Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore โครงสร้างรายวิชาวิทยาการคำนวณ ม.5

โครงสร้างรายวิชาวิทยาการคำนวณ ม.5

Published by kamcheelong Studio, 2019-12-16 02:09:59

Description: โครงสร้างรายวิชาวิทยาการคำนวณ ม.5

Search

Read the Text Version

คำอธบิ ำยรำยวิชำ รหสั วิชา ว32103 วชิ า วทิ ยาการคานวน 5 กลุม่ สาระการเรยี นรู้ วิทยาศาสตร์ ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 เวลา 20 ช่วั โมง จานวน 0.5 หนว่ ยกติ (ภาคเรยี นท่ี 1) ---------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------- ศึกษาข้อมูล และใช้ความรู้ด้านวิทยาการคอมพิวเตอร์ ส่ือดิจิทัล เทคโนโลยีสารสนเทศในการ แกป้ ญั หาหรอื เพิม่ มลู ค่าใหก้ บั บรกิ ารหรอื ผลติ ภัณฑท์ ่ีใช้ในชวี ติ จริงอย่างสร้างสรรค์ โดยอาศัยกระบวนการเรียนรู้โดยใช้ปัญหาเป็นฐาน (Problem–based Learning) และการเรียนรู้ แบบใช้โครงงานเปน็ ฐาน (Project-based Learning) เพ่ือเนน้ ให้ผู้เรยี นได้ลงมอื ปฏบิ ัติ ฝกึ ทกั ษะการคดิ เผชญิ สถานการณ์การแก้ปัญหาวางแผนการเรียนรู้ ตรวจสอบการเรียนรู้ และนาเสนอผ่านการทากิจกรรมโครงงาน เพื่อให้เกิดทักษะ ความรู้ ความเข้าใจ และทักษะในการวิเคราะห์โจทย์ปัญหา จนสามารถนาเอาแนวคิดเชิง คานวณมาประยุกตใ์ ช้ในการสร้างโครงงานได้ เพ่ือให้ผู้เรียนสามารถใช้ความรู้ทางด้านวิทยาการคอมพิวเตอร์ ส่ือดิจิทัล เทคโนโลยีสารสนเทศและ การสื่อสารเพื่อ รวบรวมข้อมูลในชีวิตจริงจากแหล่งต่าง ๆ และความรู้จากศาสตร์อ่ืนมาประยุกต์ใช้ สร้าง ความรู้ใหม่ เข้าใจการเปลี่ยนแปลงของเทคโนโลยีที่มีผลต่อการดาเนินชีวิต อาชีพ สังคม วัฒนธรรม และใช้ อย่างปลอดภัยมีจริยธรรม ตลอดจนนาความรู้ความเข้าใจในวิชาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีไปใช้ให้เกิด ประโยชน์ต่อสังคมและการดารงชีวิต จนสามารถพัฒนากระบวนการคิดและจินตนาการความสามารถในการ แก้ปัญหาและการจัดการทักษะในการสื่อสาร และความสามารถในการตัดสนิ ใจ และเป็นผู้ที่มีจิตวิทยาศาสตร์ มคี ุณธรรม จรยิ ธรรม และค่านยิ มในการใช้วิทยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยอี ย่างสร้างสรรค์ ตัวชวี้ ดั ว 4.2 ม.5/1 รวม 1 ตัวชวี้ ัด

โครงสร้ำงรำยวชิ ำ รำยวิชำวิทยำกำรคำนวณ รหัสวิชำ ว32103 ชน้ั มธั ยมศกึ ษำปที ี่ 5 กลมุ่ สำระกำรเรยี นรู้วิทยำศำสตร์และเทคโนโลยี จำนวน 0.5 หน่วยกิต เวลำเรียน 1 ชั่วโมง/สัปดำห์ ลำดบั ชอื่ หน่วยกำรเรยี นรู้ มำตรฐำนกำร สำระสำคัญ เวลำ น้ำหนัก ที่ เรียนร/ู้ ตวั ช้ีวัด (ช่ัวโมง) คะแนน 1 วทิ ยาการ ว 4.2 ม.5/1 วิทยาการคอมพิวเตอร์กับการ 4 10 คอมพวิ เตอร์ ดาเนินชวี ติ เป็นศาสตรท์ ่ี สอื่ ดจิ ิทลั และ เกยี่ วกบั การศึกษาค้นควา้ เทคโนโลยี ทฤษฎกี ารคานวณทาง สารสนเทศ คอมพิวเตอร์ และทฤษฎกี าร กบั การดาเนินชวี ิต ประมวลผลสารสนเทศ ทัง้ ดา้ น ซอฟตแ์ วร์ ฮาร์ดแวร์ และ เครอื ข่าย โดยต้องศึกษาด้าน การพัฒนาซอฟต์แวร์ โครงสรา้ ง และการควบคมุ คอมพวิ เตอร์ การสือ่ สารระหว่างเครอ่ื ง คอมพวิ เตอร์หรืออุปกรณ์ สอื่ สารการนาไปใช้งานดา้ น กราฟิกและมัลตมิ ีเดีย การ ประยกุ ต์ใชง้ านอยา่ งชาญ ฉลาด การคานวณและการ ประยกุ ตใ์ ช้งานระดับสงู ส่อื ดิจิทัลกบั การดาเนนิ ชีวิตเป็น การนาข้อความ เสียง ภาพน่ิง ภาพเคลือ่ นไหว และวดิ โี อ มา จัดรปู แบบ โดยอาศยั เทคโนโลยี ทางด้านคอมพิวเตอร์ ผสมผสานกบั ความคดิ สร้างสรรคด์ า้ นดจิ ิทลั คอน เทนต์ของผูส้ ร้างสือ่ เพ่ือผลติ เป็นสอื่ ดจิ ทิ ัลทตี่ อบสนองตอ่ ความต้องการของผบู้ ริโภค เทคโนโลยสี ารสนเทศกับการ ดาเนนิ ชีวติ เปน็ การนา เทคโนโลยีเขา้ มาชว่ ยในการ

ลำดับ ช่ือหน่วยกำรเรียนรู้ มำตรฐำนกำร สำระสำคญั เวลำ นำ้ หนัก ที่ เรยี นรู/้ ตัวชีว้ ดั (ชั่วโมง) คะแนน ว 4.2 ม.5/1 จดั หาขอ้ มูลและจัดเกบ็ ข้อมลู เรียกใชห้ รือแลกเปล่ียน ขอ้ มลู และเผยแพร่ขอ้ มูล การเพิ่มมลู ค่าให้กบั สินค้าและ บริการสามารถนาเทคโนโลยีใน ด้านตา่ ง ๆ มาประยกุ ต์ใช้งาน ได้ ซ่งึ เทคโนโลยีท่ีสามารถ นามาพฒั นาเพ่ือเพิ่ม มูลคา่ ใหก้ บั สินค้าและบรกิ าร ได้แก่ เทคโนโลยที างดา้ น ฮารด์ แวรเ์ ทคโนโลยที างด้าน ซอฟต์แวร์ และเทคโนโลยี ทางดา้ นการจดั การขอ้ มูล 2 เทคโนโลยกี าร ข้อมูล หมายถงึ ข้อเทจ็ จรงิ 4 10 จดั การข้อมลู หรอื เหตกุ ารณท์ เ่ี กยี่ วขอ้ งกับส่งิ ตา่ ง ๆ ทม่ี กี ารจดั เก็บใน หลากหลายรปู แบบ เชน่ ขอ้ ความ ตวั เลข ภาพนงิ่ ภาพเคลอ่ื นไหว เสยี ง โดย ขอ้ มูลเหล่านสี้ ามารถเกิดข้ึนได้ จากแหล่งข้อมูลหลายแหล่ง ฐานขอ้ มูล คือ การจดั เกบ็ และ การบรหิ ารข้อมลู เพื่อให้ข้อมูลมี ความเปน็ ระบบ สามารถเข้าถึง ข้อมูลไดง้ ่าย สะดวกในการ สบื คน้ และการปรับปรุงแกไ้ ข ขอ้ มลู ลดความซา้ ซ้อน และมี ความปลอดภยั โดยข้อมูลที่ถูก จัดเก็บไวใ้ นฐานข้อมลู จะตอ้ งมี ความสมั พันธ์ซึ่งกนั และกนั คลงั ข้อมูล คือ การจัดแนว ทางการจดั เกบ็ ข้อมลู ขนาดใหญ่ ขององค์กรหรอื หน่วยงาน ซ่ึง เกบ็ รวบรวมขอ้ มูลจากหลาย แหล่งและหลายช่วงเวลา โดย

ลำดับ ชื่อหน่วยกำรเรียนรู้ มำตรฐำนกำร สำระสำคญั เวลำ น้ำหนกั ที่ เรยี นรู้/ตวั ช้ีวดั (ชั่วโมง) คะแนน ว 4.2 ม.5/1 ข้อมลู ที่ถูกจัดเก็บในลักษณะ ข้อมูลปจั จุบนั และข้อมูล ย้อนหลังเปน็ เวลาหลายปี การท าเหมืองข้อมลู คือ กระบวนการทก่ี ระท ากับข้อมลู จานวนมากเพื่อหาความสัมพันธ์ ตา่ ง ๆ ของข้อมลู ทีซ่ ่อนอยู่ โดย ทาการเชอื่ มโยงข้อมูลทม่ี ี ความสัมพันธก์ นั การจดั เรียงล าดบั ข้อมลู การจาแนกประเภท ข้อมลู การแบ่งกลุ่มข้อมลู การ หารปู แบบข้อมลู เพื่อให้ไดอ้ งค์ ความรู้ใหม่ท่สี ามารถนาไปใช้ ประกอบการตัดสนิ ใจ และการ พยากรณใ์ นด้านต่าง ๆ 3 ประมวลผลข้อมลู การทาความเข้าใจกวั ตั ถุ 5 15 ประสงค์การประมวลผล เพอ่ื น นาไปสกู่ ารหาคาตอบของ ปัญหาทต่ี ้องการตาม วตั ถปุ ระสงค์ท่ตี ง้ั ไว้ สง่ ผลต่อ การประมวลผลข้อมลู ที่ ดาเนินการไปในทางที่ถูกตอ้ ง การเกบ็ รวบรวมข้อมลู ทดี่ ีตอ้ ง ไดข้ ้อมูลท่มี ีความถูกต้อง น่าเช่ือถือแหล่งข้อมูลควรได้มา จากข้อมลู ปฐมภูมิทีล่ งมือทา ก่อนประมวลผล และ ข้อมูลทุติยภูมทิ มี่ ีความ น่าเชือ่ ถือเพ่ือนนาไป ประมวลผลข้อมูล ซึ่งขอ้ มลู ท่ี ดคี วรมคี วามถูกต้องแม่นยา ความทนั สมยั ความสมบูรณ์ ความกระชบั ตรงกบั ความ ตอ้ งการของผใู้ ช้ ความต่อเน่ือง การเตรยี มข้อมลู หลงั จากได้ ข้อมูลจากข้อมูลปฐมภูมแิ ละ

ลำดับ ช่อื หน่วยกำรเรียนรู้ มำตรฐำนกำร สำระสำคญั เวลำ น้ำหนกั ที่ เรียนร้/ู ตัวช้ีวดั (ช่วั โมง) คะแนน ว 4.2 ม.5/1 ขอ้ มูลทุติยภมู ิใหเ้ ขา้ ใจได้ง่าย และไมซ่ บั ซ้อน ทาใหเ้ หมาะสม ต่อการนาข้อมูลไป ประมวลผลต่อ ประกอบด้วย 2 ขน้ั ตอน คือ การคดั เลอื กข้อมูล และการทาความสะอาดข้อมูล การประมวลผลข้อมูลท่ดี ีควรทา การวเิ คราะหด์ ว้ ยทฤษฎที ่ี แม่นยาและมีเครื่องมือที่ เท่ียงตรง ซึ่งจะได้ข้อมูลที่มี ความน่าเชอื่ ถือ โดยข้อมลู ท่ี ไดอ้ าจอยใู่ นรูปแบบใดรูปแบบ หน่ึงที่เข้าใจง่าย เช่น การทา ข้อมูลใหเ้ ปน็ ภาพ อนิ โฟกราฟิก 4 วิทยาการข้อมูล การนาข้อมูลทม่ี ีปรมิ าณ 5 15 มหาศาลมาจดั เก็บและ ประมวลผลอยา่ งมี ประสิทธภิ าพ เพื่อใหส้ ามารถ นาขอ้ มลู เหล่านี้ไปใชป้ ระโยชน์ ในดา้ นต่าง ๆ ซ่ึงคณุ ลกั ษณะ ของขอ้ มูลขนาดใหญ่ แบง่ ออกเปน็ 4 ลกั ษณะ ไดแ้ ก่ ปริมาณข้อมูล ความเร็ว ความ หลากหลาย และคุณภาพของ ข้อมูลการวเิ คราะห์ข้อมูลเป็น การนาข้อมลู มาประมวลผลโดย ใชเ้ ทคโนโลยีหรือชุดคาสงั่ และ แบบจาลองทีส่ ร้างขึ้น เพ่ือนา ข้อมูลท่ีได้ผา่ นการวิเคราะห์มา ใช้งาน หรอื แปลความหมายโดย บุคคลท่ีมีความร้ทู างเทคโนโลยี เพอ่ื แสดงผลรายงาน เหตกุ ารณ์ พยากรณ์สิง่ ท่เี กิดข้นึ และให้ คาแนะนาตา่ ง ๆ วิทยาการ ขอ้ มลู เป็นการจดั การ จดั เก็บ รวบรวม ตรวจสอบ

ลำดบั ชื่อหน่วยกำรเรยี นรู้ มำตรฐำนกำร สำระสำคัญ เวลำ น้ำหนกั ที่ เรียนร/ู้ ตัวชี้วดั (ชั่วโมง) คะแนน ประมวลผล วิเคราะหผ์ ล และ 18 50 1 20 นาเสนอผลของการวเิ คราะห์ 1 30 20 100 ข้อมลู หรือแปลงข้อมูล เพ่ือ นาไปสกู่ ารค้นหาความรูท้ ี่ซ่อน อยใู่ นข้อมลู และทาให้ เกดิ การสรา้ งผลิตภณั ฑ์ ระหว่ำงภำค สอบกลำงภำค สอบปลำยภำค รวม

อตั รำส่วนคะแนน สัดส่วนคะแนน 70 : 30 50 คะแนน - คะแนนทกุ ตวั ชวี้ ัด/ผลการเรยี นรู้ 20 คะแนน - การวัดผลกลางภาค ผลสมั ฤทธ์ทิ างการเรยี น 30 คะแนน คะแนนสอบปลายภาค 100 คะแนน รวม ระดบั ผลกำรเรียนแบง่ เป็น คะแนนร้อยละ 100 – 80 = 4 หมายถึง คะแนนสอบอยใู่ นระดบั ดีเยยี่ ม คะแนนร้อยละ 75 – 79 = 3.5 หมายถึง คะแนนสอบอยู่ในระดบั ดีมาก คะแนนร้อยละ 70 – 74 = 3 หมายถึง คะแนนสอบอยใู่ นระดับดี คะแนนร้อยละ 65 – 69 = 2.5 หมายถึง คะแนนสอบอยใู่ นระดบั ค่อนข้างดี คะแนนร้อยละ 60 – 64 = 2 หมายถึง คะแนนสอบอยใู่ นระดบั น่าพอใจ คะแนนร้อยละ 55 – 59 = 1.5 หมายถงึ คะแนนสอบอยใู่ นระดบั พอใช้ คะแนนร้อยละ 50 – 54 = 1 หมายถงึ คะแนนสอบอยู่ในระดบั ผ่านเกณฑ์ขนั้ ต่า คะแนนร้อยละ 0 – 49 = 0 หมายถงึ คะแนนสอบอยใู่ นระดับตา่ กว่าเกณฑ์ข้ันตา่


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook