้นต�าแหน่ง สัมพันธ์กับคุณภาพชีวิตการท�างานของพยาบาลวิชาชีพ หนา้ ทกี่ ารงานมกั สงู ขนึ้ ตามไปดว้ ย จงึ มแี นวโนม้ ทจ่ี ะพอใจ อาจเนอื่ งจากกลมุ่ ตวั อยา่ งทไี่ ดร้ บั โอกาสจากหวั หนา้ งานให้ ในงานมากข้นึ ไปรว่ มประชมุ วชิ าการ ฝกึ ทกั ษะตา่ ง ๆ ทา� ใหม้ คี วามชา� นาญ ในงานท่ไี ด้รับมอบหมาย มีอิสระในการควบคมุ งานได้ด้วย สถานภาพสมรสไมม่ คี วามสมั พนั ธก์ บั คณุ ภาพชวี ติ ตนเอง สามารถปฏบิ ตั ิงานได้ซบั ซอ้ นมากข้ึน รวมถึงไดร้ บั การทา� งานของพยาบาลวชิ าชพี ใน รพ.สต. ภาคตะวนั ออก ความรใู้ หม่ ๆ ในการพฒั นากระบวนการและแนวทางตา่ ง ๆ ทั้งนี้เพราะกลุ่มตัวอย่างท่ีมีสถานภาพสมรสโสดจะมีอิสระ ในการทา� งาน เพอื่ ใหไ้ ดผ้ ลลพั ธท์ ด่ี ขี นึ้ สง่ ผลตอ่ คณุ ภาพชวี ติ ในการตดั สนิ ใจปฏบิ ตั งิ านตามทต่ี นตอ้ งการหรอื การเปลย่ี น ในการทา� งาน (Pongnaphatrasakun, 2013) สอดคลอ้ ง งาน ในขณะเดียวกันกลุ่มตัวอยา่ งท่ีมสี ถานภาพสมรสค่จู ะ กับการศึกษาของ Domklang & Ratchukul (2008) ไดร้ ับการสนบั สนุนจากค่สู มรส ท�าใหม้ ีทีร่ ะบายความรสู้ ึก ทพี่ บวา่ การสนบั สนนุ และใหโ้ อกาสแกผ่ ปู้ ฏบิ ตั งิ านใหไ้ ดร้ บั คบั ขอ้ งใจในการทา� งาน มผี เู้ ขา้ ใจ ใหก้ า� ลงั ใจ ชว่ ยเหลอื แกไ้ ข การอบรม เพอ่ื เพมิ่ ความรพู้ ฒั นาความสามารถในการทา� งาน ปัญหาหรือให้ค�าปรึกษาแนะน�าแนวทางการแก้ปัญหา ส่งผลต่อคุณภาพชวี ติ การทา� งานของพยาบาลวชิ าชีพดีขน้ึ การท�างาน ส่งผลต่อคุณภาพชีวิตการท�างาน สถานภาพ สมรสจึงไม่มีความสัมพันธ์กับคุณภาพชีวิตการท�างานของ การสนบั สนนุ จากชมุ ชน เปน็ ปจั จยั ทม่ี คี วามสมั พนั ธ์ พยาบาลวิชาชพี กับคุณภาพชีวิตการท�างานของพยาบาลวิชาชีพ อาจ เนอ่ื งจากกลมุ่ ตวั อยา่ งไดร้ บั การยอมรบั และการรว่ มมอื จาก ระดบั การศกึ ษาและการอบรมเฉพาะทางการพยาบาล ชุมชน แสดงถึงชุมชนมีส่วนร่วม โดยเป็นหุ้นส่วนเจ้าของ ไม่มีความสัมพันธ์กับคุณภาพชีวิตการท�างานของพยาบาล โครงการสุขภาพต่าง ๆ เกิดเป็นภาคีเครือข่ายขับเคล่ือน วิชาชพี อาจเน่ืองจากกลุ่มตัวอยา่ งมรี ะดบั การศึกษาระดบั สุขภาพ น�าไปสู่การพัฒนาคุณภาพชีวิตท่ีดีแบบย่ังยืนด้วย ปริญญาตรีเป็นส่วนใหญ่ และได้รับการอบรมเฉพาะทาง พลงั ของชุมชน (International association for Public สาขาการพยาบาลเวชปฏบิ ตั ทิ วั่ ไป (การรกั ษาโรคเบอ้ื งตน้ ) Participation, 2012) ทา� ใหก้ ารทา� งานของพยาบาลวชิ าชพี 4 เดือน ซ่ึงพยาบาลวิชาชีพมีพ้ืนฐานความรู้การพยาบาล บรรลเุ ปา้ หมาย เกดิ ความภาคภมู ใิ จและมคี วามพงึ พอใจใน ความรู้การรักษาโรคเบื้องต้น จึงสามารถปฏิบัติงานใน การทา� งาน ส่งผลตอ่ คณุ ภาพชวี ติ การท�างานของพยาบาล รพ.สต. ไดเ้ ชน่ เดยี วกนั กบั พยาบาลวชิ าชพี ทไี่ ดร้ บั การศกึ ษา วชิ าชพี สอดคลอ้ งกบั การศกึ ษาของ Nantsupawat et al. สูงกว่าปริญญาตรี หรือพยาบาลท่ีได้รับการอบรมเฉพาะ (2012) ทพี่ บวา่ การจดั การปญั หาของชมุ ชนโดยชมุ ชน ดว้ ย ทางการพยาบาลเวชปฏิบัติทั่วไป ดังน้ันระดับการศึกษา การมีส่วนรว่ มของทุกภาคส่วนไดแ้ ก่ โรงเรียน วดั องคก์ าร และการอบรมเฉพาะทางการพยาบาล จงึ ไมม่ คี วามสมั พนั ธ์ บรหิ ารสว่ นทอ้ งถนิ่ ผนู้ า� ชมุ ชน รพ.สต. ทบทวนความเขา้ ใจ กบั คุณภาพชวี ติ การทา� งานของพยาบาลวิชาชพี ซึ่งต่างกบั ต่อเหตกุ ารณแ์ ละปัญหาต่าง ๆ และก�าหนดบทบาทหน้าท่ี การศึกษาของ Laohawatanapinyo et al. (2009) วิธีการ แนวทาง ตลอดจนปัจจัยด้านงบประมาณในการ ท่ีพบว่า ระดับการศึกษาสูงกว่าปริญญาตรีมีคุณภาพชีวิต จัดการปัญหาร่วมกัน ท�าให้งานของพยาบาลการแก้ไข การทา� งานทด่ี กี วา่ แสดงถงึ การทพ่ี ยาบาลโรงพยาบาลทวั่ ไป ปญั หาของชมุ ชนบรรลเุ ปา้ หมายตามนโนบายทต่ี งั้ ไว้ สง่ ผล ได้รับการสนับสนุนให้มีการศึกษาในระดับที่สูง จะท�าให้ ตอ่ คณุ ภาพชีวติ การท�างานของพยาบาลวชิ าชีพ ได้รับโอกาสเลื่อนขั้นเล่ือนต�าแหน่งในระดับสูงขึ้น ท�าให้ พยาบาลวชิ าชพี มีความพึงพอใจในการทา� งานสูงข้ึนด้วย ป ั จ จั ย ที่ ไ ม ่ มี ค ว า ม สั ม พั น ธ ์ กั บ คุ ณ ภ า พ ชี วิ ต การท�างานของพยาบาลวิชาชีพใน รพ.สต. ภาคตะวันออก จา� นวนชว่ั โมงการทา� งาน จา� นวนชว่ั โมงการนอนหลบั จ�านวน 8 ปัจจัย ได้แก่ อายุ ซึ่งต่างกับการศึกษาของ พักผ่อน สัดส่วนประชากรต่อพยาบาลวิชาชีพและจ�านวน Laohawatanapinyo et al. (2009) ทพ่ี บว่า อายุ มคี วาม บคุ ลากรสขุ ภาพใน รพ.สต. ไม่มีความสมั พนั ธ์กบั คุณภาพ สัมพันธก์ ับคุณภาพชีวติ การท�างาน โดยพยาบาลวชิ าชพี ท่ี ชีวิตการท�างานของพยาบาลวิชาชีพ อาจเนื่องจาก มอี ายมุ ากกวา่ จะมคี ณุ ภาพชวี ติ การทา� งานทดี่ กี วา่ พยาบาล กลมุ่ ตวั อยา่ งมลี กั ษณะการทา� งานตา่ งจากพยาบาลวชิ าชพี ในโรงพยาบาลทั่วไป โดยไม่ต้องข้ึนเวรผลัดเปลี่ยน Vปoีทl่ีu2m8eฉบ28ับทN่ีo2. (2เม(A.ยp.r--มJิ.uยn.)) 22506203

94 ปัจจัยท�านายคุณภาพชวี ิตการทา� งานของพยาบาลวิชาชพี วารสารคณะพยาบาลศาสตร์ ในโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพต�าบล ภาคตะวันออก มหาวิทยาลยั บรู พา หมุนเวียนเช้าบ่ายดึก ถึงแม้จะมีการปฏิบัติงานนอกเวลา การพฒั นาเครือข่ายการทา� งานร่วมกับองคก์ รในชุมชน ราชการบา้ ง ตอ้ งเขา้ เวรบางวนั ตอ่ สปั ดาหแ์ ตก่ อ็ าจจะมเี วลา พกั ผอ่ นระหวา่ งปฏิบัติงาน ซ่ึงแตกต่างกับพยาบาลวิชาชพี กติ ตกิ รรมประกาศ ในโรงพยาบาลท่ัว ๆ ไป ที่ต้องปฏิบัติหน้าท่ีดูแลผู้ป่วย ผู้วิจัยขอขอบพระคุณผู้ทรงคุณวุฒิ นายแพทย์ อาการหนักตลอดเวลาระหว่างปฏิบัติงาน แต่เน่ืองจาก ภาคตะวนั ออกเปน็ เขตอตุ สาหกรรม มปี ระชากรทมี่ าทา� งาน สาธารณสุขจังหวัดและเจ้าหน้าท่ีสาธารณสุขจังหวัดทั้ง ในภาคนี้เป็นจ�านวนมาก ซึ่งพยาบาลวิชาชีพที่ปฏิบัติงาน 7 จงั หวดั ท่ใี ห้ความอนเุ คราะห์ในการด�าเนนิ งานวิจยั และ ใน รพ.สต. มบี ทบาทความรบั ผดิ ชอบในการดแู ลประชาชน ขอขอบคุณกลุ่มตัวอย่างทุกท่านที่ให้ความร่วมมือในการ ทมี่ ภี าวะสขุ ภาพต่าง ๆ กนั ตั้งแต่สุขภาพดี ไปถึงสุขภาพท่ี ตอบแบบสอบถาม ป่วยหนักในระยะสุดท้ายของชีวิต การปฏิบัติงานจึงต้อง สมั ผสั กบั ภาระงานทเี่ บาและหนกั สลบั กนั ไป ดงั นนั้ จา� นวน References ชั่วโมงการท�างาน จ�านวนการนอนหลับพักผ่อน และ Cohen, J. (1988). Statistical power analysis for สดั สว่ นของประชากรจงึ ไมม่ ผี ลตอ่ คณุ ภาพชวี ติ การทา� งาน ของพยาบาลใน รพ.สต. the behavior sciences (2nd ed.). Hillsdale HJ: Lawrence Erlbaum. สรปุ และข้อเสนอแนะ Domklang, N., & Ratchukul, S. (2008). The desirable 1. ควรน�าสมการท่ีได้ไปใช้ท�านายคุณภาพชีวิต roles of head nurse, regional hospitals in the next decade (B.E. 2551-2560). การท�างานของพยาบาลใน รพ.สต. ต่าง ๆ เพ่ือก�าหนด Journal of Nursing Science Chulalongkorn แนวทางในการพฒั นาคณุ ภาพชวี ติ การทา� งานและคณุ ภาพ University, 20(3), 16-28. [In Thai] ของงานบรกิ ารพยาบาลตอ่ ไป Garson, D.G. (2008). Statnotes: Topics in Multivariate Analysis. Retrieved from: http:// 2. พยาบาลวชิ าชพี มภี าวะการเจบ็ ปว่ ยจา� นวนมาก www2.chass.ncsu.edu/garson/pa765/ โดยมีโรคประจ�าตัว คือ โรคความดันโลหิตสูง คิดเป็น statnote.htm ร้อยละ 9.00 มีโรคที่อาจเกิดจากการท�างานหรืออาจ Imjai, K. (2019). Quality of work life and เก่ียวข้องจากการท�างาน คือ ไวรัสตับอักเสบบี คิดเป็น organizational commitment of professional ร้อยละ 2.80 อาการผิดปกติที่อาจเกิดจากการท�างานหรือ nurses in the community hospital, เกยี่ วข้องจากการท�างาน คือ ความเครยี ด คิดเปน็ ร้อยละ Samutprakarn province. Journal of 23.40 โดยรวมแล้วมีภาวะการเจ็บป่วย คิดเป็นร้อยละ Prachomklao College of Nursing, 65.50 และพบว่า พยาบาลวชิ าชพี 1 ใน 3 มีความเครียด Phetchaburi Province, 2(2), 30-45. [In Thai] จากการท�างาน จึงควรท�าการศึกษาวิจัยเก่ียวกับปัจจัยที่ International Association for Public Participation. ทา� ใหม้ ีภาวะการเจ็บป่วย และความเครยี ดจากการท�างาน (2012). IPA2 spectrum of public ของพยาบาลวชิ าชพี เนื่องจากปจั จัยดังกล่าวส่งผลต่อการ participation. Retrieved from: http://www. ปฏิบัติงานและประสิทธิภาพของงาน รวมทั้งจัดกิจกรรม iap2.org/associations/4748/files/IAP2%20 หรือสภาพแวดล้อมเพอื่ สง่ เสรมิ ให้พยาบาลมสี ุขภาพที่ดี Spectrum_vertical.pdf Kangsanan, K., & Klinhom, V. (2017). Quality of life 3. การสนับสนุนจากหัวหน้าหน่วยงานและจาก of registered nurses in community hospitals ชมุ ชนมผี ลตอ่ คณุ ภาพชวี ติ การทา� งานของพยาบาลวชิ าชพี zone 1 Nakhon Si Thammarat Province. ทดี่ ี ดงั นน้ั ผบู้ รหิ ารควรสนบั สนนุ ใหพ้ ยาบาลวชิ าชพี เขา้ รว่ ม WMS Journal of Management Walailak ประชมุ วชิ าการเพอื่ พฒั นาความรแู้ ละทกั ษะในการปฏบิ ตั งิ าน University, 6(2), 72-82. [In Thai] และการแกไ้ ขปญั หาตา่ ง ๆ ในการทา� งานท่ี รพ.สต. รวมทง้ั Vปoีทlี่u2m8eฉบ28ับทN่ีo2. (2เม(A.ยp.r--มJิ.uยn.)) 22506203

Factors Predicting Quality of Work Life Among Professional Nurses The Journal of Faculty of Nursing 95 at Sub-district Health Promotions Hospitals in Eastern Region Burapha University Kittisuksathit S., Chamchan, C., Tangchonthip, K., Opastiragul, W., Chanprasit, C., & Kaewthummanukul, & Holumyong C. (2013). Quality of life, work T. (2015). Health status related to risk at and happiness. Retrieved from http://www. work among professional nurses, outpatient ipsr.mahidol.ac.th/ipsrbeta/FileUpload/ and emergency nursing section, Maharaj PDF/Report-File-405.pdf [In Thai] Nakorn Chiang Mai hospital. Nursing Journal, 42(2), 49-61. [In Thai] Laohawatanapinyo, W., Suriyo, P., Limpisil, K., & Yimsrual, P. (2009). The quality of work life Phutphong, N., Theerawit, T., & Sawangdee, K. of nurses at Phetchaburi Prachomklao (2017). Health promotion and quality of hospital. Surgery Intensive Care Unit, work life among Thai nurses. Thai nurse Nursing Group, King Mongkut Memorial cohort study project. International Health Hospital, Phetchaburi Province. [In Thai] Policy Program (IHPP), Ministry of Public Health. [In Thai] Nantsupawat, R., Junmahasathien, S., Phumvitchuvate, L., Charuwatcharapaniskul, Promsakul, S., Puttpitukpol, S., & Sawaengdee K. U., Chareonsanti, J., Keitlertnapha P., & (2011). Factors Influencing Health Status of Sunthorn, V. (2012). Development of Professional Nurses at the 17 th Public community health system by the people Health Inspection Region. Retrieved from: for the people: Case study of Chisathan https://www.stou.ac.th/thai/grad_stdy/ District. Nursing Journal, 39(2), 144-156. Masters/FullPaper/Sci/Poster/P-A5.pdf [In Thai] [In Thai] National Institute for Occupational Safety and Region 6 Health Provider. (2016) Retrieved from: Health. (2012). Public health service, https://thailand.digitaljournals.org/tdj/ centers for disease control and prevention, index.php [In Thai] national institute for occupational safety and health, Publication, 146-214. Retrieved Thatphitakkul, S. (2017). EEC Eastern Economic from:https://www.cdc.gov/niosh/docs/ Corridor. Investment Promotion Journal, 2013-140/pdfs/2013-140.pdf 28(7), 8. Ngamlamom, W. (2014). Globalization with Thai Walton, R. E. (1973). Quality of work life: What is social. Retrieved from: http://file.siam2 it? Sloan Management Review, 15, 11-12. web.com/trdm/article/2013318_75318.pdf [In Thai] Vปoีทlี่u2m8eฉบ28ับทNี่o2. (2เม(A.ยp.r--มJิ.uยn.)) 22506203

ผลของการนวดสมั ผัสทารกต่อพฤติกรรมตอบสนองความปวด อตั ราการเตน้ ของหวั ใจและคา่ ความอ่ิมตัวของออกซเิ จนในทารกแรกเกิด ทไี่ ด้รับการเจาะเลอื ดจากหลอดเลือดดา� สว่ นปลาย สรุ ีทร ส่งกลน่ิ , พย.ม.1 นฤมล ธีระรังสกิ ุล, ปร.ด.2* บทคดั ย่อ การวจิ ยั กงึ่ ทดลองนม้ี วี ตั ถปุ ระสงคเ์ พอ่ื ศกึ ษาผลของการนวดสมั ผสั ทารกตอ่ พฤตกิ รรมตอบสนองความปวด อตั รา การเต้นของหัวใจ และค่าความอ่ิมตัวของออกซิเจนในทารกแรกเกิดท่ีได้รับการเจาะเลือดจากหลอดเลือดด�าส่วนปลาย กลุ่มตัวอย่างประกอบด้วยทารกแรกเกิดที่คลอดเม่ืออายุครรภ์ 37-42 สัปดาห์ และเข้ารับการดูแลในหอผู้ป่วยทารก แรกเกิดโรงพยาบาลสระบุรี สุ่มตัวอย่างแบบง่ายเข้ากลุ่มทดลองและกลุ่มควบคุม กลุ่มละ 15 ราย กลุ่มควบคุมได้รับ การห่อตัวตามปกติ และกลุ่มทดลองได้รับการนวดสัมผัส ก่อนการเจาะเลือดจากหลอดเลือดด�าส่วนปลาย 2 นาที เคร่อื งมอื ทีใ่ ชใ้ นการวิจัย ได้แก่ ค่มู อื การนวดสัมผัสทารกซึ่งไดร้ บั การตรวจสอบความตรงตามเนอ้ื หา แบบบันทึกขอ้ มูล ท่ัวไป แบบบันทึกอัตราการเต้นของหัวใจ แบบบันทึกค่าความอิ่มตัวของออกซิเจน และแบบประเมินพฤติกรรม การตอบสนองความปวดของทารกแรกเกิด มีค่าความเช่ือม่ันสัมประสิทธ์ิแอลฟาของครอนบาค = .90 วิเคราะห์ข้อมูล โดยใช้สถติ พิ รรณนา และสถติ ิ t-test ผลการวิจัย พบว่า ภายหลังการเจาะเลือดทันทีและนาทีท่ี 1 ทารกกลุ่มท่ีได้รับการนวดสัมผัสมีพฤติกรรม ตอบสนองตอ่ ความปวดน้อยกว่ากลมุ่ ที่ไดร้ บั การห่อตัวอยา่ งมีนยั ส�าคัญทางสถิติ (t = -13.201, p < .05 และ t = -3.154, p < .05) ทารกกลุ่มที่ได้รับการนวดสัมผัสและกลุ่มที่ได้รับการพยาบาลตามปกติมีอัตราการเต้นของหัวใจ และค่า ความอ่ิมตัวของออกซิเจนไม่แตกต่างกันอย่างมีนัยส�าคัญที่ระดับ .05 ผลการวิจัยแสดงให้เห็นว่า การนวดสัมผัสทารก ช่วยลดพฤติกรรมตอบสนองต่อความปวดได้ ดังน้ันพยาบาลและบุคลากรด้านสุขภาพควรน�าการนวดสัมผัสไปใช้เพ่ือลด ความปวดของทารกทไี่ ดร้ ับการเจาะเลือดจากหลอดเลือดด�าส่วนปลาย ค�าสา� คัญ: พฤติกรรมตอบสนองความปวด ทารกแรกเกดิ นวดสมั ผัสทารก หลอดเลือดด�าสว่ นปลาย 1 อาจารยพ์ ยาบาล คณะพยาบาลศาสตร์ วิทยาลัยนานาชาตเิ ซนตเ์ ทเรซา 2 ผูช้ ว่ ยศาสตราจารย์ คณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยบรู พา * ผู้เขียนหลกั e-mail: teerarungsi@hotmail.com Received 30/04/2020 Revised 08/06/2020 Accept 12/06/2020