Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore พึงตามรักษาจิตตน

พึงตามรักษาจิตตน

Description: พึงตามรักษาจิตตน

Search

Read the Text Version

ความไมเ่ ทยี่ ง ความเปน็ ทกุ ข ์ และความ  เปน็ อนตั ตา เห็นความเกิด เห็นความเส่ือมไป เห็นความผันแปรเปล่ียนแปลงนี้เรียกว่า “เห็นความไม่เท่ียง” เห็นความดับไปส้ิน ไปทนอยใู่ นสภาพเดมิ ไมไ่ ดน้ เี่ รยี กวา่  “เหน็ ทุกข์” เห็นความบังคับบัญชาไม่ได้ก็คือ “เห็นอนัตตา” ผลสุดท้ายก็คือการปล่อย วาง ไม่ยึดมั่นถือมั่น เพราะว่าได้เห็นแจ้ง เหน็ ชดั แลว้ วา่ สง่ิ ทงั้ หลายนม้ี คี วามเกดิ ขน้ึ มคี วามดบั ไป บงั คบั บญั ชาไมไ่ ด้ การเกดิ 50 พ ึ ง ต า ม ร ั ก ษ า จ ิ ต ต น

การดบั เปน็ ของเขาอยา่ งนนั้ เอง คอื เปน็ ไป ตามเหตุปัจจยั ฉะนนั้ จงึ ตอ้ งผา่ นการเหน็ ทกุ ข ์ ทกุ ข์ ทส่ี ดุ ในชวี ติ กค็ อื ทกุ ขจ์ ากรปู นามทมี่ นั เกดิ ดบั  ไมม่ อี ะไรจะทกุ ขก์ วา่ รปู นามทมี่ นั เกดิ ดับอยู่ เพราะมันอยู่ท่ีตัวของเราท่ีกายใจ แตถ่ งึ จะรทู้ กุ ขก์ ต็ อ้ งวาง ตอ้ งกำ� หนดรทู้ กุ ข์ อย่างแค่รู้ ไม่ไปจงใจ จัดแจง สักแต่ว่ารู้ ให้ได้ วางเฉยต่อรปู นามทมี่ ันเกิดดับ 51เ ข ม รั ง สี ภ ิ ก ขุ

ฉะน้ันเม่ือก�ำหนดรู้ หย่ังรู้เข้าไปสู่ สภาวธรรมความเปน็ จรงิ  เหน็ ความเปน็ จรงิ นน้ั ไมเ่ ทย่ี งเปน็ ทกุ ขเ์ ปน็ ภยั  รสู้ กึ วา่ รปู นาม นมี้ นั เปน็ ภยั เปน็ โทษ เปน็ ของนา่ เบอ่ื หนา่ ย เหลอื เกนิ  จติ ใจกจ็ ะหนา่ ยกจ็ ะคลายความ กำ� หนดั  ความหลงใหล ความตดิ ใจ ความ ยดึ มน่ั ถอื มนั่  จติ กอ็ สิ ระจากความยดึ ตดิ วา่ กายใจนี้เป็นเราเป็นของเรา น่ีก็เป็นแนว ทางแหง่ ความหลดุ พน้  เปน็ สง่ิ ทเี่ ราทกุ คน สามารถปฏิบัติได้ เพราะว่าสิ่งที่จะให้ ปฏิบัติ ท่ีจะให้รู้น่ี มันมีอยู่ที่ตัวของทุกๆ คน คอื  มกี ายมใี จอย ู่ กร็ ะลกึ เขา้ มาทก่ี าย 52 พ ึ ง ต า ม ร ั ก ษ า จ ิ ต ต น

ทใ่ี จ ทำ� ความเพยี รอยเู่ สมอบอ่ ยๆ เนอื งๆ นับว่าเราเป็นผู้โชคดีที่สละบ้านมา อยู่วัด การได้นั่งกับพ้ืนดินน้ี ขอให้ภูมิใจ อย่ารังเกียจดิน อย่ารังเกียจทราย อย่า รังเกียจหญ้า ต้นไม้ อย่ารังเกียจสายลม แสงแดด มองใหเ้ ปน็ มติ ร จติ ของเรากจ็ ะ มีความสุข มองให้เห็นคุณค่าของการได้ อยู่กับดิน ได้สัมผัสดิน ชีวิตแต่ละชีวิต ก็ถูกหล่อหลอมมาด้วยวัตถุธาตุบนดิน น้ีแหละ 53เ ข ม รั ง สี ภ ิ ก ขุ

โดยเฉพาะอย่างยิ่งเราพิจารณาถึง ว่าเราได้มาท�ำตามค�ำสอนพระพุทธเจ้า มาตามรอยปฏปิ ทาแนวทางของพระพทุ ธ- องค์ ของพระสงฆ์ ลงจากบ้านมาอยู่กับ ดิน พระพุทธเจ้าก็ลงจากวังมาอยู่กับดิน มาอยกู่ ับป่า เราได้มาอยู่บ้าง เราก็น่าจะ ภมู ใิ จยงิ่ เจอความล�ำบาก เจอฝนบา้ ง ลม บ้าง เจอยุงบ้าง เจอสุนัขบ้าง เจออะไร รบกวนบ้าง ก็ให้คิดว่าน่ีแหละเป็นเครื่อง ฝึก ให้คิดว่าความล�ำบากเท่าน้ีเป็นเพียง เล็กน้อย เม่ือเทียบกับความล�ำบากที่ พระพุทธองคไ์ ดบ้ ำ� เพญ็ เพียรอยู่ในป่า 54 พ ึ ง ต า ม ร ั ก ษ า จ ิ ต ต น

ฉะนน้ั  ใหเ้ ราภมู ใิ จในตวั เองวา่  ชวี ติ เรามีสาระ ก็ขอให้เราได้ตั้งใจพากเพียร ในระหวา่ งทมี่ าเขา้ อบรม กข็ อใหป้ ระพฤติ ปฏิบัติตลอดเวลา พยายามมองภายใน ตัวเอง แม้เราจะต้องพบเห็นสิ่งภายนอก บคุ คลตา่ งๆ เรากพ็ ยายามดกู าย ดใู จของ เราไว ้ เวลาเราเหน็  เวลาเราไดย้ นิ  ใจของ เราเป็นอย่างไร ปฏิกิริยาในใจเราพอใจ หรือไม่พอใจ หรือว่าเฉยๆ เราจะต้อง พยายามฝึกจิตใจของเราด้วยการมีสติ คอยด ู คอยร ู้ รกั ษาจติ ใจของเราอยตู่ ลอด เราก็จะเป็นผู้ที่ได้สั่งสมกุศลบารมีในการ 55เ ข ม รั ง สี ภ ิ ก ขุ

56 พ ึ ง ต า ม ร ั ก ษ า จ ิ ต ต น

มาบวชเพ่ือประพฤตปิ ฏบิ ตั ิธรรม วันน้ีก็ขออนุโมทนาสาธุการใน ความดีที่ท่านท้ังหลายได้มาบ�ำเพ็ญ ขอ ให้อ�ำนาจแห่งคุณของพระพุทธเจ้า พระ ธรรม พระสงฆ ์ จงอภบิ าลรกั ษาใหท้ กุ ทา่ น อยู่ร่มเย็นเป็นสุข แคล้วคลาดปลอดภัย เจริญในธรรมย่ิงขึ้นไป จนเข้าถึงซึ่งความ พ้นทุกข์ คอื พระนิพพานทุกท่าน เทอญ

บกวํ าช หเน นก ดข ัมกม าภ รา วป นฏา ิ  บปั ต ี  ิ ๒ธ ๕ร ร๕ ม๖ ณ วดั มเหยงคณ ์ ต.หันตรา อ.พระนครศรอี ยุธยา จ.พระนครศรอี ยธุ ยา ท่ี วนั ส�ำคัญ พิธี ก�ำหนดวันบวช และลาสิกขา ๑ วันมาฆบูชา บวช  วนั เสารท์ ่ี  ๒๓ ก.พ. ๕๖ (ขน้ึ  ๑๓ คำ�่  เดือน ๓)  ลาสกิ ขา วันองั คารท ่ี ๒๖ ก.พ. ๕๖ (แรม ๑ ค่�ำ เดือน ๓) ๒ วันสงกรานต์ บวช  วนั ศุกร์ท ่ี ๑๒ เม.ย. ๕๖ (ขน้ึ  ๒ คำ่�  เดอื น ๕)  ลาสกิ ขา วันจนั ทร์ท่ ี ๑๕ เม.ย. ๕๖ (ข้นึ  ๕ ค่ำ�  เดอื น ๕) ๓ วนั วิสาขบชู า บวช  วนั พฤหสั บดที  ่ี ๒๓ พ.ค. ๕๖ (ขึ้น ๑๔ ค่�ำ เดอื น ๖)  ลาสกิ ขา วันอาทติ ย์ที ่ ๒๖ พ.ค. ๕๖ (แรม ๒ ค่ำ�  เดือน ๖) ๔ วนั อาสาฬหบชู า  บวช วนั เสาร์ที ่ ๒๐ ก.ค. ๕๖ (ข้ึน ๑๓ คำ่�  เดอื น ๘) - วนั เขา้ พรรษา ลาสกิ ขา วนั อังคารท่ี  ๒๓ ก.ค. ๕๖ (แรม ๑ ค่ำ�  เดอื น ๘) ๕ วันแมแ่ ห่งชาติ บวช  วันเสารท์  ่ี ๑๐ ส.ค. ๕๖ (ขึ้น ๔ คำ่�  เดอื น ๙)  ลาสกิ ขา วันองั คารท ี่ ๑๓ ส.ค. ๕๖ (ขนึ้  ๗ ค�่ำ เดือน ๙)

๖ วันออกพรรษา บวช   วันศกุ ร์ที่  ๑๘ ต.ค. ๕๖ (ขน้ึ  ๑๔ คำ�่  เดอื น ๑๑)  ลาสิกขา วนั จนั ทร์ที ่ ๒๑ ต.ค. ๕๖ (แรม ๒ ค่ำ�  เดอื น ๑๑) ๗ วันพ่อแห่งชาติ บวช   วันอังคารท ่ี ๓ ธ.ค. ๕๖ (ข้ึน ๑ ค�ำ่  เดอื น ๑)  ลาสกิ ขา วนั อาทติ ย์ท่ ี ๘ ธ.ค. ๕๖ (ขน้ึ  ๖ ค�่ำ เดอื น ๑) ๘ วันข้นึ ปใี หม่ บวช   วันเสารท์  ี่ ๒๘ ธ.ค. ๕๖ (ขน้ึ  ๑๑ คำ่�  เดอื น ๑)  ลาสกิ ขา วันพุธท ี่ ๑ ม.ค. ๕๗ (ขึ้น ๑ ค�่ำ เดือน ๒) บวชเนกขัมมภาวนาในชว่ งเทศกาล (วันสำ� คัญของชาติ ศาสนา และวันประเพณีไทย) • พิธีบวช มีวันละ ๓ รอบ คอื ๑. เวลา ๑๒.๐๐ น. (วันแรกเวลา ๑๐.๐๐ น.) ๒. เวลา ๑๖.๐๐ น. ๓. เวลา ๒๑.๐๐ น. [ ผูจ้ ะบวชตอนบา่ ยและค่ำ� ได ้ ต้องไมท่ านอาหาร     ในเวลาวิกาล (เลยเทีย่ งวนั ) ] • พิธลี าสกิ ขา มีวันละ ๑ รอบ คอื  เวลา ๐๖.๐๐ น. • บวชเนกขมั มภาวนาประจำ� วนั  (นอกเทศกาล) บวชได้ทุกวัน   พธิ ีบวชเวลา ๐๙.๐๐ น.

ก�ำหนดการอปุ สมบทหม่พู ระภกิ ษุ ประจำ� ป ี ๒๕๕๖ ณ วัดมเหยงคณ ์ ต. หันตรา อ. พระนครศรอี ยธุ ยา  จ. พระนครศรีอยุธยา ที่ เดือน วันพธิ อี ปุ สมบท เข้าเก็บตวั ปฏบิ ัติ วิปสั สนากรรมฐาน ๑ มกราคม วันอาทติ ย์ที ่ ๒๗ ม.ค. ๕๖ วนั ท่ ี ๒-๙ ก.พ. ๒๕๕๖ ๒ กุมภาพนั ธ์ ๓ มนี าคม วันอาทติ ย์ที ่ ๑๗ ม.ี ค. ๕๖ วันท่ี ๒๓-๓๑ มี.ค. ๒๕๕๖ ๔ เมษายน วันอาทิตยท์ ี่ ๑๔ เม.ย. ๕๖ วนั ท่ ี ๒๐-๒๘ เม.ย.  ๒๕๕๖ ๕ พฤษภาคม วนั อาทติ ยท์ ่ี ๕ พ.ค. ๕๖ วันท ี่ ๑๑-๑๙ พ.ค. ๒๕๕๖ ๖ มถิ นุ ายน วนั อาทิตย์ท่ ี ๑๖ ม.ิ ย. ๕๖ วนั ที่ ๒๒-๓๐ มิ.ย. ๒๕๕๖ ๗ กรกฏาคม วนั อาทิตยท์  ี่ ๑๔ ก.ค. ๕๖  วันท ่ี ๒๒ ก.ค. - ๒๒ ต.ค.  (บวชอยู่จำ� พรรษา ๓ เดอื น) ๒๕๕๖ (๓ เดือน) ๘ สิงหาคม เวน้ ในพรรษา เพราะมบี วช ๓ เดือน ๙ กันยายน เว้นในพรรษา เพราะมบี วช ๓ เดอื น ๑๐ ตลุ าคม เวน้ ในพรรษา เพราะมบี วช ๓ เดือน ๑๑ พฤศจกิ ายน วนั เสารท์ ่ี ๒ พ.ย. ๕๖ วนั ท ่ี ๙-๑๗ พ.ย. ๒๕๕๖ ๑๒ ธนั วาคม วันอาทติ ยท์  ี่ ๘ ธ.ค. ๕๖ วันท่ี ๑๔-๒๒ ธ.ค. ๒๕๕๖

ก�ำหนดการอบรมวปิ สั สนากรรมฐาน ระยะเวลา ๙ วัน ประจ�ำป ี ๒๕๕๖ ณ วัดมเหยงคณ์ ครงั้ ท ี่ ๑ วันเสาร์ที่ ๕   - วนั อาทติ ยท์ ี ่ ๑๓ มกราคม ๒๕๕๖ ครั้งท ่ี ๒ วนั เสาร์ท่ ี ๙   - วันอาทติ ยท์ ี่ ๑๗ กมุ ภาพนั ธ์ ๒๕๕๖ ครั้งที่ ๓ วนั เสาร์ท ่ี ๒๓ -  วันอาทิตย์ท่ ี ๓๑ มนี าคม ๒๕๕๖ ครง้ั ที ่ ๔ วันเสารท์ ี่ ๒๐ -  วนั อาทติ ย์ที่ ๒๘ เมษายน ๒๕๕๖ ครั้งท ่ี ๕ วนั เสารท์  ่ี ๑๑  - วนั อาทิตยท์  ่ี ๑๙ พฤษภาคม ๒๕๕๖ ครงั้ ท ่ี ๖ วนั เสาร์ท ่ี ๒๒ -  วนั อาทติ ย์ท ่ี ๓๐ มิถุนายน ๒๕๕๖ ครง้ั ที่ ๗ วนั เสารท์ ี่ ๖   - วนั อาทติ ย์ท ่ี ๑๔ กรกฎาคม ๒๕๕๖ คร้ังท ่ี ๘ วนั เสาร์ท ่ี ๑๗ -  วนั อาทิตย์ที่ ๒๕ สงิ หาคม ๒๕๕๖ คร้ังท่ี ๙ วันเสาร์ท ่ี ๒๑ - วนั อาทติ ยท์ ี ่ ๒๙ กันยายน ๒๕๕๖ ครัง้ ท ่ี ๑๐ วันเสารท์ ี่ ๕   - วนั อาทิตยท์ ี่ ๑๓ ตุลาคม ๒๕๕๖ ครัง้ ที่ ๑๑ วันเสารท์ ี่ ๙   - วันอาทติ ย์ที่ ๑๗ พฤศจกิ ายน ๒๕๕๖ ครง้ั ที่ ๑๒ วันเสารท์  ่ี ๑๔ - วันอาทติ ย์ที ่ ๒๒ ธันวาคม ๒๕๕๖

•หลกั เกณฑ์การรับสมคั ร รบั สมคั รเฉพาะผมู้ คี วามตงั้ ใจจรงิ ๆ ในการ • จะอบรมเจรญิ สตปิ ญั ญาเทา่ นั้น รบั รนุ่ ละ ๘๐ ทา่ น ทงั้ ชาย-หญงิ  ทง้ั คฤหสั ถ์ และบรรพชติ  (ในรอบ ๖๐ ทา่ น นอกรอบ • ๒๐ ทา่ น)  คร้ังที่ ๑, ๒, ๔, ๕, ๗, ๘, ๑๐, ๑๑, รับ เฉพาะคนใหม่ คือผู้ที่ยังไม่เคยปฏิบัติ วปิ สั สนากรรมฐาน คอรส์  ๗ วนั ขนึ้ ไป ท่ี มพี ระครเู กษมธรรมทตั  เปน็ พระวปิ สั สนา จารย์ ไม่ว่าจะเป็นที่วัดมเหยงคณ์ หรือ • สถานที่อื่นๆ   ครงั้ ท ่ี ๓, ๖, ๙, ๑๒ รบั เฉพาะคนเกา่  คอื ผทู้ เี่ คยผา่ นการเขา้ ปฏบิ ตั วิ ปิ สั สนากรรม- ฐาน คอรส์  ๗ วนั ขน้ึ ไป ณ วดั มเหยงคณ์ หรือสถานที่อ่ืนๆ ท่ีมีพระครูเกษมธรรม- ทตั  เปน็ พระวปิ ัสสนาจารย์

•หมายเหตุ  ไม่เคยเขา้ ปฏบิ ตั วิ ิปสั สนาท่วี ัดมเหยงคณ์ มาก่อน แต่เคยเข้าที่อ่ืนๆ ที่มีพระครู เกษมธรรมทตั  เปน็ พระวปิ สั สนาจารย ์ ก็ • ถอื วา่ เปน็ คนเก่า  สมคั รเขา้ ปฏบิ ตั ไิ ดเ้ พยี งปลี ะ ๑ ครงั้ เทา่ นน้ั ทั้งคนเก่า และคนใหม่ (เพราะมีผู้สนใจ เขา้ ปฏบิ ตั จิ ำ� นวนมาก จำ� เปน็ ตอ้ งแบง่ ปนั • กนั )  ส�ำหรับคนเก่า สามารถสมัครเข้าปฏิบัติ “นอกรอบ” ไดอ้ กี ปลี ะ ๑ ครงั้  และมากกวา่ ๑ ครัง้  ถา้ กฏุ วิ า่ ง

•การสมัคร  ต้องกรอกใบสมัครลว่ งหนา้ ขอรับใบสมัครไดท้ ่วี ัดมเหยงคณ์  (แผนกกรรมฐาน)  e-mail: [email protected] หรอื ท ่ี www.watmahaeyong.net  www.mahaeyong.org •หลักฐาน  สำ� เนาบตั รประชาชน/รปู ถา่ ย สำ� หรบั ตดิ ใบสมคั ร ขนาด ๑ นิ้ว จำ� นวน ๑ รปู •วันเปิดการอบรม  ลงทะเบยี นเขา้ ปฏบิ ัติ  • เวลา ๐๘.๐๐-๐๙.๐๐ น.  พธิ ีเขา้ ปฏิบัตวิ ิปสั สนากรรมฐาน  เวลา ๐๙.๓๐ น.

•วนั ปิดการอบรม  พธิ อี อกกรรมฐาน เวลา ๐๖.๓๐ น. •หมายเหตุ  ผเู้ ขา้ อบรมตอ้ งไปใหท้ นั ในเวลาทกี่ �ำหนด ในวนั เปดิ อบรม และตอ้ งอยปู่ ฏบิ ตั คิ รบถงึ • วันปิดอบรม  เมื่อสมัครเข้าอบรมแล้ว ต้องการยกเลิก ตอ้ งแจง้ ใหท้ างวดั ทราบอยา่ งชา้ กอ่ นกำ� หนด เปิดอบรม ๗ วัน มิฉะนั้นจะถูกตัดสิทธิ์ ในครั้งตอ่ ไป

กำ� หนดการกจิ กรรม ปฏบิ ัติธรรม และงานบุญ ปี ๒๕๕๖ ณ วัดมเหยงคณ์  ต. หนั ตรา อ. พระนครศรอี ยธุ ยา  จ. พระนครศรีอยุธยา ท่ี กิจกรรม ปฏบิ ัตธิ รรม และงานบุญ วัน เดือน ปี ๑ พธิ ีวางศิลาฤกษ์ลงเสาเข็มเอก วันอาทิตยท์ ี่ ๒๔ ก.พ. ๕๖ มหามงคลก่อสรา้ งอุโบสถ พระบรมธาตเุ จดียม์ หาวหิ าร  ๓ สง่ิ สำ� คญั ในหลงั เดยี วกัน คอื   ๑. อุโบสถ ๒. พระบรมธาตเุ จดีย ์ ๓. มหาวิหาร ๒ อปุ สมบทหม ู่ พระภิกษุ ประจำ� ทุกเดือน  (เว้นในพรรษา  เพราะมีบวชอย่ ู ๓ เดือน) ๓ บรรพชาสามเณร ภาคฤดรู อ้ น ๓๑ ม.ี ค.-๑๔ เม.ย. ๕๖ ๔ ปิดวดั  ปฏิบัตกิ รรมฐาน  ๒๕ ก.ค.-๘ ส.ค. ๕๖  (เฉพาะบคุ ลากรของวดั ) (๑๕ วนั ) ๕ ทอดผ้าปา่ ประจำ� ปี วนั อาทิตย์ท่ ี ๑๔ เม.ย. ๕๖ ๖ ทอดกฐนิ สามัคคี วนั อาทติ ยท์ ี ่ ๓ พ.ย. ๕๖ ๗ งานบญุ แทนคณุ แผน่ ดิน  วันอังคารท ี่ ๓ ธ.ค. ๕๖  อุทศิ แด่บรรพชน ๘ ทอดผา้ ป่าสามัคค ี ปใี หม่ วนั พุธท่ ี ๑ ม.ค. ๕๗

แ ผ น ที ่ ว ั ด ม เ ห ย ง ค ณ์ วดั มเหยงคณ์ ต.หันตรา อ.พระนครศรีอยธุ ยา จ.พระนครศรอี ยุธยา โทรศพั ท์ : (๐๓๕) ๘๘๑-๖๐๑-๒ โทรสาร : (๐๓๕) ๘๘๑-๖๐๓, ๘๘๑-๖๐๕ www.mahaeyong.org, www.watmahaeyong.net

ขอเชิญฟังรายการธรรมสปุ ฏปิ นั โน เสยี งธรรมจากวัดมเหยงคณ์ ปรารภธรรมโดย พระครเู กษมธรรมทัต (สรุ ศกั ดิ์ เขมรสํ )ี ทางสถานีวทิ ยทุ หารอากาศ ๐๑ มนี บรุ ี คลน่ื  ๙๔๕ ระบบ AM ทกุ วนั  (เวน้ วนั อาทติ ย)์ วนั จันทร์-วนั เสาร์ เวลา ๐๔.๐๐-๐๕.๐๐ น. วันจนั ทร์-วนั ศกุ ร์ เวลา ๐๖.๐๐-๐๖.๓๐ น. หากประสงค์จะท�ำบญุ สนับสนนุ การใหธ้ รรมเป็นทาน ขอเชญิ ทา่ นอปุ ถมั ภร์ ายการไดต้ ามก�ำลงั ศรทั ธา โดยสง่ เปน็ ธนาณัติ/ตัว๋ แลกเงนิ /เช็คขีดคร่อม ในนามวดั มเหยงคณ์ หรอื โอนเข้าบญั ชธี นาคารกรงุ เทพฯ สาขาตลาดเจา้ พรหม ประเภทสะสมทรพั ย์ ชื่อบญั ชี วดั มเหยงคณ์ บัญชีเลขที่ ๔๗๘-๐-๖๑๖๖๗๐

กิจกรรมของวดั มเหยงคณ์ ๑. จัดอบรมวิปัสสนากรรมฐาน รุ่นระยะเวลา ๙ วัน เป็นประจ�ำทุกๆ เดือน ท้ังบรรพชิต และคฤหัสถ์ รนุ่ ละ ๕๐ ทา่ น ๒. จัดอบรมปฏิบัติธรรม บวชเนกขัมมภาวนา ในวันส�ำคัญชาติ ศาสนา พระมหากษัตริย์ และวันประเพณีไทย ปีละ ๘ ครงั้ ๓. บวชถือศลี  ปฏบิ ัติธรรม เปน็ ประจ�ำทุกวนั ๔. อุปสมบทหม่ ู เพือ่ ปฏบิ ัติธรรมทกุ เดอื น ๕. อบรมปฏบิ ตั ธิ รรมพเิ ศษ ใหก้ บั หนว่ ยงานทงั้ ภาครฐั และเอกชน ทขี่ อเขา้ อบรมเปน็ คณะ ๖. เผยแพรธ่ รรมทางสอื่ วทิ ย ุ โทรทศั น ์ หนงั สอื ซีดี อินเตอร์เนต www.mahaeyong.org และ www.watmahaeyong.net

วดั มเหยงคณ์เพมิ่ ช่องทาง การรับข่าวสารและกิจกรรม ผ่าน Application Mahaeyong ใน iPhone - iPad ไดแ้ ล้ว เพียงพมิ พ์ค�ำว่า mahaeyong ใน App Store แล้วกดโหลด ฟรี (สำ� หรับผูใ้ ช ้ IOS4.3 ข้นึ ไป) และพร้อมเปดิ โอกาสให้ พทุ ธศาสนิกชนทุกทา่ น ไดร้ บั ฟังธรรมบรรยาย และน�ำปฏิบัตกิ รรมฐานได้แลว้ วนั น้ี

การสร้างอุโบสถวัดมเหยงคณ์ เพอื่ เปน็ พทุ ธศาสนสถาน ๓ สง่ิ สำ� คญั ใน อาคารเดียวกนั คือ ส่วนท ี่  ๑  ปีกด้านหนา้ เปน็ ส่วนของอโุ บสถ ประดิษฐานพระพุทธรูปประธาน เพื่อ พระสงฆ์ประกอบสงั ฆกรรม ส่วนที ่  ๒  ส่วนกลางของปราสาท เปน็ พระสถูปเจดีย์ ประดิษฐานพระบรมสารีริกธาตุ สว่ นท่ ี  ๓  ปีกด้านหลัง เป็นสว่ นของมหาวิหาร ประดิษฐานพระพุทธรูปทรงเคร่ืองจักร- พรรดิ์

ความส�ำคญั อุโบสถปราสาทพระบรมธาตุเจดีย์มหา วหิ ารวดั มเหยงคณ ์ นอกจากจกั เปน็ พุทธศาสน สถานประกอบสงั ฆกรรม ประดษิ ฐานพระบรม สารีริกธาตุ และพระพุทธรูปล�้ำค่าควรแก่การ สักการะสุงสุดแล้ว ยังจะเป็นการสืบสานเอก ลกั ษณภ์ มู ปิ ญั ญาทเี่ ปน็ เลศิ อนั เปน็ มรดกทท่ี รง คณุ คา่  ซงึ่ มคี วามงามวจิ ติ รแหง่ สถาปตั ยกรรม ไทยสมัยอยุธยาให้ฟื้นคืนกลับมา เพื่ออนุชน คนรนุ่ หลงั ไดศ้ กึ ษาและรว่ มภาคภมู ใิ จ ในความ เปน็ ไทยทม่ี ศี ลิ ปวฒั นธรรมลำ้� เลศิ  (อรยิ ธรรม) บงั เกดิ พลงั ศกั ดสิ์ ทิ ธเิ์ หนยี่ วนำ� หลอ่ หลอมดวงจติ น�้ำใจ ให้เกิดความรัก ความสามัคคีของชน ในชาติยังความสงบ ร่มเย็น เป็นสุข เจริญ รุ่งเรอื ง สืบไป

ปฏิทนิ 2556 • 2013 Calendar มกราคม January กุมภาพนั ธ์ Febuary มนี าคม March เมษายน April Sอuาn Mจon Tอue Wพed Tพhฤu Fศri Sสat Sอuาn Mจon Tอue Wพed Tพhฤu Fศri Sสat Sอuาn Mจon Tอue Wพed Tพhฤu Fศri Sสat Sอuาn Mจon Tอue Wพed Tพhฤu Fศri Sสat 1 23 45 12 12 34 56 6 7 8 9 10 11 12 12 3 456 7 89 7 8 9 10 11 12 13 13 14 15 16 17 18 19 3 456 7 89 10 11 12 13 14 15 16 14 15 16 17 18 19 20 20 21 22 23 24 25 26 10 11 12 13 14 15 16 17 18 19 20 21 22 23 21 22 23 24 25 26 27 27 28 29 30 31 17 18 19 20 21 22 23 24 25 26 27 28 29 30 28 29 30 24 25 26 27 28 31 พฤษภาคม May มถิ ุนายน June กรกฎาคม July สงิ หาคม August Sอuาn Mจon Tอue Wพed Tพhฤu Fศri Sสat Sอuาn Mจon Tอue Wพed Tพhฤu Fศri Sสat Sอuาn Mจon Tอue Wพed Tพhฤu Fศri Sสat Sอuาn Mจon Tอue Wพed Tพhฤu Fศri Sสat 12 34 1 12 34 56 123 5 6 7 8 9 10 11 2 3456 78 7 8 9 10 11 12 13 4 5 6 7 8 9 10 12 13 14 15 16 17 18 9 10 11 12 13 14 15 14 15 16 17 18 19 20 11 12 13 14 15 16 17 19 20 21 22 23 24 25 16 17 18 19 20 21 22 21 22 23 24 25 26 27 18 19 20 21 22 23 24 26 27 28 29 30 31 23 24 25 26 27 28 29 28 29 30 31 25 26 27 28 29 30 31 30 กันยายน September ตุลาคม October พฤศจกิ ายน November ธันวาคม December Sอuาn Mจon Tอue Wพed Tพhฤu Fศri Sสat Sอuาn Mจon Tอue Wพed Tพhฤu Fศri Sสat Sอuาn Mจon Tอue Wพed Tพhฤu Fศri Sสat Sอuาn Mจon Tอue Wพed Tพhฤu Fศri Sสat 1 23 45 1 2345 6 7 6 7 7 9 10 11 12 12 1 2345 6 7 8 9 10 11 12 13 14 13 14 15 16 17 18 19 3 456 7 89 8 9 10 11 12 13 14 15 16 17 18 19 20 21 20 21 22 23 24 25 26 10 11 12 13 14 15 16 15 16 17 18 19 20 21 22 23 24 25 26 27 28 27 28 29 30 31 17 18 19 20 21 22 23 22 23 24 25 26 27 28 29 30 24 25 26 27 28 29 30 29 30 31

พระพุทธเจา้ ตรัสสอนวา่ ที่อยขู่ องจติ ทีจ่ ะไปสู่ ความสงบระงับแหง่ ทุกข์ กค็ ือ สติปัฏฐาน ๔ www.watmahaeyong.net www.watmahaeyong.org e-mail : [email protected]


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook