Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore พิษณุโลก ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับโครงงานวิทยาศาสตร์

พิษณุโลก ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับโครงงานวิทยาศาสตร์

Published by 945sce00452, 2021-01-20 02:29:58

Description: พิษณุโลก ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับโครงงานวิทยาศาสตร์

Search

Read the Text Version

บทเรียนอเิ ลก็ ทรอนิกส์ิ ศูนย์วทิ ยาศาสตร์เพ่อื การศกึ ษาพษิ ณุโลก เร่ือง ความรู้เบือ้ งต้นเก่ียวกับโครงงานวทิ ยาศาสตร์

ความรูเ้ บอ้ื งต้นเกี่ยวกบั โครงงานวทิ ยาศาสตร์ 1. การคดิ และการเลือกหัวเรอ่ื ง 4. การวางแผนและการออกแบบ 2. หลักการตงั้ ชื่อโครงงาน 5. ส่งิ ท่คี วรคานงึ ถึงกอ่ นลงมือทาโครงงาน 3. การฝกึ ต้งั ปญั หา

การดาเนนิ การในข้ันตอนนี้ เปน็ การคดิ หาหวั ขอ้ เรื่องทีจ่ ะทาโครงงาน โดยสง่ิ ท่นี ามากาหนดเป็นหวั ขอ้ เรื่องโครงงานจะได้มาจาก ปัญหา คาถามความอยากรูอ้ ยาก เหน็ ในเรอ่ื งตา่ ง ๆ ของผเู้ รียนเอง ซ่งึ เปน็ ผลจากการท่ีได้อ่าน ไดฟ้ ัง ไดเ้ ห็นหรอื ได้ สนทนาแล้วมคี วามสนใจ อยากตอบปัญหาอยากศึกษาในเรื่องนัน้ ๆ เรอื่ งทท่ี าควรเปน็ เรอ่ื งทีอ่ ย่ใู กลต้ ัว

มีความคุ้นเคย เร่อื งที่นา่ สนใจ เร่ืองทีท่ นั สมยั ใชเ้ วลาไม่ นาน ใชง้ บประมาณไม่มาก สามารถศึกษาและเรียนรู้ได้ดว้ ยตนเอง การทดลองหรอื การดาเนนิ การไม่ซับซ้อน เหมาะสมกับระดบั ความรู้ มแี หลง่ ขอ้ มลู ทจี่ ะศกึ ษาค้นควา้ อย่างพอเพยี งและเปน็ เรอ่ื งที่มี ประโยชน์

ปลอดภัยท้งั ผู้ทาและผทู้ เี่ กีย่ วข้องและการดาเนนิ งานใน ขน้ั ตอนน้จี ะทาให้เกิดความรคู้ วามเขา้ ใจในรายละเอียดตา่ ง ๆ ของ เน้ือหา ข้อมูลต่าง ๆ ที่เก่ยี วข้องเพ่ิมมากขึน้ รวมท้ังทาใหเ้ ห็นถึง ขอบขา่ ยของภาระงานทจ่ี ะดาเนินการมีความชัดเจนว่าจะทาอะไร ทาไมตอ้ งทา

ทาแล้วตอ้ งการใหเ้ กิดอะไร จะทาอย่างไรใช้ ทรัพยากรอะไร ทากับใคร จะเสนอผลอยา่ งไร ทไ่ี หน เวลาใดและเปน็ การเตรียมความรูค้ วามเขา้ ใจในการทา โครงงานใหม้ ากยงิ่ ขึ้น

หลกั การต้งั ชอื่ โครงงานวิทยาศาสตร์ การตั้งช่อื โครงงานจะเปน็ ส่ิงทชี่ ี้ให้ผอู้ น่ื เขา้ ใจปัญหาในการทาโครงงาน วิธีการศกึ ษาของ โครงงาน โดยทว่ั ไปควรมีลกั ษณะดงั ตอ่ ไปน้ี

1. ชอ่ื เรื่องใหต้ รงกับเรอ่ื งที่ศึกษาและแสดงถงึ วธิ กี ารศึกษาใหผ้ ู้อื่นเข้าใจ บอกได้ว่าเรอ่ื งน้ันมลี ักษณะอย่างไรเช่นการสารวจพืชสมนุ ไพรในชมุ ชน 2. ชือ่ เรือ่ งกะทัดรัดไดใ้ จความชัดเจน รัดกุม สื่อความหมายให้ผู้อนื่ เข้าใจงา่ ย เช่น การถนอมอาหารดว้ ยเกลอื แกง

3. เปน็ เรือ่ งทม่ี ลี ักษณะรอ้ งความสนใจ อยากรู้ และอยากดผู ลงาน แตต่ ้อง ไมท่ าใหผ้ ดิ เพี้ยนไปจากเนื้อเรอ่ื งของโครงงาน เช่น ท่านวดลดการปวด เม่อื ย 4. ไมค่ วรเป็นประโยคคาถามเพราะไม่ใช่การต้งั คาถามหรือปัญหา

การฝกึ ตั้งปญั หาสาหรบั การทาโครงงานวทิ ยาศาสตร์ การตงั้ ปญั หานัน้ สาคญั กว่าการแกป้ ญั หา เพาะ การตง้ั ปญั หาท่ดี ีและชดั เจน จะทาให้ผตู้ ั้งปญั หาเกิดความ เข้าใจและมองเห็นลู่ทางของการคน้ หาคาตอบเพอื่ แก้ปญั หาที่ต้ังข้ึน

ดงั นน้ั จงึ ตอ้ งหมนั่ ฝกึ การสังเกต สิ่งทส่ี งั เกตนน้ั เป็นอะไรเกดิ ข้ึนเม่อื ไร เกิดขึ้นทีไ่ หน เกิดข้นึ ไดอ้ ย่างไรและทาไมจึงเป็นเชน่ น้นั ดังนัน้ คาที่ใช้ในการตง้ั ปญั หาเพื่อเป็นการกระตุ้นใหห้ าคาตอบ จึงมักลงท้ายข้อความวา่ “จริงหรอื ไม่” ซึ่ง ถา้ ตอ้ งการคาตอบวา่ จรงิ หรอื ไมก่ ็ต้องทาการทดลอง หรือไปศกึ ษาคน้ ควา้ หรือ พสิ จู นห์ าขอ้ เทจ็ จริงตอ่ ไป

การวางแผนและการออกแบบการทดลองโครงงานวิทยาศาสตร์ 1. ความสาคัญและประโยชนข์ องการวางแผน - ลดความไม่แน่นอนและปญั หาความยุ่งยากทจ่ี ะเกิดขึ้นในอนาคต - ทาใหก้ ารดาเนินงานบรรลตุ ามเป้าหมายทก่ี าหนดไว้ - ทาใหเ้ กดิ การยอมรับแนวคิดใหม่ ๆ ความคิดสรา้ งสรรคก์ ารสบื เสาะหาความรูใ้ หม่ - ลดการสญู เปลา่ ทางเวลา งบประมาณ เอกสาร วสั ดอุ ปุ กรณ์และกาลงั คน

- เกดิ ความชัดเจนในการดาเนนิ งาน สามารถเลอื กแนวทางท่ีดี ที่สุดได้ - เกดิ การประสานงานท่ีดี เนือ่ งจากสมาชกิ ในกลุ่มรู้หน้าท่ีและ แผนการดาเนนิ งาน - ช่วยเป็นแรงจูงใจให้มกี ารแขง่ ขัน เชน่ การสง่ โรงงานเข้า ประกวดกบั หนว่ ยงานอ่นื ๆ

2. ขน้ั ตอนการวางแผนและการออกแบบการทดลอง 2.1 ผู้ทาโครงงานสามารถวางแผนหรือออกแบบการทดลองในเรื่องทีจ่ ะทา โครงงานได้อยา่ งชัดเจนและรอบคอบจะตอ้ งคานงึ ถึงสงิ่ ตา่ ง ๆ ตอ่ ไปนี้ - ปญั หาของหัวเร่อื งที่จะทาโครงงาน - จุดมุ่งหมายของโรงงาน - สมมตฐิ านการกาหนดตัวแปร (ถา้ มี)

- วิธีดาเนินการทดลองหรอื ดาเนินการเก็บรวบรวมขอ้ มลู - วัสดุอปุ กรณท์ ่ีจะต้องใช้ และงบประมาณ - สงิ่ ทตี่ อ้ งสังเกตและวิธกี ารวดั ผล ประเมนิ ผล - วธิ กี ารนาเสนอข้อมลู - ระยะเวลาทีต่ ้องใช้ - แหล่งขอ้ มูลแหลง่ / ศึกษาคน้ คว้า - ระบบการทางานทีมงาน

2.2 ทาการวเิ คราะห์ขอ้ มูลเพอื่ ตดั สินใจเลอื กโครงงาน ในการทาโครงงานนั้นสามารถทาได้ ท้งั เปน็ รายบุคคล และเปน็ กลุ่ม ซ่ึง นกั ศกึ ษาและครูผู้สอนจะรว่ มกันพจิ ารณาบริบทท่ีเก่ยี วขอ้ ง ในกรณที ่ีมีโครงงาน หลายโครงงานใหเ้ ลอื กนกั ศึกษาจะตอ้ งตดั สินใจเลอื กทาโครงงานเพียงโครงงานเดยี ว ซึง่ ในการเลอื กนน้ั นกั ศกึ ษาต้องทาตารางวิเคราะห์ข้อมลู เพอื่ เปน็ ขอ้ มูลการตัดสนิ ใจที่ จะเลอื กโครงงาน

โดยใหค้ ะแนนตามรายการในชอ่ งของแตล่ ะโครงการ ดงั น้ี มากท่ีสุด = 4 มาก = 3 ปานกลาง = 2 น้อย = 1 จากนนั้ นาคะแนนของแต่ละโครงงานทไ่ี ดม้ าเปรยี บเทียบกันโครงงานที่ได้ คะแนนมากทส่ี ดุ เป็นโครงงานทค่ี วรพจิ ารณาเลือกทาได้ชัดเจนขนึ้

สิง่ ทคี่ วรคานึงถงึ กอ่ นลงมอื ทาโครงงานวิทยาศาสตร์ 1. กาหนดและเตรียมวสั ดอุ ปุ กรณ์และสถานทใี่ หพ้ รอ้ มก่อนลงมือทา 2. มสี มุดสาหรับบนั ทกึ กจิ กรรมประจาวนั วา่ ไดท้ าอะไรไปได้ผลอยา่ งไรมปี ญั หา และขอ้ คดิ เห็นอยา่ งไร 3. ทาการทดลองหรือทาการศึกษาค้นคว้าดว้ ยความละเอยี ดรอบคอบและวางแผน บันทกึ ข้อมลู ให้เปน็ ระเบยี บครบถ้วน

4. คานงึ ถงึ ความปลอดภยั ประหยัดและก่อให้เกดิ ประโยชน์นามาใช้ไดจ้ ริง 5. พยายามทาตามแผนงานท่วี างไว้ 6. ควรทดลองซา้ เพอ่ื ให้ไดข้ อ้ มลู ทน่ี ่าเชื่อถือไดห้ รอื หาข้อมลู จากแหลง่ ตา่ ง ๆ อยา่ ง หลากหลาย 7. ควรแบ่งงานเป็นสว่ นยอ่ ย ๆ และทาแตล่ ะสว่ นให้เสรจ็ กอ่ นทาสว่ นอ่ืน ๆ ต่อไป

8. แต่ควรทางานหลักใหเ้ สรจ็ กอ่ นจงึ ทาส่วนประกอบอนื่ ๆ 9. ไม่ควรทาตอ่ เน่ืองนาน ๆ จนเมื่อยล้าจะมผี ลตอ่ ความเบอ่ื หน่ายหรือขาดความระมดั ระวัง 10. ถ้าเป็นโครงงานประดษิ ฐ์ควรคานึงถึงความแข็งแรง ทนทานมขี นาดท่เี หมาะสม

ขอบคุณครบั