Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore รายงานประจำปี งบประมาณ 2564 (Design)

รายงานประจำปี งบประมาณ 2564 (Design)

Published by art_nca, 2022-01-14 08:23:40

Description: รายงานประจำปี งบประมาณ 2564 (Design)

Search

Read the Text Version

รายงานประจำปี 2564 สำนกั งานสหกรณจ์ งั หวัดเชยี งราย 51 2. ผลการดำเนินงาน : 1. การประกวดบนั ทึกบญั ชี และรายงานการประชุม ประจำปี 2564 2. กิจกรรมทศั นศกึ ษาดงู าน 3. การให้ความรูเ้ กี่ยวกบั สหกรณส์ ำหรบั นักเรียนเรือ่ ง หลกั การ อุดมการณ์ วธิ กี ารสหกรณ์ 3. ผลลพั ธ์ : ผลลพั ธ์เชงิ ปรมิ าณ งบประมาณ 20,000 บาท ผลการประกวดบันทึกบัญชีโรงเรียนนักเรียนโรงเรียนตำรวจตระเวนชายแดนประจำปี 2564 (ระดบั ประถม) 1. โรงเรยี นตชด.เทคนคิ ดุสติ ได้รับรางวัลชนะเลิศ เงินรางวลั 1,500 บาท 2. โรงเรียนสงั วาลยว์ ทิ 8 ได้รับรางวลั รองชนะเลศิ อันดับ 1เงนิ รางวัล 1,300 บาท 3. โรงเรยี นตชด.ชนตั ถ์ปยิ ะอุย ไดร้ บั รางวลั รองชนะเลิศอันดับ 2 เงนิ รางวัล 1,200 บาท 4. ศกร.ตชด.บ้านอนิ ทรีอาสา ได้รับรางวัลชมเชย เงินรางวัล 1,000 บาท (ระดับมธั ยม) 1. โรงเรียนตชด.ทอท.เฉลมิ พระเกยี รติฯ ได้รับรางวัลชนะเลิศ เงินรางวลั 1,100 บาท ผลการประกวดบนั ทกึ รายงานการประชมุ (ระดบั ประถม) 1. โรงเรียนตชด.เทคนคิ ดสุ ติ ไดร้ บั รางวัลชนะเลศิ เงินรางวลั 1,500 บาท 2. ศกร.ตชด.บา้ นอนิ ทรอี าสา (บา้ นนำ้ กนื ) ได้รับรางวัลรองชนะเลศิ อันดับ 1 เงินรางวลั 1,300 บาท 3. โรงเรยี นสงั วาลยว์ ทิ 8 ไดร้ ับรางวัลรองชนะเลศิ อันดบั 2 เงินรางวัล 1,200 บาท 4. โรงเรียนตชด.บ้านดอยล้าน ได้รับรางวัลชมเชย เงนิ รางวัล 1,000 บาท ผลการประกวดบันทึกบัญชีและรายงานการประชุมของสามเณรนักเรียนโรงเรียนพระปริยัติธรรมประจำปี 2564 ผลการประกวดบันทึกรายงานการประชุม 1. โรงเรียนวดั ฝ่ังหม่ินวิทยา ไดร้ บั รางวัลชนะเลศิ เงินรางวลั 1,000 บาท 2. โรงเรียนวัดแม่คำวทิ ยา ได้รบั รางวัลรองชนะเลศิ อบั ดบั 1 เงนิ รางวัล 800 บาท 3. โรงเรยี นวดั ดงชยั พิทยา ได้รับรางวัลรองชนะเลศิ อันดับ 2 เงินรางวลั 600 บาท 4. โรงเรยี นวัดอำมาตย์วิทยา ไดร้ ับรางวลั ชมเชย เงนิ รางวัล 500 บาท ผลการประกวดวาดภาพ ประเด็นเกีย่ วกับ “สหกรณ์โรงเรียนในฝันของฉนั ” ของโรงเรยี นพระปรยิ ตั ธิ รรม ประจำปี 2564 1. โรงเรยี นวัดโสภณจริยธรรมวทิ ยา ได้รับรางวลั ชนะเลิศ เงนิ รางวลั 1,000 บาท 2. โรงเรียนวัดปา่ ตาลใต้ ไดร้ ับรางวัลรองชนะเลิศอบั ดับ 1 เงินรางวัล 800 บาท 3. โรงเรียนวดั อำมาตย์วิทยา ได้รับรางวลั รองชนะเลศิ อันดบั 2 เงินรางวัล 600 บาท 4. โรงเรียนพทุ ธวิ งศ์ ไดร้ บั รางวัลชมเชย เงินรางวลั 400 บาท

รายงานประจำปี 2564 สำนักงานสหกรณจ์ ังหวดั เชียงราย 52 รวมท้ังสิน้ 20,000 บาท ผลลพั ธเ์ ชิงปริมาณ 1. โรงเรียนท่ไี ด้รับรางวัลในการประกวดบันทึกรายงานการประชุม นักเรียนสามารถบันทึกได้ ถกู ตอ้ งและชดั เจน ครบถ้วน 2. นักเรยี นสามารถนำไปใชไ้ ดใ้ นชวี ิตประจำวนั และเห็นความสำคัญในการบนั ทกึ รายงานการประชมุ 3. นักเรียนมีความคิดสร้างสรรค์และจินตนาการที่แสดงออกด้วย การขีดเขียนจากการระบายสีมี ทกั ษะศิลปะเพิ่มมากขน้ึ การทัศนศึกษาดูงานของนักเรียนโรงเรียนตำรวจตระเวนชายแดน และโรงเรียนพระปริยัติธรรมในจังหวัด เชียงราย ประจำปี 2564 ผลลัพธ์เชิงปรมิ าณ โรงเรียนตำรวจตระเวนชายแดน จำนวน 17 แห่ง จำนวน 255 คน และโรงเรียนพระปริยัติ ธรรม จำนวน 21 แห่ง จำนวน 315 รปู /คน รวมทง้ั หมด 570 คน งบประมาณทีไ่ ด้รบั จัดสรร 319,200 บาท สถานที่ทัศนศึกษาดูงาน ณ ศูนย์ส่งเสริมและพัฒนาอาชีพการเกษตรจังหวัดเชียงราย และไร่บุญรอด (สิงหป์ าร์เชียงราย) อำเภอเมือง จังหวัดเชียงราย จำนวน 5 รนุ่ ผลลัพธ์เชิงคุณภาพ 1. นักเรยี นมคี วามรู้เก่ียวกับเรื่องสหกรณ์จริง ๆ ว่าเปน็ อยา่ งไรและสามารถนำไปใช้ในกิจกรรมร้านค้า ในสหกรณ์นกั เรยี นได้ 2. ทำให้นักเรียนเกิดความร่วมมือ ร่วมใจกันในโรงเรียนและเกิดความซื่อสัตย์สามัคคี ความมีระเบยี บวินัย เพราะสหกรณ์ปลูกฝัง่ ในเร่อื งน้ี 3. ทำใหน้ กั เรียนรูจ้ ักการออมเงิน เพ่ืออนาคตทีด่ ี 4. ทำใหเ้ ดก็ เรียนประชาสัมพนั ธ์แหล่งท่องเท่ียวของเชยี งราย 5. ให้เดก็ นกั เรยี นมีความสนุกสนาน ตน่ื ตาต่นื ใจกบั สถานท่ีทอ่ งเท่ียว 4. ปญั หา/อุปสรรค ในการดำเนินงาน และแนวทางแก้ไข ไม่มี ➢ โครงการส่งเสริมกสหกรณ์นักเรียนในโรงเรียนเพียงหลวง ในทูลกระหม่อมหญิงอุบลรัตนราชกัญญา สริ ิวัฒนาพรรณวดี 1. วัตถุประสงค/์ เป้าหมาย/พ้ืนทดี่ ำเนนิ งานโครงการ : 1. เพื่อส่งเสริมความรู้ และทักษะด้านการสหกรณ์ และสร้างลักษณะนิสัยที่สอดคล้องกับอุดมการณ์ สหกรณ์ให้แก่เดก็ นักเรยี น 2. เพื่อให้เด็กและนักเรียนมีโอกาสในการศึกษาหาความรู้ด้วยตนเอง เพื่อพัฒนาคุณภาพชีวิตที่ดีขึ้น สามารถนำความร้ไู ปใช้ในการดำรงชีวติ ประจำวนั ได้ 3. เพ่อื ให้นักเรียนมีคุณธรรม จริยธรรมและมีคณุ ภาพชีวิตที่ดีขึน้ 4. เพอื่ ใหน้ ักเรียนและครจู ัดกจิ กรรมการเรียนรทู้ ี่หลากหลาย เนน้ ผูเ้ รยี นเป็นสำคญั 2. ผลการดำเนนิ งาน : 1. กจิ กรรมการฝึกปฏิบตั ิการประชมุ และการบันทกึ รายงานการประชมุ 2. การใหค้ วามร้เู กี่ยวกับสหกรณส์ ำหรับนกั เรยี นเรอ่ื ง หลักการ อุดมการณ์ วิธกี ารสหกรณ์ 3. กิจกรรมทศั นศกึ ษาดงู าน

รายงานประจำปี 2564 สำนกั งานสหกรณ์จงั หวดั เชยี งราย 53 3. ผลลัพธ์ : ผลลัพธเ์ ชิงปรมิ าณ งบประมาณในการจัดกิจกรรมทัศนศึกษาดูงาน จำนวน 8,400 บาท (แปดพันสี่ร้อยร้อยบาทถ้วน) จำนวน 1 โรงเรียน ๆ ละ 15 คน คอื โรงเรียนเพยี งหลวง 16 อำเภอเวียงแก่น จังหวัดเชียงราย ผลลพั ธ์เชิงคณุ ภาพ 1. นักเรียนมีความรูเ้ กีย่ วกับเรื่องสหกรณ์จรงิ ๆ ว่าเป็นอย่างไรและสามารถนำไปใช้ในกิจกรรมร้านคา้ ในสหกรณ์นกั เรยี นได้ 2. ทำให้นักเรียนเกิดความร่วมมือ ร่วมใจกันในโรงเรียนและเกิดความซื่อสัตย์ สามัคคี ความมี ระเบยี บวนิ ัย เพราะสหกรณป์ ลูกฝ่งั ในเรอื่ งนี้ 3. ทำให้เดก็ เรยี นประชาสมั พนั ธ์แหลง่ ท่องเทยี่ วของเชยี งราย 5. ใหเ้ ดก็ นักเรียนมคี วามสนกุ สนาน ต่นื ตาต่นื ใจกับสถานทีท่ อ่ งเท่ียว 4. ปญั หา/อุปสรรค ในการดำเนนิ งาน และแนวทางแกไ้ ข - ไม่มี-

รายงานประจำปี 2564 สำนกั งานสหกรณจ์ งั หวัดเชยี งราย 54

รายงานประจำปี 2564 สำนักงานสหกรณจ์ งั หวดั เชยี งราย 55 ➢ โครงการคลนิ ิกเกษตรเคลอ่ื นทีใ่ นพระราชานุเคราะห์ สมเด็จพระบรมโอรสาธริ าชฯ สยามมกฎุ ราชกมุ าร 1. วัตถปุ ระสงค์/เปา้ หมาย/พื้นทีด่ ำเนนิ งานโครงการ : เพื่อเผยแพร่การสหกรณ์ให้แก่เกษตรกร นักเรียน/กลุ่มอาชีพ/กลุ่มชาวบ้าน/บุคคลทั่วไป ให้สามารถนำ หลักของการสหกรณ์ไปประยุกต์ใช้ในการดำเนินชีวิตประจำวันตามหลักของปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงได้ โดย กำหนดตัวช้ีวดั ระดับกจิ กรรมหลกั และเป้าหมายดงั น้ี ควบคุมการใชจ้ า่ ยงบประมาณตามงบรายจา่ ยและกจิ กรรมหลกั และเบิกจา่ ยใหเ้ ป็นไปตามเปา้ หมายท่ี กรมกำหนด ร้อยละ 100 2. ผลการดำเนินงาน : กิจกรรม ผลการ การเบกิ จ่าย ดำเนินงาน งบประมาณ 1. ประสานงานและบูรณาการรว่ มกบั สำนักงานจงั หวดั สำนักงานเกษตร 1 ครั้ง - และสหกรณจ์ ังหวัดและหนว่ ยงานทีเ่ ก่ียวข้อง เพ่อื ดำเนินกิจกรรมฯ ให้ สอดคลอ้ งกับแนวทาง/คู่มือการจัดกจิ กรรมคลินกิ เกษตรเคลอ่ื นท่ใี น พระราชานุเคราะหต์ ามท่ีกองประสานงานโครงการพระราชดำรกิ ำหนด 1. การประชุมคณะกรรมการโครงการคลนิ กิ เกษตรเคลื่อนท่ี เพือ่ เตรยี มความพรอ้ มการจัดงานคลนิ ิกเกษตรเคล่ือนที่ ปงี บประมาณ พ.ศ. 2564 ครั้งที่ 2/2564 วนั ท่ี 2 มิถนุ ายน 2564ณ ห้องประชุมสำนกั งาน เกษตรจงั หวัดเชียงราย 2. จดั กิจกรรมคลนิ ิกสหกรณ์เพื่อให้บริการแกเ่ กษตรกรในเวทกี ิจกรรม 4 ครง้ั 21,100.- คลินกิ เกษตรเคลื่อนทข่ี องจังหวดั ประกอบด้วย การจัดนิทรรศการ การให้ คำปรึกษา การตอบปญั หาชิงรางวลั ฯ หรือกจิ กรรมอน่ื ๆ - ครั้งท่ี 1/2564 วนั ท่ี 10 มีนาคม 2564 ณ โรงเรยี นปอวทิ ยา อำเภอ เวยี งแกน่ จงั หวัดเชยี งราย (คลนิ กิ บรกิ าร) 154 ราย - ครัง้ ที่ 2/2564 วนั ที่ 17 มนี าคม 2564 ณ ศนู ยส์ ุขภาวะชมุ ชน อำเภอแมล่ าว จงั หวดั เชียงราย (คลินิกบริการ) - คร้ังที่ 3/2564 วนั ที่ 14 กนั ยายน 2564 ณ สำนกั งานเกษตรอำเภอ 71 ราย เมือง จังหวดั เชยี งราย และสำนักงานเกษตรอำเภอเทิง จังหวดั เชียงราย 30 ราย (คลนิ กิ บรกิ าร) - คร้ังท่ี 4/2564 วันที่ 17 กนั ยายน 2564 ณ สำนักงานเกษตรอำเภอ แมจ่ ัน อำเภอแมจ่ ัน จงั หวัดเชียงราย (คลนิ กิ บริการ)

รายงานประจำปี 2564 สำนกั งานสหกรณจ์ งั หวัดเชยี งราย 56 3. ผลลัพธ์ : ผลลพั ธเ์ ชิงปรมิ าณ สำนักงานสหกรณ์จังหวัดเชียงรายได้ดำเนินโครงการคลินิกเกษตรเคลื่อนที่ ในพระราชานุเคราะห์ สมเด็จพระบรมโอรสาธิราชฯ สยามมกุฎราชกุมาร โดยควบคุมการใช้จ่ายงบประมาณตามงบรายจ่ายและ กิจกรรมหลกั และเบกิ จา่ ยให้เปน็ ไปตามเป้าหมายทกี่ รมส่งเสริมสหกรณก์ ำหนด จำนวน 21,100 บาท คดิ เป็น รอ้ ยละ 100 (ตวั ชว้ี ดั รอ้ ยละ 100) และใหบ้ ริการวชิ าการแก่เกษตรกรสมาชิก/ประชาชนทั่วไปท่ีมารับบริการ ดว้ ยการแนะนำสง่ เสริมและพฒั นาความรดู้ ้านการสหกรณ์ รวม 255 ราย ผลลัพธ์เชิงคณุ ภาพ เกษตรกรสามารถเข้าถึงการบริการทางวิชาการและได้รับการแก้ไขปัญหาด้านการเกษตรอย่างครบ วงจรในคราวเดียวกัน โดยได้รับคำปรึกษา การแนะนำการจัดตั้งสหกรณ์ การบริหารงานในสหกรณ์ และให้ ความรู้เกี่ยวกับระเบียบปฏิบัติต่าง ๆ เกี่ยวกับสหกรณ์ จากการเข้ารับบริการในคลินิกสหกรณ์ และสามารถนำ ความรู้ที่ได้รับไปปฏิบัติในการเป็นสมาชิกสหกรณ์/กลุ่มเกษตรที่ดีได้เพิ่มขึ้น และสามารถนำหลักของการ สหกรณ์ไปประยุกตใ์ ช้ในการดำเนินชวี ิตประจำวนั ตามหลักของปรัชญาเศรษฐกจิ พอเพียงไดเ้ ปน็ อยา่ งดี 4. ปญั หา/อปุ สรรค ในการดำเนินงาน และแนวทางแกไ้ ข เนื่องจากการจัดงานโครงการคลินิกเกษตรเคลื่อนที่ในพระราชานุเคราะห์ สมเด็จพระบรมโอรสาธิราช ฯ สยามมกุฎราชกุมารฯ ในครั้งที่ 3 และ 4/2564 เกิดสถานการณ์การแพร่ระบาดของเชื้อไวรัสโคโรนา (COVID – 19) การจัดงานจึงต้องจำกัดจำนวนผู้เข้ารับบริการ ภาคละไม่เกิน 50 คน ภายใต้สถานการณ์การ แพร่ระบาดของเชอ้ื ไว้รัสโคโรน่า (COVID – 19) ภาพกิจกรรมคลินกิ สหกรณ์เพอื่ ใหบ้ รกิ ารแกเ่ กษตรกรในเวทกี จิ กรรมคลนิ ิกเกษตรเคลื่อนท่ขี องจังหวัด

รายงานประจำปี 2564 สำนกั งานสหกรณ์จงั หวัดเชียงราย 57 ➢ โครงการ 1 ตำบล 1 กลุ่มเกษตรทฤษฎใี หม่ 1. วัตถปุ ระสงค์ : 1. เพ่ือส่งเสรมิ การเรียนรแู้ ละน้อมนำหลักปรชั ญาเศรษฐกิจพอเพียงดว้ ยการพัฒนาพื้นท่ีเกษตรทฤษฎี ใหม่ในรูปแบบกลุ่มเกษตรทฤษฎีใหม่ 2. เพื่อเพิ่มพื้นที่เก็บกักน้ำสำหรับทำการเกษตรทฤษฎีใหม่ทั้งในส่วนกิจกรรมหลักและกิจกรรมที่ เกยี่ วเนอ่ื งตลอดทั้งปี 3. เพื่อฟื้นฟูภาคการเกษตร ภายหลังการแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 โดยมุ่งเน้น เกษตรกรทม่ี ีความตง้ั ใจเอาใจใส่อย่างจรงิ จงั เป้าหมาย : เกษตรกรทีเ่ ข้ารว่ มโครงการเกษตรทฤษฎใี หม่ จำนวน 1 กล่มุ จำนวน 36 ราย พ้ืนทด่ี ำเนินงานโครงการ : ตำบลศรีดอนไชย อำเภอเทิง จังหวดั เชียงราย 2. ผลการดำเนินงาน : คณะอนุกรรมการภายใต้โครงการ 1 ตำบล 1 กลุ่มเกษตรทฤษฎีใหม่ ด้านพัฒนาอาชีพและการตลาด ได้ประชุมชี้แจงแนวทางการดำเนินงานการส่งเสริมพัฒนาอาชีพ และการตลาด โครงการ 1 ตำบล 1 กลุ่ม เกษตรทฤษฎีใหม่ โดยมีมติมอบหมายให้กรมส่งเสริมสหกรณ์ เป็นเจ้าภาพหลักรับผิดชอบจังหวัดในภาคเหนือ 16 จังหวัด ทำหน้าที่ประสาน ติดตาม ผลักดันและสนับสนุนการขับเคลื่อนการจัดตั้งกลุ่มเกษตรทฤษฎีใหม่ ตำบลต้นแบบ โดยให้สำนักงานสหกรณ์จังหวัดประสานกบั สำนกั งานเกษตรและสหกรณ์จังหวดั ในการรวบรวม รายงาน (แบบ กท.01-04) และรายงานผลการดำเนินงานให้กรมส่งเสริมสหกรณ์ ภายในวนั ที่ 5 ของทุกเดือน ตามแบบรายงานความก้าวหน้าการขับเคล่ือน การพัฒนาอาชีพและการตลาดของเกษตรกรท่ีเข้าร่วมโครงการ 1 ตำบล 1 กลุ่มเกษตรทฤษฎีใหม่ ตามแบบ แบบ กท.05 โดยสำนักงานสหกรณ์จังหวัดได้ดำเนินการรายงาน เปน็ ประจำทกุ เดือน ดังนี้

รายงานประจำปี 2564 สำนักงานสหกรณจ์ งั หวัดเชยี งราย 58 4. ปญั หา/อปุ สรรค ในการดำเนินงาน และแนวทางแก้ไข กลุ่มเกษตรทฤษฎีใหม่ ตำบลต้นแบบ เป็นกลุ่มฯ ที่อยู่ระหว่างการปรับเปลี่ยนพื้นที่การผลิต จากการ ผลติ แบบธรรมดา เปน็ การผลติ แบบอินทรีย์ ซง่ึ จะต้องใช้เวลาในการปรับเปลี่ยนพ้นื ท่ี เพอ่ื ใหส้ ามารถได้ผลผลิต และสามารถจำหนา่ ยผลผลติ ได้ ➢ โครงการขบั เคลอื่ นปรชั ญาเศรษฐกจิ พอเพยี งในสหกรณ์และกลมุ่ เกษตรกร 1. วตั ถปุ ระสงค์ : ๑.๑ เพอื่ ให้สหกรณ์และกลุ่มเกษตรกรได้น้อมนำหลกั ปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพียงมาประยุกต์ใช้ในการ ดำเนนิ งานอยา่ งเป็นรูปธรรม และใหส้ มาชิกสหกรณ์และกลมุ่ เกษตรกรได้นำหลักปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพียง ไปใชใ้ นชีวติ ประจำวนั ๑.๒ เพอื่ คดั เลือกและยกย่องสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกร ทนี่ อ้ มนำแนวคิดตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจ พอเพียงไปประยุกต์ใช้ในระดับองค์กรและระดับสมาชิกไดอ้ ย่างโดดเด่น สามารถเป็นแบบอย่างให้สหกรณ์และ กลมุ่ เกษตรกรอน่ื นำไปประยกุ ต์ใช้ ๑.๓ เพ่อื เป็นการเผยแพร่ สนบั สนุน สง่ เสริม กระต้นุ และสรา้ งแรงจงู ใจใหส้ หกรณ์และกลุ่มเกษตรกรอ่ืน ได้น้อมนำแนวคดิ ตามหลักปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพยี งไปประยุกต์ใชใ้ นการดำเนินงาน สง่ เสรมิ และสนับสนุน ให้สมาชิกของสหกรณ์และกล่มุ เกษตรกร มีการดำเนนิ ชีวิตามแนวคิดปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพียง โดยกำหนดตัวชว้ี ัดระดับกิจกรรมหลักและเปา้ หมายดงั น้ี 1. ดำเนนิ การคดั เลือกสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกร จังหวัดละไมเ่ กนิ ๒ แห่ง เป้าหมาย : สหกรณ์และกลุ่มเกษตรกร เขา้ ร่วมโครงการ จำนวน ๒ แหง่ ดงั น้ี 1) กลุ่มเกษตรกรทำนาธารทอง ๒) สหกรณก์ ารเกษตรพญาเม็งราย จำกดั 2. ผลการดำเนินงาน : สหกรณ์/กลุ่มเกษตรกรที่ส่งเข้าประกวดต้องมีคะแนนผลการประเมินตามแบบการประเมินในระดับ องค์กร ไม่น้อยกว่าร้อยละ ๖๐ และในระดับสมาชิก ไม่น้อยกว่าร้อยละ ๖๐ โดยคะแนนรวมทั้งสองระดับต้อง ไม่นอ้ ยกว่ารอ้ ยละ ๘๐ ผลการประเมินจากคณะกรรมการระดบั จังหวัด ตามตัวชี้วดั กรมส่งเสริมสหกรณ์ ดงั นี้ ๑. สหกรณก์ ารเกษตรพญาเม็งราย จำกดั ระดบั องคก์ ร สหกรณม์ คี ะแนน ๒๓๓ คะแนน คดิ เป็นรอ้ ยละ ๗๗.๖๗ ระดับสมาชิก สหกรณม์ ีคะแนน ๑๗๘ คะแนน คิดเป็นรอ้ ยละ ๘๙ รวมคะแนน ๔๑๑ คะแนน คิดเป็นรอ้ ยละ ๘๒.๒ ของคะแนนเตม็ ๕๐๐ คะแนน ๒. กลุ่มเกษตรกรทำนาธารทอง ระดับองคก์ ร สหกรณม์ คี ะแนน ๒๘๔.๓๓ คะแนน คิดเปน็ ร้อยละ ๙๔.๗๘ ระดับสมาชิก สหกรณม์ คี ะแนน ๑๘๒.๕ คะแนน คิดเป็นรอ้ ยละ ๙๑.๒๕ คะแนน รวมคะแนน ๔๖๖.๘๓ คะแนน คิดเป็นรอ้ ยละ ๙๓.๓๗ ของคะแนนเต็ม ๕๐๐ คะแนน

รายงานประจำปี 2564 สำนกั งานสหกรณจ์ ังหวัดเชียงราย 59 3. ผลลพั ธ์ : ผลลัพธเ์ ชิงปรมิ าณ สำนักงานสหกรณ์จังหวัดเชียงรายได้ดำเนินคัดเลือกและส่งสหกรณ์/กลุ่มเกษตรเข้าประกวดตาม ตัวชี้วัดของกรมส่งเสริมสหกรณ์ จำนวน ๒ แห่ง ๑. สหกรณ์การเกษตรพญาเม็งราย จำกัด ๒. กลุ่มเกษตรกร ทำนาธารทอง ผลลัพธเ์ ชิงคุณภาพ กลุ่มเกษตรกรทำนาธารทอง อำเภอพาน จงั หวัดเชยี งราย ไดร้ บั การคัดเลือกเปน็ กลุม่ เกษตรกรต้นแบบ ที่นอ้ มนำหลกั ปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพียงไปประยกุ ต์ใชใ้ นการดำเนนิ งาน ประจำปี พ.ศ. ๒๕๖๔ ผลการประเมินกล่มุ เกษตรกรทำนาธารทองจากคณะกรรมการระดบั เขต และระดบั กรม ระดับองค์กร สหกรณม์ ีคะแนน ๒๖๘ คะแนน คดิ เป็นรอ้ ยละ ๘๙.๓๓ ระดับสมาชิก สหกรณ์มคี ะแนน ๒๐๐ คะแนน คดิ เป็นรอ้ ยละ ๑๐๐ รวมคะแนน ๔๖๘ คะแนน คิดเป็นร้อยละ ๙๓.๖๐ ของคะแนนเต็ม ๕๐๐ คะแนน ซึ่งจะได้รับเงินรางวลั จำนวน ๑๐,๐๐๐ บาท(หนึ่งหมื่นบาทถ้วน) เพื่อนำไปพัฒนาการดำเนินงานของ กลมุ่ เกษตรกรที่เกย่ี วขอ้ งกับการนำหลักปรชั ญาเศรษฐกิจพอเพียงไปประยุกตใ์ ช้ 4. ปัญหา/อุปสรรค ในการดำเนินงาน และแนวทางแก้ไข ไมม่ ี ภาพถ่ายแสดงการดำเนินกิจกรรมของงาน/โครงการ รองอธิบดี ฯ มอบโลร่ างวัลแก่กลมุ่ เกษตรกรทำนาธาร การประชุมคณะกรรมการ ฯระดับภาค ทอง กิจกรรมทาป๋ยุ อนิ ทรียล์ ดตน้ ทนุ ของกลมุ่ ฯ กลมุ่ ฯ จดั อบรมใหค้ วามรูเ้ รืองเศรษฐกจิ พอเพยี ง

รายงานประจำปี 2564 สำนกั งานสหกรณจ์ งั หวดั เชยี งราย 60 ➢ โครงการส่งเสรมิ สหกรณ์ในพนื้ ท่โี ครงการหลวง 1. วัตถปุ ระสงค์ เพื่อดำเนินการตามพระราชดำริของพระบาทสมเด็จพระบรมชนกาธิเบศร มหาภูมิพลอดุลยเดชมหาราช บรมนาถบพิตร รัชกาลที่ ๙ ที่ทรงมีพระราชประสงค์ลดพื้นที่การปลูกฝิ่นของผู้ที่อาศัยอยู่บนพื้นที่สูง โดยรวมกลุ่ม ช่วยเหลือตนเอง และช่วยเหลือซึ่งกันและกัน ปลูกพืชที่มีประโยชน์และขายได้ราคา มุ่งเน้นให้พออยู่ พอกิน และ พัฒนาไปสกู่ ารกินดีอยดู่ ี รวมถงึ การอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติและสง่ิ แวดล้อมให้อยู่รว่ มกับชุมชนได้อย่างยั่งยืน เปา้ หมาย 1. สหกรณแ์ ละกลุ่มเกษตรกรผา่ นเกณฑม์ าตรฐาน รอ้ ยละ ๘๐ 2. สหกรณ์มคี วามเข้มแข็ง ระดบั ๑ และ ๒ อย่างน้อย รอ้ ยละ ๘๘ 3. กลุม่ เกษตรกรมีความเขม้ แขง็ ระดบั ๑ อยา่ งน้อย รอ้ ยละ ๒๔ ๔. ส่งเสรมิ สหกรณ์ในพืน้ ทโี่ ครงการหลวงให้มปี ริมาณธรุ กิจเพ่มิ ข้นึ ไมต่ ำ่ กวา่ ร้อยละ ๓ ๕. ควบคุมการใช้จา่ ยงบประมาณตามงบรายจ่ายและเบกิ จ่ายใหเ้ ปน็ ไปตามเป้าหมายทก่ี รมกำหนด ร้อยละ ๑๐๐ ๖. เพอ่ื แนะนำสง่ เสรมิ ให้สหกรณ์/กลุม่ เกษตรกรในพ้นื ทโ่ี ครงการหลวง สามารถปิดบัญชีไดต้ ามกำหนด รวมถึงกำกับ ตรวจสอบ ผลกั ดนั ใหด้ ำเนนิ กจิ การไดต้ ามหลักธรรมาภบิ าล พนื้ ทีด่ ำเนินงานโครงการ 1. สหกรณก์ ารเกษตรโครงการหลวงห้วยโปง่ อ.เวยี งปา่ เปา้ จำกดั อ.เวยี งป่าเป้า จ.เชยี งราย 2. สหกรณก์ ารเกษตรโครงการหลวงห้วยนำ้ ขุ่น จำกัด อ.แมส่ รวย จ.เชียงราย 3. สหกรณ์การเกษตรโครงการหลวงหว้ ยน้ำริน จำกัด อ.เวียงปา่ เป้า จ.เชยี งราย ๔. สหกรณ์การเกษตรโครงการหลวงหว้ ยแล้ง จำกดั อ.เวียงแก่น จ.เชียงราย ๕. สหกรณ์ผู้ปลกู หอมหวั ใหญ่ผาตั้ง จำกัด อ.เวียงแก่น จ.เชียงราย ๖. กลุม่ เกษตรกรทำสวนอนิ ทรียบ์ า้ นหว้ ยคณุ พระ อ.เวยี งปา่ เปา้ จ.เชยี งราย ๗. กลุม่ เกษตรกรทำสวนบ้านสามกุลา อ.เวยี งปา่ เป้า จ.เชียงราย 2. ผลการดำเนินงาน ตวั ชวี้ ัดระดบั กจิ กรรมหลัก ผลการดำเนนิ งาน หมาย ๗ แหง่ เหตุ 1. สหกรณแ์ ละกลมุ่ เกษตรกรผ่านเกณฑม์ าตรฐาน รอ้ ยละ ๘๐ ผา่ นเกณฑ์มาตรฐาน ๖ แหง่ ระดบั ชั้น ๒/5 แหง่ ๒. สหกรณ์มีความเข้มแข็ง ระดับ ๑ และ ๒ อย่างน้อย ร้อยละ ๘๘ (ระดับ ๑ และ ๒ อยา่ งน้อย ๔ แหง่ ) ๓. กล่มุ เกษตรกรมีความเขม้ แขง็ ระดบั ๑ อย่างน้อย ร้อยละ ๒๔ ระดับชนั้ ๒/๑ แหง่ (ระดับ ๑ อยา่ งน้อย ๑ แหง่ ) ระดบั ช้ัน ๓/๑ แห่ง ๔. ส่งเสริมสหกรณ์ในพ้ืนที่โครงการหลวงใหม้ ีปรมิ าณธรุ กิจเพ่ิมขึ้น รายละเอยี ดตามผลลัพธเ์ ชิง ไม่ตำ่ กวา่ ร้อยละ ๓ ปรมิ าณ

รายงานประจำปี 2564 สำนกั งานสหกรณจ์ ังหวัดเชยี งราย 61 ตัวชว้ี ดั ระดับกจิ กรรมหลัก ผลการดำเนินงาน หมาย เหตุ ๕. ควบคุมการใช้จา่ ยงบประมาณตามงบรายจ่ายและเบกิ จา่ ยให้เป็นไปตาม รอ้ ยละ ๑๐๐/๓46,6๐๐ บาท เป้าหมายทกี่ รมกำหนด ร้อยละ ๑๐๐ ๖. แนะนำส่งเสริมให้สหกรณ์/กลุ่มเกษตรกรในพื้นที่โครงการ ๗ แห่ง หลวง สามารถปิดบัญชีได้ตามกำหนด รวมถึงกำกับ ตรวจสอบ ผลักดันให้ดำเนินกจิ การไดต้ ามหลกั ธรรมาภบิ าล 3. ผลลัพธ์ : ผลลพั ธ์เชิงปริมาณ สำนักงานสหกรณจ์ งั หวัดเชียงรายได้ดำเนินโครงการสง่ เสรมิ สหกรณ์ในพื้นทีโ่ ครงการหลวง โดยมผี ลลพั ธ์เชงิ ปรมิ าณ ดังนี้ ๑. สหกรณแ์ ละกลมุ่ เกษตรกรผ่านเกณฑ์มาตรฐาน ๗ แห่ง คดิ เปน็ รอ้ ยละ ๑๐๐ ๒. สหกรณ์มีความเขม้ แข็ง ระดบั ๒ จำนวน ๕ แหง่ คิดเป็นรอ้ ยละ ๑๐๐ ๓. กลุ่มเกษตรกรมีความเข้มแขง็ ระดบั ๒ จำนน ๑ แห่ง และระดับ ๓ จำนวน ๑ แหง่ คดิ เปน็ ร้อยละ ๑๐๐ ๔. ควบคมุ การใช้จ่ายงบประมาณตามงบรายจ่ายและเบิกจ่ายให้เป็นไปตามเปา้ หมายท่กี รมกำหนด คิดเปน็ รอ้ ยละ ๑๐๐ ๕. ส่งเสรมิ สหกรณใ์ นพ้นื ท่โี ครงการหลวงใหม้ ีปรมิ าณธุรกจิ เพิม่ ขึ้นไม่ต่ำกว่าร้อยละ ๓ สหกรณ์ ปี 2563 สะสม 12 เดือน ปี 2564 สะสม 12 เดือน เทยี บกบั ปกี อ่ น (บาท) เทยี บกับปกี อ่ น 1,019,692.66 (%) สหกรณ์การเกษตรโครงการหลวง (ก.ย.62 - ส.ค.63) (ก.ย.63 - ส.ค.64) -2,032,953.00 22.17 หว้ ยโปง่ อ.เวยี งปา่ เป้า จำกัด -2,915,458.25 สหกรณ์การเกษตรโครงการหลวง 4,598,816.00 5,618,508.66 -27,724.00 -56.57 ห้วยน้ำขนุ่ จำกดั 1,249,250.00 สหกรณ์การเกษตรโครงการหลวง 3,593,658.00 1,560,705.00 -78.43 หว้ ยนำ้ ริน จำกดั สหกรณ์การเกษตรโครงการหลวง 3,717,368.25 801,910.00 -18.85 หว้ ยแล้ง จำกดั สหกรณ์ผู้ปลูกหอมหัวใหญ่ผาต้ัง 147,096.00 119,372.00 388.21 จำกัด 321,800.00 1,571,050.00 ผลลพั ธเ์ ชงิ คุณภาพ สหกรณ์/กลุ่มเกษตรกรในพื้นที่โครงการหลวง สามารถปิดบัญชีได้ตามกำหนด สหกรณ์การเกษตรใน พื้นที่โครงการหลวง สามารถรักษาและผลักดันให้ผ่านมาตรฐานได้ และสามารถขับเคลื่อนการดำเนินงานโดย โครงการประยุกต์ใช้แนวพระราชดำริเป็นแนวทางการขับเคลื่อนเพื่อพัฒนาสหกรณ์/กลุม่ เกษตรกรอย่างย่ังยนื (บนั ได ๗ ขั้น)

รายงานประจำปี 2564 สำนกั งานสหกรณ์จงั หวดั เชยี งราย 62 4. ปัญหา/อุปสรรค ในการดำเนนิ งาน และแนวทางแก้ไขปญั หา/อุปสรรค จากสถานการณ์โรคติดเช้ือไวรสั โคโรนา 2019 (COVID-19) ที่ระบาดในประเทศไทยและต่างประเทศ ทำให้แผนการผลิตของมูลนิธิโครงการหลวงลดลง ส่งผลกระทบต่อการดำเนินธุรกิจของสหกรณ์ จึงทำให้ ปริมาณธุรกิจของสหกรณ์ในพื้นที่โครงการหลวงลดลง การส่งเสริมสหกรณ์ในพื้นที่โครงการหลวงให้มีปริมาณ ธุรกจิ เพม่ิ ขนึ้ ไมต่ ำ่ กว่าร้อยละ ๓ จึงไมผ่ ่านเกณฑ์ตวั ชี้วดั ของกรมสง่ เสรมิ สหกรณ์ แนวทางแก้ไข สหกรณค์ วรมีการรวบรวมผลผลติ เพื่อทำการตลาดและจัดจำหนา่ ยในแบรนดข์ องสหกรณ์ และควรเพ่ิม ศักยภาพการรวบรวมธรุ กิจของสหกรณใ์ นพนื้ ทโ่ี ครงการหลวง สหกรณก์ ารเกษตรโครงการหลวงหว้ ยแล้ง จำกดั กลมุ่ เกษตรกรทำสวนอนิ ทรยี ์บ้านห้วยคณุ พระ สหกรณก์ ารเกษตรโครงการหลวงหว้ ยนำ้ ริน จำกดั สหกรณ์การเกษตรโครงการหลวงห้วยโป่ง อ.เวยี งปา่ เปา้ จำกดั

รายงานประจำปี 2564 สำนกั งานสหกรณจ์ ังหวดั เชยี งราย 63 สหกรณผ์ ู้ปลกู หอมหวั ใหญผ่ าตง้ั จำกดั สหกรณก์ ารเกษตรโครงการหลวงหว้ ยน้ำขนุ่ จำกัด กลุ่มเกษตรกรทำสวนบา้ นสามกุลา

รายงานประจำปี 2564 สำนักงานสหกรณจ์ งั หวัดเชยี งราย 64 ➢ โครงการส่งเสรมิ สหกรณ์ในพืน้ ทีโ่ ครงการพัฒนาพ้นื ทสี่ งู แบบโครงการหลวง 1. วัตถปุ ระสงค์ เพอื่ ใหป้ ระชาชนในพื้นทีโ่ ครงการพัฒนาพ้นื ท่สี งู แบบโครงการหลวง มีการประกอบอาชพี โดยอาศัย ฐานความร้จู ากโครงการหลวงทม่ี ีการปรับใชอ้ ยา่ งเหมาะสมกบั สภาพภูมสิ งั คมและภมู ปิ ัญญาเดมิ ของท้องถ่ิน และสอดคล้องกบั ปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพียง ทำให้ชมุ ชนในพืน้ ที่โครงการขยายผลโครงการหลวงมคี วาม เขม้ แข็ง โดยกระบวนการรวมกลุม่ และการจัดการกลุ่มเพื่อพงึ่ พาตนเอง เปา้ หมาย หมบู่ ้านในพื้นท่โี ครงการพัฒนาพน้ื ที่สงู แบบโครงการหลวง ๒ แหง่ พนื้ ท่ดี ำเนนิ งานโครงการ ๑. โครงการพฒั นาพ้ืนที่สูงแบบโครงการหลวงหว้ ยก้างปลา อำเภอแม่จัน จงั หวัดเชยี งราย ๒. โครงการพฒั นาพื้นทสี่ งู แบบโครงการหลวงวาวี อำเภอแมส่ รวย จงั หวดั เชยี งราย 2. ผลการดำเนนิ งาน แนะนำสง่ เสรมิ กลุ่มหมู่บา้ นในพ้ืนท่โี ครงการพัฒนาพื้นท่ีสูงแบบโครงการหลวง จำนวน ๒ แหง่ ดังนี้ ๑. จากการแนะนำส่งเสริม และจัดกิจกรรมการมีส่วนร่วมกับหมู่บ้านโดยประยุกต์ใช้รูปแบบของการ สหกรณ์ ในพื้นที่โครงการพัฒนาพื้นที่สูงแบบโครงการหลวงห้วยก้างปลา อำเภอแม่จัน จังหวัดเชียงราย สมาชิกมี การรวมกลุ่มและใช้วิธีการสหกรณ์ โดยจัดตั้งเป็นวิสาหกิจชุมชนลุ่มน้ำจัน จำนวนสมาชิก ๑๙ ราย ปริมาณธุรกิจ รวบรวมผัก ๗๐๐ - ๑,๐๐๐ กิโลกรัมต่อสัปดาห์ คิดเป็นรายได้ ๗๐,๐๐๐ - ๑๐๐,๐๐๐ บาทต่อเดือน ขึ้นอยู่กับฤดูกาล ผลผลิตในแตฤ่ ดู ๒. จากการแนะนำส่งเสริม และจัดกิจกรรมการมีส่วนร่วมกับหมู่บ้านโดยประยุกต์ใช้รูปแบบของการ สหกรณ์ในพื้นที่โครงการพัฒนาพื้นที่สูงแบบโครงการหลวงวาวี อำเภอแม่สรวย จังหวัดเชียงราย สมาชิกมีการ รวมกลุ่มโดยใช้วิธีสหกรณ์ จำนวนสมาชิก 62 ราย ประกอบอาชีพทำไร่ทำสวน มีทุนเรือนหุ้น จำนวน ๒๒,๕๐๐ บาท ใชเ้ ปน็ ทุนหมนุ เวยี นในการดำเนินธุรกิจจัดหาปัจจยั การผลิตมาจำหน่ายแกส่ มาชิก 3. ผลลพั ธ์ : ผลลัพธเ์ ชิงปริมาณ ตวั ชีว้ ัดระดับกจิ กรรมหลกั ผลการดำเนนิ งาน หมาย เหตุ ๑.กลุ่มหมู่บา้ นในพื้นท่ีโครงการพัฒนาพื้นที่สูงแบบโครงการหลวง ๒ แหง่ ได้รับการส่งเสริมและพัฒนาความรู้ด้านการสหกรณ์ จำนวน ๒ แห่ง ๒. ควบคมุ การใช้จ่ายงบประมาณตามงบรายจ่ายและเบิกจา่ ยให้เป็นไปตาม ร้อยละ ๑๐๐/23,2๐๐ บาท เปา้ หมายที่กรมกำหนด รอ้ ยละ ๑๐๐

รายงานประจำปี 2564 สำนักงานสหกรณจ์ ังหวัดเชยี งราย 65 ผลลัพธเ์ ชิงคุณภาพ สมาชิกหมู่บ้านในพื้นที่โครงการพัฒนาพื้นที่สูงแบบโครงการหลวงสามารถเข้าถึงความรู้ทางวิชาการ สหกรณ์ การดำเนินกจิ กรรมโดยประยุกต์ใชร้ ูปแบบสหกรณ์ และสามารถนำความรู้ท่ไี ดร้ ับไปปฏบิ ัติในการเป็น สมาชิกกลุ่มที่ดีได้เพิ่มขึ้น และสามารถนำหลักของการสหกรณ์ไปประยุกต์ใช้ในการดำเนินชีวิตประจำวันตาม หลกั ของปรชั ญาเศรษฐกจิ พอเพยี งได้เปน็ อย่างดี 4. ปญั หา/อุปสรรค ในการดำเนินงาน และแนวทางแก้ไข กลุ่มชาวบ้านยังมีประสบการณ์ในการรวมกลุ่มและการทำงานร่วมกันน้อย และไม่สามารถจัดทำบัญชี ได้ มีความหลากหลายทางชาตพิ ันธุ์ จึงมผี ลตอ่ การการทำงานรว่ มกันของสมาชิก ภาพถ่ายแสดงการดำเนินกิจกรรมของงาน/โครงการ กลุ่มหมู่บ้านโครงการพัฒนาพื้นที่สูงแบบโครงการหลวงวาวี อ.แม่สรวย จ.เชียงราย กลุ่มหมบู่ ้านโครงการพฒั นาพน้ื ทสี่ งู แบบโครงการหลวงหว้ ยกา้ งปลา อ.แม่จัน จ.เชียงราย

รายงานประจำปี 2564 สำนกั งานสหกรณ์จังหวดั เชียงราย 66 ➢ โครงการส่งเสรมิ และพัฒนาสหกรณใ์ นพน้ื ทีโ่ ครงการอนั เนื่องมาจากพระราชดำริ 1.วตั ถุประสงค์ เพื่อแนะนำสง่ เสริมสหกรณ/์ กล่มุ เกษตรกรในพื้นทโี่ ครงการอันเน่อื งมาจากพระราชดำริใหส้ ามารถ ดำเนินกิจกรรมเพ่ือช่วยเหลือสมาชิกสหกรณท์ ั้งในดา้ นเศรษฐกจิ และสงั คมมีความเปน็ อย่ทู ี่ดี เปา้ หมาย กลุ่มผูป้ ลกู กาแฟและชาอสั สมั ในพื้นทโ่ี ครงการอนั เนื่องมาจากพระราชดำริ จำนวน ๓๐ คน พนื้ ท่ดี ำเนินงานโครงการ กล่มุ ชาวบา้ นในพืน้ ท่โี ครงการสง่ เสรมิ การดำเนนิ งานอันเนื่องมาจากพระราชดำริ โครงการ “รักษ์นำ้ เพื่อพระแม่ของแผน่ ดนิ ” ลมุ่ น้ำคำ จงั หวัดเชยี งราย 2. ผลการดำเนินงาน แนะนำส่งเสริมกลุ่มชาวบ้าน “กลุ่มผู้ปลูกกาแฟและชาอัสสัมในพื้นที่โครงการอันเนื่องมาจาก พระราชดำริ จำนวน ๓๐ คน เพื่อให้กลุ่มชาวบ้านนำวิธีการสหกรณ์ไปใช้ในการดำเนินการกลุ่ม และจัด ประชุมเชิงปฏิบัติการเพื่อเสริมสร้างการมีส่วนร่วมกับชุมชน ให้สามารถจัดทำแผนการดำเนินกิจกรรมกลุ่มได้ งบประมาณ ๑๑,๗๐๐ บาท กลุม่ ชาวบา้ นเกดิ การเรียนรู้ในการแก้ไขปญั หาร่วมกันโดยการช่วยเหลือตนเองและ รว่ มมือในการชว่ ยเหลอื ซงึ่ กนั และกัน 3. ผลลพั ธ์ ผลลัพธเ์ ชิงปริมาณ สำนักงานสหกรณจ์ งั หวดั เชยี งรายได้ดำเนนิ โครงการส่งเสรมิ และพฒั นาสหกรณ์ในพ้ืนทโี่ ครงการอัน เนือ่ งมาจากพระราชดำริ โดยมผี ลลพั ธเ์ ชงิ ปริมาณ ดังน้ี 1. สมาชิกกลุ่มชาวบ้านได้รับการส่งเสริมให้สามารถนำรูปแบบการบริหารจัดการสหกรณ์ไป ประยกุ ตใ์ ชใ้ นการบริหารจดั การกลุม่ เปา้ หมายจำนวน ๓๐ ราย คิดเปน็ รอ้ ยละ ๑๐๐ 2. ควบคุมการใช้จ่ายงบประมาณตามงบรายจ่ายและเบิกจ่ายให้เป็นไปตามเป้าหมายที่กรมส่งเสริม สหกรณ์กำหนด สามารถเบิกจา่ ย 14,300 บาท คดิ เปน็ รอ้ ยละ ๑๐๐ ผลลพั ธเ์ ชงิ คณุ ภาพ กลุ่มชาวบ้านเกิดการเรียนรู้ในการแก้ไขปัญหาร่วมกันโดยการช่วยเหลือตนเองและร่วมมือในการช่วยเหลือ ซ่งึ กันและกัน สามารถรว่ มกนั กำหนดแผนการดำเนนิ กจิ กรรมกลุ่มได้ 4. ปญั หา/อปุ สรรค ในการดำเนินงาน และแนวทางแกไ้ ข กลุ่มชาวบ้านยังมีประสบการณ์ในการรวมกลุ่มและการทำงานร่วมกันน้อยมีความหลากหลายทางชาติพันธ์ุ จงึ มีผลต่อการการทำงานร่วมกนั ของสมาชกิ แผนงานยุทธศาสตรเ์ พอ่ื สนับสนุนด้านการสรา้ งโอกาสและความเสมอภาคทางสงั คม ➢ โครงการชว่ ยเหลอื ดา้ นหนี้สินสมาชิกสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกร 1. วตั ถปุ ระสงค์ 1 เพื่อลดภาระดอกเบี้ยและลดต้นทุนในการประกอบอาชีพการเกษตรแก่สมาชิกสหกรณ์/กลุ่ม เกษตรกร 2 เพื่อให้สมาชิกสหกรณ์/กลุ่มเกษตรกร ที่ประกอบอาชีพการเกษตรมีโอกาสนำเงินส่วนที่ได้รับการ ชว่ ยเหลือไปฟ้นื ฟปู ระกอบอาชพี ตลอดจนมีเงนิ ทุนไว้ใช้จ่ายในครัวเรือน

รายงานประจำปี 2564 สำนกั งานสหกรณ์จังหวดั เชยี งราย 67 2. กล่มุ เปา้ หมาย/พนื้ ท่เี ป้าหมายดำเนินการ : สมาชิกสหกรณ์/กลุ่มเกษตรกรที่มีหนี้เงินกู้ในวัตถุประสงค์เพื่อการเกษตร ณ วันที่ 31 กรกฎาคม 2561 ต้นเงินกูข้ อรบั การชดเชยไมเ่ กนิ 300,000 บาทแรก จำนวน 5,560 ราย 12 สหกรณ์ 3. ตวั ชวี้ ดั ความสำเร็จของการดำเนนิ งานโครงการ : 1 จำนวนสมาชิกสหกรณแ์ ละกลุ่มเกษตรกรทมี่ ีหน้ีเงนิ กู้เพื่อการเกษตรได้รับการลดภาระดอกเบย้ี 2 ตน้ ทนุ การผลติ ของสมาชิกลดลง รอ้ ยละ 3 3 เบิกจา่ ยงบประมาณให้เปน็ ไปตามเป้าหมายท่ีกำหนด ร้อยละ 100 สรุปผลการดำเนนิ งานโครงการ ปงี บประมาณ พ.ศ.2564 สำนักงานสหกรณ์จงั หวัดเชียงราย ไดร้ บั งบประมาณสำหรบั ดำเนินการตาม โครงการลดดอกเบี้ยเงินกู้ให้เกษตรกรสมาชิกสหกรณ์/กลุ่มเกษตรกร จำนวน 3,900,347.90 บาท เบิกจ่าย ให้กับสหกรณ์/กลุ่มเกษตรกร จำนวน 3,754,917.25 บาท ส่งคืนงบประมาณกรมส่งเสริมสหกรณ์ จำนวน 145,430.65 บาท รายละเอยี ดดังน้ี ลาดบั ชือ่ สหกรณ/์ กลุ่มเกษตรกร สมาชิก จานวนดอกเบยี้ ท่ี จานวนดอกเบยี้ ที่ ผลการเบกิ จา่ ยจริง ส่งคืนกรมฯ ปี 64 หมายเหตุ 1 สหกรณโ์ คนมเชยี งราย จากดั ขอชดเชยทงั้ หมด ไดร้ ับจดั สรร ปี 2564 0.01 (ตามแผน) ปี 2564 25,543.44 16 86,414.81 25,543.45 2 สหกรณก์ ารเกษตรเมืองพาน จากดั 760 2,115,668.21 641,652.39 582,852.86 58,799.53 3 สหกรณก์ ารเกษตรเวียงชยั จากดั 1840 3,477,937.30 1,028,046.06 1,028,046.06 - 4 สหกรณก์ ารเกษตรเวียงปา่ เปา้ จากดั 443 814,808.48 241,238.11 239,846.98 1,391.13 5 สหกรณก์ ารเกษตรแม่สรวย จากดั 96 98,694.27 29,242.10 28,992.89 249.21 6 สหกรณ์การเกษตรแม่สาย จากดั 995 4,869,123.62 1,439,335.17 1,439,107.75 227.42 7 สหกรณก์ ารเกษตรปฏิรูปทดี่ นิ เวียงชัย จากดั 319 466,908.67 138,140.17 137,688.99 451.18 8 สหกรณก์ ารเกษตรพญาเม็งราย จากดั 536 312,521.12 93,256.53 90,091.43 3,165.10 9 สหกรณ์การเกษตรศภุ นมิ ิตแม่สาย จากดั 127 347,232.58 121,569.52 53,190.37 68,379.15 10 สหกรณ์การเกษตรศภุ นมิ ิตขุนตาล จากดั 215 136,627.67 40,385.88 40,385.88 - 11 สหกรณก์ ารเกษตรหงาวตบั เตา่ จากดั 150 223,398.88 67,441.30 62,361.71 5,079.59 12 สหกรณก์ ารเกษตรเชยี งของ จากดั 63 109,504.56 34,497.22 26,808.89 7,688.33 รวมทง้ั สนิ้ 5,560 13,058,840.17 3,900,347.90 3,754,917.25 145,430.65 4. ปัญหา อปุ สรรคของการดำเนินงานโครงการ : 1 สมาชิกสหกรณ์/กลุ่มเกษตรกรที่ขอเบิกชดเชยดอดเบี้ยมีคุณสมบัติไม่ตรงตามหลักเกณฑ์ที่โครงการ กำหนด 2 สหกรณไ์ ม่เขา้ ใจในหลักเกณฑ์ แนวทางปฏิบัติงานตามโครงการ ข้อเสนอแนะ/แนวทางการแก้ไขปัญหา 1 สหกรณ์/กลมุ่ เกษตรกรต้องมีการจดั ทำฐานข้อมลู สมาชิกที่ถูกตอ้ ง ครบถ้วน เพอื่ ใช้ในการตรวจสอบ คุณสมบตั ิ เช่น ชอื่ - สกลุ เลขบตั รประจำตวั ประชาชน วตั ถปุ ระสงคใ์ นการขอกู้ 2 การดำเนินการตามโครงการที่เป็นโครงการใหม่ๆ ควรมีการจัดประชุมชี้แจงแนวทางการปฏิบัติ หลกั เกณฑ์ ตลอดจนเงอ่ื นไขของโครงการให้แกผ่ ู้ปฏบิ ัติ เพ่ือให้มีความเข้าใจไปในทศิ ทางเดยี วกัน

รายงานประจำปี 2564 สำนักงานสหกรณ์จังหวดั เชียงราย 68 ➢ โครงการส่งเสริมและพฒั นาอาชีพเพ่ือแกไ้ ขปัญหาท่ดี นิ ทำกนิ ของเกษตรกร 1. วัตถปุ ระสงค์ เพือ่ สง่ เสริมการรวมกลุ่มประชาชนในพน้ื ท่ีเป้าหมายการจัดท่ดี ินทำกนิ ให้ชมุ ชน ภายใต้ คณะกรรมการนโยบายที่ดนิ แหง่ ชาติ โดยกำหนดตวั ชว้ี ัดระดบั กจิ กรรมหลักและเป้าหมายดงั น้ี ตัวชวี้ ัดระดับกจิ กรรมหลัก เปา้ หมาย 1. สมาชกิ สหกรณไ์ ดร้ บั การสง่ เสริมและพฒั นาอาชีพ 3 พืน้ ท/่ี 2,133 ราย 2. จดั ทำฐานข้อมลู เกษตรกรทไ่ี ดร้ ับการส่งเสรมิ และพัฒนาอาชีพ 2 พืน้ ท/่ี 1,762 ราย 3. บูรณาการร่วมกันระหว่างหน่วยงาน และติดตามการส่งเสริมและพัฒนา 3 พืน้ ท่ี อาชพี ภายใตโ้ ครงการจดั ทีด่ นิ ทำกินฯ 4. รายได้ของสมาชิกสหกรณ์/กลุ่มเกษตรกรที่เข้าร่วมโครงการเพิ่มข้ึนเฉลี่ย ไม่น้อยกวา่ ร้อยละ 3 (เทยี บกับปีกอ่ น) 5. ควบคุมการใช้จ่ายงบประมาณตามงบรายจ่ายและกิจกรรมหลักและ รอ้ ยละ 100 เบิกจ่ายใหเ้ ปน็ ไปตามเป้าหมายทก่ี รมกำหนด เป้าหมาย เกษตรกรผไู้ ด้รับสิทธเิ ข้าร่วมโครงการฯ จากคณะอนุกรรมการจัดทีด่ ิน จำนวน 2,133 ราย พ้นื ทด่ี ำเนินงานโครงการ 1. ป่าสงวนแห่งชาติ ป่าแม่ปืมและปา่ แม่พุง (ท้องที่ตำบลสันมะเค็ด อำเภอพาน ตำบลป่าแงะ และตำบล โรงช้าง อำเภอปา่ แดด จังหวัดเชยี งราย) จำนวน 371 ราย 2. ป่าสงวนแห่งชาติ ป่าหว้ ยสกั และป่าแมก่ กฝัง่ ขวา (ทอ้ งที่ตำบลห้วยสกั และตำบลดอยลาน อำเภอเมือง เชยี งราย ตำบลดอนศลิ า ตำบลผางาม และตำบลเมืองชมุ อำเภอเวยี งชัย ตำบลป่าซางและตำบลทุ่งก่อ อำเภอ เวียงเชียงรุ้ง จงั หวัดเชยี งราย) จำนวน 1,174 ราย 3. ป่าสงวนแห่งชาติ ป่าห้วยป่าแดง ป่าห้วยป่าตาล และป่าห้วยไคร้ (ท้องที่ตำบลยางฮอม ตำบลป่าตาล และตำบลต้า อำเภอขุนตาล ตำบลตับเต่า ตำบลเวียง และตำบลหงาว อำเภอเทิง จังหวัดเชียงราย) จำนวน 588 ราย 2. ผลการดำเนนิ งาน : กิจกรรม ผลการ การเบกิ จ่าย ดำเนนิ งาน งบประมาณ 1. ประสานงาน แนะนำ สง่ เสริมสหกรณ/์ กลุ่มเกษตรกร/เกษตรกร 3 พ้นื ที่/ 0.00.- เปา้ หมายในการสง่ เสรมิ และพัฒนาอาชีพเพ่ือแกไ้ ขปญั หาท่ีดนิ ทำกินของ 1,140 ราย

รายงานประจำปี 2564 สำนกั งานสหกรณจ์ งั หวัดเชียงราย 69 กิจกรรม ผลการ การเบกิ จ่าย ดำเนินงาน งบประมาณ เกษตรกร รวมท้ังปฏิบัติตามแนวทางการปฏบิ ตั ิงาน ตามท่กี องพฒั นา ระบบสนบั สนนุ การสหกรณ์และหนงั สือข้อสัง่ การอ่ืน ๆ ท่ีเกย่ี วขอ้ งกำหนด 200 ราย 4,900.- 628 ราย 1. ปา่ สงวนแหง่ ชาติ ป่าแม่ปืมและป่าแม่พุง 312 ราย 0.00 2. ป่าสงวนแห่งชาติ ปา่ ห้วยสกั และปา่ แม่กกฝง่ั ขวา 9,600.- 3. ป่าสงวนแหง่ ชาติ ป่าห้วยป่าแดง ป่าหว้ ยป่าตาล และป่าห้วยไคร้ 4 ครง้ั / 0.00 2. จดั ประชุมเจ้าหน้าท่ผี ปู้ ระสานงานหน่วยงานภายใต้คณะอนุกรรมการ 140 ราย ส่งเสรมิ และพัฒนาอาชีพระดับจงั หวัด 35 ราย - คร้งั ที่ 1/2564 วนั ที่ 23 ธนั วาคม 2563 35 ราย - ครั้งที่ 2/2564 วนั ท่ี 29 มนี าคม 2564 35 ราย - คร้ังที่ 3/2564 วันที่ 14 มิถนุ ายน 2564 35 ราย - ครั้งที่ 4/2564 วันที่ 9 กนั ยายน 2564 3 พนื้ ท่ี 3. บรู ณาการกบั หนว่ ยงานท่เี กี่ยวข้องในการสง่ เสรมิ และพัฒนาอาชีพ ภายใต้โครงการจัดทดี่ นิ ทำกินใหช้ มุ ชนในพ้นื ท่โี ครงการตามนโยบายรัฐบาล 940 ราย 1. ปา่ สงวนแหง่ ชาติ ปา่ แม่ปืมและป่าแมพ่ ุง 2. ปา่ สงวนแห่งชาติ ปา่ หว้ ยสกั และปา่ แมก่ กฝ่ังขวา 628 ราย 3. ป่าสงวนแห่งชาติ ป่าหว้ ยปา่ แดง ป่าหว้ ยป่าตาล และป่าหว้ ยไคร้ 312 ราย 4. ตรวจสอบและจัดทำฐานข้อมลู สมาชิกสหกรณท์ ี่ได้รบั การอบรมให้มี 3 พืน้ ที่ ความรูใ้ นการส่งเสริมและพฒั นาอาชีพฯ รวมท้ังเกบ็ ข้อมลู รายได้ของ สมาชกิ ก่อน – หลังเขา้ รับการอบรมฯ 12 คร้งั 1. ป่าสงวนแห่งชาติ ปา่ ห้วยสักและป่าแมก่ กฝ่งั ขวา 2. ป่าสงวนแห่งชาติ ปา่ ห้วยปา่ แดง ปา่ หว้ ยป่าตาล และป่าห้วยไคร้ 5. แนะนำ ส่งเสริม บรู ณาการร่วมกันระหว่างหน่วยงาน และติดตามการ ส่งเสรมิ และพฒั นาอาชีพ ภายใตโ้ ครงการจดั ท่ีดนิ ทำกินใหช้ มุ ชนในพน้ื ท่ี โครงการตามนโยบายรฐั บาล - รว่ มประชมุ ถอดบทเรยี นกับคณะทำงานและสหกรณก์ ารเกษตรในพ้นื ที่ โครงการฯ ในการส่งเสริมใหเ้ กษตรกรสมัครเขา้ เปน็ สมาชิกสหกรณ์ และ ส่งเสรมิ ดา้ นแหล่งเงินทนุ และการดำเนินธรุ กจิ รว่ มกับสหกรณ์ 6. รายงานผลการดำเนนิ งานและการใช้จา่ ยงบประมาณ ตามแบบรายงาน ทีก่ ำหนด

รายงานประจำปี 2564 สำนักงานสหกรณ์จงั หวัดเชียงราย 70 3. ผลลัพธ์ : ผลลัพธ์เชิงปรมิ าณ สำนักงานสหกรณจ์ งั หวัดเชียงรายได้ดำเนินโครงการส่งเสรมิ และพัฒนาอาชีพเพ่ือแก้ไขปญั หาทด่ี ินทำ กินของเกษตรกร โดยมีผลลพั ธ์เชิงปรมิ าณ ดงั น้ี 1. สมาชิกสหกรณ์ได้รับการสง่ เสรมิ และพฒั นาอาชพี 3 พน้ื ที่/ 998 ราย คดิ เปน็ ร้อยละ 46.78 2. จัดทำฐานข้อมูลเกษตรกรที่ได้รับการส่งเสริมและพัฒนาอาชีพ 2 พื้นที่/ 940 ราย คิดเป็นร้อยละ 53.35 3. บูรณาการร่วมกันระหว่างหน่วยงาน และติดตามการส่งเสริมและพัฒนาอาชีพภายใต้โครงการ จัดทีด่ นิ ทำกนิ ฯ 3 พน้ื ที่ คดิ เป็นรอ้ ยละ 100 4. รายไดข้ องสมาชกิ สหกรณ์ท่เี ขา้ ร่วมโครงการเพิ่มข้นึ เฉลย่ี (เทยี บกบั ปกี ่อน) นอ้ ยกวา่ รอ้ ยละ 3 5. ควบคมุ การใช้จ่ายงบประมาณตามงบรายจ่ายและกิจกรรมหลกั และเบกิ จา่ ยใหเ้ ป็นไปตามเป้าหมาย ท่ีกรมสง่ เสรมิ สหกรณ์กำหนด จำนวน 14,500 บาท คิดเปน็ รอ้ ยละ 25.12 ผลลพั ธ์เชิงคุณภาพ แม้รายได้ของสมาชิกสหกรณ์ทีเ่ ข้ารว่ มโครงการจะลดลงเม่ือเทยี บกับเป้าหมายที่ร้อยละ 3 แต่สมาชิก สหกรณ์มีความรู้และเลือกเมนูอาชีพเพื่อเป็นทางเลือกในการประกอบอาชีพตามความถนัดของตน เช่น การ ปลูกพืชผักสวนครัวเพื่อเป็นแหล่งอาหารในครัวเรือน การเลี้ยงปลาดุกในกระชังบก และการเลี้ยงไก่พันธ์ุ พ้นื เมือง นำไปสร้างรายไดเ้ พ่มิ มากข้นึ และสามารถถา่ ยทอดองค์ความรู้ไปยงั เกษตรกรรายอน่ื ๆ ไดต้ ่อไป 4. ปญั หา/อปุ สรรค ในการดำเนินงาน และแนวทางแกไ้ ข จากสถานการณ์โรคตดิ เชือ้ ไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) ทีร่ ะบาดในประเทศไทยและตา่ งประเทศ ทำให้ไม่สามารถดำเนินการจัดอบรมให้ความรู้ตลาดนำการผลิตให้เกษตรกรในพื้นที่ที่ยังไม่มีการจัดตั้งเป็น สหกรณ์/กลุ่มเกษตรกร ซึ่งมีเป้าหมายในการอบรมทั้งหมดจำนวน 60 ราย ซึ่งทำให้ต้องสง่ คืนเงินงบประมาณ ให้กับกรมส่งเสริมสหกรณ์ ร้อยละ 74.87 ของงบประมาณทั้งหมด และส่งผลให้ความสามารถในการสร้าง รายได้ของสมาชิกสหกรณ์ที่เข้าร่วมโครงการลดลง รวมถึงการจัดทำฐานข้อมูลของหน่วยงานบูรณาการที่ยัง ไม่ได้จัดทำฐานข้อมูล ทำให้เกิดความคลาดเคลื่อนในเรื่องความต้องการเมนูอาชีพของเกษตรกรในพื้นที่ ทำให้ ยากในการวางแผนเพ่อื ส่งเสริมอาชีพใหไ้ ด้ตามเป้าหมาย

รายงานประจำปี 2564 สำนักงานสหกรณ์จังหวัดเชยี งราย 71 5. ภาพถ่ายแสดงการดำเนินกิจกรรมของงาน/โครงการ ภาพการร่วมประชุมถอดบทเรียนกับคณะทำงานและสหกรณ์การเกษตรในพื้นทีโ่ ครงการฯ ในการส่งเสริมให้ เกษตรกรสมัครเข้าเป็นสมาชิกสหกรณ์ และส่งเสริมด้านแหล่งเงินทุนและการดำเนินธุรกิจร่วมกับสหกรณ์ และภาพการจัดประชุมเจ้าหนา้ ที่ผู้ประสานงานหน่วยงานภายใต้คณะอนกุ รรมการส่งเสริมและพัฒนาอาชีพ ระดบั จงั หวัด ➢ โครงการนำลกู หลานเกษตรกรกลบั บ้าน สานตอ่ อาชีพการเกษตร 1. วตั ถปุ ระสงค์ เพือ่ สง่ เสริมให้เกษตรกรมที ักษะด้านการตลาดสนิ ค้าเกษตร มคี วามรูพ้ ้นื ฐานของผู้ประกอบการ นำไปสู่ การพฒั นาสนิ ค้าเพ่ือการจำหนา่ ย และส่งเสรมิ ความย่ังยืนในการประกอบอาชีพเกษตรกร เป้าหมาย 1 เกษตรกรในโครงการส่งเสริมและสร้างทักษะในการประกอบอาชีพทั้งในและนอกภาคเกษตร กิจกรรมนำลกู หลานเกษตรกรกลบั บา้ น สานตอ่ อาชีพการเกษตร จำนวน 12 ราย 2 เกษตรกรในโครงการนำลูกหลานเกษตรกรกลับบ้าน สานต่ออาชีพการเกษตร (ผู้ที่ยืนยันเข้าร่วม โครงการนำลูกหลานเกษตรกรกลับบ้านฯ และมีความตั้งใจจริงในการประกอบอาชีพเกษตร ผู้แทนสถาบัน เกษตรกร ผู้แทนหนว่ ยงานภาคี เจ้าหนา้ ที่ วิทยากร ผสู้ งั เกตการณ์ จำนวน 23 คน ระยะเวลาและสถานท่ี จัดประชุม ณ.สำนักงานสหกรณ์การเกษตรเมืองเชียงราย จำกัด ในวันที่ 7-8 ธันวาคม 2564 จำนวน 2 วนั

รายงานประจำปี 2564 สำนักงานสหกรณจ์ งั หวดั เชียงราย 72 2. ผลการดำเนินงาน 2.1 จัดประชุมโครงการประชุมเชิงปฏิบัติการสร้างทักษะการตลาดสินค้าให้แก่เป้าหมาย ระยะเวลา 2 วัน โดยวิธี บรรยาย/อภิปราย/สาธติ / โดยมีหวั ข้อในการประชุมฯ ดังน้ี - การนำเสนอแผนการผลิตและแนวคิดในการวางแผน - การแปรรปู ผลผลิตและการบรรจภุ ณั ฑ์สนิ ค้าเกษตร - การใหค้ วามรูแ้ นวทางการเช่ือมโยงการตลาดกบั สถาบันเกษตรกรและภาคเอกชน - การตลาดสินคา้ ออนไลนแ์ ละการวางแผนการตลาด โดยวิทยากรมาจากมหาวิทยาลัยแม่ฟ้าหลวง สำนักงานสหกรณ์จังหวัดเชียงราย และ YOUNG SMART FARMER 2.2 เจ้าหน้าที่กลุ่มพัฒนาธุรกิจและส่งเสริมสหกรณ์ ร่วมกับกลุ่มส่งเสริมสหกรณ์ 1 – 5 ออกตรวจเยี่ยม พบปะ และสอบถามความต้องการของผู้สมัครเข้าร่วมโครงการฯ จำนวน 18 อำเภอ 3. ผลลพั ธ์ ผลลพั ธ์เชิงปรมิ าณ งบประมาณที่ใช้ 35,080 บาท เบิกจ่ายแลว้ 35,080 บาท คดิ เป็นรอ้ ยละ 100 ผู้เข้าร่วมโครงการ มีอาชีพทางการเกษตรที่มั่นคงและมรี ายได้หลักจากการทำการเกษตรท่สี ามารถดำรงได้อย่างย่งั ยืนภายใน 5 ปี ผลลัพธเ์ ชิงคุณภาพ 1. เกษตรกรผ้เู ขา้ ร่วมโครงการไดร้ บั องค์ความรู้ มที กั ษะดา้ นการตลาด เพือ่ การแขง่ ขันในตลาดได้อย่าง มีประสิทธิภาพ และสามารถประกอบอาชีพทางการเกษตรได้อย่างยง่ั ยนื 2. การขับเคลื่อนโครงการนำลูกหลานเกษตรกรกลับบ้าน สานต่ออาชีพการเกษตร เป็นไปอย่างมี ประสทิ ธิภาพมากข้ึน 3. ผู้เข้าร่วมโครงการฯ สถาบันเกษตรกร และหน่วยงานภาคี มีเครือข่าย สามารถร่วมมือขับเคลื่อน โครงการนำลกู หลานเกษตรกรกลบั บา้ น สานต่ออาชพี การเกษตร 4. เกษตรกรรุ่นใหม่มีโอกาสเรยี นรู้ ได้รับองค์ความรู้ ด้านการเกษตรเกิดแรงบันดาลใจ ในการพัฒนา อาชพี การเกษตร 5. สหกรณ์สามารถนำลูกหลานสมาชิกและบุคคลทั่วไป เข้ามาทำอาชีพการเกษตรที่บ้านเกิด ของตนเอง 6. การขับเคลื่อนโครงการนำลูกหลานเกษตรกรกลับบ้าน สานต่ออาชีพการเกษตร ในปี ๒๕๖๔ – ๒๕๖๕ เป็นไปอยา่ งมีประสิทธิผลมากข้ึน 4. ปญั หา/อปุ สรรค ในการดำเนนิ งาน และแนวทางแกไ้ ข 1. ผู้สมัครเข้าร่วมโครงการฯ ติดงานประจำที่ทำอยู่ทำงานเดิม เพราะยังไม่ได้ลาออกจากงานประจำ/ ลางานไมไ่ ด้ 2. ผู้สมัครเข้าร่วมโครงการฯติดประชุมโครงการอื่น ๆ ที่จัดประชุมพร้อมกับโครงการนำลูกหลาน เกษตรกรกลบั บา้ น สานตอ่ อาชีพการเกษตร 3. ผ้สู มคั รไมส่ ามารถเข้าร่วมกจิ กรรมไดเ้ นือ่ งจากตดิ ภารกจิ กะทนั หัน

รายงานประจำปี 2564 สำนกั งานสหกรณจ์ งั หวัดเชยี งราย 73 การจัดประชุมโครงการประชุมเชิงปฏบิ ตั ิการสร้างทักษะการตลาดสินคา้ วนั ท่ี 7 - 8 กรกฎาคม 2564 ณ สหกรณ์การเกษตรเมืองเชียงราย จำกัด

รายงานประจำปี 2564 สำนกั งานสหกรณ์จังหวัดเชียงราย 74 ➢ โครงการพัฒนาศกั ยภาพการดำเนินธุรกิจของสหกรณ์ กลุ่มเกษตรกร และธรุ กจิ ชุมชน กจิ กรรม : เพมิ่ ขีดความสามารถในการดำเนนิ ธุรกิจของสหกรณ์/กลมุ่ เกษตรกรให้เป็นองคก์ รหลกั ใน การพฒั นาเศรษฐกิจระดับอำเภอ 1.วัตถุประสงค์ 1. เพื่อพัฒนาศักยภาพและเพิ่มขีดความสามารถในการดำเนินกิจการและธุรกิจของสหกรณ์/ กลมุ่ เกษตรกรใหเ้ ป็นองค์กรหลกั ในการพฒั นาเศรษฐกจิ ระดับอำเภอ 2. เพื่อผลักดันให้สหกรณ์/กลุ่มเกษตรกรเป็นศูนย์กลางในการรวบรวม จัดเก็บและแปรรูปผลผลิต สนิ ค้า เกษตรของสมาชิกสหกรณ์และกลมุ่ เกษตรกร รวมถึงการตลาด ได้ตลอดหว่ งโซ่อปุ ทาน 3. เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพการบริหารจัดการตลาดสินค้าเกษตร เชื่อมโยงเครือข่ายสินค้าคลัสเตอร์ของ สหกรณ์ และกลมุ่ เกษตรกร กลมุ่ เปา้ หมาย 1. เป้าหมายในการจัดประชุมเชิงปฏิบัติการจัดทำแผนพัฒนาองค์กร และแผนพัฒนาธุรกิจ ได้แก่ ผู้แทนสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกร 10 แห่ง ๆ ละ 3 คน เจ้าหน้าที่สำนักงานสหกรณ์จังหวัด 15 คน และ ผแู้ ทนหน่วยงานภายนอก 5 คน รวมท้ังสิ้น 50 คน 2. เป้าหมายอบรมหลกั สตู ร การพัฒนาผลิตภณั ฑ์และบรรจภุ ัณฑ์สินคา้ เกษตรแปรรปู ภายใต้โครงการ 1 อำเภอ 1 ผลิตภัณฑ์สินค้าเกษตร จำนวน 2 รุ่น ๆ ละ 50 คน ประกอบด้วย เจ้าหน้าที่สำนักงานสหกรณ์ จังหวัด และผู้สังเกตการณ์ วิทยการ จำนวน 20 คน สหกรณ์ที่เป็นองค์กรหลกั ระดับอำเภอและสหกรณ์/กลุ่ม เกษตรกรในเป้าหมาย 1. รวมทั้งสหกรณท์ ่มี ีการรวบรวมผลผลิตข้าว จำนวน 30 คน สหกรณ์เปา้ หมาย กจิ กรรมท่ี 1 สหกรณเ์ ปา้ หมาย จำนวน 9 สหกรณ์ และกลมุ่ เกษตรกรจำนวน 1 แหง่ ไดแ้ ก่ 1. สหกรณก์ ารเกษตรเมอื งเชียงราย จำกดั 2. สหกรณ์การเกษตรเวยี งชัย จำกดั 3. สหกรณ์การเกษตรแม่จนั จำกดั 4. สหกรณก์ ารเกษตรเชยี งแสน จำกดั 5. สหกรณ์การเกษตรแม่สรวย จำกัด 6. สหกรณก์ ารเกษตรศุภนมิ ติ วาวี จำกัด 7. สหกรณ์การเกษตรปา่ แดด จำกัด 8. สหกรณ์การเกษตรพญาเม็งราย จำกัด 9. สหกรณ์การเกษตรเมอื งเทิง จำกัด 10. กลุ่มเกษตรกรทำนาธารทอง สหกรณ์เป้าหมาย กจิ กรรมที่ 2 สหกรณ์ที่เป็นองค์กรหลกั ทมี่ ีการผลิตข้าวและกาแฟ เพ่มิ เตมิ อกี 10 สหกรณ์ ได้แก่ 1. สกต.ธกส.เชียงราย จำกัด 2. สหกรณป์ ฏริ ูปท่ีดนิ เวียงชัย จำกัด 3. สหกรณ์การเกษตรเมืองพาน จำกดั 4. สหกรณ์การเกษตรเวยี งปา่ เปา้ จำกดั 5. สหกรณก์ ารเกษตรแม่สาย จำกัด 6. สหกรณ์การเกษตรเชียงของ จำกดั

รายงานประจำปี 2564 สำนักงานสหกรณจ์ ังหวดั เชยี งราย 75 7. สหกรณป์ ระมงพาน จำกดั 8. สหกรณผ์ ู้เล้ียงสตั ว์เชียงราย จำกดั 9. สหกรณก์ ารเกษตรหงาวตับเตา่ จำกัด 10. สหกรณศ์ ภุ นิมติ ขนุ ตาล จำกัด ระยะเวลาและสถานที่ ระหวา่ งเดือน มิถุนายน-กรกฎาคม 2564 ณ สหกรณ์การเกษตรเมืองเชยี งราย จำกัด 2. ผลการดำเนินงาน กจิ กรรมท่ี 1 วันที่ 9 มิถุนายน 64 จดั ประชุมเชิงปฏบิ ตั ิการช้แี จงเกี่ยวกบั การจัดทำแผนพัฒนาองค์กร และแผนพัฒนาธุรกิจ จำนวน 1 ครั้ง เป้าหมาย จำนวน 50 คน ณ สหกรณ์การเกษตรเมืองเชียงราย บูรณา การณ์กับหน่วยงานที่เก่ียวข้อง และได้ลงพื้นที่เพื่อจัดทำแผนพัฒนาองค์กร และแผนพัฒนาธุรกิจของสหกรณ์/ กล่มุ เป้าหมาย จำนวน 10 แห่ง ระหว่างวันท่ี วันที่ 11 – 18 มถิ นุ ายน 2564 วนั ท่ี 23 ม.ิ ย.64 จัดประชมุ ระดมความคิดเห็นในการจัดทำแผน สหกรณ์/กลุ่มเกษตรกร นำเสนอแผน จำนวน 9 สหกรณ์ 1 กลุ่มเกษตรกร และมหี นว่ ยงานท่ีเข้ารว่ มบรู ณาการร่วมกันประเมิน ได้แก่ 1. สนง.ตรวจบญั ชสี หกรณเ์ ชียงราย 2. สนง.เกษตรและสหกรณจ์ ังหวัดเชยี งราย 3. สนง.เกษตรจังหวดั เชียงราย 4. สนง.พาณิชย์จงั หวดั เชียงราย เพอื่ คัดเลอื ก สหกรณ์และกลุ่มเกษตรกร จำนวน 2 ผลิตภณั ฑ์ ผลการคัดเลือก ไดแ้ ก่ 1. สกก.เชียงแสน จำกดั (ผลติ ภณั ฑข์ ้าว) 2. สก.ศภุ นิมติ วาวี จำกดั (ผลิตภัณฑ์กาแฟ) กิจกรรมที่ 2 จัดอบบรมหลักสูตร การพัฒนาผลิตภัณฑ์และบรรจุภัณฑ์สินค้าเกษตรแปรรูป ภายใต้ โครงการ 1 อำเภอ 1 ผลติ ภณั ฑส์ ินคา้ เกษตร 2 รุ่น ๆ ละ 2 วันๆ 50 คน รุน่ ท่ี 1 วนั ท่ี 24 - 25 มถิ ุนายน 2564 (เปา้ หมาย สหกรณ์หลกั ระดบั อำเภอ 10 แหง่ ) รนุ่ ท่ี 2 วันท่ี 1 - 2 กรกฎาคม 2565 (เป้าหมาย 9 สหกรณ์ 1 กลุ่มเกษตรกร) โดยมีวิทยากรจากมหาวิทยาลัยแม่ฟ้าหลวง (ศูนย์เทคโนโลยีเกษตรและนวัตกรรม จังหวัดเชียงราย) บรรยายในหัวข้อแนวคิดเกี่ยวกับการพัฒนาผลิตภัณฑ์และบรรจุภัณฑ์ เพื่อสร้างมูลค่าเพิ่มสินค้าเกษตรเข้าสู่ ตลาดในเชิงพาณิชย์ แผนการพัฒนาผลิตภัณฑ์และบรรจุภัณฑ์สินค้าเกษตร วิเคราะห์ศักยภาพและโอกาส ในการพฒั นาผลิตภัณฑ์สินคา้ เกษตร การประเมนิ ศักยภาพและความพร้อมของผลติ ภัณฑ์ที่มแี นวโน้มท่ีจะเข้าสู่ ตลาดในเชิงพาณิชย์ New Normal 3. ผลลัพธ์ ผลลัพธ์เชิงปริมาณ งบประมาณทีใ่ ช้ 123,600 บาท (หนงึ่ แสนสองหมน่ื สามพันหกร้อยบาทถว้ น) คิดเปน็ ร้อยละ 100 ผลลัพธ์เชิงคุณภาพ 1. สหกรณ์และกลุ่มเกษตรกรได้รับการพัฒนาศักยภาพการดำเนินกิจการและธุรกิจให้เป็นศูนย์กลาง เศรษฐกจิ ชุมชนในระดบั อำเภอ จำนวนไมน่ ้อยกว่า 10 แหง่

รายงานประจำปี 2564 สำนกั งานสหกรณจ์ ังหวดั เชียงราย 76 2. ผลิตภัณฑ์สินค้าเกษตร ได้รับการพัฒนาคุณภาพ เพิ่มมูลค่าสินค้าเกษตร แปรรูปและผลิตภัณฑ์ ตลอดจนการพัฒนาช่องทางเชื่อมโยงตลาดสินค้าเกษตรทั้งในและต่างประเทศ โดยเชื่อมโยงเครือข่าย/คลัส เตอร์ใหแ้ ก่สหกรณแ์ ละกลมุ่ เกษตรกร 3. สหกรณ์และกลุ่มเกษตรกรมีรายได้จากการดำเนินธุรกิจรวบรวม แปรรูป จำหน่ายผลผลิตสินค้า เกษตร และใหบ้ รกิ ารทางด้านสนิ คา้ เกษตรไดเ้ พมิ่ ขึน้ 4.สหกรณ์ภาคการเกษตร มีความเข้มแข็งเป็นที่พึ่งของสมาชิกและชุมชน และเป็นองค์กรหลักในการ พฒั นาเศรษฐกิจและสังคมในชุมชน รวมทัง้ ขับเคลื่อนนโยบายจากภาครัฐส่ชู ุมชน 4. ปญั หา/อปุ สรรค ในการดำเนินงาน และแนวทางแก้ไข 1. เนอื่ งจากสถานการณ์แพร่ระบาดของโรคโควิด – 19 ทำให้ผู้เขา้ อบรมมคี วามกงั วลในการเขา้ รว่ ม ประชมุ และอบรม และการลงพ้ืนที่จัดทำแผนพฒั นาองค์กร และแผนพัฒนาธุรกิจสหกรณ์ต้องเลื่อนไม่ตรง กำหนด

รายงานประจำปี 2564 สำนกั งานสหกรณจ์ ังหวดั เชียงราย 77 5. ภาพถา่ ยแสดงการดำเนนิ กิจกรรมของงาน/โครงการ

รายงานประจำปี 2564 สำนกั งานสหกรณ์จงั หวดั เชียงราย 78 กิจกรรม : เพมิ่ ศักยภาพการดำเนินธรุ กิจรวบรวม จัดเก็บ และแปรรูปผลผลิตการเกษตรในสหกรณแ์ ละ กลุม่ เกษตรกร สหกรณก์ ารเกษตรป่าแดด จำกดั ผลผลิตหลักทีเ่ ขา้ ร่วมโครงการ ข้าว ปัจจัยโครงสรา้ งพ้ืนฐานทม่ี ีอยู่ก่อนเข้าร่วมโครงการ ท่ี รายการ ขนาด จำนวน โครงการ แหล่งเงนิ ทนุ 1 เครอ่ื งช่ัง 80 ตนั 1 เงินอุดหนุน 2562 กรมส่งเสริม/สหกรณ์ 2 ฉาง 2,000 ตนั 1 โครงการพัฒนาสถาบัน กรมสง่ เสรมิ /สหกรณ์กรมสง่ เสริม/ 3 ลานตาก 3,348 1 เกษตรกรจดั เกบ็ พืชผล สหกรณ์ 4 ตรม. 5 ทางการเกษตร (แกม้ ลงิ ) ปจั จัยโครงสรา้ งพื้นฐานและเคร่ืองมืออปุ กรณท์ ไี่ ด้รบั การสนบั สนนุ จากโครงการ ท่ี รายการ ขนาด จำนวน รฐั อุดหนุน สหกรณส์ มทบ วงเงนิ รวม 1,050,000 (บาท) (บาท) 1 โฟส์คลฟิ ท์ 3 ตนั 1 430,500 619,500 ผลการดำเนินงานของสหกรณ์ กอ่ น เข้าร่วมโครงการ ปี 2562 -2563 เชน่ ผลผลติ ท่รี ่วมโครงการ ปริมาณรวบรวม (ตนั /ปี) มูลค่าการรวบรวม (บาท) จำนวนเกษตรกรทไี่ ด้รับประโยชน์ (ราย) ที่ ผลผลติ ที่เข้ารว่ มโครงการ ปรมิ าณรวบรวม มูลค่าการรวบรวม จำนวนเกษตรกรทไี่ ด้รับ (ตัน/ป)ี (บาท) ประโยชน์ (ราย) 1 ข้าวเปลอื ก 16,756 113,250,367 3000 ผลการดำเนนิ งานของสหกรณ์ หลัง เข้าร่วมโครงการ ปี 2564เปน็ ตน้ ไป วนั ทีส่ ่งมอบงาน27 เม.ย. 63วนั ที่ตรวจรับงาน27 เม.ย. 63วันทเ่ี ร่มิ ใชป้ ระโยชน์10 พ.ย. 63 ท่ี ผลผลติ ที่เขา้ ร่วมโครงการ ปริมาณรวบรวม มลู คา่ การรวบรวม จำนวนเกษตรกรทีไ่ ด้รับ (ตัน/ป)ี (บาท) ประโยชน์ (ราย) 1 ข้าวเปลอื ก 25,049 247,328,308 4,000 ผลการดำเนนิ งานของสหกรณใ์ นปปี จั จบุ ัน เชน่ ธรุ กจิ รวบรวม ธรุ กิจแปรรูป ธุรกิจจัดหาสนิ คา้ มา จำหน่าย ฯลฯ

รายงานประจำปี 2564 สำนักงานสหกรณจ์ งั หวัดเชยี งราย 79 ท่ี ธุรกิจ จำนวน (ตนั ) จำนวนเงิน (บาท) สมาชิกได้รบั 1 ธรุ กิจรวบรวม ประโยชน์ (ราย) 25,049 247,328,308 2,000 2 ธรุ กิจแปรรปู 63 1,109366 500 1,654,773 1,500 3 ธรุ กจิ จดั หาสินค้า 5,569,729 238 มาจำหนา่ ย 255,662,176 4 ธุรกจิ อ่นื ๆ สนิ เช่อื /ผลติ สนิ คา้ รวม 25,112 ผลลัพธข์ องโครงการฯ เชน่ รวบรวมเพม่ิ ขึน้ (ตนั ) ปรมิ าณธุรกจิ เพม่ิ ข้นึ /ลดลง (บาท) สมาชกิ ไดร้ ับ ประโยชน์ (ราย) เกษตรกรได้รบั ประโยชน์ (ราย) เกษตรกรมีรายไดเ้ พิม่ ขน้ึ (บาท) ท่ี ธรุ กิจ 2562 2563 เพม่ิ ขนึ้ (บาท/ ลดลง ราย) (บาท/ราย) 1 ธรุ กจิ รวบรวม 165,627,381 247,328,308 200 บาท 2 ธรุ กจิ แปรรูป 229,724 1,109,366 50 บาท 3 ธรุ กิจจัดหาสินคา้ มา 624,970 1,654,773 200 ราย จำหน่าย 4 ธรุ กิจอ่นื ๆ สินเชอ่ื /ผลติ 5,058488 5,569,729 30 ราย สนิ คา้ 5 สมาชกิ ไดร้ บั ประโยชน์ 1,500 2,000 500 ราย 6 เกษตรกรอ่นื ได้รบั 1,500 2,000 300 ราย ประโยชน์ ขอ้ มูลการใชป้ ระโยชน์ 1) ระยะเวลาการใชป้ ระโยชน์ เช่น ตลอดท้ังปี ใชต้ ามฤดูกาล (ระบุเดือน) ใช้ประโยชน์ ตาม ฤดกู าล เดือน ตุลาคม ถึง เดอื น ธนั วาคม 2) การใชป้ ระโยชน์กอ่ น / หลงั ไดร้ บั การสนับสนนุ (เทยี บช่วงเวลาเดยี วกนั เช่น ต.ค. 2562 กับ ต.ค. 2563 เปน็ ตน้ ) ปรมิ าณ........ตัน มูลค่า ........ บาท (เพิม่ ข้นึ /ลดลง จากปกี ่อน คิดเปน็ ร้อยละเท่าไหร่) ปี รวบรวม(ตนั ) รวบรวม(บาท) แปรรปู (ตนั ) แปรรปู (บาท) 2562 15,656 165,627,381 15 229,724 2563 25,049 247,328,308 63 1,109,366 เพม่ิ ข้นึ /ลดลง + 9,393 + 81,700,927 +48 +879,642 เพิ่มขนึ้ /ลดลง(รอ้ ยละ) 37.49 % 30.03 % 76% 79%

รายงานประจำปี 2564 สำนกั งานสหกรณจ์ ังหวัดเชียงราย 80 3) ไมส่ ามารถใช้ประโยชนไ์ ดเ้ ต็มท่ี / ไม่ใช้ประโยชน์ เนอื่ งจากเหตุผลอะไร และมีแนวทางในการแกไ้ ข อย่างไร ที่ ชอื่ อุปกรณ์ ระยะเวลา ใช้ ใช้ ใช้ สาเหตทุ ่ี แนว การตลาด การใช้ งบประมาณ ประโยชน์ ประโยชน์ ใชไ้ ม่ ทางแก้ไข ประโยชน์ เต็มท่ี ไมเ่ ต็มท่ี เต็มท่ี 1 โฟส์คลิฟท์ ขนาด ตามฤดูกาล กรม / 3 ตนั ส่งเสรมิ / สหกรณ์ หมายเหตุ (3) อปุ กรณ์การตลาด ใช้งบประมาณ เชน่ ASPL งบพฒั นาจงั หวัด กรมสง่ เสริมสหกรณ์ สหกรณ์ 4) แผนการใชป้ ระโยชน์ในปถี ัดไป ท่ี ชอ่ื อปุ กรณต์ ลาด แผนการใชป้ ระโยชน์ ม.ค ก.พ ม.ี ค เม.ย. พ.ค ม.ิ ย ก.ค ส.ค ก.ย ต.ค พ.ย ธ.ค. 1 โฟส์คลฟิ ท์ ขนาด 3 / / / / / / / / / / / / ตนั 1. การส่งเสรมิ ให้เกษตรกรสมาชิกปลูกพืช เพอ่ื สร้างทางเลือกท่ีมศี ักยภาพและตลาดรองรับ ช่วยสร้าง รายได้เสริมเพิ่มเติมจากรายได้หลัก โดยได้มาตรฐานGAP และ GMP ที่เกี่ยวข้อง (งานจ้างที่ปรึกษาปี 2563) 1.วตั ถุประสงค์ เพื่อพัฒนาการผลิตสินค้าเกษตรของสมาชิกสหกรณ์ ให้มีความรู้ในการผลิตผัก และผลไม้ให้มีคุณภาพ ได้มาตรฐาน GAP ตรงกับความตอ้ งการของตลาด

รายงานประจำปี 2564 สำนักงานสหกรณจ์ ังหวดั เชยี งราย 81 เป้าหมาย กลุ่มเป้าหมายโครงการสนับสนุนการกระจายผลไม้ของสถาบันเกษตรกรเพื่อรองรับผลกระทบจากโรค ไวรัสโควิด-19 จำนวน 2 สหกรณ์ รวม 50 คน ไดแ้ ก่ 1 สหกรณก์ ารเกษตรแม่สรวย จำกัด จำนวน 20 คน 2 สหกรณก์ ารเกษตรป่าแดด จำกดั จำนวน 30 คน พน้ื ที่ดำเนนิ งานโครงการ 1. สหกรณก์ ารเกษตรแม่สรวย จำกัด อำเภอแม่สรวย จงั หวดั เชยี งราย 2. สหกรณก์ ารเกษตรป่าแดด จำกดั อำเภอป่าแดด จงั หวัดเชียงราย 2. ผลการดำเนนิ งาน สหกรณท์ ีเ่ ขา้ ร่วมโครงการฯ จำนวน 2 สหกรณ์ มจี ำนวนกล่มุ เปา้ หมาย 50 คน ที่ไดร้ ับรองมาตรฐาน ผลไม้ GAP ในรอบแรกท่ี บริษัทเอวนั พลสั (ที่กรมฯจา้ งท่ีปรึกษา) ไดร้ ับมาตรฐาน GAP จำนวน 35 ราย คิด เป็นรอ้ ยละ 70 ตอ่ มา สกก.แมส่ รวย จำกัด ไดข้ ยายผลโดยใช้บของสหกรณเ์ อง สมาชกิ ไดร้ ับ GAP เพิ่มเติมอีก 8 ราย เมื่อสิ้นสุดปีงบประมาณ พ.ศ.2564 จึงมีสมาชิกที่เข้าร่วมโครงการได้รับการรับรองมาตรฐาน GAP รวมทัง้ สน้ิ 43 ราย คิดเปน็ รอ้ ยละ 86 3. ผลลัพธ์ : ผลลัพธเ์ ชิงปริมาณ 1. สหกรณ/์ กลุ่มเกษตรกรไดร้ บั การสง่ เสริมและพัฒนาการผลิตสนิ ค้าคุณภาพ 2 แหง่ 2. สมาชิกสหกรณ/์ กล่มุ เกษตรกรได้รบั การส่งเสรมิ การผลติ สินคา้ คุณภาพสมู่ าตรฐาน GAP 50ราย ผลลัพธเ์ ชงิ คุณภาพ สหกรณ์ทีเ่ ข้าร่วมโครงการ มีองค์ความรู้เก่ยี วกบั การขอ GAP เกยี่ วกบั ผลไม้ โดยเฉพาะลำไย 4. ปญั หา/อปุ สรรค ในการดำเนนิ งาน พื้นที่บางแห่งเป็นพื้นที่ป่าเสื่อมโทรม ต้องขอความร่วมมือจากหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง เช่น ป่าไม้ ในการขอการรับรองพื้นที่ ประกอบกับในตรวจสอบพื้นที่ในช่วงที่ปรึกษาตรวจสอบ ผลผลิตยังไม่มีให้ ตรวจสอบ จงึ เปน็ ปัญหาในการรับรองมาตรฐาน ประกอบกบั ช่วงสถานการณโ์ ควดิ ทำใหบ้ างพื้นท่ีไม่สามารถ ดำเนนิ การได้ แนวทางแก้ไข ประสานหน่วยงานและขอความร่วมมือ ในการขอการรับรองมาตรฐาน และรายงานปัญหาอุปสรรคให้ กรมสง่ เสรมิ สหกรณ์ทราบ

รายงานประจำปี 2564 สำนกั งานสหกรณ์จงั หวัดเชียงราย 82 ตรวจสอบติดตาม สมาชกิ ทีเ่ ขา้ ร่วมโครงการฯ ของ สกก.แม่สรวย จำกดั และ สกก.ปา่ แดด จำกัด 2. โครงการปรบั โครงสรา้ งการผลติ การรวบรวม และการแปรรูปของสถาบันเกษตรกรเพื่อรองรบั ผลผลิต ทางการเกษตร 1. วัตถุประสงค์ 1.1 เพื่อยกระดับศักยภาพสถาบันเกษตรกรให้เป็นศูนย์กลางในการบริหารจัดการผลผลิตทางการ เกษตรตลอดห่วงโซก่ ารผลติ สินค้าเกษตร 1.2 เพื่อสนับสนุนและส่งเสริมใหส้ ถาบันเกษตรกรเป็นกลไกลหลักในระดับชุมชนในการ อำนวยความ สะดวกใหแ้ กส่ มาชกิ และเกษตรกรท่วั ไปในการเพาะปลูก การรวบรวม จดั เกบ็ และแปรรูปผลผลติ การเกษตร 1.3 ผลักดันให้สหกรณ์/กลุ่มเกษตรกรที่ขอรับการสนับสนุนให้ความช่วยเหลือเกษตรกรสมาชิกและ เกษตรกรทั่วไปที่ได้รับผลกระทบจากการระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 ในระดับพื้นที่ให้มีรายได้ จากการประกอบอาชีพเกษตรอย่างตอ่ เนือ่ ง และเพิ่มช่องทางจำหน่ายผลผลติ การเกษตรในภาวะความผนั ผวน ของตลาดสินคา้ เกษตร เป้าหมาย สหกรณ์/กลุ่มเกษตรกร ที่ขอรับการสนับสนุนงบประมาณและผ่านหลักเกณฑ์คุณสมบัติท่ี กรมส่งเสริมสหกรณ์กำหนด จำนวน 10 แห่ง

รายงานประจำปี 2564 สำนกั งานสหกรณ์จังหวดั เชียงราย 83 ระยะเวลาและสถานที่ ระยะเวลาดำเนินการ ปีงบประมาณ พ.ศ. 2564 2. ผลการดำเนินงาน 2.1 สำนักงานสหกรณจ์ ังหวัดเชียงราย สำรวจสหกรณเ์ ข้าร่วมโครงการปรับโครงสรา้ งการผลิต การ รวบรวม และการแปรรูปของสถาบันเกษตรกรเพอ่ื รองรับผลผลิตทางการเกษตร 2.2 สหกรณ/์ กลุม่ เกษตรกร เปา้ หมายทมี่ ผี ลรวบรวม ในปที ผ่ี า่ นมา ไม่น้อยกว่า 2,000 ตัน และผ่าน หลักเกณฑ์คณุ สมบัติท่ีกรมสง่ เสริมสหกรณก์ ำหนด 2.3 สหกรณ/์ กลุ่มเกษตรกร ขอเบิกจ่ายเงินอุดหนุนจากสำนักงานสหกรณ์จังหวัด และเบิก จา่ ยเงนิ อดุ หนนุ ซง่ึ แล้วเสร็จภายในวนั ที่ 30 กนั ยายน 2564 2.4 สหกรณ์/กลุ่มเกษตรกร จัดประชุมคณะกรรมการดำเนินการ เพื่อแจ้งการได้รับการสนับสนนุ เงิน อดุ หนุนฯ และแนวทางการดำเนินงานตามโครงการ พรอ้ มจัดทำบนั ทึกข้อตกลงกับสำนกั งานสหกรณจ์ ังหวัด ซง่ึ ดำเนินการจัดซื้อจัดจ้าง ตามหลักเกณฑ์เงื่อนไขการใช้จา่ ยเงินอุดหนุน ซึ่งดำเนินการจัดซ้ือจดั จ้างให้เป็นไปดว้ ย ความสุจริตจนรับมอบ สิ่งก่อสร้าง วัสดุ อุปกรณ์ เพื่อให้บริการเครื่องจักรกลการเกษตร การรวบรวม รับซื้อ และแปรรูปผลผลิตทางการเกษตร (ดำเนินการจัดซื้อจัดจ้าง รับมอบวัสดุ อุปกรณ์ แล้วเสร็จภายใน 30 ธันวาคม 2564) 2.5 ได้สำรวจข้อมูลสหกรณ์ ที่ขอรับการสนับสนุนงบประมาณและผ่านหลักเกณฑ์คุณสมบัติที่กรม สง่ เสรมิ สหกรณ์กำหนด 2.6 สำนักงานสหกรณ์จังหวัดเชียงราย ได้ให้คำแนะนำสหกรณ์ดำเนินการตามคู่มือกรมส่งเสริม สหกรณ์ ในการจัดซื้อจัดจ้าง ตรวจรับ ส่งมองสิ่งก่อสร้าง และอุปกรณ์การตลาด (แล้วเสร็จภายใน 30 ธันวาคม 2564) 2.7 การประสานงาน ติดตาม ประเมินผลการดำเนินกิจกรรมการพัฒนา ปรับปรุงแก้ไขปัญหาอุปสรรค และสรุปผลเมื่อดำเนินการกิจกรรมครบตามโครงการ รวมทั้งรายงานผลการดำเนินงาน ผ่านระบบกรมส่งเสริม สหกรณ์ ภายในวนั ท่ี 25 ของทุกเดอื น 3. ผลลัพธ์ ผลลพั ธเ์ ชิงปรมิ าณ 3.1 งบประมาณที่ใช้ 72,627,900 บาท คิดเป็นร้อยละ 69 สถาบันเกษตรกรเป็นศูนย์กลางในการ บริหารจัดการสินค้าเกษตรตลอดห่วงโซ่การผลิต ในระดับชุมชน จำนวน 10 แห่ง รองรับผลผลิตได้เพิ่มขึ้น ประมาณ 20,000 ตนั และสมาชิกมรี ายได้เพม่ิ ขน้ึ ผลลัพธ์เชิงคุณภาพ 3.2 สหกรณ์/กลุ่มเกษตรกร สามารถยกระดับศักยภาพในการเป็นศูนย์กลางในการบริหารจัดการ สินค้าเกษตรในระดับชุมชนตามศักยภาพ สถาบันเกษตรกรมีปริมาณธุรกิจรวบรวมหรือแปรรูปผลผลิตทาง การเกษตรเพ่มิ ข้นึ ไม่น้อยกวา่ ร้อยละ 3 เมือ่ เทียบกบั ปริมาณธรุ กิจเดมิ ในปีทีผ่ ่านมา 4. ปญั หา/อปุ สรรค ในการดำเนินงาน และแนวทางแกไ้ ข ผู้รับจ้างขอขยายระยะเวลาสัญญาจ้าง เนื่องจากสถาณการณ์ระบาดโรคโควิด-19 และสภาพอากาศ ฝนตกชุก ในช่วงฤดูฝน ซึ่งมีผลกระทบต่อผูร้ ับจ้างในการเคลื่อนย้ายแรงงาน วัสดุอุปกรณ์ เป็นอุปสรรคต่อการ ก่อสร้าง ไม่สามารถส่งงานตามกำหนดในสัญญาจ้างได้ สหกรณ์จึงได้ทำบันทึกแนบท้ายสัญญา เมื่อวันท่ี

รายงานประจำปี 2564 สำนักงานสหกรณ์จงั หวดั เชียงราย 84 9 พฤศจิกายน 2564 ขยายระยะเวลาให้แก่ผู้รับจ้างออกไปอีก 43 วัน สิ้นสุดกากรส่งมอบงานแล้วเสร็จใน วนั ท่ี 30 ธันวาคม 2564 5. ภาพถา่ ยแสดงการดำเนินกิจกรรมของงาน/โครงการ 3. ระบบการสง่ เสริมการเกษตรแบบแปลงใหญ่ 1. วตั ถุประสงค์ 1) เพื่อสนับสนุนให้เกษตรกรมีการรวมกลุ่มการผลิต การจำหน่ายและการบริหารจัดการร่วมกันโดย วธิ กี ารสหกรณ์ 2) ส่งเสริมการเกษตรแปลงใหญ่ให้มีตลาดรองรับ โดยมีการเชื่อมโยงตลาดร่วมกันระหว่างแปลงใหญ่ สหกรณภ์ าคเอกชน 3) ส่งเสริมผลกั ดันสหกรณ์ให้มบี ทบาทในแปลงใหญ่ 4) เพิ่มประสิทธิภาพการผลิตและลดต้นทุนการผลิตให้กับเกษตรกรหรือกลุ่มเกษตรกร โดยการ ประยุกต์ใชเ้ ทคโนโลยีและนวัตกรรมท่เี หมาะสม รวมทั้งเครอื ข่ายความร่วมมอื จากภาคส่วนตา่ งๆ ในการร่วมกัน บรหิ ารจัดการให้เกดิ ประสิทธภิ าพ กลุ่มเปา้ หมาย พนื้ ท่เี ป้าหมาย แปลงใหญป่ ี 59,60,61,64 จำนวน 15 สหกรณ์ จำนวน 17 แปลง ดงั นี้ 1. สหกรณป์ ระมงพาน จำกัด 2. สหกรณ์ผ้เู ลย้ี งสตั วเ์ ชียงราย จำกดั 3. สหกรณโ์ คนมต้าสนั ทราย จำกดั 4. สหกรณ์การเกษตรแม่จนั จำกดั 5. สหกรณ์การเกษตรปฎิรปู ทดี่ ินเวยี งชยั จำกัด

รายงานประจำปี 2564 สำนักงานสหกรณจ์ ังหวดั เชียงราย 85 6. สหกรณก์ ารเกษตรเมืองเทิง จำกัด (ขา้ ว) 7. สหกรณ์การเกษตรเชียงของ จำกดั 8. สหกรณก์ ารเกษตรเวยี งชยั จำกัด (สาขาเวยี งเชียงรงุ้ ) 9. สหกรณ์การเกษตรอำเภอเวียงแก่น จำกัด (สม้ โอ) 10. สหกรณก์ ารเกษตรเชียงแสน จำกดั 11. สหกรณก์ ารเกษตรพญาเม็งราย จำกดั 12. สหกรณก์ ารเกษตรเมืองเทิง จำกัด (ปาล์มน้ำมนั ) 13. สหกรณ์โคนมเชยี งราย จำกัด 14. สหกรณ์การเกษตรอำเภอเวียงแก่น จำกดั (ยางพารา) 15. สหกรณก์ ารเกษตรเมืองพาน จำกัด 16. สหกรณก์ ารเกษตรแมส่ รวย จำกดั 17. สหกรณ์โคนมแม่ลาว จำกัด 2. ผลการดำเนินงาน บูรณาการร่วมกับหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง ในการดำเนินงานด้านการตลาดของแปลงใหญ่ ถ่ายทอดองค์ ความรู้เกี่ยวกบั การสหกรณ์ การบริหารจัดการในรูปแบบสหกรณ์ จัดทำแผนการผลิต แผนการตลาด เชื่อมโยง ตลาดร่วมกันระหว่างผผู้ ลิตและผซู้ ือ้ จดั นทิ รรศการความร้กู ารสหกรณ์ใหก้ บั กล่มุ แปลงใหญ่ 3. ผลลัพธ์เชิงคุณภาพ 1 เกษตรกรมีตลาดรบั ซอ้ื ผลผลิตทแ่ี น่นอนและขายได้ในราคายุติธรรม 2 เกษตรกรมีต้นทุนลดลง และมรี ายได้เพิ่มขน้ึ ส่งผลใหค้ วามเป็นอยดู่ ีขึ้น 4. ปัญหา/อุปสรรค ในการดำเนินงาน และแนวทางแกไ้ ข เนอ่ื งจากประสบปัญหาโรคระบาดไวรสั โคโรน่า 19 5. ภาพถา่ ยแสดงการดำเนนิ กจิ กรรมของงาน

รายงานประจำปี 2564 สำนักงานสหกรณ์จงั หวัดเชียงราย 86 ▪ งานกำกบั และติดตามและงานแกป้ ัญหา 1. มาตรการและแนวทางการช่วยเหลือบรรเทาภาระชำระหนี้ให้แก่สมาชิกสหกรณ์จากสถานการณ์การ แพรร่ ะบาดของโรคตดิ เชือ้ ไวรัสโคโรนา 2019 แบบตดิ ตามผลการใหค้ วามช่วยเหลือเพื่อบรรเทาความเดือดร้อนของสมาชิกจากการแพร่ระบาดของโรคติดเช้ือ ไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) ของสหกรณ์/กลุ่มเกษตรกรสำนกั งานสหกรณ์จังหวัดเชยี งราย (ผลงานสะสม ต้งั แตว่ ันที่ 1 ตุลาคม 2563 ถงึ 31 สงิ หาคม 2564) 1 สหกรณภ์ าคการเกษตร จำนวน 66 แหง่ สมาชกิ สามญั 159,060 คน สมาชกิ สมทบ 13,006 คน จำนวนสมาชกิ ท้ังหมดที่มาใชบ้ รกิ ารธุรกจิ สนิ เชือ่ กับสหกรณ์ 50,322 คน อัตราดอกเบี้ยเงินกขู้ องสหกรณภ์ าคการเกษตร ช่วงอตั รารอ้ ยละ 8-10 2 ขอ้ มลู สหกรณ์นอกภาคการเกษตร จำนวน 55 แหง่ สมาชกิ สามญั 58,590 คน สมาชิกสมทบ 9,066 คน จำนวนสมาชิกท้งั หมดที่มาใช้บริการธรุ กจิ สินเชอ่ื กับสหกรณ์ 26,539 คน อัตราดอกเบย้ี เงินกูข้ องสหกรณน์ อกภาคการเกษตร ช่วงอตั ราร้อยละ 11-13 3 ข้อมูลกลุ่มเกษตรกร จำนวน 54 แห่ง สมาชกิ สามัญ 5,520 คน สมาชิกสมทบ - คน จำนวนสมาชกิ ทงั้ หมดทีม่ าใชบ้ ริการธรุ กจิ สินเชอ่ื กับสหกรณ์ 1,172 คน อตั ราดอกเบย้ี เงนิ กูข้ องกลุ่มเกษตรกร ชว่ งอตั รารอ้ ยละ 5-7 4. ปัญหาของสหกรณ/์ กลมุ่ เกษตรกรท่ีไดร้ ับผลกระทบจากการแพรร่ ะบาดระลอกใหม่ของโควดิ 1. ผลผลิตทางการเกษตรไม่สามารถส่งจำหน่ายนอกพ้ืนท่ไี ด้ 2. ขาดเงนิ ทุนหมุนเวยี นในการรับซอื้ ผลผลติ ทางการเกษตร 3. สมาชกิ ผดิ นัดชำระหนเ้ี งินกู้ และการขาดสง่ ค่าหุ้น 4. ต้นทุนในการดำเนินธุรกิจรวบรวม จัดเก็บ และแปรรปู สูงขึน้ 5. สมาชิกมีความต้องการกู้เงินมากขึน้ ทั้งในส่วนของการขอขยายวงเงนิ กู้ และสมาชิกรายใหมท่ ี่ ขอกู้เงนิ 5. จากปัญหาในข้อ 4. สง่ ผลใหส้ หกรณ์/กล่มุ เกษตรกรได้รับผลกระทบในการดำเนนิ ธรุ กจิ ปบี ญั ชี 2564 5.1 ขาดสภาพคลอ่ งในการดำเนินธุรกจิ 5.1.1 สหกรณ์ภาคการเกษตร 31 แห่ง 5.1.2 สหกรณน์ อกภาคการเกษตร 18 แหง่ 5.1.3 กลุ่มเกษตรกร 20 แห่ง 5.2 ปรมิ าณธรุ กจิ ในปบี ัญชี 2564 หรือลา่ สุดลดลง เมือ่ เทียบกบั ปบี ัญชี 2562 5.2.1 สหกรณภ์ าคการเกษตร 19 แห่ง เฉลี่ยปริมาณธรุ กจิ ลดลงร้อยละ 28.73 5.2.2 สหกรณ์นอกภาคการเกษตร 12 แหง่ เฉลย่ี ปริมาณธุรกจิ ลดลงร้อยละ 40.63 5.2.3 กลุม่ เกษตรกร 6 แห่ง เฉล่ียปริมาณธรุ กจิ ลดลงร้อยละ 43.84 5.3 รายไดจ้ ากการดำเนนิ ธุรกจิ ในปบี ญั ชี 2564 หรอื ลา่ สุดลดลง เม่ือเทียบกบั ปีบัญชี 2562 5.3.1 สหกรณ์ภาคการเกษตร 16 แหง่ ประมาณการรายได้ท่ลี ดลงเฉล่ยี ตอ่ แหง่ 16,465,171.40 บาท

รายงานประจำปี 2564 สำนักงานสหกรณ์จงั หวดั เชียงราย 87 ประเภทธุรกิจทม่ี ีรายไดล้ ดลงสงู สดุ คือ ธรุ กิจรวบรวมผลผลติ การเกษตร 5.3.2 สหกรณ์นอกภาคการเกษตร 13 แหง่ ประมาณการรายได้ท่ลี ดลงเฉลย่ี ตอ่ แหง่ 1,059,481.55 บาท ประเภทธรุ กจิ ทมี่ รี ายได้ลดลงสูงสุดคือ ธรุ กิจสนิ เชอ่ื 5.3.3 กลมุ่ เกษตรกร 5 แห่ง ประมาณการรายไดท้ ่ีลดลงเฉลีย่ ต่อแหง่ 236,173.80 บาท ประเภทธรุ กจิ ทม่ี ีรายไดล้ ดลงสงู สดุ คือ ธุรกจิ สินเชื่อ 5.4 สหกรณ/์ กล่มุ เกษตรกรสถานะปจั จบุ นั หยุดการดำเนินธรุ กจิ ชั่วคราวเน่ืองจากประสบปญั หาหรอื ไดร้ ับผลกระทบอยา่ งรนุ แรงจากการแพรร่ ะบาดของโควดิ -19 และต้องเตรียมจดั ทำแผนเข้าแก้ปัญหาเพ่ือ ฟืน้ ฟูกิจการหรือแก้ไขปัญหาสภาพคล่องของการดำเนนิ กิจการเปน็ การเร่งด่วน - ไมม่ ีสหกรณ์ /กลุ่มเกษตรกร - 6. มาตรการหรือโครงการท่ีสหกรณ์/กล่มุ เกษตรกรใหค้ วามชว่ ยเหลือสมาชิกหรือบรรเทาความเดือดร้อนในด้าน หน้สี ินและการปรบั โครงสร้างหนี้ของสมาชิกในช่วงการแพร่ระบาดระลอกใหมข่ องโควดิ -19 6.1 ลดอตั ราดอกเบ้ยี เงนิ ก้ใู ห้กับสมาชกิ 6.1.1 สหกรณ์ภาคการเกษตร 17 แหง่ สมาชิกเขา้ รว่ มโครงการ 22,923 คน อัตราดอกเบย้ี เดิมเฉลย่ี ร้อยละ 9.00 อตั ราดอกเบยี้ ทีป่ รับใหม่เฉลีย่ รอ้ ยละ 5.93 6.1.2 สหกรณน์ อกภาคการเกษตร 8 แหง่ สมาชกิ เข้ารว่ มโครงการ 12,225 คน อตั ราดอกเบ้ยี เดิมเฉล่ยี ร้อยละ 7.15 อตั ราดอกเบย้ี ท่ีปรับใหม่เฉลี่ยรอ้ ยละ 5.03 6.1.3 กลุ่มเกษตรกร 0 แห่ง 6.2 ปรับโครงสร้างหนี้ใหก้ บั สมาชกิ 6.2.1 สหกรณภ์ าคการเกษตร 8 แหง่ สมาชิกเขา้ ร่วมโครงการ 555 คน จำนวน 893 สญั ญา มลู หน้รี วม 74,378,588 บาท จำนวนเงนิ ทไ่ี ด้ลดภาระหน้รี วม 27,479,941 บาท 6.2.2 สหกรณ์นอกภาคการเกษตร 2 แหง่ สมาชิกเขา้ ร่วมโครงการ 4 คน จำนวน 4สญั ญา มูลหนี้รวม 91,704 บาท จำนวนเงนิ ที่ได้ลดภาระหน้รี วม 59,404 บาท 6.2.3 กลมุ่ เกษตรกร 0 แห่ง 6.3 พกั ชำระหนี้ให้กับสมาชกิ 6.3.1 สหกรณ์ภาคการเกษตร 6 แหง่ สมาชิกเขา้ รว่ มโครงการ 606 คน มูลหน้รี วม 59,480,599 บาท 6.3.2 สหกรณน์ อกภาคการเกษตร 11 แห่ง สมาชิกเข้าร่วมโครงการ 1,076 คน มูลหนีร้ วม 48,468,107 บาท 6.3.3 กลุ่มเกษตรกร 0 แหง่ สมาชกิ เขา้ ร่วมโครงการ .......-...... คน 6.4 ลดภาระการสง่ คา่ หุน้ ให้กบั สมาชกิ (ปรบั ลด งดสง่ เป็นตน้ ) 6.4.1 สหกรณ์ภาคการเกษตร 8 แหง่ สมาชิกเข้ารว่ มโครงการ 2,512 คน คดิ เปน็ คา่ หุน้ ที่ปรบั ลด/งดส่ง รวม 10,117,364 บาท 6.4.2 สหกรณน์ อกภาคการเกษตร 2 แหง่ สมาชกิ เข้าร่วมโครงการ 453 คน คิดเป็นค่าหนุ้ ที่ปรบั ลด/งดสง่ รวม 681,150 บาท 6.4.3 กล่มุ เกษตรกร 1 แห่ง สมาชิกเข้ารว่ มโครงการ 39 คน คดิ เปน็ ค่าหนุ้ ที่ปรับลด/งดสง่ รวม 3,900 บาท

รายงานประจำปี 2564 สำนักงานสหกรณจ์ ังหวดั เชียงราย 88 6.5 ชว่ ยเหลือดา้ นการลดคา่ ใชจ้ ่ายในครวั เรือน และสขุ อนามยั แก่ครอบครัวสมาชกิ (จดั หา/แจกฟรี สินคา้ บริโภค-อปุ โภคที่จำเปน็ ) 6.5.1 สหกรณภ์ าคการเกษตร 4 แห่ง สมาชกิ ทีไ่ ด้รับความชว่ ยเหลือ 2,863 คน รวมเปน็ เงนิ 305,994 บาท 6.5.2 สหกรณ์นอกภาคการเกษตร 1 แห่ง สมาชิกที่ได้รับความชว่ ยเหลือ 500 คน รวมเป็นเงิน 4,000 บาท 6.5.3 กลมุ่ เกษตรกร 0 แหง่ สมาชกิ ที่ได้รับความช่วยเหลอื ............-............. คน 6.6 การชว่ ยเหลือด้านสาธารณะประโยชน์/สวสั ดกิ ารอน่ื ๆ แกค่ รอบครัวสมาชิกและชมุ ชน 6.6.1 สหกรณ์ภาคการเกษตร 8 แห่ง สมาชิกทไ่ี ด้รบั ความชว่ ยเหลอื 2,063 คน ชุมชนได้รบั ประโยชน์ (ระบุความช่วยเหลือ) โรงพยาบาล/เทศบาล ในจงั หวดั เชยี งราย รวมเป็นเงิน 754,000 บาท 6.6.2 สหกรณ์นอกภาคการเกษตร 1 แห่ง สมาชกิ ที่ไดร้ ับความช่วยเหลอื 0 คน ชมุ ชนได้รับประโยชน์ (ระบุความช่วยเหลือ) โรงพยาบาล ในจังหวัดเชียงราย รวมเป็นเงิน 10,000บาท 6.6.3 กลมุ่ เกษตรกร 0แห่ง สมาชกิ ทไี่ ดร้ บั ความช่วยเหลอื ............-............. คน 7. ปจั จบุ นั สหกรณ์/กลมุ่ เกษตรกรมีความต้องการให้ภาครัฐช่วยเหลือหรือให้การสนับสนนุ ในเรื่องใดบ้าง เพื่อใหก้ ารดำเนนิ ธุรกจิ ของสหกรณ์/กล่มุ เกษตรกรสามารถดำเนนิ การต่อไปได้ มสี ภาพคล่องในการดำเนินธรุ กจิ ให้อยรู่ อด ในระยะต่อไป หรอื ในช่วงทกี่ ารแพรร่ ะบาดของโควิด-19 ยังไม่เขา้ สสู่ ถานการณป์ กติ 7.1 เงินกู้ปลอดดอกเบ้ยี เสริมสภาพคลอ่ งทางธรุ กิจ 7.1.1 สหกรณภ์ าคการเกษตร 24 แห่ง 7.1.2 สหกรณ์นอกภาคการเกษตร 11 แหง่ 7.1.3 กล่มุ เกษตรกร 14 แหง่ 7.2 ลดภาระดอกเบยี้ 7.2.1 สหกรณภ์ าคการเกษตร 16 แห่ง 7.2.2 สหกรณ์นอกภาคการเกษตร 8 แหง่ 7.2.3 กลมุ่ เกษตรกร 3 แหง่ 7.3 ชดเชยดอกเบย้ี ให้กบั สมาชกิ สหกรณ์/กลมุ่ เกษตรกร 7.3.1 สหกรณภ์ าคการเกษตร 23 แหง่ 7.3.2 สหกรณ์นอกภาคการเกษตร 13 แหง่ 7.3.3 กลุ่มเกษตรกร 16 แหง่ 7.4 พกั ชำระหน้ใี หก้ ับสหกรณ/์ กล่มุ เกษตรกร 7.4.1 สหกรณ์ภาคการเกษตร 13 แหง่ 7.4.2 สหกรณ์นอกภาคการเกษตร 2 แห่ง 7.4.3 กลุม่ เกษตรกร 4 แหง่ 7.5 อืน่ ๆ ระบุ (มาตรการที่ต้องการความช่วยเหลือและจำนวนแหง่ ) 7.5.1 มาตรการ ขอขยายเวลาการชำระหนี้ (1) สหกรณ์ภาคการเกษตร 3 แห่ง (2) สหกรณ์นอกภาคการเกษตร 0 แห่ง

รายงานประจำปี 2564 สำนักงานสหกรณจ์ งั หวดั เชียงราย 89 (3) กลุม่ เกษตรกร 0 แหง่ 7.5.2 มาตรการ หาตลาดรบั ซ้อื ผลผลิตและกำหนดราคารับซ้ือให้สูงขน้ึ (1) สหกรณ์ภาคการเกษตร 3 แหง่ (2) สหกรณ์นอกภาคการเกษตร 0 แห่ง (3) กลมุ่ เกษตรกร 2 แห่ง 8. สหกรณ์/กลมุ่ เกษตรกรได้รับการสนบั สนนุ เงินกดู้ อกเบ้ียตำ่ หรอื อตั ราดอกเบ้ยี พิเศษ (ภายใต้สถานการณก์ าร ระบาดของ COVID - 19) และไดร้ ับอนุมตั ิเงินกู้ หรือจัดทำแผนเงินกกู้ ับสถาบนั การเงนิ (แหลง่ เงนิ กู้) เพื่อใช้ เปน็ เงินทนุ หมนุ เวียนในการดำเนินธรุ กิจหรือเสรมิ สภาพคล่องในการดำเนินกิจการตั้งแต่ปีบัญชี 2564 หรอื ลา่ สดุ เป็นต้นไป จากแหล่งเงินทุนใดบา้ ง 8.1 กองทนุ พฒั นาสหกรณ์ (1) สหกรณ์ภาคการเกษตร 13 แหง่ (2) เงินกทู้ ่ีสหกรณภ์ าคการเกษตรต้องการกู้เงินไปใช้ตามวัตถุประสงคข์ า้ งต้นเฉล่ียตอ่ แห่ง 1,210,000 บาท (3) สหกรณ์นอกภาคการเกษตร ..............-.......... แหง่ (4) เงนิ กทู้ ่สี หกรณ์นอกภาคการเกษตรต้องการกู้เงินไปใชต้ ามวัตถุประสงคข์ า้ งต้นเฉลีย่ ต่อแหง่ 0 บาท 8.2 ธนาคารเพอื่ การเกษตรและสหกรณ์การเกษตร (ธ.ก.ส.) 8.2.1 สหกรณ์ภาคการเกษตร 5 แหง่ (1) เงินก้ทู ่ีสหกรณภ์ าคการเกษตรต้องการกู้เงินไปใช้ตามวัตถุประสงค์ข้างต้นเฉล่ยี ตอ่ แห่ง55,475451 บาท (2) จำนวนเงินกทู้ สี่ หกรณภ์ าคการเกษตรได้รับการพิจารณาอนมุ ัติเฉลย่ี ต่อแห่ง 53,594,313บาท (3) อัตราดอกเบี้ยเงนิ กเู้ ฉลยี่ ต่อแห่ง รอ้ ยละ 1 8.2.2 สหกรณ์นอกภาคการเกษตร 2 แหง่ (1) เงินกทู้ ี่สหกรณน์ อกภาคการเกษตรต้องการกู้เงินไปใช้ตามวัตถุประสงค์ขา้ งต้นเฉล่ียต่อแหง่ 425,000,000 บาท (2) จำนวนเงินกูท้ ่สี หกรณ์นอกภาคการเกษตรได้รบั การพิจารณาอนุมัติเฉล่ียต่อแห่ง 380,000,000 บาท (3) อตั ราดอกเบี้ยเงินกูเ้ ฉลย่ี ต่อแห่ง ร้อยละ 2.90 8.3 กองทุนสงเคราะห์เกษตรกร (เฉพาะกลุ่มเกษตรกร) (1) กลุม่ เกษตรกรท่ยี ่ืนกู้ 8 แหง่ (2) จำนวนเงนิ ก้เู ฉล่ียที่กลมุ่ เกษตรกรต้องการขอกู้เงิน 525,000 บาท (3) จำนวนเงินกเู้ ฉลย่ี ที่กลุ่มเกษตรกรไดร้ บั การพจิ ารณาอนุมตั ิ 525,000 บาท (4) อตั ราดอกเบ้ยี เงนิ กเู้ ฉลยี่ ต่อแหง่ รอ้ ยละ ........-............. 8.4 สถาบนั การเงนิ หรือแหล่งเงนิ ทุนอน่ื ๆ สหกรณ์ออมทรัพยค์ รูกรมสามัญศึกษาจังหวัดเชยี งราย จำกดั 8.4.1 สหกรณภ์ าคการเกษตร 0 แหง่ (1) เงินกู้ทสี่ หกรณภ์ าคการเกษตรต้องการกูเ้ งนิ ไปใช้ตามวัตถปุ ระสงคข์ ้างต้นเฉลย่ี ต่อแห่ง 0 บาท (2) จำนวนเงินกทู้ ีส่ หกรณ์ภาคการเกษตรได้รับการพจิ ารณาอนุมตั เิ ฉล่ียตอ่ แห่ง - บาท (3) อตั ราดอกเบี้ยเงินกูเ้ ฉล่ียต่อแหง่ ร้อยละ .........-.............

รายงานประจำปี 2564 สำนักงานสหกรณ์จงั หวัดเชยี งราย 90 8.4.2 สหกรณน์ อกภาคการเกษตร 1 แห่ง (1) เงนิ กู้ทสี่ หกรณ์นอกภาคการเกษตรต้องการกู้เงินไปใชต้ ามวัตถุประสงค์ข้างตน้ เฉลี่ยต่อแหง่ 150,000,000 บาท (2) จำนวนเงินก้ทู ่สี หกรณน์ อกภาคการเกษตรไดร้ ับการพิจารณาอนุมัติเฉลย่ี ต่อแหง่ 150,000,000 บาท (3) อตั ราดอกเบยี้ เงนิ กูเ้ ฉลีย่ ต่อแห่ง ร้อยละ .........2.85........... 8.5 สถาบันการเงนิ หรือแหล่งเงนิ ทุนอื่น ๆ (ขอใหร้ ะบชุ ื่อ) ……………………-………………………….. 8.5.1 สหกรณ์ภาคการเกษตร ..............-.................. แห่ง (1) เงินกทู้ ่ีสหกรณ์ภาคการเกษตรต้องการกู้เงินไปใชต้ ามวตั ถปุ ระสงคข์ ้างตน้ เฉลย่ี ต่อแห่ง ........-...... บาท (2) จำนวนเงินก้ทู สี่ หกรณภ์ าคการเกษตรไดร้ บั การพจิ ารณาอนุมตั เิ ฉล่ยี ตอ่ แห่ง 0 บาท (3) อตั ราดอกเบ้ยี เงนิ กเู้ ฉลย่ี ต่อแห่ง รอ้ ยละ .........-............. 8.5.2 สหกรณ์นอกภาคการเกษตร ..........-.............. แห่ง (1) เงนิ กู้ที่สหกรณ์นอกภาคการเกษตรตอ้ งการกูเ้ งินไปใช้ตามวัตถปุ ระสงค์ข้างต้นเฉล่ียต่อแหง่ 0 บาท (2) จำนวนเงนิ กูท้ ส่ี หกรณ์นอกภาคการเกษตรได้รับการพิจารณาอนุมตั ิเฉล่ียต่อแหง่ 0 บาท (3) อัตราดอกเบยี้ เงินกเู้ ฉล่ียต่อแหง่ รอ้ ยละ – 2. การกระจายผลไม้ผ่านเครือข่ายสหกรณ์เพื่อบรรเทาความเดือดร้อนของสมาชิกเกษตรกรจาก สถานการณก์ ารระบาดของโรคโควดิ - 19 1. วัตถุประสงค/์ เปา้ หมาย/พนื้ ที่ดำเนินงานโครงการ วตั ถุประสงค์ 1. เพื่อบรรเทาผลกระทบของสมาชิกสหกรณ์ที่ไม่สามารถจำหน่ายผลไม้ส่งออกต่างประเทศจาก สถานการณโ์ รคไวรสั covid-19 2. เพื่อลดผลกระทบของสถาบันเกษตรกรจากการหยุดรับซื้อผลไม้ออกจากแหล่งผลิต โดยใช้สถาบัน เกษตรกรเปน็ กลไกในการขบั เคล่ือนไปสผู่ ู้บริโภคในราคาทเ่ี ป็นธรรม 3. เพอ่ื เปน็ การสรา้ งเสถยี รภาพดา้ นปรมิ าณและราคาผลผลิตของสมาชกิ สหกรณ์และสถาบนั เกษตรกร รวมทั้งเกษตรกรผบู้ ริโภคผลไม้ท่ัวไป ใหเ้ ปน็ ไปตามกลไกตลาดทเี่ ปน็ ธรรม เปา้ หมาย สถาบนั เกษตรกร ผผู้ ลติ และสหกรณ์ผ้กู ระจายผลไม้ เปา้ หมายการรวบรวมและกระจาย 11,700 ตน้ ระยะเวลาและสถานท่ี 1. ระยะเวลาดำเนินการรวบรวมและกระจายผลผลิต (ผลไม้) วันที่ 1 พฤษภาคม 2564 - 30 กนั ยายน 2564 2. กระจายผลผลิตไปยงั ตลาดภายในประเทศ 2. ผลการดำเนินงาน 2.1 สำนักงานสหกรณ์จังหวัดเชียงราย ช่วยกระจายผลผลิตมังคุดของสหกรณ์การเกษตรหลังสวน จำกัด สหกรณ์ผู้ผลิตต้นทาง เพื่อรักษาเสถียรภาพด้านราคาของผลไม้ไม่ให้ตกต่ำ คัดเลือกสหกรณ์ต้นทางเพื่อ เขา้ ร่วมโครงการสนับสนนุ การกระจายผลไม้ของสถาบันเกษตรกรเพือ่ รองรับผลกระทบจากโรคไวรสั โควคิ -19 2.2 สหกรณ์ต้นทางสามารถดำเนินการกระจายผลผลิตตามแนวทางที่กำหนด โดยคำนึงถึงประโยชน์ ทง้ั ของสหกรณต์ ้นทางและผบู้ รโิ ภค 3. ผลลัพธ์

รายงานประจำปี 2564 สำนกั งานสหกรณจ์ งั หวัดเชียงราย 91 ผลลัพธเ์ ชิงปรมิ าณ สหกรณ์ต้นทางสามารถกระจายผลผลิตสู่ผบู้ รโิ ภคได้ สามารถชว่ ยกระจายสนิ ค้า จำนวน 7.4 ตนั เป็นเงนิ 185,000 บาท 4. ปัญหา/อุปสรรค ในการดำเนินงาน และแนวทางแก้ไข 1. เน่อื งจากสนิ ค้าอยหู่ ่างไกลจากผูบ้ รโิ ภคจงึ ทำใหผ้ ลไมเ้ สียหาย 2. ระยะทางไกลทำให้เกดิ ค่าขนส่งราคาสูง 3. การขนสง่ ลา่ ชา้ เนอ่ื งจากว่าระยะทางไกล

รายงานประจำปี 2564 สำนักงานสหกรณจ์ งั หวดั เชยี งราย 92 3. โครงการแกไ้ ขปญั หาหนี้ค้างชำระของสมาชิกสหกรณ์ ระยะที่ 2 ประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2564 1. วัตถุประสงค:์ 1. เพ่ือสง่ เสริมและพัฒนาสหกรณภ์ าคการเกษตรให้มีการบรหิ ารจัดการสินเชื่อท่ีมีประสิทธภิ าพ 2. เพือ่ ส่งเสริมใหส้ มาชิกมีความสามารถในการชำระหน้ีให้กบั สหกรณ์ เปา้ หมายของโครงการ สหกรณ์ที่เข้าร่วมโครงการแก้ไขปัญหาหนี้ค้างชำระของสมาชิกสหกรณ์ ระยะที่ 2 จำนวน 15 แห่ง ดังนี้ 1. สหกรณก์ ารเกษตรเมอื งเชียงราย จำกัด 2. สหกรณก์ ารเกษตรเวยี งชัย จำกัด 3. สหกรณ์ สกต.ธกส.เชยี งราย จำกดั 4. สหกรณ์การเกษตรปฏิรูปท่ีดินเวยี งชัย จำกัด 5. สหกรณ์การเกษตรเชียงแสน จำกดั 6. สหกรณ์การเกษตรแม่สาย จำกัด 7. สหกรณก์ ารเกษตรแม่จัน จำกัด 8. สหกรณ์การเกษตรเวยี งปา่ เป้า จำกัด 9. สหกรณก์ ารเกษตรแมส่ รวย จำกัด 10.สหกรณ์การเกษตรปา่ แดด จำกัด 11.สหกรณก์ ารเกษตรเมอื งพาน จำกดั 12.สหกรณ์การเกษตรพญาเม็งราย จำกดั 13.สหกรณก์ ารเกษตรหงาวตบั เต่า จำกดั 14.สหกรณ์การเกษตรเมอื งเทิง จำกัด 15.สหกรณ์การเกษตรศภุ นมิ ิตขนุ ตาล จำกัด 3. ผลการดำเนนิ งาน : ในปีงบประมาณ พ.ศ. 2564 สำนักงานสหกรณ์จงั หวดั เชียงราย มีการดำเนินการในการตดิ ตาม ความก้าวหนา้ หนี้ค้างชำระของสมาชิกสหกรณ์ ระยะท่ี 2 รายละเอยี ดตามตารางดงั นี้

รายงานประจำปี 2564 สำนักงานสหกรณ์จังหวดั เชียงราย 93 ตารางที่ 1 แบบรายงานการตดิ ตามความก้าวหนา้ การแก้ไขปญั หาหน้ีค้างชำระของสมาชกิ สหกรณ์ ระยะที่ 2 15. 16. 17. 18. 19. 20. 21. 22. 23. 24. 25.ตามตารางดงั กลา่ ว มสี หกรณท์ ีเ่ ข้ารว่ มโครงการท้ังสน้ิ จำนวน 15 แห่ง สมาชกิ ท่ีเข้าร่วมโครงการท้ังสนิ้ จำนวน 4,307 คน สรปุ ผลในขัน้ ตอนที่ 9 การติดตามและประเมินผล ลูกหนี้รายบุคคลทีส่ ามารถชำระหน้ไี ด้ จำนวน 2,602 คน 4. ผลลัพธ์ : 4.1 สหกรณเ์ ป้าหมายได้รบั การแก้ไขปัญหาหนส้ี นิ 4.2 จำนวนสมาชิกทม่ี ปี ญั หาหนค้ี ้างชำระไดร้ บั การจัดทำแผนการจดั การหนร้ี ายคน 5. ปัญหา/อุปสรรค ในการดำเนนิ งาน และแนวทางแก้ไข - ไมม่ ี –

รายงานประจำปี 2564 สำนกั งานสหกรณจ์ ังหวัดเชียงราย 94 4. การสง่ เสรมิ สหกรณ์ใหค้ วามชว่ ยเหลือเกษตรกรสมาชิกท่มี ีปัญหาในการประกอบอาชีพทางการ เกษตร (สนับสนนุ วงเงนิ กูจ้ ากกองทนุ พฒั นาสหกรณ์) ปงี บประมาณ พ.ศ. 2564 สำนักงานสหกรณ์จังหวัดเชียงราย ได้รับวงเงินกู้ยืมที่ได้รับการอนุมัติสำหรับให้สหกรณ์กู้ยืม จำนวน 82.29 ล้านบาท แยกเป็น โครงการปกติ 54.00 ล้านบาท โครงการพิเศษ 28.29 ล้านบาท ซ่ึงจากการดำเนินงานในรอบปีท่ผี า่ นสามารถสรปุ ผลการบรหิ ารเงนิ กองทนุ พัฒนาสหกรณ์ได้ ดงั น้ี ปี 2564 จังหวัดเชียงราย ได้จัดสรรวงเงินกู้กองทุนพัฒนาสหกรณ์ รวมทั้งสิ้น 82.29 ล้านบาท สามารถเบิกจ่ายได้ 66.21 ลบ. คิดเป็น 80.46% จำแนกเป็นโครงการปกติ ได้รับจัดสรรวงเงนิ กู้ 54.00 ลบ. เบิกจ่ายได้ 40.30 ลบ. (74.63%) โครงการพิเศษได้รับจัดสรรวงเงินกู้ 28.29 ลบ. เบิกจ่ายได้ 25.91 ลบ. (91.59%) การใหค้ วามชว่ ยเหลือเกษตรกรสมาชิกท่ีมีปัญหาในการประกอบอาชีพทางการเกษตร จงั หวัดเชียงราย มีโครงการ ดังนี้ 1. โครงการสนับสนุนเงนิ ทนุ เพอื่ การพัฒนาอาชีพสมาชิกสหกรณ์ ปที ่ี 2 วตั ถปุ ระสงค์ 1. เพื่อสนับสนุนเงินทุนแก่สหกรณ์ ให้สมาชิกกู้ยืมเป็นทุนหมุนเวียนในการส่งเสริมและ พัฒนาอาชพี ทางการเกษตร เพิ่มรายไดอ้ ยา่ งย่งั ยืนในการประกอบอาชีพให้แก่สมาชิก 2. เพอ่ื สนับสนนุ สหกรณใ์ ห้มีเงนิ ทุนหมนุ เวียนอัตราดอกเบี้ยต่ำในการใหบ้ ริการสมาชิก กจิ กรรม 1. สนับสนุนเงินกู้ ให้สมาชิกกู้ยืมไปเป็นทุนหมุนเวียนในการเพาะปลูกพืชเสริม-พืชแซมใน สวน(สวนยาง สวนไม้ยนื ต้น) 2. ทำการเกษตรแบบผสมผสาน 3. ประกอบอาชีพเสรมิ อน่ื เชน่ เพาะเห็ดฟางในตระกร้า เพาะถว่ั งอก เพาะจ้งิ หรดี กลุ่มเป้าหมาย สหกรณ์การเกษตร สหกรณ์นิคม สหกรณ์เครดิตยูเนี่ยน ที่สมาชิกประกอบอาชีพ ทำการเกษตร ซึ่งสำนักงานสหกรณ์จังหวัดเชียงราย ได้สำรวจความต้องการเข้ารว่ มโครงการและมีสหกรณ์ ไดร้ ับสนบั สนุนเงินกู้ จำนวน 6 แหง่ คือ ที่ สหกรณ์ วัตถปุ ระสงค์ อตั ราดอกเบีย้ จำนวนเงนิ (ลบ.) 1 สหกรณ์การเกษตรเวยี งชัย จำกัด ให้สมาชิกกยู้ ืม 1 1.8 2 สหกรณ์การเกษตรเชยี งแสน จำกดั ใหส้ มาชกิ กู้ยืม 1 1.8 3 สหกรณ์การเกษตรเมืองพาน จำกัด ใหส้ มาชกิ กยู้ ืม 1 1.8 4 สหกรณก์ ารเกษตรเมืองเทิง จำกัด ใหส้ มาชกิ ก้ยู ืม 1 1.8 5 สหกรณก์ ารเกษตรพญาเม็งราย ให้สมาชกิ กยู้ มื 1 1.8 จำกดั ให้สมาชกิ กู้ยมื 1 1.8 6 สหกรณ์ปฏิรูปที่ดินเวียงชัย จำกัด รวม 10.8

รายงานประจำปี 2564 สำนักงานสหกรณ์จังหวัดเชียงราย 95 2. โครงการสนับสนุนเงินทุนเพอ่ื แก้ปญั หาหนี้และฟื้นฟูอาชพี สมาชิกสหกรณ์ วตั ถปุ ระสงค์ 1. เพื่อสนับสนุนเงินทนุ แกส่ หกรณ์ ให้สมาชิกกูย้ มื เปน็ ทุนหมุนเวยี นในการฟื้นฟอู าชพี 2. เพือ่ แกป้ ัญหาหนคี้ า้ งชำระของสมาชกิ สหกรณ์ โดยการฟื้นฟอู าชีพให้มรี ายไดท้ ่ีมน่ั คงและ เพียงพอ กิจกรรม 1. สนับสนุนเงนิ กู้ ให้สมาชกิ ก้ยู ืมเพอ่ื เป็นทนุ หมนุ เวียนในการทำการเกษตร ทเ่ี ป็นอาชีพหลัก ของสมาชกิ เพ่ือลดตน้ ทุนการผลิตและเพม่ิ ผลผลิตให้มคี ณุ ภาพ ไดม้ าตรฐาน 2. เพ่อื ทำการเกษตรระยะส้นั ท่มี ีรายได้หมุนเวียนเร็ว เชน่ เกษตรปลอดภัย ผกั ปลอดภัย กลุ่มเป้าหมาย สหกรณ์ที่ผ่านการอบรมโครงการแก้ไขปัญหาหนี้ค้างชำระของสมาชิก สหกรณ์ ซึ่งสำนักงานสหกรณ์จังหวัดเชียงราย ได้สำรวจความต้องการและมีสหกรณ์ได้รับสนับสนุนเงินกู้ จำนวน 6 แห่ง คอื ท่ี สหกรณ์ วัตถุประสงค์ อัตราดอกเบี้ย จำนวนเงิน (ลบ.) 1 สหกรณก์ ารเกษตรปา่ แดด จำกดั ใหส้ มาชิกกยู้ ืม 1 0.15 2 สหกรณ์แท็กซ่เี ชียงราย จำกัด ใหส้ มาชิกกยู้ ืม 1 0.23 3 สหกรณก์ ารเกษตรเมอื งพาน จำกัด ใหส้ มาชิกกู้ยืม 1 0.15 4 สหกรณ์การเกษตรเมอื งเทงิ จำกดั ใหส้ มาชิกกยู้ ืม 1 0.15 5 สหกรณก์ ารเกษตรพญาเม็งราย ให้สมาชิกกยู้ ืม 1 0.15 จำกดั 6 สหกรณก์ ารเกษตรเวียงชัย จำกัด ให้สมาชกิ กูย้ มื 1 0.15 รวม 0.98 3. โครงการสนบั สนุนเงินทนุ เพ่อื ส่งเสรมิ อาชพิ ในยคุ New Normal วตั ถุประสงค์ 1. เพื่อสนบั สนุนเงนิ ทุนดอกเบี้ยต่ำให้สหกรณ์ นำไปชว่ ยเหลอื สมาชกิ ในการประกอบอาชีพ. 2. เพอื่ บรรเทาความเดือดร้อนใหส้ มาชกิ สหกรณ์ ทีไ่ ด้รบั ผลกระทบจากสถานการณ์การแพร่ ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรน่า 2019 (โควิด-19) ให้มีเงินทุนหมุนเวียนในการประกอบอาชีพ พัฒนา อาชพี ฟ้นื ฟอู าชีพ เพ่อื กอ่ ให้เกดิ รายได้ กิจกรรม สนับสนุนเงนิ กู้ ใหส้ มาชิกก้ยู ืมเพื่อเปน็ ทุนหมนุ เวียนในการประกอบอาชีพ พฒั นาอาชีพ และ ประกอบอาชพี เสรมิ เพิม่ รายได้ กลมุ่ เป้าหมาย สหกรณ์การเกษตร สหกรณน์ คิ ม สหกรณป์ ระมง สหกรณเ์ ครดิตยูเนย่ี น และ สหกรณ์บริการ ที่ได้รับผลกระทบจากสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคติดเช้ือไวรัสโคโรน่า 2019 (โค วิด-19) ซึ่งสำนักงานสหกรณ์จังหวัดเชียงราย ได้สำรวจความต้องการเข้าร่วมโครงการและมีสหกรณ์ได้รบั สนบั สนุนเงนิ กู้ จำนวน 1 แหง่ คอื 1. สหกรณ์การเกษตรเมอื งเทงิ จำกัด อัตราดอกเบ้ีย 1 จำนวนเงิน 0.73 ล้านบาท

รายงานประจำปี 2564 สำนกั งานสหกรณ์จงั หวดั เชยี งราย 96 รางวลั ผลงานดีเดน่ และความภาคภมู ิใจ 1. รางวลั เกยี รติบตั รหนว่ ยงานท่ีมผี ลการประหยดั พลังงานไฟฟา้ และนำ้ มนั เชอ้ื เพลงิ ไดไ้ มน่ ้อยกวา่ ร้อยละ 10 อย่างต่อเนื่อง ตามโครงการลดการใช้พลังงานในภาครัฐ ปีงบประมาณ พ.ศ. 2561-2563 จากจงั หวัดเชียงราย 2. รางวัลเกียรติบัตรเชิดชูเกียรติหนว่ ยงานที่มีผลการใช้จ่ายงบประมาณ พ.ศ. 2564 เป็นไปตาม เกณฑท์ ก่ี ำหนด จากจงั หวดั เชียงราย 3. การตดิ ตามและรับชำระหนี้เงนิ กู้ ASPL ของชุมนุมสหกรณจ์ ังหวัดเชยี งราย ท่ีคา้ งนานเกิน 16 ปี จำนวนเงนิ 12.26 ล้านบาท 4. ไดร้ บั เกยี รตจิ ากนายกัมปนาท รุดดษิ ฐ์ องคมนตรี ในคราวออกตรวจเยย่ี มงานในพ้ืนที่ โครงการหลวง โดยคณะกรรมการสหกรณ์การเกษตรโครงการหลวงห้วยน้ำขุน่ จำกดั ร่วมตอ้ นรบั เม่ือวนั ที่ 12 มีนาคม 2564

รายงานประจำปี 2564 สำนกั งานสหกรณ์จังหวดั เชยี งราย 97 ส่วนท่ี 3 กจิ กรรม ประชาสมั พันธ์ สหกรณ์

รายงานประจำปี 2564 สำนักงานสหกรณจ์ งั หวดั เชยี งราย 98 กิจกรรมประชาสัมพันธง์ านสหกรณ์ โดดเด่นในรอบปีงบประมาณ พ.ศ.2564 ภาพกิจกรรมของหน่วยงานร่วมกบั จังหวดั ปงี บประมาณ พ.ศ. 2564 ❖ การออกหนว่ ยบำบัดทุกข์ บำรงุ สุข ร่วมกับจังหวัดเชียงราย 2 คร้ัง ผ้รู ่วมงาน 100 คน กจิ กรรมที่ดำเนินการ 1. การจัดนิทรรศการให้ความรใู้ นงานสหกรณ์ 2. การจดั ใหม้ เี จ้าหนา้ ที่คอยตอบขอ้ ซักถาม และรับข้อร้องเรียนต่าง ๆ ในงานสหกรณ์ สถานที่ ครงั้ ท่ี 1 อำเภอพญาเมง็ ราย จงั หวดั เชยี งราย เดอื นตลุ าคม 2563 ครงั้ ท่ี 2 อำเภอแม่ฟ้าหลวง จงั หวดั เชยี งราย เดือนพฤศจิกายน 2563

รายงานประจำปี 2564 สำนกั งานสหกรณจ์ งั หวัดเชยี งราย 99

รายงานประจำปี 2564 สำนกั งานสหกรณ์จังหวัดเชยี งราย 100


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook