Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore ขั้นตอนการปฏิบัติงานการล้างเครื่องปรับอากาศ

ขั้นตอนการปฏิบัติงานการล้างเครื่องปรับอากาศ

Published by Chananart Parnjinda, 2020-08-19 11:54:51

Description: ขั้นตอนการปฏิบัติงานการล้างเครื่องปรับอากาศ

Search

Read the Text Version

คู่มือการปฏบิ ัติงานล้างเคร่ืองปรับอากาศ ชนดิ ตดิ ผนงั นาย ชนานาถ ปานจินดา รหัส 6341040007 สาขาเทคโนโลยีไฟฟ้า วทิ ยาลัยเทคนคิ สุราษฎร์ธานี

บทนำ ในปัจจุบนั บนโลกของเราอากาศรอ้ นข้นึ มากทุกวนั ผูค้ นส่วนใหญ่จึงหันมาติดต้งั เครื่องปรับอากาศ และ เป็นที่นิยมกนั อยา่ งมากในปัจจบุ นั การปรบั อากาศมีความสาคญั อยา่ งยง่ิ ตอ่ ชีวติ ประจาวนั โดยเฉพาะประเทศไทยทตี่ ้งั อยใู นเขตซ่ึงมี ภูมอิ ากาศแบบรอ้ นช้ืน ภายในบา้ นรจาเป็นตอ้ งมกี ารปรับ อากาศ ค่มู ือฉบบั น้ีมขี ้นั ตอนการลา้ งเคร่ืองปรบั อากาศ รายเอยี ดต่างๆของวสั ดุอุปกรณ์และการเช็คน้ายา เพ่ือให้ผอู้ า่ นทส่ี นใจไดน้ าไปใชห้ รือเป็นความรู้เพิม่ ข้นั ตอนกำรปฏิบัติงำนลำ้ งเครอ่ื งปรับอำกำศชนิดตดิ ผนัง 1.ข้นั ตอนกำรล้ำงคอยลเ์ ย็น 2.ข้นั ตอนกำรล้ำงคอยลร์ ้อน

เคร่ืองมือ อปุ กรณ์และขอ้ ควรระวงั ถงั นา้ ผ้าใบล้างแอร์ ไขควง เคร่ืองเป่ าลม เครื่องฉดี น้าแรงดัน สูง ขอ้ ควรระวงั ขอ้ ควรระวงั ขอ้ ควรระวงั ขอ้ ควรระวงั ตรวจสอบวา่ ผา้ มี ขอ้ ควรระวงั ก่อนใชง้ านทกุ คร้งั รอยฉีกขาดกอ่ นใช้ หา้ มกดไขควงแรง ปลก๊ั ไฟที่ต่อพ่วง ควรเช็คทุกคร้ังวา่ มี งานทุกคร้งั เพือ่ เกินไป อาจทา จะตอ้ งมีสภาพ ควรตรวจสอบไฟ รอยร่ัวหรือรอยแตก ป้องกนั น้ารัว่ เวลา ใหน้ อ็ ตพลิกทม่ิ มือ พรอ้ มใชง้ าน เพือ่ ใหด้ กี ่อนใชง้ านทุก ลา้ งแอร์ ได้ ป้องกนั การเกิด คร้งั และระวงั เวลา ไฟฟ้าช็อต ฉีดคอยลเ์ ยน็ บนั ได ผ้า ข้อควรระวงั ขอ้ ควรระวงั วางใหเ้ สมออยา่ ให้ ตอ้ งเป็นผา้ ท่ีสะอาด ขาขา้ งใดขา้ งหน่ึง และแห้งไม่มีฝ่ นุ ลอยข้ึนเหนือพ้ืน อาจทาให้ตกจาก บนั ไดได้

1.ขัน้ ตอนกำรล้ำงคอยลเ์ ยน็ เครอ่ื งมอื และอปุ กรณ์ เทคนิคการทางาน ข้อควรระวงั 1.ควรระวงั อยา่ ใหน้ ้าโดนแผงวงจรไฟขณะทา 1.ควรปิ ดเบรกเกอร์ไฟก่อนทาการลา้ ง การลา้ งเคร่ืองปรบั อากาศ เคร่ื องปรับอากาศทุกคร้ งั 2.ขณะลา้ งเคร่ืองปรับอากาศควรระวงั แผง คอยลเ์ ยน็ เสียทรง 2.หลงั จากลา้ งเคร่ืองปรบั อากาศเสร็จควรเปิ ด เพอ่ื ทดสอบการทางาน

1.ข้นั ตอนการลา้ งคอยลเ์ ยน็ 1.ถอดน็อตหนา้ กากแอร์ 2.ถอดแผงวงจร 3.ถอดถานรองนา้ ทงิ้ 4.ใสผ่ า้ ใบลา้ งแอร์ 5.ฉีดนา้ ลา้ งท่อระบายนา้ ทิง้ 6.ลา้ งแผงคอยลเ์ ย็น

7.เป่าลมไลน่ า้ ท่ีแผงคอยลเ์ ยน็ 8.ประกอบถาดรองนา้ ทงิ้ เขา้ ที่ 9.ประกอบแผงวงจร 10.เอาผา้ ใบออก 11.ประกอบหนา้ กากเขา้ ที่ 11.เช็ดทาความสะอาด

2.ข้ันตอนการล้างคอยล์ร้อน เครื่องมือและอปุ กรณ์ เทคนิคการทางาน ขอ้ ควรระวงั 1.ควรปิ ดเบรกเกอร์ไฟกอ่ นทาการลา้ ง เคร่ืองปรบั อากาศทุกคร้งั 1.ควรระวงั อยา่ ใหน้ ้าโดนแผงวงจรไฟ ขณะทาการลา้ งเคร่ืองปรับอากาศ 2.หลงั จากลา้ งเครื่องปรบั อากาศเสร็จควรเปิ ด เพือ่ ทดสอบการทางาน 2.ขณะลา้ งเคร่ืองปรบั อากาศควรระวงั แผงคอยลร์ อ้ นเสียทรง

2.ข้ันตอนการล้างคอยล์ร้อน 1.ถอดฝำครอบและใบผัดลมออก 2.ใชถ้ ุงพลำสติกครอบมอเตอรแ์ ละระบบ ไฟฟ้ำ 3.ฉีดนำ้ ล้ำงทำควำมสะอำดจำกดำ้ นใน 4.เป่ ำไลน่ ้ำที่แผงคอยลแ์ ละระบบไฟฟ้ำ 5.ประกอบฝำครอบและใบผัดลมเข้ำท่ีเดิม

ภาคผนวก 01 การล้างคอยล์เยน็

คอยล์เยน็ (Evaporator) คอื ชิน้ ส่วนสาคญั ในระบบปรบั อากาศ ทาหน้าทเี่ ป็ นตัวแลกเปลย่ี นถ่ายเทความ ร้อนจากบริเวณพน้ื ที่ทีต่ ้องการทาความเยน็ ทาให้อากาศรอบๆ ใกล้ของคอยล์เยน็ น้นั เยน็ ลง คอยล์เยน็ เป็ น อุปกรณ์ทค่ี วบค่กู บั สารทาความเย็นน้ายาแอร์ ซ่ึงจะทางานร่วมกนั ในการช่วยให้สารทาความเยน็ เดือด เปลยี่ นสถานะไปเป็ นแก๊ส และการทสี่ ารทาความเยน็ เดือดก็จะดดู รับความร้อนผ่านพ้นื ทผ่ี วิ ของคอยล์เยน็ ทาอากาศโดยรอบของคอยล์เยน็ น้นั เป็ นอากาศทเ่ี ยน็ ลง คอยลเ์ ยน็ จะมีลกั ษณะประกอบไปดว้ ยท่อท่ีขดไปขดมา และมีแผน่ คลีบวางเป็นช้นั ๆ เรียกว่า “แผน่ ฟิน คอยล”์ โดยท่อทีข่ ดไปมาทาหนา้ ทเี่ ป็นทอ่ ลาเลียงสารทาความเยน็ ให้ไหลเวียนไปให้ทวั่ ท้งั บริเวณพ้นื ที่ คอยลเ์ ยน็ ท้งั หมด ส่วนแผ่นคลีบหรือแผน่ ฟิ น จะเป็นส่วนของพ้ืนทีผ่ วิ คอยล์ การท่ีแผ่นฟิ นมกี ารซอ้ นเป็น จานวนมากนอ้ ย กจ็ ะไดพ้ ้นื ที่ผิวระบายทมี่ ากนอ้ ยที่ชว่ ยในการแลกเปลยี่ นระบายความรอ้ นได้ การทจี่ ะ กาหนดแผ่นฟินคอยลใ์ ห้จานวนต่อน้ิว(FPI)มากนอ้ ยน้นั ข้นึ อย่กู บั ชนิดคอยลเ์ ยน็ ที่เรานาไปใชง้ านทแี่ ตกตา่ ง กนั ตวั คอยลย์ งั ประกอบไปดว้ ยส่วนสาคญั ท่ีเรียกวา่ Header(เฮดเดอร)์ ซ่ึงเป็นส่วนทส่ี ารทาความเยน็ ไหลเขา้ ไหลออกของคอยลเ์ ยน็ โดยส่วนประกอบหลกั ของเฮดเดอร์คอยลเ์ ยน็ มดี งั น้ี Inletทอ่ น้ายาเขา้ , Outletทอ่ น้ายาออก, Distributorฝักบวั หรือหัวจา่ ยน้ายาเขา้ , Feeder Tubeท่อจ่ายน้ายาเขา้ คอยลเ์ ยน็ หากเป็นคอยลท์ ส่ี าร ทาความเยน็ เป็นน้าเยน็ หรือคอยลน์ ้าเยน็ จากชิลเลอร์จะไมม่ ี Distributor กบั Feeder Tube มีเพยี งทอ่ น้าเยน็ ไหลเขา้ และท่อน้าออกเทา่ น้นั ส่วนของเฮดเดอร์คอยล์ ยงั สามารถชว่ ยให้เราแยกแยะคอยลไ์ ดด้ วี ่า คอยลน์ ้นั เป็นคอยลร์ ้อนคอยลเ์ ยน็ หรือเป็นคอยลน์ ้ายาหรือคอยลน์ ้าแบบง่ายๆ นอกจากน้ีจะสงั เกตว่า ตวั คอยลเ์ ยน็ ส่วนใหญ่จะมีระบบทอ่ ลมหรือพดั ลมอยู่ ทาหนา้ ทเี่ ป่ าลมหรือ ดูดลม ใหล้ มไหลผ่านคอยลเ์ ยน็ เพื่อช่วยในการระบายความร้อนของคอยลเ์ ยน็ เราจะพบว่าลมทไ่ี หลผา่ น คอยลเ์ ยน็ เม่ือเราสัมผสั โดนจะรูส้ ึกเยน็ เพราะลมทีไ่ หลผา่ นคอยลจ์ ะถูกดงึ เอาความ ร้อนออกไปทาให้ลมมอี ุณหภูมิเยน็ ลง แตจ่ ะเกดิ หยดน้าเกาะในบริเวณคอยลเ์ ยน็ ซ่ึง เกิดการแลกเปลี่ยนความรอ้ นน้นั เอง ซ่ึงเราจะพบเห็นคอยลเ์ ยน็ ท่ที างานลกั ษณะน้ี ไดบ้ อ่ ยๆทวั่ ไป เราเรียกว่า คอยลเ์ ยน็ แบบน้ีวา่ คอยลเ์ ยน็ แบบระบายความรอ้ นดว้ ย ลมหรืออากาศ ใชใ้ นเคร่ืองปรับอากาศตามบา้ นทว่ั ๆไป และใน คอยล์เย็นรถยนต์

ข้นั ตอนการล้างแอร์บ้านให้ถกู ต้อง 1.กอ่ นจะทาการลา้ งแอร์ เราตอ้ งเปิ ดแอร์เพ่ือทดสอบการทางาน ของแอร์ใหเ้ ป็นปกตกิ อ่ น โดยเร่งความแรง ของลมและความเยน็ ให้สุด 2.ทาการถอดชิน้ ส่วนของหนา้ กากแอร์ ต่อดว้ ยถอดแผน่ กรองอากาศ มาลา้ งทาความสะอาดดว้ ยน้าเปล่า และ ให้ใชผ้ า้ ใบพลาสตกิ คลมุ แผงคอยลเ์ ยน็ (ตวั เครื่องแอร์) หลงั จากน้นั ใชป้ ๊ัมน้า หรือสายยางที่มีแรงดนั สูง ทา การฉีดคอยลส์ ะอาด แลว้ ก็ใชโ้ บวเออร์เป่ าใหแ้ ห้ง และใชผ้ า้ แหง้ เช็ดบริเวณรอบๆ 3.ใชป้ ั๊มน้า หรือสายยางแรงดนั สูง ฉีดไปทีแ่ ผงคอยลร์ อ้ น (ตวั เครื่องแอร์นอกบา้ น) และพกั ลมระบายอากาศ (ตวั นอกอาคาร) โดยไมต่ อ้ งถอดโครงออก ฉีดแนวเฉียงกบั พ้นื ดนิ ลงไป จากบนลงล่าง 4.หลงั จากชิ้นส่วนตา่ งๆแหง้ แดแี ลว้ ให้ทาการตรวจหัวเสียบของวงจรไฟฟ้าตา่ งๆในตวั เคร่ือง และทาการ ประกอบอุปกรณ์ทีถ่ อดออกมาใหเ้ ขา้ ที่เหมอื นเดิม หากส่วนใดเป็นส่วนทม่ี กี ารเสียดสี อาจทาการหยอดน้ามนั หล่อลนื่ ได้ 5.เมื่อมน่ั ใจแลว้ ใหเ้ ปิ ดแอร์เพ่ือทดสอบการทางานของแอร์ หรืออาจมีการวดั กระแสไฟฟ้า แรงดนั ไฟฟ้า และวดั แรงดนั น้ายาแอร์ ให้อยทู่ ใ่ี นเกณทท์ ่เี หมาะสม หรือ ประมาณ 60 – 80 ปอนด์/ตารางนิ้ว แลว้ แตข่ นาดแอร์ 6.สุดทา้ ยหลงั จากประกอบแอร์เขา้ ทแ่ี ลว้ เรียบร้อยแลว้ ใหใ้ ชผ้ า้ เช็ดตวั แอร์รอบนอกใหส้ ะอาด

ภาคผนวก 02 การล้างคอยล์ร้อน

คอยล์ร้อน (Condenser) คอยลร์ อ้ น หลายคนหรือส่วนใหญจ่ ะเขา้ ใจวา่ เครื่องหนา้ ตารูปทรงส่ีเหลย่ี มท่ีมีพดั ลม ติดอยมู่ ีเสียงดงั เหมอื นเคร่ืองจกั รและเสียงลมมกั วางอยภู่ ายนอกอาคารจะรู้สึกมลี มรอ้ นเป่ า ออกมา จริงๆแลว้ การเขา้ ใจวา่ น้นั คือ คอยลร์ ้อน ถือว่า เขา้ ใจไม่ถูกตอ้ งแต่กไ็ มถ่ งึ กบั เขา้ ใจผิด ท้งั หมด เจา้ เคร่ืองทีท่ ่านเห็นทถ่ี กู ตอ้ ง เรียกว่า Condensing unit เป็นส่วนประกอบอยา่ งหน่ึงของ เคร่ืองปรบั อากาศแบบแยกส่วนหรือ Split Type Air Condition แตท่ ี่แทจ้ ริงแลว้ คอยล์ร้อน คือ ช้ินส่วนชิ้นหน่ึงใน Condensing unit ช่ือเรียกในภาษาองั กฤษว่า Condenser (คอนเดนเซอร์) ทาหนา้ ท่ีควบแน่น โดยรบั แก๊สน้ายาทาความเยน็ ท่ีถกู Compressor อดั จนรอ้ น และมอี ุณหภูมิสูง เมอื แก๊สน้ายาทาความเยน็ เขา้ สู่ขดทอ่ ในแผงคอยลร์ อ้ นก็จะเกิดการควบแน่น เปล่ียนสถานะจากแกส๊ ไปเป็นของเหลว ความร้อนจากน้ายาเมอื่ เป็นรูปสถานะกจ็ ะถ่ายเทความ รอ้ นออกมา โดยมีลมมเี ป็นตวั ระบายความรอ้ นผา่ นพ้ืนทผี่ ิวของคอยลร์ ้อน จงึ ทาให้เราเหน็ ว่า จะตอ้ งมคี อยลร์ อ้ นใกลพ้ ดั ลม ดงั น้นั เราจะรู้สึกวา่ คอยล์ร้อนเสียงดงั การระบายความรอ้ นของ คอยลร์ อ้ นนอกจากระบายดว้ ยลมแลว้ ยงั มีระบายดว้ ยน้า หรือแบบผสมก็มี

คอยลร์ ้อนมลี กั ษณะประกอบดว้ ยทอ่ ที่ขดไปขดมาและมแี ผน่ คลีบวางเป็นช้นั ๆ เช่นเดียวกบั คอยลเ์ ยน็ แตก่ ็มี คอยลร์ อ้ นรูปแบบลกั ษณะอน่ื ๆ เช่น แบบเป้นขดวงกลมคลา้ ย สปริง แบบเป็นขดท่อไปมาแตไ่ มม่ แี ผ่นคลีบกม็ ี หรือแบบเป็นทอ่ 2ช้นั อยภู่ ายใน โดยหลกั ๆขดทอ่ เหล่าน้นั จะทาหนา้ ที่ลาเลยี งสารทาความเยน็ ใหไ้ หลเวยี นไปใหท้ วั่ ท้งั บริเวณพ้ืนที่คอยลร์ ้อนท้งั หมด และมีแผ่นคลีบเป็นพ้นื ทีผ่ ิวในการระบายความร้อน เพอื่ ทาการ ถา่ ยเทความรอ้ นจงึ ทาให้บริเวณใกลๆ้ คอยลม์ อี ากาศท่ีรอ้ น เน่ืองจากคอยลร์ อ้ นไดด้ ูดซบั ความ เยน็ แลกเปล่ยี นกบั อากาศบริเวณน้นั เอง โดยปกติแผน่ คลีบของคอยลร์ อ้ นจะไม่นิยมทาถ่มี าก เพราะการทาถีม่ ากจะทาให้ฝ่นุ อดุ ตนั ไดง้ า่ ยๆ เมือ่ เกิดการอุดตนั ของฝ่นุ ก็จะทาให้ประสิทธิภาพ การระบายลดลง และวงจรการเดินของน้ายากจ็ ะมลี กั ษณะการเดินน้ายาทม่ี รี ะยะการเดินทยี่ าวซ่ึง แตกต่างจากคอยลเ์ ยน็ ในการออกแบบคอยล์ จะตอ้ งพิจารณาเรื่องอุณหภมู ิและความดนั และวสั ดทุ ่ีใชผ้ ลติ เป็นคอยลใ์ หเ้ หมาะสม เน่ืองจากคอยลร์ ้อนอยภู่ ายนอก อาคารจึงมคี วามเสี่ยงสูงกวา่ คอยลเ์ ยน็ และสภาพพ้นื ทแ่ี ละอากาศลว้ นแต่มี ผลกบั การออกแบบ ดงั น้นั วสั ดุทใี่ ชผ้ ลิตมผี ลตอ่ คอยล์ร้อนราคาท่ีแตกต่าง กนั ส่ิงสาคญั จะตอ้ งมคี วามสอดคลอ้ งกบั คอยลเ์ ยน็ ทใ่ี ชค้ ดู่ ว้ ย เพ่ือให้การ ควบแน่นเกิดข้นึ ไดส้ มบูรณย์ ิง่ ข้ึน ไมเ่ กิดผลเสียภายในระบบความเยน็

ข้นั ตอนการล้างคอยล์ร้อน คอยลร์ ้อน เป็นส่วนที่ซบั ซอ้ น โดยปกตแิ ลว้ การลา้ งแอร์น้นั จะแคฉ่ ีดน้าเขา้ ไปเฉียงๆ เพ่อื ให้ส่ิงสกรก ออกมาเทา่ น้นั แตใ่ นกรณีท่ีจะแนะนาตอ่ ไปน้ี เป็นการลา้ งคอยลร์ อ้ นแบบ ถงึ ขา้ งในกนั เลยทเี ดยี ว ข้ันตอนการลา้ ง 1.ใหท้ าการไขน็อต และถอดฝาครอบคอยลร์ อ้ นออก แลว้ ลา้ งน้าเปลา่ นาไปผ่งึ ให้แห้ง 2.ในส่วนของพดั ลมระบายความร้อน ใหถ้ อดนอ็ ตออก กอ่ น 3.จะมีขายดึ บริเวณมอเตอร์พดั ลม ของใบพดั อยู่ ใหท้ าการถอดขายึดออก 4.ให้ใส่น้ามนั หลอ่ ลนื่ ท่บี ริเวณแกนมอเตอร์ เพ่ือทาใหพ้ ดั ลมแอร์ทางานดขี ้นึ 5.แกะใบพดั แอร์ นาไปทาความสะอาดดว้ ยน้าเปล่า แลว้ ผ่ึงใหแ้ หง้ 6.ใบชดุ สายไฟ ข้วั ต่อต่างๆ จะมีใยแมงมมุ รวมไปถึงเศษฝ่นุ และใบไม้ ฯลฯ อยู่ ให้ใชล้ มเป่ า ออกให้ หมด 7.ในส่วนครีบระบายความรอ้ นแผงใหญ่ ให้ใชน้ ้าแรงดนั สูงฉีดเขา้ ไป เพราะผา้ ไมส่ ามารถเขา้ ไปได้ แลว้ จะมีปัญหาคือ ระบบสายไฟ และไฟฟ้าในบริเวณน้นั จะโดนน้าดว้ ย เพราะฉะน้นั ให้เช็ดใหแ้ ห้งหลงั จาก ลา้ งเสร็จ 8.ประกอบส่วนตา่ งๆของคอยลร์ ้อนเขา้ เหมือนเดมิ 9.รอใหท้ ุกส่วนแห่งสนิทกอ่ น แลว้ ทาการลองเปิ ดแอร์ 10.ตรวจสอบการทางานวา่ ปกตหิ รือไมแ่ อร์เยน็ ไหมเสียงดงั เกินไปไหม


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook