Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore th1529476181-813_3

th1529476181-813_3

Description: th1529476181-813_3

Search

Read the Text Version

การปรบั ตวั ในการด�ำเนินชีวิต การเปลย่ี นแปลงทงั้ ทางดา้ นรา่ งกายและจติ ใจของผสู้ งู อายเุ ปน็ ผล ใหผ้ สู้ งู อายจุ ะตอ้ งปรบั ตวั และยอมรบั ตอ่ สภาพการเปลยี่ นแปลงนน้ั ๆ โดย ผสู้ งู อายคุ วรมกี ารตรยี มความพรอ้ มทง้ั ดา้ นรา่ งกายและจติ ใจเพอ่ื เปน็ ผสู้ งู อายุท่มี คี วามสขุ ดงั น้ี • ไมร่ อคอยความชว่ ยเหลอื จากผอู้ นื่ มากเกนิ ไป พยายามระวงั ดแู ลรกั ษา สุขภาพตนเองให้แข็งแรง • หางานมาช่วยคลายเหงาและเกิดความสุขทางใจ เลือกงานท่ีเป็น ประโยชน์แก่ผอู้ ื่น • หาเวลาพกั ผ่อนหย่อนใจ หาเพอื่ นพดู คุย • ต้องคิดบวก วางแผนว่าจะเป็นผู้สูงอายุท่ีมีความสุขและทำ� ประโยชน์ ต่อสังคมได้ ไม่คอยคิดห่วงกังวลถึงอายุท่ีล่วงไปด้วยความหวาดวิตก อาลัยอาวรณ์ แต่ควรคิดว่าตนผ่านโลก ผ่านชีวิต ได้เรียนรู้และมี ประสบการณส์ ง่ั สมมามาก จนมคี วามรอบรู้ ทักษะ ความเชีย่ วชาญที่ มคี ณุ คา่ และเปน็ ประโยชนต์ อ่ การดำ� เนนิ ชวี ติ ของตนเองและคนรนุ่ หลงั • คดิ เสมอวา่ อายไุ มใ่ ชอ่ ปุ สรรคทจ่ี ะทำ� ใหเ้ ลกิ นบั ถอื ตนเองและผอู้ นื่ ตอ้ ง ร้จู กั ตนเอง รู้จักผู้อื่น คดิ หาทางชว่ ยผอู้ ่นื คดิ ว่าทุกคนมีความดคี วาม เดน่ ของตน • ยดึ มน่ั เสมอว่า คนเราไม่แกเ่ กนิ เรียน หมน่ั ศกึ ษาหาความรู้เสมอ แลว้ หาทางเผยแพร่ความรนู้ ้นั ตอ่ • ยอมรับความคดิ เปน็ ของบคุ คลอื่น ไมค่ ดิ วา่ ตนถกู เสมอไป ยอมรับใน สงิ่ ทีผ่ ิดพลาดและปรบั ปรุงแก้ไข มั่นคงในชีวิต 101

• เข้าใจความจ�ำเป็นของลูกหลานว่าอาจมีภาระหน้าที่ที่ต้องรับผิดชอบ ท�ำให้ไมส่ ามารถมาดแู ลเล้ยี งดูตนเองได้ตามท่ตี ้องการ • เตอื นตัวเองอยู่เสมอว่าตอ้ งไม่เอาแต่ใจตวั เอง และรจู้ ักใหอ้ ภยั ผูอ้ ืน่ คุณสมบัติผู้สูงอายทุ ่มี ีความสขุ • ต้องมสี ขุ ภาพดี ทัง้ สขุ ภาพกายและสขุ ภาพจิต • ต้องมีความภมู ใิ จ พงึ พอใจในตวั เอง งานประจ�ำ งานอดิเรก ฐานะและ ชีวิตความเป็นอยู่ของตัวเอง มีเวลาพักผอ่ นหย่อนใจ และมอี ารมณข์ ัน • ต้องมีความประมาณตน รักตัวเอง รักผู้อื่น ไม่ละทิ้งความรู้ ความ สามารถของตน ทำ� ตนเป็นคนมีคุณค่า มีประโยชนต์ ่อผ้อู น่ื • ตอ้ งมเี พอ่ื นมากๆ เขา้ สงั คม คบหาสมาคมกบั ผอู้ ื่น ไม่อยู่อยา่ ง ว้าเหว่ หงอยเหงา การสร้างสัมพันธภาพ การมีสัมพันธภาพกับผู้อื่นเป็นการเปิดโอกาสให้ตนเองได้พบเห็น สงิ่ ใหมๆ่ ทอี่ าจกระตนุ้ ความสนใจและนำ� ไปสกู่ ารเรยี นรใู้ หมๆ่ ทงั้ เรอื่ งใกล้ ตวั และไกลตวั ออกไป การมคี วามสมั พนั ธอ์ นั ดกี บั ผอู้ น่ื เปน็ สง่ิ จำ� เปน็ ในการ มชี ีวติ อยู่ของมนุษย์ ท�ำให้เกิดการพฒั นาความคิด ไดเ้ รียนรูจ้ ดุ เด่นและจุด ด้อยของตนเอง และเข้าใจความแตกต่างระหว่างบุคคล รวมท้ังได้เรียนรู้ ความเป็นจริงของโลก ยอมรับและเข้าใจสิ่งท่ีเกิดขึ้นอย่างที่เป็นจริง สมั พนั ธภาพอนั ดรี ะหวา่ งบคุ คล จงึ เปน็ กญุ แจสำ� คญั ทจี่ ะนำ� บคุ คลไปสกู่ าร พัฒนาเอกลักษณ์ของตนเอง การมีความรู้สึกว่าชีวิตมีความหมายและมี คุณค่า และการมีสุขภาพจิตท่ีดีและสามรถพัฒนาตนให้ไปถึงศักยภาพ 102 ชดุ ความรกู้ ารดแู ลตนเองและพฒั นาศกั ยภาพผู้สงู อายุ

สูงสดุ ของตนได้ แตบ่ ุคคลที่ไมส่ ามารถสรา้ งสมั พันธภาพที่ดีกบั ผูอ้ ่ืนได้จะ รู้สึกอ้างว้าง โดดเดี่ยว เกิดความรู้สึกว่าชีวิตไร้ความหมาย รู้สึกซึมเศร้า ทอ้ แท้ในชีวติ และอาจมพี ฤตกิ รรมท่ีเป็นปญั หาได้ เชน่ แยกตวั จากสังคม การสร้างและคงไว้ซ่ึงสัมพันธภาพที่ดีกับผู้อ่ืน บุคคลต้องมี คุณลกั ษณะทีส่ �ำคัญ ไดแ้ ก่ 1. การยอมรับและให้เกยี รติ หมายถึง การยอมรับลักษณะสว่ นตวั หรอื ลกั ษณะเฉพาะของบคุ คลตามท่ีเขาเป็น ให้เกียรตแิ ละเคารพในคุณค่า ของบคุ คล มคี วามเปน็ มิตร 2. ความเข้าใจสาระและความรู้สึก หมายถึง เข้าใจในเนื้อหาสาระของ สง่ิ ทีส่ ือ่ สารกนั และเข้าใจในความร้สู ึกของผู้อ่นื 3. ความจริงใจ หมายถึง การไม่เสแสร้งในการแสดงออกถึงความคิด ความร้สู กึ และทัศนคตขิ องตนเอง คุณลักษณะของบุคคล 3 ประการนี้ จะส่งผลต่อสัมพันธภาพ ระหว่างบุคคลได้มากน้อยเพียงใดนั้น สงิ่ สำ� คัญอีกประการหนึง่ คือ ความ สามารถในการสอื่ หรอื แสดงออกถงึ คณุ ลกั ษณะเหลา่ นอี้ อกมาใหผ้ อู้ นื่ รบั รู้ ดว้ ย การปรบั ตวั ในการอยูร่ ว่ มกับผ้อู ืน่ คนเราเกดิ มาจะอยคู่ นเดยี วไมไ่ ด้ จำ� เปน็ ตอ้ งอยรู่ ว่ มกบั คนอน่ื ๆ ใน สังคมและในการมีชีวิตอยู่ร่วมกับผู้อื่นน้ันก็จะต้องมีการปรับตัว เพราะ แตล่ ะคนนน้ั มคี วามแตกตา่ งกนั ทง้ั ในดา้ นรา่ งกาย ดา้ นความคดิ ความสนใจ ทัศนคติ ความสามารถ สถานะ ซึ่งความแตกต่างเหล่านี้ อาจท�ำให้เกิด ปญั หาตา่ งๆขน้ึ หรอื ทำ� ใหเ้ กดิ ความขดั แยง้ ความไมพ่ อใจ ทำ� ใหไ้ มม่ คี วาม มน่ั คงในชวี ติ 103

สขุ ได้ แตใ่ นการอยรู่ ว่ มกนั นน้ั โดยทว่ั ไปมนษุ ยท์ กุ คนตอ้ งการแสวงหาความ สขุ ความพอใจในการอยูร่ ว่ มกับผู้อน่ื คนทีม่ ีชวี ติ อยู่ร่วมกบั ผู้อืน่ ได้ อยา่ ง มีความสุข หมายถงึ รู้จักตัวเอง ท�ำใหผ้ อู้ น่ื มีความสุข และมีความพอใจใน การอยรู่ ว่ มกบั ตนย่อมเป็นคนที่มสี ุขภาพจติ ดี วธิ หี รอื หลกั ในการสรา้ งมนษุ ยสมั พนั ธเ์ พอ่ื นเปน็ แนวทางทจี่ ะชว่ ย ให้เกิดความสขุ ในการอยรู่ ว่ มกบั ผ้อู นื่ มดี งั นี้ 1. พดู จาทกั ทายผคู้ นดว้ ยอารมณช์ น่ื บานแจม่ ใสดว้ ยนำ้� เสยี งไพเราะนา่ ฟงั 2. ย้มิ แย้มแจ่มใสทั้งสีหนา้ และแววตา 3. เรียกขานคนด้วยช่ือ จะท�ำให้เกิดความพอใจและแสดงถึงความสนิท สนม 4. เปน็ คนมีนำ�้ ใจไมตรี และพยายามทำ� ตัวเป็นประโยชนต์ ่อผอู้ นื่ 5. เปน็ คนมคี วามจรงิ ใจ ค�ำพูดและการกระท�ำสอดคลอ้ งกนั ซ่ึงจะก่อให้ เกดิ ความไวว้ างใจและศรทั ธาในตัวเรา 6. เป็นผฟู้ ังทีด่ ีในการสนทนา ให้ความสนใจต่อคู่สนทนา 7. มคี วามใจกว้างและมีสตทิ งั้ ต่อค�ำวิจารณ์และค�ำชม 8. รูจ้ กั นกึ ถึงความรสู้ ึกของคนอ่นื เอาใจเขามาใส่ใจเรา 9. พรอ้ มทจ่ี ะใหค้ วามชว่ ยเหลอื เกอ้ื กลู ผอู้ นื่ เทา่ ทจ่ี ะชว่ ยได้ การชว่ ยเหลอื อาจทำ� ได้งา่ ยๆ เชน่ การให้ค�ำแนะนำ� ใหก้ �ำลงั ใจ หรือแสดงความเออ้ื อาทรซึง่ จะน�ำความสุขใจมาสู่ทงั้ ผู้ใหแ้ ละผ้รู ับ 10. เติมอารมขนั มขี นั ติ อดทน และรู้จักถอ่ มตน บทบัญญัติ 10 ประการข้างต้นนี้ หากสามารถท�ำได้ก็จะช่วยให้ ปรบั ตวั ได้ แมว้ า่ คนเราจะมคี วามแตกตา่ งกนั แตท่ กุ คนกย็ งั มคี วามตอ้ งการ 104 ชุดความรู้การดแู ลตนเองและพฒั นาศักยภาพผูส้ ูงอายุ

คล้ายๆ กัน คือต้องการท่ีจะมีชีวิตอยู่อย่างมีความสุข และการมี มนุษยสมั พนั ธ์ที่ดตี ่อกัน จะเปน็ วิธกี ารสรา้ งความสุขในการอยรู่ ว่ มกนั ของ มนุษยไ์ ดเ้ ปน็ อยา่ งดี การเป็นสมาชิกกลมุ่ ชมรม ผสู้ งู อายคุ วรมโี อกาสไดเ้ ขา้ รว่ มกจิ กรรมทางสงั คมเพอ่ื พบประผคู้ น หรือท�ำกิจกรรมตามความถนัด สนใจ หรือกิจกรรมใหม่ๆ ได้พูดคุยแลก เปลี่ยนความคิดเห็นกับคนท่ีมีความสนใจในสิ่งเดียวกัน ท�ำให้จิตใจ กระชมุ่ กระชวยมชี วี ติ ชวี า ไมร่ สู้ กึ เปลย่ี วเหงา อกี ทง้ั ยงั เปน็ การกระตนุ้ การ เรียนรู้และการพัฒนาตนเองอย่างต่อเนื่อง การเข้าร่วมกิจกรรมดังกล่าว ผูส้ งู อายุอาจสมคั รเขา้ เป็นสมาชกิ ของกลุ่มหรอื ชมรมไดห้ ลากหลาย ไมว่ ่า จะเปน็ กลุม่ อาชีพ ชมรมที่เปน็ การรวมตัวกนั ของผทู้ ีม่ คี วามสนใจเดียวกนั เช่น ชมรมถ่ายภาพ ชมรมเกษตรปลอดสารพษิ ชมรมคนรักสนุ ัข หรืออาจ สมัครเป็นสมาชิกชมรมศิษย์เก่าของสถาบันการศึกษาท่ีตนเคยศึกษาอยู่ รวมถึงชมรมผสู้ ูงอายตุ ่างๆ บทบาทการเป็นผใู้ ห้ (จติ อาสา) การดำ� รงชวี ติ อยอู่ ยา่ งมคี ณุ คา่ ของผสู้ งู อายุ จะนำ� พาความสขุ ความ มีชีวิตชวี า ความหวัง ความหมาย การเหน็ คณุ ค่า และความภาคภูมใิ จใน ตนเองมาสผู่ สู้ งู อายุ อีกทั้งยังกอ่ ใหเ้ กดิ ประโยชน์แกผ่ อู้ น่ื ตลอดจนชุมชน และสงั คมอกี ดว้ ย ผสู้ งู อายจุ งึ ควรใชว้ นั เวลาทล่ี ว่ งผา่ นเพมิ่ ความงดงามและ คณุ คา่ ใหแ้ กช่ วี ติ ในทกุ ชว่ งขณะ ทง้ั น้ี ผสู้ งู อายอุ าจเปน็ แบบอยา่ งแกช่ มุ่ ชน โดยการเปน็ จติ อาสา หมายถึง การทำ� กจิ กรรมหรือส่ิงที่เป็นประโยชนแ์ ก่ ม่นั คงในชวี ิต 105

ผูอ้ ่นื หรือต่อประโยชนส์ ว่ นรวม ซงึ่ ต้องเสียสละเวลา แรงกาย ใจ และสติ ปญั ญา ใหแ้ กส่ ว่ นรวมดว้ ยความเตม็ ใจ สมคั รใจ โดยไมห่ วงั ผลตอบแทนใน รูปของอามสิ สนิ จา้ ง หรือรางวลั ไม่นิง่ ดูดาย เมื่อพบเห็นปญั หาหรือความ ทุกข์ยากทีเ่ กดิ ข้นึ กบั ผคู้ น ผลตอบแทนทไี่ ดร้ ับคือความสขุ เมอ่ื ไดท้ �ำความ ดแี ละได้ช่วยเหลอื ผู้อน่ื นำ� มาซงึ่ ความอม่ิ ใจ ซาบซ้งึ ใจ ปตี ิสขุ อีกทั้งยังชว่ ย ลดความเปน็ ตวั ตนของตนเองลงได้วย งานจติ อาสาทผี่ สู้ งู อายสุ ามารถทำ� ได้ เชน่ การชว่ ยเหลอื ผอู้ นื่ ยาม เจ็บป่วย อาจช่วยเฝ้าไข้ อยู่เป็นเพ่ือน ช่วยงานการกุศล การถ่ายทอด ประสบการณ์ความช�ำนาญแก่สาธารณชน โดยอาจเป็นท่ีปรึกษาด้าน สุขภาพ กฎหมาย ให้ความรู้เกีย่ วกับการประกอบอาชีพ การอนรุ ักษ์ศลิ ป วฒั นธรรม ประเพณี เป็นอาสาสมัครในชุมชน หรอื อาจรว่ มกบั ชมรมผสู้ ูง อายใุ หก้ ารช่วยเหลือสังคม เช่น ชว่ ยดูแลเด็กในศูนยบ์ รกิ ารเดก็ เล็ก ช่วย ทำ� อาหารกลางวนั ใหน้ กั เรยี นในโรงเรยี น เปน็ อาสาสมคั รดแู ลผสู้ งู อายุ เปน็ วทิ ยากร ถา่ ยทอดภมู ปิ ญั ญา ประสบการณแ์ กเ่ ดก็ และเยาวชน เปน็ ตน้ ซงึ่ กิจกรรมเหล่านี้จะท�ำให้ผู้สูงอายุมีความสัมพันธ์ท่ีดีกับชุมชนและตัวผู้สูง อายุเองกส็ ุขใจดว้ ย 106 ชุดความรกู้ ารดแู ลตนเองและพฒั นาศกั ยภาพผสู้ งู อายุ

ศาสนากบั ความมนั่ คงทางใจในวยั สงู อายุ ศาสนามคี ุณค่าด้านจติ ใจมากมายต่อมนษุ ย์ เปน็ ที่พ่ึงทางใจ ทำ� ให้ ไม่ร้สู ึกอ้างวา้ งเมอ่ื ประสบปัญหาในชีวติ ศาสนาทุกศาสนา มีหลกั ธรรมคำ� สัง่ สอนท่มี ุ่งหมายใหค้ นเปน็ คนดีมีคณุ ธรรม ละเวน้ จากความช่วั มเี หตผุ ล ปฏบิ ตั แิ ตส่ ง่ิ ทถี่ กู ตอ้ ง บคุ คลไมว่ า่ จะอยใู่ นฐานะ บทบาทใด จะตอ้ งยดึ หลกั ธรรมในการดำ� เนนิ ชวี ติ เพราะธรรมหรอื หลกั คำ� สอนจะชว่ ยแกป้ ญั หาและ อุปสรรคตา่ งๆ ได้ อกี ทง้ั จะทำ� ใหท้ ุกคนอย่รู ่วมกนั ไดอ้ ยา่ งสันติ โดยเฉพาะ หลักธรรมที่เป็นพื้นฐานส�ำคัญของการด�ำเนินชีวิตซึ่งทุกศาสนามีความ สอดคล้องกนั คือ การยึดมั่นในการท�ำความดี ซ่งึ ศาสนกิ ชนสามารถน�ำไป ใช้ในชวี ติ ประจำ� วนั ได้ คอื 1. การท�ำความดีละเว้นความชั่ว ถึงแม้ว่าแนวทางการปฏิบัติของแต่ละ ศาสนาจะแตกตา่ งกนั แตท่ กุ ศาสนากส็ อนใหท้ ำ� ความดแี ละละเวน้ ความ ชวั่ ทัง้ นั้น เชน่ ศีล 5 ของศาสนาพทุ ธ บัญญัติ 10 ประการของศาสนา ครสิ ตแ์ ละหลกั ศรทั ธา 6 ประการกบั หลกั ปฏบิ ตั ิ 5 ประการของศาสนา อสิ ลาม เป็นต้น 2. การพฒั นาตนเองและการพง่ึ ตนเอง ศาสนาตา่ งๆ สอนใหค้ นพงึ่ ตนเอง และพัฒนาตนเองเพื่อให้อยู่ได้ในสังคมอย่างมีความสุข โดยเฉพาะ ศาสนาพุทธท่ีมีพุทธศาสนาสุภาษิต ว่า “อัตตาหิ อัตตาโน นาโถ” หมายถึง ตนเป็นท่ีพ่งึ แห่งตน ศาสนาพราหมณ์มหี ลกั อาศรม 4 ในขอ้ คฤหสั ถ์ทใ่ี ห้ปฏิบตั ติ ามหน้าทข่ี องตนเอง ศาสนาอิสลามสอนให้คนใฝ่ หาความรูต้ ง้ั แต่เกิดจนตาย 3. ความยตุ ธิ รรม ความเสมอภาพและเสรภี าพ คำ� สอนของศาสนาจะเนน้ ม่นั คงในชวี ติ 107

ในเร่ืองเหล่านี้เพราะทุกเรื่องจะท�ำให้มนุษย์อยู่ร่วมกันอย่างสันติ พระพทุ ธเจ้าตรัสวา่ ชาตติ ระกลู ไม่ไดเ้ ปน็ เครอ่ื งก�ำหนดความแตกต่าง ของบุคคล คนท่ีเกิดมาเท่าเทียมกันท้ังน้ัน และสอนให้ทุกคนอยู่ภาย ใตอ้ คติ 4 คอื ฉนั ทาคติ โทสาคติ โมหาคติ และภยาคติ ศาสนาอสิ ลาม กส็ อนใหร้ กั ษาความยตุ ธิ รรม ไมถ่ อื ตมอารมณ์ แมบ้ างครง้ั จะกระเทอื น ต่อตนเอง บิดามาดาหรือญาติบ้างกต็ าม 4. การเสยี สละหรือการสังคมสงเคราะห์ ศาสนาต่างๆสอนใหม้ คี วามเสยี สละเออื้ เฟอ้ื เผอื่ แผแ่ ละสงเคราะหซ์ ง่ึ กนั และกนั ดว้ ยความเมตตากรณุ า ไมห่ วังผลตอบแทน เชน่ พทุ ธศาสนามีหลกั ธรรมสงั คหวัตถุ 4 ไดแ้ ก่ ทาน ปยิ วาจา อตั ถจรยิ า และสมานตั ตตา ศาสนาอสิ ลามมกี ารกำ� หนด หลักการให้ชาวมุสลิมมีการบริจาคทาน (ซากาด) แก่ผู้ยากจนหรือ สมควรไดร้ บั ความชว่ ยเหลอื ศาสนาครสิ ตจ์ ะเนน้ ใหม้ นษุ ยเ์ สยี สละ ให้ อภยั เอือ้ เฟอื้ โดยไมห่ วงั ผลตอบแทน เป็นตน้ 5. ความอุตสาหะและความพยายาม ทุกศาสนาสอนให้คนมีความ อตุ สาหะ มคี วามเพียร ความอดทนและมีความพยายาม อนั จะช่วยให้ บคุ คลประสบความส�ำเร็จพร้อมทั้งพฒั นาตัวเองอยู่เสมอ ศาสนาพทุ ธ มคี ติเตอื นใจวา่ ความพยายามอย่ทู ี่ไหน ความสำ� เรจ็ อยู่ท่ีน่นั หรือหลกั คำ� สอนอทิ ธบิ าท 4 ได้แก่ ฉันทะ วิริยะ จิตตะ วิมังสา ศาสนาอสิ ลาม มีการละหมาดวันละ 5 ครั้งจึงถือว่าเป็นความพยายามท่ีจะขัดเกลา จิตใจใหบ้ รสิ ทุ ธ์ิ 6. ความรักความเมตตา แต่ละศาสนากล่าวถึงความรัก ความเมตตาไว้ มากมายทั้งหลักธรรมค�ำสอนในคัมภีร์ และค�ำสอนแทรกไว้ในแต่ละ ตอนของค�ำสอนน้ันๆ บางคร้ังก็มีค�ำสอนท�ำนองภาษิตเตือนใจ เช่น 108 ชดุ ความร้กู ารดแู ลตนเองและพฒั นาศกั ยภาพผสู้ ูงอายุ

พระพทุ ธศาสนามีคติธรรมทยี่ ดึ ถือ เชน่ เมตตาธรรมเปน็ เครื่องค�ำ้ จนุ โลก ในศาสนาคริสต์พระเยซูทรงสอนว่า จงรักพระเจ้าอย่างสุดใจสุด ความคดิ และสุดก�ำลงั และจงรกั เพื่อนมนษุ ยเ์ หมอื นรักตัวเอง ศาสนา อสิ ลาม ศาสดามฮู มั หมดั กท็ รงกลา่ ว ผใู้ ดขาดความเมตตาเพอ่ื นมนษุ ย์ ผู้นั้นไม่ได้รับเมตตาจิต เช่นกัน ดังนั้นทุกศาสนาจึงเน้นเร่ืองความรัก ความเมตตา เพราะหากมนษุ ยท์ กุ คนมคี วามรกั ความเตตาอยใู่ นใจแลว้ กจ็ ะไมม่ ีการเบยี ดเบียนกัน ให้ความช่วยเหลือซงึ่ กนั และกนั 7. ความมคี ณุ ธรรม อดทน อดกลั้น เกือบทุกศาสนา มบี ทบญั ญัตแิ ละข้อ ปฏบิ ตั ใิ นเรอ่ื งนเี้ หมอื นกนั เชน่ ศลี ของศาสนาพทุ ธ บญั ญตั ิ 10 ประการ ของศาสนาครสิ ต์ การถอื ศลี อดของศาสนาอสิ ลาม ทกุ ขอ้ ปฏบิ ตั คิ อื การ ใหค้ นมคี ณุ ธรรม อดทนและอดกล้ัน 8. ไม่เสพสรุ า ไมเ่ ลน่ การพนัน ไม่พูดจาขยายความ เปน็ พ้ืนฐานของทกุ ศาสนาทีบ่ ัญญัติไว้อย่างชดั เจนวา่ เป็นสง่ิ ไมค่ วรท�ำ เช่น ศลี ในศาสนา พทุ ธ บญั ญตั ิ 10 ประการในศาสนาครสิ ต์ หลกั บญั ญตั ใิ นศาสนาอสิ ลาม เป็นต้น ผสู้ งู อายคุ วรหาหลกั ยดึ ในใจโดยนาหลกั ธรรมคำ� สอนของศาสนาท่ี ตนนบั ถือ เลอ่ื มใสศรทั ธา มาเป็นคตใิ นการด�ำเนนิ ชีวิต เพอื่ ให้เกดิ ปญั ญา รแู้ จง้ เหน็ จรงิ และสามารถปรบั ตวั ปรบั ใจรบั กบั เหตกุ ารณต์ า่ งๆ ทอี่ าจเกดิ ขึน้ โดยไม่ได้คาดหมายได้อยา่ งมีสติ มนั่ คงในชวี ติ 109

การเผชิญกบั วาระสุดท้ายของชวี ิตอยา่ งสงบ การเผชิญความตายอย่างสงบ อาจไม่ใช่เร่ืองง่ายดายที่จะคิดและ ทำ� ใหจ้ ติ สงบไดใ้ นทนั ทที นั ใด จำ� เปน็ ตอ้ งฝกึ ฝนและลงมอื สรา้ งปจั จยั ตา่ งๆ ที่เอื้อต่อความม่ันคงทางใจให้ถึงพร้อม การเรียนรู้เกี่ยวกับ “ความตาย” ทำ� ความเขา้ ใจ นอ้ มใจยอมรบั ความตายอยา่ งกลา้ หาญ และฝกึ ฝนจติ ใหต้ ง้ั ม่ันในความตระหนักรู้อยู่เสมอทุกลมหายใจว่าความตายเป็นความจริงใน ชีวิต จะทำ� ใหใ้ ชช้ วี ติ อยา่ งไมป่ ระมาทและคลายความยึดม่นั ท้งั ปวง การเตรียมความพรอ้ มควรทำ� อย่างไร การเตรยี มความพรอ้ มควรเร่มิ ที่จิตใจของเรา ซ่ึงเป็นการเตือนตวั เองว่าทุกคนต้องประสบกับความตาย ไม่มีใครหลีกหนีได้พ้น เร่ิมที่จะ ละวางในส่ิงต่างๆ รวมถึงการไม่มีตวั ทีแ่ ท้จรงิ สว่ นการเตรยี มความพร้อม ทางโลกกเ็ ปน็ เรอื่ งจำ� เปน็ เชน่ กนั ทง้ั นเี้ พอ่ื จะไดไ้ มก่ ระวนการะวานใจในสง่ิ ทอ่ี าจไมส่ ามารถทำ� ไดเ้ อง โดยเฉพาะอยา่ งยง่ิ เมอ่ื ใกลว้ าระสดุ ทา้ ย ซง่ึ อาจ อยู่ในสภาพทีไ่ ม่สามารถจะบอกหรอื ท�ำใหค้ นรอบขา้ งรบั รู้ได้ การเตรยี มความพร้อมทางโลกทเ่ี หมาะสม เพ่ือให้มีความมั่นในว่า จะสามารถสะสางเร่ืองต่างๆ เหล่าน้ันได้ในขณะที่ยังมีก�ำลัง และมี สติสัมปชัญญะ คือสง่ิ ที่ควรคดิ ตดั สนิ ใจ อาจตัดสนิ ใจโดยส�ำพังหรอื หารอื กบั คนรอบข้างโดยการเตรียมความพรอ้ มในเรื่องต่อไปนี้ 1. จัดการเรอ่ื งทรพั ย์สมบัติต่างๆ ให้เรียบร้อย แตถ่ า้ หากยงั มีชวี ติ ยนื ยาว ตอ่ ไป และตอ้ งการจะเปลย่ี นแปลงการตดั สนิ ใจนน้ั ภายหลงั กท็ ำ� ไดส้ ว่ น หนี้สินท่ีติดค้างคนอ่ืนก็ต้องหาทางสะสาง เพ่ือไม่ให้รู้สึกผิดในขณะท่ี จติ จะดับ 2. สะสางงาน กจิ การ หรอื เรอ่ื งราวตา่ งๆ ทยี่ งั คง่ั คา้ งอยใู่ นใจใหด้ ที สี่ ดุ เทา่ ทจี่ ะท�ำได้ อยา่ รอหรอื ผดั วนั ประกันพรุ่งจนไม่มีโอกาสทำ� 110 ชดุ ความรู้การดแู ลตนเองและพฒั นาศกั ยภาพผสู้ งู อายุ

3. หากมสี งิ่ ทอี่ ยากบอกกบั คนใกลช้ ดิ เชน่ คสู่ มรส ลกู หลาน ญาติ มอี ะไร จะทำ� ให้ หรอื มอี ะไรอยากใหเ้ ขาทำ� ใหบ้ อกกนั เสยี กอ่ นทจี่ ะไมม่ โี อกาส บอก 4. บอกความตอ้ งการเกยี่ วกบั การจดั การงานศพของตนเองเพอื่ ลกู หลาน จะไดท้ �ำตามความประสงค์ ถา้ ทำ� ไมไ่ ด้จะไดป้ รกึ ษากนั อีกที 5. จัดการกับรา่ งกายในขณะที่ยังมสี ติ เช่น จะบรจิ าคอวัยวะส่วนใดเพอื่ นำ� ไปใช้ประโยชน์ตอ่ หรอื ไม่ หรอื จะใหล้ ูกหลานน�ำไปฝังหรอื เผา อย่า ปลอ่ ยให้คนอ่ืนตัดสินแทน คนข้างหลงั ก็จะไดไ้ ม่ล�ำบากใจ 6. บอกความประสงคใ์ นการรกั ษาพยาบาลกบั ลกู หลาน ญาติ หรอื ผดู้ แู ล ใหช้ ดั เจนแต่เนน่ิ ๆ ในขณะที่ยงั มีสติสมั ปชัญญะ เช่น ไมต่ อ้ งใสท่ อ่ ชว่ ย หายใจด้วยการเจาะคอหรือสว่ นหนึ่งส่วนใดของรา่ งกาย เป็นต้น เพอื่ จะได้ไมเ่ กิดความขัดแย้งระหวา่ งลูกหลาน ญาติ หากมคี วามเหน็ ในวธิ ี การรกั ษาแตกตา่ งกนั โดยควรทำ� หนงั สอื แสดงเจตนาเกยี่ วกบั การรกั ษา พยาบาลไวเ้ ปน็ ลายลกั ษณอ์ กั ษร (ดรู ายละเอยี ดในหวั ขอ้ “กฎหมายที่ ผู้สงู อายุควรรู้” ในชุดความรู้การดแู ลตนเองและพฒั นาศกั ยภาพผสู้ ูง อายุ ดา้ นการเรยี นรู้) 7. หาคนท่ีไว้วางในให้มีอาจช่วยท�ำการแทน หรือตัดสินใจแทน ควรหา และจัดเรยี งล�ำดับไว้สกั 3 คน โดยเปน็ ผูท้ ี่สามารถไว้วางใน รูเ้ จตนา ของตนในเรื่องตา่ งๆ พินัยกรรมชีวิตน้ันไม่ใช่เรื่องอัปมงคลหากแต่เป็นการกระท�ำเพ่ือ ชว่ ยใหม้ นั่ ในไดว้ า่ จนจะจากโลกนไี้ ปดว้ ยความสงบโดยไมท่ ำ� ใหค้ นทเี่ รารกั ตอ้ งลำ� บากใจกบั การจากไปของ ทง้ั นี้ ขอเพยี งแตอ่ ยา่ ผดั วนั ประกนั พรงุ่ ใน การทเี่ ขา้ ถงึ สัจธรรมแหง่ ความตาม และจดั การกับพนิ ยั กรรมชวี ติ ใหเ้ สร็จ สน้ิ ในยามท่ยี งั มสี ตสิ ัมปชัญญะเท่านนั้ ก็เพยี งพอ ม่นั คงในชวี ิต 111

รายการอา้ งองิ

หนังสือ กระทรวงสาธารณสขุ , กรมการแพทย,์ สถาบนั เวชศาสตรผ์ สู้ งู อาย.ุ (2543). คู่มือการดูแลผู้ป่วยสูงอายุระยะสุดท้าย. กรุงเทพมหานคร : โรงพิมพ์ชุมนุมสหกรณก์ ารเกษตรแห่งประเทศไทย กระทรวงสาธารณสขุ , กรมการแพทย,์ สถาบนั เวชศาสตรผ์ สู้ งู อาย.ุ (2548). การดูแลรักษาโรคผู้สูงอายุ แบบสหสาขาวิชา. กรุงเทพฯ : ชุมนุมสหกรณก์ ารเกษตรแด่งประเทศไทย จ�ำกัด. กระทรวงสาธารณะสุข, กรมอนามัย, สำ� นักสง่ เสริมสุขภาพ. คมู่ ือการดแู ล ส่งเสริมสุขภาพผู้สูงอายุ. พิมพ์ครั้งที่ 16. กรุงเทพฯ : โรงพมิ พ์องค์การสงเคราะห์ทหารผ่านศึก, 2554. กรงุ เทพมหานคร, สำ� นกั อนามยั . คมู่ อื สขุ ภาพครอบครวั สำ� หรบั ประชาชน . พิมพ์คร้ังที่2 กรุงเทพฯ : โรงพิมพ์ชุมนุมสหกรณ์การเกษตรแห่ง ประเทศไทย. มปป. จริ าพร เกศพิชญวฒั นา, สุวณิ ี วิวฒั นว์ านิช. (2554). คู่มือแหล่งประโยชน์ ส�ำหรับผู้สูงอายุและครอบครัว. กรุงเทพฯ : จุฬาลงกรณ์ มหาวทิ ยาลยั . เจยี รนัย ทรงชยั กุล. (2546). การวจิ ยั เพือ่ พฒั นาคณุ ภาพชีวิตของผสู้ งู อายุ ในสงั คมไทยดา้ นสุขภาพกาย สุขภาพจิต. สาขาวิชาศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาบยั สุโขทัยธรรมาธิราช เฉก ธนะสิริ. (2530). ท�ำอย่างไรจะปราศจากโรคและชะลอความชรา. กรุงเทพฯ : บรษิ ทั แปลนพบั ลชิ ชงิ่ จำ� กัด. ม่นั คงในชีวิต 113

นงลักษณ์ บญุ ไทย. (2539). ความร้สู กึ มคี ุณค่าในตนเองของผสู้ ูงอายุและ ความสัมพันธ์กับปัจจัยอื่นๆ. วิทยานิพนธ์ปริญญาวิทยาศาสตร์ มหาบัณฑิต, มหาวิทยาลัยมหิดล, คณะวิทยาศาสตร์, สาขาวิชา อนามยั ครอบครัวบณั ฑติ วิทยาลัย. บรรลุ ศิริพานิช. (2544). คู่มือผู้สูงอายุฉบับสมบูรณ์. พิมพ์ครั้งที่ 16. กรงุ เทพมหานคร : ส�ำนักพิมพ์ฟมดชาวบา้ น บรรลุ ศริ พิ านิช. (2551). การออกก�ำลงั กายเพอ่ื สขุ ภาพส�ำหรับผู้สูงอายุ. พมิ พ์ครั้งท่ี 8. กรุงเทพฯ : พมิ พด์ ี. บรรลุ ศิริพานิช. (2553). คู่มือผู้สูงอายุฉบับสมบูรณ์. พิมพ์คร้ังท่ี 24. กรุงเทพฯ : พมิ พ์ดี. บังอรธรรมศีริ. (2549). ผู้สูงอายุในสังคมไทย. การศึกษาค้นคว้าอิสระ ปรญิ ญา คหกรรมศาสตรมหาบณั ฑิต, มหาวิทยาลัยสุโขทยั ธรรมา ธริ าช, คณะคหกรรมศาสตร,์ สาขาวชิ าคหกรรมศาสตร์. ปราโมทย์ ประสาทกลุ , และคนอนื่ ๆ. (2542). โครงสรา้ งอายแุ ละประชากร สงู อายใุ นประเทศไทย. นครปฐม : สถาบนั วจิ ยั ประชากรและสงั คม มหาวทิ ยาลัยมหดิ ล, ปณิตา ลิมปะวัฒนะ. (2553). ผู้สูงอายุกับโรคที่พบบ่อย. ขอนแก่น : มหาวทิ ยาลัยขอนแกน่ พระธรรมปิฏก (ป.อ.ปยตุ .โต). (2542). ทศวรรษธรรมทศั น์พระธรรมปิฏก : หมวดพทุ ธศาสตร.์ กรงุ เทพมหานคร : ธรรมสภา. 114 ชดุ ความรูก้ ารดูแลตนเองและพฒั นาศักยภาพผสู้ ูงอายุ

พรพรหมคณุ าภรณ์ (ป.อ.ปยตุ .โต). (2547). ธรรมนูญชีวิต. พมิ พค์ ร้งั ที่ 3. กรุงเทพมหานคร : การศาสนา. สวิ รรณ อนุ นาภริ กั ษ.์ (2552). การพยาบาลผสู้ งู อายุ : ปญั หาระบบประสาท และอ่ืนๆ. กรงุ เทพฯ : บุญศริ ิการพมิ พ์ จ�ำกัด. วลยั พร นนั ทศ์ ุภวฒั น.์ (2551). การพยาบาลผ้สู งู อายุ : ความทา้ ทายกับ ภาวะประชากรสงู อาย.ุ ขอนแกน่ : ขอนแก่นการพมิ พ์. สุจริต สุวรรณชีพ. (2555). การสัมภาษณ์ถอดประสบการณ์การดูแล ผูส้ งู อายุ และ การรกั ษาผปู้ ่วยสงู อายุทางจติ เวช. สมั ภาษณ์สนั ท่ี 2 กมุ ภาพันธ์ 2555 ณห้องประชมุ 3 กรมสขุ ภาพจิต เพ่อื ใช้ในการ จัดท�ำองคค์ วามรคู้ วามสุข 5 มิติ และโปรแกรม 16 สปั ดาห์เพอ่ื สร้างความสขุ ในผ้สู ูงอาย.ุ สทุ ธชิ ยั จติ ะพนั ธก์ ลุ . (2542). หลกั สำ� คญั ของเวชศาสตรผ์ สู้ งู อาย.ุ กรงุ เทพฯ : โรงพมิ พ์ แหง่ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลยั . สริ นิ ทร ฉนั ศริ กิ าญจน, และคณะ. (2554). Live Long & Strong. กรงุ เทพฯ : ภาพพิมพ.์ 2554. เสนอ อินทรสขศรี. มปป. ฉันจะเป็นผู้สูงอายุที่มีความสุข. กรุงเทพฯ : ส�ำนักส่งเสริมและพิทกั ษผ์ ูส้ ูงอาย.ุ ส�ำนักพัฒนาสุขภาพจิต. (2547). คู่มือการดูแลสุขภาพจิตผู้สูงอายุ. โรงพมิ พ์ชุมนมุ สหกรณ์การเกษตรแหง่ ประเทศไทย จำ� กดั . อมั พร เบญจพลพทิ กั ษ์ และคณะ. (2555). คมู่ ือความสขุ 5 มติ ิ ส�ำหรับ ผสู้ งู อาย.ุ บยี อนด์ พบั ลสิ ซง่ิ จำ� กัด. มัน่ คงในชวี ติ 115

Ebersole. P., Hess P., Touhoy. T. & Jett. K. (2005) Gerontological Nursing & Healthy Aging. 2 nd edition. St.Louis : Mosby. Eliopoulos. C. (2005). Gerontological Nursing. 6th edition Phil adelphia : Lippingcott Williams & Wikins/A wolters kluwer company. Kristen L M. (2006). Gerontological Nursing : competencies for care. Sudbury : Jones and Bartlett Publishers. เว็บไซต์ กระทรวงสาธารณสุข, กรมอนามัย, ส�ำนักทันตสาธารณสุข. การดูแล สขุ ภาพชอ่ งปากดว้ ยตวั เองสำ� หรบั ผสู้ งู อาย.ุ (ออนไลน)์ . สบื คน้ เมอ่ื วนั ที่ 2 กันยายน 2555. จาก http://www.anamai.ecgates. com/news/news_detail.php?id=392. การขาสารอาหารในผสู้ งู อาย.ุ (ออนไลน)์ . สบื คน้ เมอื่ วนั ที่ 2 กนั ยายน 2555. จาก http://www.eldercarethailand.com/content/ view/58/29/. การดูแลผิวหนัง ซ ผิวแห้งในผู้สูงอายุ. (ออนไลน์). สืบค้นเมื่อวันท่ี 1 กันยายน 2555. จาก http://www.gotoknow.otg./blogs/ posts/82424. 116 ชดุ ความรู้การดแู ลตนเองและพัฒนาศักยภาพผสู้ ูงอายุ

การพักผ่อน. (ออนไลน์). สบื คน้ เมอ่ื วันท่ี 2 กันยายน 2555.จาก http://detective15.exteen.com/20060701/entry?n=y. กาธร พราหมณ์โสภี. สุขภาพกายและจิต. (ออนไลน์). สืบค้นเมื่อวันที่ 2 กนั ยายน 2555. จาก http://snr.ac.th/elearning/kamtorn/ section3.6htm. แกว้ วบิ ลู ย์ แสงพลสทิ ธ.ิ์ การดแู ลผสู้ งู อายทุ ม่ี ปี ญั หาเกย่ี วกบั อวยั วะรบั ความ รสู้ ึก. (ออนไลน)์ . สืบคน้ เม่ือวนั ท่ี 2 กันยายน 2555. จาก http:// blog.stougealth.org/?p=415. คุมเบาหวานให้อยู่หมัดในผู้สูงอายุ. (ออนไลน์). สืบค้นเมือวันที่ 10 สงิ หาคม2555. จาก http://www.yourhealthyguide.com/ article/ad-diabete-control. โครงการเผชญิ ความตายอยา่ งสงบ. การอบรมฯ เผชญิ ความตายอยา่ งสงบ. (ออนไลน์). สืบคน้ เมือ่ วนั ท่ี 1 กนั ยายน 2555. จาก http://bud net.org/peacefuldeath/node/54. จติ อาสา ตอ้ งมคี วามรกั มนษุ ยชาติ ตามหลกั พรหมวหิ าร 4 และสงั ควตั ถุ 4. (ออนไลน์). สบื ค้นเมื่อวนั ที่ 2 กนั ยายน 2555. จาก http://www. oknation.net/blog/teetaffarm/2011/11/24/entry-1. นอนอย่างไรท�ำให้สมองไบรท์ยามเช้า. (ออนไลน์). สืบค้นเม่ือวันท่ี 1 กันยายน 2555. จาก http://www.thaihealth.ot.th/health content/healthtips/27829. ม่ันคงในชีวิต 117

นันทา มาระเนตร,์ และคณะ. ระบบผวิ หนงั . (ออนไลน)์ . สืบค้น เมื่อวันที่ 1 สิงหาคม 2555. จาก http://guru.sanook.com/ enc_preview.php. นานาสิ่งแปลกปลอมท�ำร้ายประสาทสัมผัส. (ออนไลน์). สืบค้นเมื่อวันที่ 2 กันยายน 2555. จาก http://forums.goosiam.com/ html/0025462.html. บทความสุขภาพ อาหารเพ่ือสุขภาพ. วิธีการออกก�ำลังกายและการพัก ผ่อน. (ออนไลน)์ สบื คน้ เม่อื วันที่ 2 กันยายน 2555. จาก http:// lovehealths.wordpeww.com/2012/07/24. พรทพิ ย์ เกยรุ านนท.์ การสรา้ งความสขุ ในผสู้ งู อาย.ุ (ออนไลน)์ . สบื คน้ เมอ่ื วันที่ 1 กนั ยายน 2555. จาก http://www.stou.ac.th/stoukc/ elder/main1_9.html. รานี ศิลปะชัย. หลักธรรมส�ำหรับน�ำไปใช้ในชีวิตประจ�ำวัน. (ออนไลน์). สบื คน้ เม่ือวนั ท่ี 1 กนั ยายน 2555. จาก http://www.raneenoi. com/superpage9/pi1%20(8).html. รุจิรา สัมมะสุต. สารอาหารของผู้สูงอายุ. (ออนไลน์) สืบค้นเมื่อวันท่ี 2 กันยายน 2555. จาก http://www.baanjomyut.com/li brary/nutrition_elderly/index.html. เรณุการ์ ทองคำ� รอด. ภาวะซึมเศรา้ ในผ้สู งู อาย.ุ (ออนไลน)์ . สืบคน้ เมือ่ วัน ท่ี 2 กนั ยายน 2555. จาก http:www.stou.ac.th/stoukc/elder/ main1_8html. 118 ชุดความรูก้ ารดูแลตนเองและพัฒนาศักยภาพผูส้ ูงอายุ

เรอื งแผนไทยเภสัช. อาการปวดหลัง ปวดเอว. (ออนไลน์). สบื ค้นเมือ่ วนั ท่ี 1 กันยายน 2555. จาก http://www.brand-a.com/05tips/ backpain.html. โรงพยาบาลวิภาวด.ี การรักษาโรคปวดหลงั โดยไมต่ อ้ งผ่าตดั . (ออนไลน์). สืบค้นเมอ่ื วนั ที่ 2 กันยายน 2555. จาก http://www.vibhvadi. com/web/health_detail.php?id=378. วรางคณา ผลประเสรฐิ . การออกกำ� ลงั กายในผู้สงู อาย.ุ (ออนไลน์). สบื ค้น เมื่อวันท่ี 2 กันยายน 2555. จาก http”//www.stou.ac.th/ stoukc/elder/main4_7.html. วิธกี ารพกั ผอ่ นทดี่ ี. (ออนไลน์). สบื ค้นเม่อื วันท่ี 2 กนั ยายน 2555. จาก http://blog.eduzones.com/wanwan/31338. วรี ศักดิ์ เมืองไพศาล. ดูแลผสู้ ูงอายุ ซ สองเส่ือม. (ออนไลน)์ . สืบคน้ เมอื่ วัน ที่ 1 กนั ยายน 2555. จาก http://www.manager.co.th/QOL/ ViewNews/aspx?NewsID=9550000100026. วิรัช ทุ่งวชิรกุล. เวียนหัวบ้านหมุนเป็นเรื้งรังต้องหาสาเหตุ. (ออนไลน์). สบื คน้ เมื่อวนั ที่ 1 สิงหาคม 2555. จาก http://health.kapook. com/view3149.html. ศิริจันทร์ สุขใจ. มนุษยสัมพันธ์สร้างสุข. (ออนไลน์). สืบค้นเมื่อวันที่ 1 กันยายน 2555. จาก www.jvkk.go.th/jvkkfirst.story. health.3.htm. ม่ันคงในชีวติ 119

ศนู ยท์ นายทว่ั ไทย. พระราชบญั ญตั สิ ขุ ภาพแหง่ ชาติ พ.ศ. 2550. (ออนไลน)์ . สบื ค้นเม่ือวันที่ 1 กนั ยายน 2555. จาก http://www.thailand lawyercenter.com/index.php?lay=show&ac=arti cle&Id=538976177&Ntype-19. สมองเสื่อม. (ออนไลน์). สืบค้นเมอ่ื วันท่ี 1 กันยายน 2555. จาก http:// www.happyoppy.com/index.php?lay=show&ac= article&Ntyp=5&Id=491930. สิรนิ ทร ฉนั ศริ ิกาญจน. ความรู้เรอ่ื งโรคสมองเส่อื ม. (ออนไลน)์ .สบื ค้นเมื่อ วันท่ี 2 กันยายน 2555. จาก http://www.rxrama.com/ article003.html. อมร สังข์นาค. ศาสนากับการด�ำเนินชีวิต. (ออนไลน์). สืบค้นเม่ือวันท่ี 2 กนั ยายน 2555. จาก http://www.nayoktech.ac.th/-amon/ in1_3html. อดศิ กั ด์ิ ศรสี รรพกจิ . การเผชญิ ความตายอยา่ งสงบ. (ออนไลน)์ . สบื คน้ เมอื่ วนั ที่ 1 กนั ยายน 2555. จากhttp://www.semsikkha.org/sem/ artoc;es1-/8-2010-02-20-06-07-32.pdf. เอมอร กฤษณะรังสรรค์. ทักษะการสร้างสัมพันธภาพท่ีดีกับผู้อื่น. (ออนไลน์). สืบค้นเมื่อวันที่ 2 กันยายน 2555. จาก http:// ww.novabizz.com/NovaAce/Relationship/Skill.htm. Healthcare & Laboratory Diagnostic Information. โรคปวดกลา้ ม เน้อื หลัง Musculotendinous Strain. (ออนไลน)์ . สบื คน้ เมื่อวัน ท่ี 1 กนั ยายน 2555. จาก http://www.thailabonline.com/ sec21muscularstrain.htm. 120 ชดุ ความรู้การดแู ลตนเองและพฒั นาศักยภาพผสู้ ูงอายุ


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook