Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore e-book ฟิสิก

e-book ฟิสิก

Published by apinyab59, 2021-01-31 14:22:02

Description: e-book ฟิสิก

Search

Read the Text Version

โครงงานฟิ สิกส์ เร่ือง การมองเห็นและแสงสี จดั ทาโดย นายพีรพฒั น์ ทา้ วชยั มูล ม.6/1เลขที3่ นายชาคร ธรรมศกั ด์ิ ม.6/1 เลขท่ี5 นายภบู ดินทร์ แกว้ ศรี ม.6/1เลขท่ี7 นางสาววรรณภทั ร์ มาฟู ม.6/1 เลขท่ี20 ครูทป่ี รึกษา คุณครูธญั ญารัตน์ ปิ งวงั โครงงานน้ีส่วนหนึงของของการศกึ ษา วิชาฟิสิกส์ รหัสวิชาว33206 ภาคเรียนท2่ี ปี การศึกษา2563 กลุ่มสาระการเรียนรู้วทิ ยาศาสตร์ โรงเรียนป่ าแดดวทิ ยาคม สานกั งานเขตพ้ืนที่การศึกษามธั ยมศึกษา เขต36

คานา โครงงานเรื่องแสงสีและการมองเห็นน้ีเป็นส่วนหน่ึงของการเรียนรายวชิ าฟิสิกส์ กลมุ่ ของขา้ พเจา้ จดั ทาข้ึนเพือ่ ให้ผศู้ ึกษาโครงงานเขา้ ใจทฤษฎีของแสงสีและกฎของการมองเห็น เพือ่ เป้นประโยชนต์ ่อผูอ้ า่ น โครงงานน้ีไดร้ วบรวมเน้ือหามาจากอนิ เตอร์เนต็ คณะผจู้ ดั ทาเป็นอยา่ งยิง่ ว่าผทู้ ่ีอ่านโครงงานจะไดร้ ับความรู้จากโครงงานเร่ืองน้ีและ หวงั ว่าจะเป็นประโยชน์กบั ทา่ นผูอ้ า่ นทุกๆทา่ น โครงงานเลม่ น้ีอาจมสี ่ิงใดผิดพลาดกข็ ออภยั มา ณ โอกาสน้ี คณะผจู้ ดั ทา

สารบัญ เรื่อง ผิดพลาด! ไม่ได้กาหนดบุ๊กมาร์ก ผิดพลาด! ครูท่ปี รึกษาคุณครูธญั ญารตั น์ ปิ งวงั ผดิ พลาด! ไม่ได้กาหนดบุ๊กมาร์ก บทคดั ยอ่ ผดิ พลาด! ไม่ได้กาหนดบุ๊กมาร์ก ค กิตติกรรมประกาศ 1 1 ไม่ได้กาหนดบุ๊กมาร์ก 1 สารบญั 1 บทที่1 2 บทนา 2 ทแ่ี ละความสาคญั ของโครงงาน 4 แนวทางการศกึ ษา และปัญหา 5 วตั ถปุ ระสงค์ 5 ผลที่คาดวา่ จะไดร้ ับ 5 ระยะเวลาดาเนินงาน 10 บทท่ี 2 18 หลกั การและทฤษฎีท่เี กี่ยวขอ้ ง 18 โครงงานอื่นๆ ท่ีเก่ียวขอ้ ง 19 องคค์ วามรู้ตา่ งๆ ท่เี ก่ียวขอ้ ง 19 บทท่ี3 20 วธิ ีการจดั ทาโครงงาน 20 บทท่4ี 20 ผลการดาเนินงาน บทท่ี 5 สรุปผลการดาเนินงานและขอ้ เสนอแนะ การดาเนินงานจดั ทาโครงงาน

สรุปผลการดาเนินงาน 20 ขอ้ เสนอแนะ 20 บรรณานุกรม 21 โครงงาน แสงสี อาจารยท์ ี่ปรึกษา นางสาวธญั ญารตั น์ ปิ งวงั ช่ือผศู้ กึ ษา นายพรี พฒั น์ ทา้ วชยั มูล นายชาคร ธรรมศกั ด์ิ นายภูบดินทร์ แกว้ ศรี นางสาววรรณภทั ร์ มาฟู สถานทศี่ ึกษา โรงเรียนป่ าแดดวิยาคมจงั หวดั เชียงราย ปี การศกึ ษา 2563 บทคัดย่อ เน่ืองจากในปัจจุบนั หรือในชีวิตประจาวนั ของคนเราน้นั เราจะมองเห็นวตั ถุมสี ี ต่างๆกนั สีของวตั ถนุ ้นั จะมีผลต่อจิตใจของมนุษย์ ซ่ึงมนั จะทาใหเ้ กิดอารมณ์และความรู้สึกท่ี ตา่ งกนั ดงั น้นั การทางานตลอดจนความเป็ นอยใู่ นช่วงต่างๆของมนุษยน์ ้ัน จึงควรจะมีความสมั พนั ธ์กบั สภาพแวดลอ้ มท่มี ีสีตา่ งๆกนั ตามความเหมาะสมดว้ ยการทวี่ ตั ถุ ต่างๆจะมสี ีอยา่ งไร ข้นึ อยกู่ บั คณุ สมบตั ิสองประการ คือ ส่วนประกอบของเน้ือสารท่ีประกอบ กนั เป็นวตั ถุน้นั ๆ และแสงสีทม่ี าตกกระทบ ซ่ึงการมองเห็นน้นั เป็นเร่ืองที่สาคญั ของมนุษย์ อนั เป็นส่ิงท่ีมนุษยท์ ้งั หลายลว้ นอยากไดแ้ ละรกั ษาคงสภาพใหด้ ีไดม้ ากทส่ี ุด ดงั น้นั การทม่ี องเห็น และแสงสี ถือเป็น เรื่องท่ีทกุ คนควรที่จะไดร้ ับความรู้ ซ่ึงการมองเห็นกค็ ือดวงตา เป็นอวยั วะที่สาคญั ของร่างกาย ท่ี จะช่วยในการทากิจกรรมตา่ งๆในชีวติ ประจาวนั พีรพฒั น์ ทา้ วชยั มูล ชาคร ธรรมศกั ด์ิ ภูบดินทร์ แกว้ ศรี วรรณภทั ร์ มาฟู

กิตตกิ รรมประกาศ คณะจดั ทาขอขอบพระคณุ คุณครูธญั ญารัตน์ ปิ งวงั เป็นอยา่ งยง่ิ ทใ่ี ห้ความรู้และให้ คาปรึกษาเก่ียวกบั การมองเห็นและแสงสี เน้ือหาของแสงสี และคาแนะนา แนวคดิ ตลอดจน แกไ้ ขขอ้ บกพร่องตา่ งๆ มาโดยตลอด จนโครงงานเลม่ น้ีเสร็จสมบรู ณ์ ผศู้ ึกษาจึงขอบพระคณุ เป็นอยา่ งสูง นอกจากน้ีผจู้ ดั ทายงั ขอขอบพระคณุ พอ่ แม่ ผูป้ กครอง ทีช่ ่วยสนบั สนุนและผูท้ ีม่ ีส่วนร่วมใน โครงงานน้ี คุณค่าและประโยชน์ที่ไดจ้ ากโครงงานน้ี คณะผูจ้ ดั ทาไดใ้ หค้ วามรู้เก่ียวกบั การ มองเห็นและแสงสีมนุษยส์ ามารถรบั รู้สีไดเ้ น่ืองจากโครงสร้างและประสาทของดวงตา ซ่ึงมี ความสามารถในการรบั รู้แสงในช่วงความถที่ ีต่ ่างกนั การรบั รู้สีน้นั ข้ึนกบั ปัจจยั ทางชีวภาพ (เช่น คนตาบอดสี คือคนท่ีเห็นสีบางคา่ ต่างจากคนอน่ื หรือไม่สามารถแยกแยะสีท่ีมคี ่าความอิม่ ตวั ใกลเ้ คียงกนั ได)้ , ความทรงจาระยะยาวของบุคคลผูน้ ้นั , และผลกระทบระยะส้นั เช่น สีที่อยู่ ขา้ งเคียง สี คือลกั ษณะที่กระทบตอ่ สายตาซ่ึงมีผลถึงจิตวิทยา อารมณ์และความรู้สึกได้ การทไี่ ด้ เห็นสีจากสายตา สายตาจะส่งความรู้สึกไปยงั สมองทาใหเ้ กิดความรู้สึกต่างๆตามอทิ ธิพลของสี เช่น สดช่ืน ร้อน ตน่ื เตน้ เศร้า สีมีความหมายอยา่ งมากเพราะศิลปิ นตอ้ งการใชส้ ีเป็นสื่อสร้าง ความประทบั ใจในผลงานของศลิ ปะและสะทอ้ นความประทบั ใจน้นั ให้บงั เกิดแก่ผูด้ มู นุษย์ เก่ียวขอ้ งกบั สีตา่ งๆ อยตู่ ลอดเวลาเพราะทกุ สิ่งทอี่ ยรู่ อบตวั น้นั ลว้ นแต่มสี ีสันแตกตา่ งกนั มากมาย

บทท่ี1 บทนา 1.1 ที่มาและความสาคญั การมองเห็นสีต่าง ๆ บนวตั ถุเกิดจากการผสมของแสงสี เช่น แสงขาวอาจเกิดจากแค่ เพยี ง 3 สีรวมกนั แสงท้งั 3 สี ไดแ้ ก่ แสงสีแดง แสงสีเขยี ว และแสงสีน้าเงิน หรือเรียกว่า สีปฐม ภมู ิ และถา้ นาแสงทเี่ กิดจากการผสมกนั ของสีปฐมภมู ิ 2 สีมารวมกนั จะเกิดเป็น สีทุตยิ ภูมิ ซ่ึงสี ทตุ ยภูมแิ ตล่ ะสีจะมคี วามแตกตา่ งกนั ในระดบั ความเขม้ สีและความสวา่ งของแสง เรามองเห็นวตั ถทุ ี่เปลง่ แสงดว้ ยตวั เองไม่ไดก้ เ็ พราะมีแสงสะทอ้ นจากวตั ถุน้นั เขา้ สู่ นยั นต์ าของเรา และสีของวตั ถุก็ข้ึนอยกู่ บั คณุ ภาพของแสงทสี่ ะทอ้ นน้นั ดว้ ย โดยวตั ถุสีน้าเงินจะ สะทอ้ นแสงสีน้าเงินออกไปมากที่สุดสะทอ้ นแสงสีขา้ งเคียงออกไปบา้ งเลก็ นอ้ ยและดดู กลืน แสงสีอน่ื ๆ ไวห้ มด ส่วนวตั ถสุ ีแดงจะสะทอ้ นแสงสีออกไปมากทีส่ ุด มแี สงขา้ วเคยี งสะทอ้ น ออกไปเล็กนอ้ ย และดุดกลืนแสงสีอนื่ ๆ ไวห้ มด สาหรับวตั ถสุ ีดาจะดดู กลืนทุกแสงสีและ สะทอ้ นกลบั ไดเ้ พียงเลก็ นอ้ ยเทา่ น้นั 1.2 แนวทางการศึกษา และปัญหา จากขอ้ มลู ขา้ งตน้ ท่ไี ดก้ ล่าวมาจะเห็นไดว้ ่าทฤษฎีสี เป็นส่วนหน่ึงท่ีมคี วามสาคญั ใน ชีวิตประจาวนั เรา เราจึงตอ้ งนาเอาความรู้เร่ือง ทฤษฎีสีน้ีมาจดั ทาเป็นโครงงานความรู้ เพ่อื ให้

ผูท้ าโครงงานและผูศ้ ึกษาความรู้จากโครงงานมีความเขา้ ใจมากยง่ิ ข้ึนซ่ึงจะเป็นประโยชน์ตอ่ การ ทางาน และอน่ื ๆอยา่ งมาก ท้งั ยงั ช่วยลด เวลาในการเรียนลงไปไดอ้ ีกดว้ ย 1.3 วตั ถปุ ระสงค์ 1.3.1 เพอ่ื ศกึ ษาและคน้ ควา้ ความรู้เกี่ยวกบั แสงสีของการมองเห็น 1.3.2 เพอ่ื ให้ผศู้ ึกษาโครงงานเขา้ ใจทฤษฎีของแสงสีและกฎของการมองเห็น 1.4 ขอบเขตการศกึ ษา 1.4.1 การสร้างโครงงานความรู้ผา่ นโปรแกรม Microsoft Office Word 1.4.2 ศกึ ษาขอ้ มลู ผา่ นเวบ็ ไซต์ Google 1.4.3 เน้ือหาของโครงงานประกอบไปดว้ ย -ทฤษฎีแสงสี -ความสาคญั ของสีและการมองเห็น -แสงสีเกิดข้นึ ไดอ้ ยา่ งไร -ทาไมเราจึงมองเห็นสีตา่ งๆ

1.5ผลท่ีคาดว่าจะไดร้ ับ 1.5.1 ผศู้ ึกษามีความเขา้ ใจอยา่ งถ่องแทเ้ กี่ยวกบั หวั ขอ้ โครงงาน 1.5.2 โครงงานทจ่ี ดั ทา มีประโยชน์ต่อการเรียนและการดาเนินชีวติ

1.6 ระยะเวลาดาเนินงาน ข้นั ตอนการดาเนินงาน ระยะเวลาในการดาเนนิ งาน (เดือน ธ.ค.) ศกึ ษาเบ้ืองตน้ -อนุมตั โิ ครงงาน วนั ท่ี 3-5 วางแผนข้นั ตอนในการดาเนินงาน วนั ท่ี 8-12 ศกึ ษาขอ้ มลู ตา่ งๆ การจดั ทาเอกสารโครงงาน วนั ท่ี 16-20 วนั ที่ 25- ตารางท่ี1 ตารางระยะเวลาการดาเนินงาน

บทท่ี 2 หลกั การและทฤษฎีทีเ่ ก่ียวขอ้ ง 2.1 รูปแบบงานเดิม จากการที่ไดศ้ กึ ษาระบบงานเดิมพบว่า การเรียนการสอนวิชาศลิ ปะเรื่องทฤษฎีสี จะเนน้ ไปท่กี ารศกึ ษาจากภาพในหนงั สือเป็นส่วนใหญ่ ซ่ึงจะทาใหน้ กั เรียนไม่เขา้ ใจถึงรูปแบบของสี แต่ละสี รวมไปถงึ ประโยชน์และการความรู้เร่ืองสีไปในชีวิตประจาวนั ซ่ึงสีตา่ งชนิดกนั กจ็ ะ ใหค้ วามหมายไดไ้ มเ่ หมือนกนั แตบ่ างกรณีทีอ่ าจารยผ์ สู้ อนจะให้นกั เรียนลงมอื ปฏิบตั โิ ดยการ ใชส้ ีน้า ซ่ึงจะทาให้เห็นถงึ สีแตล่ ะสีไดง้ ่าย ซ่ึงค่อนขา้ งนอ้ ยและไม่บ่อยนกั ทาใหก้ ารเรียน ทฤษฎีสีในวชิ าศิลปะ จะเนน้ โดยการเรียนในหนงั สือซ่ึงทาใหน้ กั เรียน เขา้ ใจไดย้ ากทางผจู้ ดั ทา จึงไดค้ ดิ ถงึ การสร้างโครงงานแบบทใี่ ช้ Microsoft Office Word 2.2 โครงงานอนื่ ๆ ท่ีเกี่ยวขอ้ ง ในปี พ.ศ. 2553 นางสาว สิริวิวฒั น์ ละตา นกั ศกึ ษาสาขาวชิ า วิทยาศาสตร มหาบณั ฑิต มหาวิทยาลยั มหาวิทยาลยั มหาสารคาม ไดจ้ ดั ทาส่ือการพฒั นาการ์ตูน แอนิเมชนั 3 มิติ เรื่องการละเลน่ สาหรบั เดก็ เพอื่ ส่งเสริมเอกลกั ษณไ์ ทย มวี ตั ถปุ ระสงคเ์ พ่ือส่งเสริมเอกลกั ษณ์ไทยจึงเป็นจุดเร่ิมตน้ ของการศึกษาคร้ัง น้ี โดยผศู้ ึกษา คน้ ควา้ มคี วามประสงคเ์ พือ่ หวงั จะเป็นตวั แทนของคนรุ่นใหม่ ส่ัง สม สืบทอดและดารงการละเล่นของไทย ส่งเสริมให้เอกลกั ษณไ์ ทยท่ดี ีงามไดส้ ืบตอ่ ไป จากรุนสู่รุ่น ดว้ ยการบูรณาการองคค์ วามรูด้ า้ นศลิ ปะและวฒั นธรรมกบั การอาศยั สื่อร่วม สมยั ในรูปแบบของ การ์ตูนแอนิเมชนั การศึกษาคน้ ควา้ อิสระคร้ังน้ีมคี วามมุ่งหมายเพือ่ ประเมนิ ความพงึ พอใจและศกึ ษา การรบั รู้ ของกลุ่มตวั อยา่ งต่อส่ือการ์ตูนแอนิเมชนั 3มติ ิ เร่ืองการละเล่นสาหรบั เดก็ เพ่ือสงเสริม เอกลกั ษณ์

ในปี พ.ศ.2552 นางสาวจิราวรรณ ภ่รู ะหงษ์ นกั ศกึ ษาสาขาวิชาเทคโนโลยี สารสนเทศและการสื่อสาร (เทคโนโลยมี ลั ติมเี ดีย) คณะวิทยาศาสตร์ฯ มหาวิทยาลยั ราช ภฏั นครปฐมไดจ้ ดั ทาสื่อการ์ตนู แอนิเมชน่ั ธรรมะ เร่ืองธรรมะกบั เยาวชน ดว้ ย โปรแกรม Adobe® Flash® Professional CS3 ซ่ึงการทาโครงงานคร้ังน้ีมวี ตั ถุประสงค์ เพอื่ ศึกษาออกแบบและพฒั นาการ์ตนู ธรรมมะ เร่ืองคนสามคนซ่ึงเป็นงานแอนิเมชน่ั ใน รูปแบบ 2 มิติ มคี วามยาวท้งั หมดประมาณ 20 นาที มคี าถามจานวน 10 ขอ้ ผลท่ไี ดค้ ือส่ือการ์ตนู แอนิเมชนั่ ธรรมะ เร่ืองธรรมะกบั เยาวชนท่ผี ่านการทดสอบ ระบบการทางานเบ้ืองตน้ ซ่ึงไมพ่ บขอ้ ผดิ พลาดและสามารถนามาใชง้ านไดจ้ ริงตรงตาม วตั ถปุ ระสงค์ ในปี พ.ศ.2550 นางสาว กนกเนตร แสนสุพรรณ นกั ศึกษาสาขาวชิ าเทคโนโลยี คอมพิวเตอร์ คณะวทิ ยาศาตร์ศาสตร์มหาบณั ฑิต มหาวิทยาลยั มหาสารคาม ไดจ้ ดั ทาส่ือ การ์ตนู แอนิเมชนั่ เรื่อง “การอนุรกั ษป์ ่ าไม”้ สาหรบั เดก็ 8-9 ปี ดว้ ย โปรแกรม Adobe® Flash® Professional มวี ตั ถุประสงค์ ใหเ้ น้ือหาท่ีนามาสร้างส่ือการ์ตนู แอนนิเมชน่ั เรื่องการอนุรักษ์ ทรัพยากรป่ าไม้ สาหรบั เดก็ ประถมศกึ ษา ท่มี ี อายรุ ะหวา่ ง 8-9 ปี ผวู้ จิ ยั สร้างข้ึน โดยเนน้ ใหเ้ ด็กไดร้ ับรู้ผลกระทบอนั เกิดจากการทาลายป่ า ตลอดจนมองเห็นความสาคญั และ ประโยชนข์ องป่ าไม้ ผลทไี่ ดค้ อื การ์ตูน แอนิเมชนั่ เรื่อง “การอนุรักษป์ ่ าไม”้ ท่ผี า่ นการ ทดสอบระบบการทางานเบ้ืองตน้ ซ่ึงไม่พบขอ้ ผิดพลาดและสามารถนามาใชง้ านไดจ้ ริง ตรงตามวตั ถปุ ระสงค์ ในปี พ.ศ.2550 นางสาว ฐิตกิ า บว้ นนอก นกั ศกึ ษาโปรแกรมวชิ า เทคโนโลยี สารสนเทศ สถาบนั ราชภฎั นครปฐม ไดจ้ ดั ทา“ส่ือการสอนในรูปแบบการ์ตนู มลั ติมเี ดีย เร่ือง ระบบหายใจ” ดว้ ยโปรแกรม Adobe® Flash® Professional

มีวตั ถปุ ระสงค์ เพ่อื ใหผ้ เู้ รียนไดร้ ่วมจินตนาการไปกบั เน้ือหาในรายวิชา เกิด ความแปลกใหม่ และความแตกตา่ งออกไปจากสื่อการสอนในรูปแบบเดิม และใหม้ ี ความสอดคลอ้ งเหมาะสมกบั ผูเ้ รียนในระดบั อุดมศกึ ษา เพ่ือให้เกิดความสนุกสนานและ เพลิดเพลิน พร้อมท้งั ไดร้ ับความรู้ทส่ี อดแทรกไปกบั เรื่องราวเน้ือหาของการ์ตูนท่ี นาเสนอ ให้มคี วามน่าสนใจมากยงิ่ ข้นึ ในปี พ.ศ.2552 นาย จตพุ ร สายแวว นกั ศกึ ษาสาขาวชิ าเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์ คณะวทิ ยาศาตร์ศาสตร์มหาบณั ฑิต มหาวิทยาลยั มหาสารคาม ไดจ้ ดั ทาสื่อการ์ตูนแอนิ เมชน่ั เรื่อง “การออกกาลงั กายของเด็ก” ดว้ ยโปรแกรม Adobe® Flash® Professional มวี ตั ถปุ ระสงค์ เพอื่ ให้ผเู้ รียน เพอื่ รณรงคก์ ารออกกาลงั กายสาหรับเดก็ อายุ ระหวา่ ง 7 – 10 ปี ที่สามารถเป็นส่ือกลางการส่ือสารกบั เดก็ ไดอ้ ยา่ งเหมาะสม เพอ่ื ใหเ้ ดก็ เห็นถงึ ความสาคญั ของการออกกาลงั กายไดเ้ ป็นอยา่ งดีผลทีไ่ ดค้ ือการ์ตนู แอนิเมชนั่ เร่ือง “การออกกาลงั กาย” ท่ผี ่านการทดสอบระบบการทางานเบ้อื งตน้ ซ่ึงไมพ่ บ ขอ้ ผดิ พลาดและสามารถนามาใชง้ านไดจ้ ริงตรงตามวตั ถุประสงค์ ในปี พ.ศ.2551 นาย ปรมาภรณ์ มาเทพ นกั ศึกษาสาขาวชิ าสื่อศลิ ปะและการ ออกแบบส่ือ คณะศิลปศาสตรมหาบณั ฑิต มหาวิทยาลยั เชียงใหม่ ไดจ้ ดั ทาสื่อการ์ตนู แอ นิเมชน่ั สาหรบั การสอนวิชาพระพุทธศาสนา เรื่อง “หลกั ธรรม” ดว้ ย โปรแกรม Adobe® Flash® Professional มวี ตั ถปุ ระสงค์ เพื่อออกแบบส่ือการ์ตูนมลั ตมิ ีเดียสาหรบั วิชา พระพทุ ธศาสนา เรื่อหลกั ธรรม แก่นกั เรียน เป็นส่วนช่วยในการเรียนวิชาพระพุทธศาสนาใหม้ คี วาม น่าสนใจเพม่ิ มากข้นึ โดยการทาเป็นการ์ตูนภาพเคล่ือนไหว 2 มติ ิ แอนิเมชน่ั เรื่อง “หลกั ธรรม” ท่ผี ่านการทดสอบระบบการทางานเบ้ืองตน้ ซ่ึงไมพ่ บขอ้ ผดิ พลาดและ สามารถนามาใชง้ านไดจ้ ริงตรงตามวตั ถุประสงค์

ในปี พ.ศ.2553 นายณัฐภูมิ โชคดารงสุข นกั ศกึ ษาสาขาวชิ าเทคโนโลยสี ารสนเทศ และ การส่ือสาร (เทคโนโลยีมลั ตมิ เี ดีย) คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี มหาวทิ ยาลยั ราชภฏั นครปฐม ไดจ้ ดั ทาส่ือการ์ตูนแอนิเมชนั่ เรื่อง “ชีวิตน้ีมคี ่านกั ” ดว้ ย โปรแกรม Adobe® Flash® Professional CS3ผลทไ่ี ดค้ อื การ์ตูน แอนิเมชน่ั เร่ือง “ชีวติ น้ีมี ค่านกั ” ท่ีผา่ นการทดสอบระบบการทางานเบ้อื งตน้ ซ่ึงไมพ่ บขอ้ ผิดพลาดและสามารถ นามาใชง้ านไดจ้ ริงตรงตามวตั ถุประสงค์ ในปี พ.ศ.2552 นางสาวรสสุคนธ์ ผิวบวั คา นกั ศกึ ษาสาขาวชิ าเทคโนโลยี สารสนเทศและการสื่อสาร (เทคโนโลยมี ลั ตมิ เี ดีย) คณะวทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี มหาวิทยาลยั ราชภฏั นครปฐม ไดจ้ ดั ทาสื่อการสอนในรูปแบบการ์ตูนมลั ตมิ ีเดีย “เรื่อง มลภาวะสิ่งแวดลอ้ ม” ดว้ ยโปรแกรม Adobe® Flash® Professional CS3 ผลทีไ่ ดค้ อื สื่อการสอนในรูปแบบการ์ตูนมลั ติมเี ดีย เร่ืองมลภาวะส่ิงแวดลอ้ ม ซ่ึงผูพ้ ฒั นาไดท้ าการ ทดสอบส่ือการสอนเบ้ืองตน้ และพบว่าสื่อการสอนเป็นโปรแกรมท่ีสามารถโตต้ อบกบั ผเู้ รียนได้ เช่น การทาแบบทดสอบก่อนเรียน แบบทดสอบหลงั เรียน ผเู้ รียนสามารถ ประเมนิ ผลการเรียนรู้ของตนเองไดน้ อกจากน้ีสื่อการสอนยงั มีเกมจบั คู่ขยะ และเกม เลือกคู่ระดบั เสียงเป็นส่วนเพมิ่ เตมิ ท่ีช่วยสร้างความเพลดิ เพลนิ ให้แก่ผูเ้ รียน เม่ือผูพ้ ฒั นา ไดท้ าการทดสอบโปรแกรมจึงพบขอ้ ผิดพลาดของโปรแกรม ผพู้ ฒั นาจึงไดน้ ามา ปรับปรุงแกไ้ ขและส่งให้ ในปี พ.ศ.2552 นางสาวจิรฎั ฐิตกิ าล บุญเงิน นกั ศกึ ษาสาขา วชิ าเทคโนโลยี สารสนเทศและการส่ือสาร (เทคโนโลยีมลั ติมีเดีย) คณะวทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี มหาวิทยาลยั ราชภฏั นครปฐม ไดจ้ ดั ทา “การ์ตูนแอนิเมชนั่ นิทานอสี ปเร่ืองกระตา่ ยกบั เตา่ 2009” ดว้ ยการใชโ้ ปรแกรมทชี่ ่ือว่า Adobe® Flash® Professional CS3 มี วตั ถุประสงคเ์ พือ่ ให้เด็กและเยาวชนไดร้ ับความรู้ สร้างจิตสานึก มโนธรรมและนาขอ้ คดิ

ทไ่ี ดร้ บั ไปใชใ้ นชีวติ ประจาวนั ใชเ้ วลาวา่ งให้เป็นประโยชนเ์ พิ่มจินตนาการในการแตง่ แตม้ สีสันและผูป้ กครองสามารถแนะนาใหเ้ ดก็ เขา้ ใจถงึ เน้ือหาไดง้ า่ ยข้นึ - เพอื่ สานสัมพนั ธใ์ นครอบครัว ผลที่ไดค้ อื การ์ตูนแอนิเมชน่ั นิทานอสี ปเรื่อง กระตา่ ยกบั เตา่ 2009 ที่ผา่ นการทดสอบระบบการทางานเบ้ืองตน้ ซ่ึงไมพ่ บขอ้ ผิดพลาด และสามารถนามาใชง้ านไดจ้ ริงตรงตามวตั ถุประสงค์ ในปี พ.ศ.2553 นางสาว พจนศ์ ิรินทร์ ลิมปิ นนั ทน์ นกั ศกึ ษาสาขาวิชาสื่อนฤมิตร คณะวิทยาศาสตรมหาบณั ฑิต มหาวทิ ยาลยั มหาสารคาม ไดจ้ ดั ทาสื่อการ์ตูนแอนิเมชนั่ สาหรับการสอน เร่ือง “เพศศกึ ษาสาหรับวยั รุ่น” ดว้ ย โปรแกรม Adobe® Flash® Professional มวี ตั ถุประสงค์ เพอ่ื เผยแพร่ความรู้เร่ืองเพศศึกษาผา่ นทางอนิ เทอร์เน็ต เป็นการนาการ์ตนู แอนิเมชน่ั มาเป็นส่ือกลางในการถา่ ยทอดองคค์ วามรู้เรื่อง เพศศึกษา เพ่อื ส่งเสริมความรู้ ดา้ นเพศศกึ ษาท่ีเหมาะสมช่วยให้วยั รุ่นมีพฤติกรรมทางเพศท่ดี ีป้องกนั ตนเองจากโรคร้าย ต่าง ๆ สามารถถา่ ยทอดความรูใ้ ห้แกเ่ พ่อื นและทาให้เกิดแนวทางในการถา่ ยทอดความรู้ ในรูปแบบสื่อใหมไ่ ดต้ ่อไป แอนิเมชนั่ เรื่อง “เพศศกึ ษาสาหรบั วยั รุ่น” ที่ผา่ นการ ทดสอบระบบการทางานเบ้ืองตน้ ซ่ึงไม่พบขอ้ ผิดพลาดและสามารถนามาใชง้ านไดจ้ ริง ตรงตามวตั ถุประสงค์

2.3 องคค์ วามรู้ต่างๆ ที่เก่ียวขอ้ ง 2.3.1 ทฤษฎีแสงสี ทฤษฎี หมายถงึ ความจริงท่ีไดพ้ ิสูจนแ์ ลว้ หรือ หลกั วชิ า แสงสี หมายถงึ แสงทีม่ ากระทบวตั ถแุ ลว้ สะทอ้ นเขา้ ตาเรา ทาใหเ้ ห็นเป็นสีต่าง ๆ ทฤษฎีแสงสี หมายถงึ หลกั วิชาเกี่ยวกบั สีทสี่ ามารถมองเห็นไดด้ ว้ ยสายตา ทฤษฏีสีเป็นหลกั วชิ าเกี่ยวกบั สีทส่ี ามารถมองเห็นไดด้ ว้ ยสายตาการใชส้ ีตามหลกั จิตวทิ ยา สามารถกอ่ ใหเ้ กิดประโยชน์ไดม้ ากมายข้นึ อยกู่ บั ลกั ษณะการใชง้ าน ประโยชน์ ที่ไดร้ บั น้ันไดแ้ ก่ ในดา้ นแสดงเวลาของบรรยากาศในภาพเขียน ในดา้ นการคา้ ในดา้ น ประสิทธิภาพของการทางาน และประโยชน์ในดา้ นการตกแตง่ เป็นปรากฏการณ์ของการ รบั รู้เกี่ยวกบั การมองเห็นอยา่ งหน่ึงของมนุษย์ เช่นการรบั รู้ว่าดอกกหุ ลาบเป็นสีแดง ใบไมเ้ ป็นสีเขยี ว เป็นตน้ และจากคานิยามวา่ สีเป็นการรบั รู้ ดงั น้นั จึงไมม่ ีตวั ตนอยเู่ ป็น สารในทางฟิสิกส์ คอื ไมเ่ ป็นของแขง็ ของเหลว และก๊าซจะเกิดข้ึนไดต้ อ้ งมีองคป์ ระกอบ อยา่ งนอ้ ย 2 ประการคอื แสง และผสู้ ังเกต ลองนึกดวู ่า ถา้ เราเดินเขา้ ไปในห้องทีไ่ มม่ ีแสง ใดๆ เลย เราก็ไม่สามารถมองเห็นวตั ถุและสีใดๆ ได้ และหากเราเดินเขา้ ไปในห้องท่ีสว่างไสวแตป่ ิ ดตาเสีย เรากจ็ ะไมเ่ ห็นสีใดๆ ได้ เช่นกนั การรับรู้สีเกิดข้ึนไดก้ ต็ อ่ เม่อื มแี สงเดินทางเขา้ ไปสู่ตา โดยตาของมนุษยจ์ ะทา หนา้ ทีเ่ ป็นส่วนรบั แสง และส่งสัญญานไปยงั สมองเพอ่ื แปลสัญญานดงั กล่าวเป็นการ รบั รู้สีตา่ ง ๆ

2.3.2 ความสาคญั ของการมองเห็น สี หมายถงึ แสงท่ีมากระทบวตั ถุแลว้ สะทอ้ นเขา้ ตาเราทาให้เห็นเป็นสีตา่ งๆ การที่เรา มองเห็นวตั ถุเป็ นสีใดๆ ได้ เพราะวตั ถุน้นั ดูดแสงสีอ่นื สะทอ้ นแตส่ ีของมนั เอง เช่น วตั ถสุ ีแดง เมอ่ื มีแสงส่องกระทบกจ็ ะดดู ทุกสีสะทอ้ นแต่สีแดงทาใหเ้ รามองเห็นเป็นสีแดง เรารับรู้สีไดเ้ พราะเมอ่ื สามร้อยกวา่ ปี ท่ผี า่ นมา ไอแซก นิวตนั ไดค้ น้ พบ วา่ แสงสีขาวจาก ดวงอาทิตยเ์ มอื่ หกั เหผ่านแทง่ แกว้ สามเหล่ียม ( prism) แสงสีขาวจะกระจายออกเป็นสีรุ้งเรียกว่า สเปคตรมั มี 7 สี ไดแ้ ก่ มว่ ง คราม น้าเงิน เขยี ว เหลือง สม้ แดง และไดม้ กี าหนดใหเ้ ป็นทฤษฎีสี ของแสงข้นึ ความจริงสีรุ้งเป็นปรากฏการณ์ ตามธรรมชาตซิ ่ึงเกิดข้ึนและพบเห็นกนั บ่อยๆ อยู่ แลว้ โดยเกิดจากการหกั เห ของแสงอาทิตยห์ รือแสงสว่างเมอ่ื ผา่ นละอองน้าในอากาศ ซ่ึงลกั ษณะกระทบตอ่ สายตาให้เห็นเป็นสีมผี ลถงึ จิตวิทยาคือมอี านาจใหเ้ กิด ความเขม้ ของแสงทีอ่ ารมณ์และความรู้สึกไดก้ ารท่ไี ดเ้ ห็นสีจากสายตา สายตาจะส่งความรู้สึกไปยงั สมอง ทาใหเ้ กิดความรู้สึกตา่ งๆ ตามอิทธิพลของสี เช่น สดชื่น เร่าร้อน เยือกเยน็ หรือต่นื เตน้ มนุษยเ์ รา เก่ียวขอ้ งกบั สีตา่ งๆ อยตู่ ลอดเวลาเพราะทุกสิ่งท่อี ยรู่ อบตวั น้นั ลว้ นแต่มสี ีสนั แตกตา่ งกนั มากมาย ความสาคญั ของสีทีม่ ตี อ่ วถิ ีชีวติ ของเรา สีเป็นส่ิงที่มคี วามสาคญั ตอ่ วิถชี ีวติ ของเราอยา่ งมาก นบั แตส่ มยั ดึกดาบรรพจ์ นถงึ ปัจจบุ นั เราได้ นาสีมาใชใ้ หเ้ กิดประโยชนโ์ ดยใชเ้ ป็นสญั ลกั ษณใ์ นการถ่ายทอดความ หมายอยา่ งใดอยา่ งหน่ึง สี จึงเป็นส่ิงทค่ี วรศึกษาเพือ่ ใชป้ ระโยชน์กบั วิถีชีวติ ของเราเพราะสรรพส่ิง ท้งั หลายที่แวดลอ้ มตวั เราประกอบไปดว้ ยสีท้งั สิ้นในงานศลิ ปะสีเป็นองคป์ ระกอบ สาคญั อยา่ งหน่ึงและในวิถชี ีวิตของ เราสีเป็นองคป์ ระกอบทีม่ ีอทิ ธิพลต่อ ความรู้สึก อารมณ์ และจิตใจ ไดม้ ากกวา่ องคป์ ระกอบอ่ืน ๆ เช่น 1.ใชใ้ นการจาแนกส่ิงตา่ งๆเพื่อใหเ้ ห็นชดั เจน 2 .ใชใ้ นการจดั องคป์ ระกอบของสิ่งต่าง ๆ เพื่อใหเ้ กิดความสวยงาม กลมกลนื เช่น การแตง่ กาย การจดั ตกแตง่ บา้ น 3.ใชใ้ นการจดั กลมุ่ พวก คณะ ดว้ ยการใชส้ ีต่างๆ เช่นคณะสี เครื่องแบบตา่ งๆ

4.ใชใ้ นการสื่อความหมายเป็นสัญลกั ษณ์หรือใชบ้ อกเลา่ เร่ืองราว 5.ใชใ้ นการสร้างสรรคง์ านศิลปะ เพ่ือให้เกิดความสวยงาม สร้างบรรยากาศ สมจริงและน่าสนใจ 6 .เป็นองคป์ ระกอบในการมองเห็นสิ่งต่าง ๆ ของ มนุษย์ สีทอ่ี ยรู่ อบตวั เราน้นั มีทม่ี า3ทางคอื 1 . สสารที่มีอยตู่ ามธรรมชาติ และนามาใชโ้ ดยตรงหรือดว้ ยการสกดั ดดั แปลงบา้ งจากพชื สตั ว์ ดินแร่ธาตุต่างๆ 2.สสารทไี่ ดจ้ ากการสงั เคราะหซ์ ่ึงผลิตข้นึ โดยกระบวนการทางเคมีเป็นสารเคมที ี่ ผลิตข้นึ เพ่อื ให้ สามารถนามาใชไ้ ดส้ ะดวกมากข้นึ ซ่ึงเป็นสีทเ่ี ราใชอ้ ยทู่ วั่ ไปในปัจจุบนั 3.แสง เป็นพลงั งานชนิดเดียวทีใ่ หส้ ีโดยอยูใ่ นรูปของรงั สี (Ray) ทม่ี ีความเขม้ ของแสงอยใู่ นช่วง ท่ีสายตามองเห็นได้ ปัจจบุ นั มนุษยเ์ รามวี วิ ฒั นาการมากข้นึ เกิดคตนิ ิยมในการรบั รู้และช่ืนชม ในความงามทาง สุนทรียศาสตร์ (Aesthetics) สีจึงไดร้ บั การพฒั นาเพ่ือนามาใชอ้ ยา่ งกวา้ งขวางและวิจติ รพิสดาร จากเดิมท่เี คยใชส้ ีเพียงไมก่ ีส่ ี ซ่ึงเป็นสีตามธรรมชาตไิ ดน้ ามาประดิษฐ์ คดิ คน้ และผลติ สี รูปแบบใหม่ ๆ ออกมาเป็นจานวนมากทาให้เกิดการสรา้ งสรรคค์ วามงามอยา่ งไมม่ ีขดี จากดั โดย มกี าร พฒั นามาเป็นระยะ ๆ อยา่ ง แม่สี ในวถิ ีชีวติ ของเราทุกคนรู้จกั เคยเห็น เคยใชส้ ี และสามารถบอกไดว้ ่าสิ่งใดเป็น สีแดง สี เหลือง สีเขียว สีฟ้า สีม่วง สีขาว และสีอื่น ๆ แต่เป็นเพียงรู้จกั และเรียกชื่อสีได้ถกู ตอ้ งเท่าน้นั จะ มีพวกเราก่ีคนทจี่ ะรู้จกั สีไดล้ กึ ซ้ึง เพราะเรายงั ขาดส่ือการเรียนเกี่ยวกบั เรื่องน้ีนนั่ เอง ปัจจุบนั น้ี เรายงั มองขา้ มหลกั วิชาทจ่ี าเป็นต่อการดารงชีวติ ประจาวนั ของเรา อยถู่ า้ เรารู้จกั หลกั การเบ้ืองตน้ ของสีจะทาให้เราสามารถเขยี น ระบาย หรือเลือกประยกุ ตใ์ ชส้ ี เพ่อื สร้างความสุขในการดาเนิน วถิ ชี ีวิตของเราไดด้ ีข้นึ นกั วิชาการสาขาตา่ งๆ ไดศ้ ึกษาคน้ ควา้ เร่ืองสีจนเกิดเป็นทฤษฎีสีตาม หลกั การของนกั วิชาการสาขาน้นั ๆ ดงั น้ี

แมส่ ีของนกั ฟิสิกส์ (แมส่ ีของแสง) (spectruprimaries) คอื สีท่ีเกิดจากการผสมกนั ของคล่นื แสงมแี ม่สี3สีคือ (Red) (Green) 1. สีแดง 2. สีเขยี ว 3. สีน้าเงิน (Blue) เมอ่ื นาแม่สีของแสงมาผสมกนั จะเกิดเป็นสีต่างๆ ดงั น้ี (Blue) 1.สีม่วงแดง(Magenta) เกิดจากสีแดง (Red) ผสมกบั สีน้าเงิน (Blue) (Red) 2.สีฟ้า(Cyan) เกิดจากสีเขยี ว (Green) ผสมกบั สีน้าเงิน 3.สีเหลอื ง(Yellow) เกิดจากสีเขยี ว (Green)ผสมกบั สี แดง และเมือ่ นาแมส่ ีท้งั 3 มาผสมกนั จะไดส้ ีขาว แม่สีของนกั จิตวิทยา (psychology primaries) คือสีทมี่ ีผลตอ่ ความรู้สึกของมนุษยใ์ นดา้ นจิตใจซ่ึงจะกลา่ วในเร่ือง “ความรู้สึกของสี” นกั จิตวิทยาแบง่ แม่สี เป็น 4 สี คอื 1. สีแดง (Red) 2. สีเหลอื ง (Yellow) 3. สีเขยี ว (Green) 4. สีน้าเงิน (Blue) เม่ือนาแม่สี 2 สีที่อยใู่ กลก้ นั ในวงจรสีมาผสมกนั จะเกิดเป็นสีอีก 4 สี ดงั น้ี 1. สีส้ม (orange) เกิดจากสี แดง (Red) ผสมกบั สีเหลือง (Yellow) 2. สีเขียวเหลอื ง (yellow-green) เกิดจากสีเหลอื ง (Yellow) ผสมกบั สีเขียว (Green) 3. สีเขียวน้าเงิน (blue green) เกดิ จากสีเขยี ว (Green) ผสมกบั สีน้าเงิน (Blue) 4. สีมว่ ง (purple) เกิดจากสีแดง (Red) ผสมกบั สีน้าเงิน (Blue) แม่สีของนกั เคมี (pigmentary primaries) คือสีท่ีใชใ้ นวงการอตุ สาหกรรมและวงการศิลปะ หรือเรียกอกี อยา่ งหน่ึงวา่ สีวตั ถุธาตุ ท่ีเรากาลงั

ศึกษาอยใู่ น ขณะน้ี โดยใชใ้ นการเขยี นภาพเก่ียวกบั พาณิชยศิลป์ ภาพโฆษณา ภาพประกอบเรื่อง ซ่ึงในหลกั การเดียวกนั ท้งั สิ้น ประกอบดว้ ย สีข้นั ท่ี 1 (Primary Color) คอื สีพ้ืนฐาน มีแมส่ ี 3 สี ไดแ้ ก่ 1. สีเหลือง (Yellow) 2. สีแดง (Red) 3. สีน้าเงิน (Blue) สีข้นั ที่ 2 (Secondary color) คือ สีทเี่ กิดจากสีข้นั ท่ี 1 หรือแม่สีผสมกนั ในอตั ราส่วนท่ีเทา่ กนั จะทาให้เกิดสีใหม่ 3 สี ไดแ้ ก่ 1. สีสม้ (Orange) เกิดจาก สีแดง (Red) ผสมกบั สีเหลอื ง (Yellow) 2. สีมว่ ง (Violet) เกิดจาก สีแดง (Red)ผสมกบั สีน้าเงิน (Blue) 3. สีเขียว (Green)เกิดจาก สีเหลอื ง (Yellow) ผสมกบั สีน้าเงิน(Blue) สีข้นั ท่ี 3 (Intermediate Color) คอื สีที่เกิดจากการผสมกนั ระหว่างสีของแมส่ ีกบั สีข้นั ท่ี 2 จะเกิดสีข้ึนอกี 6 สี ไดแ้ ก่ 1.สีน้าเงินมว่ ง ( Violet-blue) เกิดจาก สีน้าเงิน (Blue) ผสมสีม่วง (Violet) 2. สีเขยี วน้าเงิน ( Blue-green) เกิดจาก สีน้าเงิน (Blue) ผสมสีเขยี ว (Green) 3. สีเหลืองเขยี ว ( Green-yellow) เกิดจาก สีเหลอื ง(Yellow) ผสมกบั สีเขยี ว (Green) 4. สีสม้ เหลอื ง ( Yellow-orange) เกิดจาก สีเหลอื ง (Yellow) ผสมกบั สีส้ม (Orange) 5. สีแดงสม้ ( Orange-red) เกิดจาก สีแดง (Red) ผสมกบั สีส้ม (Orange) 6. สีมว่ งแดง ( Red-violet)เกิดจาก สีแดง (Red) ผสมกบั สีมว่ ง (Violet)

เราสามารถผสมสีเกิดข้ึนใหมไ่ ดอ้ ีกมากมายหลายร้อยสีดว้ ยวิธีการเดียวกนั น้ี ตามคณุ ลกั ษณะ ของสีทจี่ ะกล่าวต่อไปจะเห็นไดว้ า่ ทฤษฎีสีดงั กล่าวมีผลใหเ้ รา สามารถนามาใชเ้ ป็นหลกั ในการ เลือกสรรสีสาหรับงานสรา้ งสรรค์ ของเราไดซ้ ่ึงงานออกแบบมไิ ดถ้ ูกจากดั ดว้ ยกรอบความคิด ของทฤษฎีตามหลกั วชิ าการ เทา่ น้นั แตเ่ ราสามารถคดิ ออกนอกกรอบแห่งทฤษฎีน้นั ๆ ได้ เทา่ ท่ี มนั สมองของเราจะเคน้ ความคิดสร้างสรรคอ์ อกมาได้ 2.3.3 แสงสีเกิดข้ึนไดอ้ ยา่ งไร แสงสีเป็นพลงั งานรังสีทม่ี าจากดวงอาทติ ยเ์ ป็นแสงสีขาวแตถ่ า้ นาแสงสีขาวมาผา่ นแทง่ แกว้ ปริซึมจะเกิดการหกั เหของแสงขาวทาให้แยกแสงออกไดเ้ ป็น 7 สี คือ สีม่วง สีคราม สีนา้ เงนิ สี เขยี ว สีเหลือง สีส้ม สีแดง ลาดบั ของสีจะเรียงตามการกระจายของแสงจากมากไปหานอ้ ย นกั วิทยาศาสตร์ไดก้ าหนดแมส่ ีของแสงไว้ 3 สีคอื สีแดง สีเขยี ว และสีน้าเงนิ และถา้ นาแม่สีท้งั 3 สีมาฉายรวมกนั กจ็ ะไดแ้ สงสีขาวหรือไมเ่ กิดสี นอกจากน้ีเราจะสังเกตเห็นวา่ เคร่ืองหมายของ โทรทศั น์สีหลายๆ ช่องจะใชแ้ ม่สีของแสงดว้ ยเช่นกนั ทฤษฎีของแสงสีน้ีเป็ นระบบสีท่ีเรียกกนั วา่ RBG ปัจจุบนั ไดม้ ีการนาทฤษฎีแสงสีน้ีมาใชใ้ นการถ่ายทาภาพยนต์ การบนั ทกึ ภาพวิดีโอ การแสดง ภาพบนหนา้ จอคอมพิวเตอร์ รวมไปถงึ การทางานในดา้ นส่ือส่ิงพมิ พต์ า่ ง ๆ 2.3.4 ทาไมเราจึงมองเห็นสีต่างๆ การมองเห็นสีตา่ ง ๆ นอกจากจะข้ึนกบั เซลลร์ ูปกรวยในเรตนิ าแลว้ ตวั กลางกม็ ีผล เช่น เมื่อแสงขาวของดวงอาทิตยผ์ ่านปริซึม เราจะมองเห็นแสงสีถงึ 7 สี หรือหากตอ้ งการแสงสีใด ก็ ให้แสงเดินทางผา่ นแผ่นกรองแสงสีน้นั เม่ือแสงขาวตกกระทบวตั ถุทึบแสง วตั ถุน้นั จะดดู กลนื แสงสีทอี่ ยใู่ นแสงขาวน้นั ซ่ึงปริมาณการ ดดู กลนื ไม่เทา่ กนั ส่วนแสงท่เี หลอื จากการดดู กลืนจะสะทอ้ นกลบั เขา้ สู่ตา ทาใหเ้ ราเห็นวตั ถเุ ป็น สีเดียวกบั แสงท่สี ะทอ้ น

การดูดกลืนสีของวตั ถุ ▪ วตั ถุโปร่งแสง อาจเป็นกระจกหรือพลาสตกิ มสี มบตั ิดูดกลนื แสงสีบางสี และยอมให้ แสงบางสีผา่ นไปได้ เช่น การดูดกลืนของแผ่นกรองแสงสีเขียว ซ่ึงยอมให้แสงสีเขยี ว ผ่านไดห้ มด แสงสีน้าเงินและแสงสีเหลืองผ่านไดเ้ ล็กนอ้ ย ส่วนแสงสีอื่นๆถกู ดดู กลืน ▪ วตั ถุทึบแสง มีสมบตั กิ ารสะทอ้ นแสงบางสี และดูดกลนื แสงสีอน่ื ๆไว้ ทาให้เห็นวตั ถุ เป็นแสงสีทส่ี ะทอ้ นออกมา เช่น วตั ถสุ ีเหลอื งจะสะทอ้ นแสงสีเหลอื งและสีขา้ งเคียง อยา่ งสีเขียวและสีแสด ส่วนสีอื่นถูกดดู กลนื หากวตั ถทุ ึบแสงอยใู่ นแสงสีอ่นื ทีไ่ ม่ใช่แสง ขาว เราอาจเห็นสีวตั ถุผิดเพ้ียนจากความเป็นจริง บางคร้งกเ็ ห็นเป็นสีดา เนื่องจากวตั ถุ ดดู กลืนแสงสีท้งั หมด การผสมสารสี การที่เรามองเห็นวตั ถุเป็นสีตา่ ง ๆ เนื่องจากเราเห็นแสงท่สี ะทอ้ นมาจากวตั ถมุ ากกวา่ แสงทที่ ะลุ ผ่านวตั ถุ ดงั น้นั หากเราตอ้ งการเห็นสีตามธรรมชาติของวตั ถุ ก็จะตอ้ งดูวตั ถนุ ้นั ดว้ ยแสงขาวของ ดวงอาทิตย์ ซ่ึงสีของวตั ถุท่เี ห็นเกิดจากการผสมสารสีปฐมภมู ิซ่ึงไมส่ ามารถแยกสารสีไดอ้ ีก ไดแ้ ก่ สีเหลืองจะไม่ดูดกลนื สีเหลอื ง สีแดงมว่ งจะไมด่ ดู กลืนสีแดง และสีน้าเงินเขียวจะไม่ ดดู กลืนน้าเงินมว่ ง ถา้ นาสารสีปฐมภมู ิมาผสมกนั จะเกิดสารผสมหลายสี ยกเวน้ สารสีขาว และถา้ นามาผสมกนั ดว้ ย ปริมาณเท่าๆกนั จะไดส้ ารสีดา ซ่ึงดูดกลืนทุกแสงสีในสเปกตรมั ของแสงขาว การผสมแสงสี วตั ถทุ ี่เราเห็นน้นั ไมไ่ ดเ้ กิดจากสีเดียว แตเ่ กิดจากการผสมแสงสีเขา้ ดว้ ยกนั ไดแ้ ก่ แสงสีแดง แสง สีเขียว และแสงสีน้าเงิน ซ่ึงเป็นแสงสีปฐมภูมิมาผสมดว้ ยสดั ส่วนทีต่ า่ งกนั ซ่ึงการทเี่ ราเห็นแสง ขาวก็เน่ืองจากแถบแสงสีตา่ งๆในแสงสีแดง แสงสีเขยี ว และแสงสีน้าเงินจะรวมกนั เป็น สเปกตรัมของแสงขาวพอดี เราอาจนาแสงสีปฐมภูมมิ าผสมกนั เพื่อใหแ้ สงสีต่าง ๆ กนั ไดห้ ลายสี ยกเวน้ แสงสีดา ตารางการผสมสารสีและแสงสี



บทท่ี3 วิธีการจดั ทาโครงงาน 1.ทาการศกึ ษาเร่ืองการมองเห็นและแสงสีโดยการหาขอ้ มลู จากอนิ เทอร์เน็ต 2.แบ่งหนา้ ทีส่ มาชิกในกลุ่มเพอ่ื ศกึ ษาและจดั ทา 3.นาขอ้ มูลที่ไดม้ าทาความเขา้ ใจและสรุป 4.นาขอ้ มลู มาพิมพล์ งในwordและจดั เรียงตามวิธีการโครงงานวิทยาศาสตร์ 5.นาขอ้ มลู ท่จี ดั ทามาตรวจสอบความเรียบร้อย

บทท่ี4 ผลการดาเนินงาน จากขอ้ มลู พบว่าแสงสีทฤษฏสี ีเป็นหลกั วชิ าเก่ียวกบั สีทส่ี ามารถมองเห็นไดด้ ว้ ยสายตา การใชส้ ีตามหลกั จิตวทิ ยา สามารถกอ่ ให้เกดิ ประโยชนไ์ ดม้ ากมาย การมองเห็นสีตา่ ง ๆ นอกจากจะข้นึ กบั เซลลร์ ูปกรวยในเรตนิ าแลว้ ตวั กลางกม็ ผี ล เช่น เม่อื แสง ขาวของดวงอาทิตยผ์ า่ นปริซึม เราจะมองเห็นแสงสีถงึ 7 สี เมื่อแสงขาวตกกระทบวตั ถุทึบแสง วตั ถนุ ้นั จะดดู กลืนแสงสีท่ีอยใู่ นแสงขาวน้นั ซ่ึงปริมาณการ ดดู กลืนไม่เทา่ กนั

บทท่ี 5 สรุปผลการดาเนินงานและขอ้ เสนอแนะ 5.1 การดาเนินงานจดั ทาโครงงาน 5.1.1 วตั ถปุ ระสงคข์ องโครงงาน 1.เพ่ือศกึ ษาและคน้ ควา้ ความรู้เก่ียวกบั แสงสีของการมองเห็น 2.เพ่ือใหผ้ ศู้ กึ ษาโครงงานเขา้ ใจทฤษฎีของแสงสีและกฎของการมองเห็น 5.2 สรุปผลการดาเนินงาน สรุปแสงสีทฤษฏีสีเป็นหลกั วชิ าเก่ียวกบั สีท่ีสามารถมองเห็นไดด้ ว้ ยสายตาการใชส้ ีตาม หลกั จิตวทิ ยา สามารถกอ่ ใหเ้ กิดประโยชน์ไดม้ ากมาย การมองเห็นสีต่าง ๆ นอกจากจะข้ึนกบั เซลลร์ ูปกรวยในเรตินาแลว้ ตวั กลางกม็ ีผล เช่น เมอ่ื แสง ขาวของดวงอาทิตยผ์ ่านปริซึม เราจะมองเห็นแสงสีถึง 7 สี เม่อื แสงขาวตกกระทบวตั ถทุ บึ แสง วตั ถนุ ้นั จะดูดกลนื แสงสีท่อี ยใู่ นแสงขาวน้นั ซ่ึงปริมาณการ ดูดกลืนไมเ่ ทา่ กนั 5.3ข้อเสนอแนะ 1.ควรมกี ารจดั ทาโครงงานใหห้ ลากหลาย

บรรณานุกรม แหลง่ ขอ้ มลู จากอินเทอร์เนต็ https://sites.google.com/site/2pntbw/si- khxng-saeng การผสมแสงสี https://www.scimath.org/lesson-physics/item/9776- 2019-02-21-06-15-23


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook