Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore พึงตามรักษาจิตตน

พึงตามรักษาจิตตน

Description: พึงตามรักษาจิตตน

Search

Read the Text Version

พงึ ตาจมติรักตษนา เขมรังสี ภิกขุ

พงึ ตามรักษา จิตตน เขมรงั ส ี ภกิ ขุ

พงึ ตามรักษาจิตตน เขมรงั ส ี ภิกขุ พิมพ์ครัง้ ท ี่ ๑  พฤศจกิ ายน ๒๕๕๕   จ�ำนวนพิมพ ์ ๓๕,๐๐๐ เล่ม จัดพมิ พ์โดย วัดมเหยงคณ ์ ต�ำบลหนั ตรา  อ�ำเภอพระนครศรีอยุธยา จงั หวดั พระนครศรีอยุธยา ๑๓๐๐๐ โทรศัพท ์ : (๐๓๕) ๘๘๑-๖๐๑-๒ โทรสาร : (๐๓๕) ๘๘๑-๖๐๓ www.mahaeyong.org,  www.watmahaeyong.net ออกแบบ / จัดทำ� รูปเล่ม / พิสจู นอ์ กั ษร  คณะศษิ ยช์ มรมกัลยาณธรรม พิมพท์ ี่ บรษิ ทั ขุมทองอุตสาหกรรมและการพิมพ ์ จ�ำกัด  โทรศัพท์ ๐-๒๘๘๕-๗๘๗๑-๓

ขอมอบเปน็ ธรรมบรรณาการ แด่ จาก

ทอ่ี ยขู่ องจติ ทหี่ างา่ ย คอื ลมหายใจ เพยี งคอยตามรู้อยู่ หายใจเขา้ หายใจออก ยาวหรอื สัน้ 4 พ ึ ง ต า ม ร ั ก ษ า จ ิ ต ต น

5เ ข ม รั ง สี ภ ิ ก ขุ

นะมัตถุ รัตตะนะตะยัสสะ ขอนอบน้อม แดพ่ ระรตั นตรยั  ขอความผาสกุ ความเจรญิ ในธรรมจงมีแก่ญาติสัมมาปฏิบัติธรรม ท้งั หลาย ตอ่ ไปนกี้ เ็ ปน็ เวลาอนั สมควรทจ่ี ะได้ ปรารภธรรม เราทงั้ หลายมาพรอ้ มเพรยี ง กัน เพ่ือท่ีจะฟังธรรมกันในบรรยากาศท่ี 6 พ ึ ง ต า ม ร ั ก ษ า จ ิ ต ต น

ร่มรื่นท่ามกลางแมกไม้ นั่งอยู่บนพ้ืนดิน ตามโคนไม ้ ธรรมชาตเิ ชน่ นสี้ ปั ปายะเหมาะ ท่ีจะให้เราได้ฟงั ธรรม ได้ปฏิบตั ิธรรม ได้ ปรารภธรรมะในบรรยากาศของผู้มีศีล เชญิ ชวนให้จติ ใจของเราผอ่ งใส การเป็นผู้มีศีล และการประพฤติ พรหมจรรยข์ องเรานจ้ี ะท�ำใหจ้ ติ ใจของเรา สะอาดผอ่ งใส เหมาะทจ่ี ะเปน็ เครอ่ื งรองรบั คณุ ธรรมตา่ งๆ ทจ่ี ะเกดิ ขน้ึ  เสมอื นเสอื้ ผา้ ทไ่ี ดช้ ำ� ระซกั ฟอกใหส้ ะอาดดแี ลว้  พรอ้ มท่ี จะนำ� มาย้อมสีต่างๆ ใหง้ ดงามขนึ้ มา เรา 7เ ข ม รั ง สี ภ ิ ก ขุ

ต่างมาประพฤติพรหมจรรย ์ รักษาศีล มี การส�ำรวมกาย ส�ำรวมวาจา ก็เหลือแต่ ทางใจทเ่ี ราจะมาพฒั นาใหบ้ รสิ ทุ ธบ์ิ รบิ รู ณ์ ด้วยการลดละสละกิเลส เจริญภาวนา อนั จะนำ� จติ ของเราให้พ้นจากทกุ ขไ์ ด้ การท่ีเราเข้ามาวัด หลีกเร้นจาก เรอ่ื งบนั เทงิ ใจทเ่ี รา้ ใจใหล้ มุ่ หลง มาอยกู่ บั สถานทท่ี สี่ ปั ปายะตอ่ การปฏบิ ตั ิ ทำ� ใหจ้ ติ ของเราสงบระงบั  เสมอื นวา่ เราไดม้ าอยใู่ น ถนิ่ ทอี่ ยขู่ องบดิ า คอื ไดท้ ำ� ตามคำ� สอนของ องคส์ มเดจ็ พระสมั มาสมั พทุ ธเจา้  สมเดจ็ 8 พ ึ ง ต า ม ร ั ก ษ า จ ิ ต ต น

พ่อของเรา เหมือนดังท่ีพระองค์ได้ตรัส เลา่ ให้ภกิ ษทุ ง้ั หลายฟัง เรือ่ งนกมูลไถ  มีนกมูลไถตัวหนึ่ง ถูกเหยี่ยวเฉ่ียว เอาไป ในขณะท่ีมันอยู่ในกรงเล็บของ เหย่ียว นกมูลไถก็ร�ำพึงร�ำพันว่า “เป็น เพราะเราอับโชค มาอยู่ในถิ่นของผู้อ่ืน ถ้าเราอยู่ในถิ่นของบิดาของเรา เราจะสู้ เหยี่ยวนีจ้ นเอาชนะได”้ เหย่ียวได้ฟังเจ้านกมูลไถก็คิดว่า เจ้านกนี่อวดดี ตัวมันเล็กนิดเดียว แรงก็ 9เ ข ม รั ง สี ภ ิ ก ขุ

นิดเดียว เหยี่ยวก็เลยถามว่า “ท่ีบอกว่า ถ่นิ ของบดิ านั่นนะ่  ที่ไหนหรือ”  นกมูลไถก็ตอบว่า “ที่ท่ีชาวนาเขา ไถดนิ ไวใ้ หม่ๆ นน่ั แหละถนิ่ บิดาของเรา” “เอา้  ถา้ อยา่ งนน้ั เราจะปลอ่ ยเจา้ ไป” เหยยี่ วกถ็ อื ดเี หมอื นกนั  ถอื วา่ มกี ำ� ลงั มาก จึงคิดสบประมาทว่า เจ้านกมูลไถน้ี มันจะเก่งสักแค่ไหนเชียว เดี๋ยวจะจับกิน ให้ด ู ก็เลยประมาท ปลอ่ ยนกมูลไถไป 10 พ ึ ง ต า ม ร ั ก ษ า จ ิ ต ต น

นกมูลไถก็บินไปสู่ที่นาที่ชาวนาเขา ไถเสร็จใหม่ๆ ซึ่งดินจะเป็นก้อนๆ มันก็ ไปยืนอยู่บนก้อนดิน แล้วร้องท้าเหยี่ยว “มาซิเหยีย่ ว มาสู้กัน” เหยย่ี วกบ็ นิ วนอยบู่ นอากาศ มองดู นกมลู ไถอย ู่ พอไดย้ นิ คำ� ทา้ เหยย่ี วกโ็ กรธ มาก คดิ วา่ ไอน้ กตวั นมี้ นั ตวั นดิ เดยี วยงั จะ มาท้าเรา เหยี่ยวก็บินโฉบลงมาอย่างเร็ว และแรง เอาหัวปักด่ิงลงมาจะเฉ่ียวนก มลู ไถ เจา้ นกมลู ไถคอยทา่ อย ู่ พอไดจ้ งั หวะ เห็นเหย่ียวดิ่งตัวลงมา มันก็ผลุบตัวลงไป 11เ ข ม รั ง สี ภ ิ ก ขุ

หลบซอ่ นอยใู่ ตก้ อ้ นดนิ  เหยยี่ วเบรกไมท่ นั อกจงึ กระแทกก้อนดนิ ส้ินใจตาย พระพทุ ธเจา้ ตรสั เรอื่ งนเี้ ปรยี บเทยี บ ให้ฟังว่า ภิกษุก็เหมือนกัน เมื่อไม่อยู่ใน ถนิ่ ทบ่ี ดิ า (พระองค)์  แนะนำ� ไว ้ ไปอยใู่ น ถ่ินอ่ืนก็จะเป็นอันตราย ที่ใดหรือที่ไม่ใช่ ถน่ิ ของบดิ า กค็ อื การปลอ่ ยจติ ใจไหลออก ไปสอู่ ารมณภ์ ายนอก ปลอ่ ยใหจ้ ติ ใจเลอื่ น ไหลไปในรูปสวย เสียงเพราะ กล่ินหอม รสอรอ่ ย สมั ผสั อนั นา่ ใครน่ า่ ปรารถนา นี่ ไมใ่ ช่ท่ีซ่ึงพระบิดาแนะนำ� 12 พ ึ ง ต า ม ร ั ก ษ า จ ิ ต ต น



ถ้าภิกษุใดขืนปล่อยใจตัวเองออก ไปหารูปสวย หาเสียงไพเราะ กลิ่นหอม รสอรอ่ ย สมั ผสั เครอื่ งปรนเปรอทางรา่ งกาย ก็ย่อมจะต้องตกอยู่ในเง้ือมมือของมาร มารกไ็ ด้ชอ่ งไดโ้ อกาสเลน่ งานภกิ ษนุ ัน้ จน อาจถึงกับเสียชีวิตก็ได้ นั่นคือตายจาก ความเป็นสมณะ ต้องลาสิกขาออกไป หรอื ไมก่ ต็ อ้ งอาบตั  ิ อาบตั ใิ หญ ่ อาบตั นิ อ้ ย มีความเศร้าหมองหรือเดือดร้อนใจ เมื่อ ใจไปเกาะเกย่ี วยนิ ดอี ยกู่ บั กามคณุ อารมณ์ จิตใจก็จะเป็นทุกข์เร่าร้อน หาความสุข สงบไม่ได้ 14 พ ึ ง ต า ม ร ั ก ษ า จ ิ ต ต น

ดังเรื่องของภิกษุรูปหนึ่งในสมัย พุทธกาล ซ่ึงท่านได้ยินค�ำเล่าลือถึงความ งามของนางสริ มิ าวา่ เปน็ คนสวยมากกอ็ ยาก เห็น นางสิริมาเป็นหญิงงามเมือง (หญิง โสเภณ)ี  ในสมยั นน้ั คนทจ่ี ะไดร้ บั คดั เลอื ก ใหเ้ ปน็ หญงิ งามเมอื งนต่ี อ้ งเปน็ หญงิ ทส่ี วย งามมาก ปรากฏว่านางสิริมาน้ี ภายหลัง นางมีศรัทธาเล่ือมใสในพุทธศาสนาและ ยังบรรลุธรรมเป็นโสดาบันด้วย นางได้ นมิ นต์พระไปรบั บาตรท่ีบา้ นนางทุกวันๆ 15เ ข ม รั ง สี ภ ิ ก ขุ

เมื่อถึงวาระ ภิกษุหนุ่มรูปน้ีก็ตั้งใจ รอจะไปรบั บาตรทบี่ า้ นของนางสริ มิ า เตรยี ม ตัวตั้งแต่วันก่อน พอถึงเวลารุ่งอรุณก็รีบ ไปรบั บาตร เผอญิ วนั นน้ั นางปว่ ย ลงมาเอง ไม่ได้ ได้ให้คนรับใช้ลงมาใส่บาตรแทน ภกิ ษรุ ปู นน้ั อยากเหน็ นางจงึ เงยหนา้ ขนึ้ ไป มองบนบา้ น เรยี กไดว้ า่ ภกิ ษนุ ไี้ มอ่ ยใู่ นถน่ิ ทอ่ี ยขู่ องบดิ า ไมส่ ำ� รวมตามองลงในบาตร เหลือบไปมองในที่ไม่ใช่ถิ่นของบิดา พอดี นางสริ มิ าลกุ จากทน่ี อนไมไ่ ดส้ ำ� รวมเสอ้ื ผา้ ไปท่ีหนา้ ต่างเพอื่ มองดคู นรับใช้ใส่บาตร 16 พ ึ ง ต า ม ร ั ก ษ า จ ิ ต ต น

ภิกษุรูปน้ันมองเห็นนางแล้วก็เกิด ปฏิพัทธ์เกิดความรักใคร่ในนาง ร�ำพึงว่า โอ!้  นขี่ นาดปว่ ยยงั สวยขนาดน ี้ กลบั มาถงึ วัด ภิกษุน้ันก็ตรอมใจ ฉันข้าวไม่ลง ปิด ฝาบาตรแล้วก็นอนคลุมโปงอยู่อย่างน้ัน อาหารมื้อน้ันค้างบูดอยู่ในบาตร บาตรก็ ไมไ่ ดล้ า้ ง นอนซมอย ู่ เพอ่ื นภกิ ษจุ ะมาคยุ ด้วยก็ไม่คุย นี่แหละ คนเราพอตกอยู่ใน อารมณ์รัก ก็ปล่อยจิตใจให้จ่อมจมอยู่ใน กองทกุ ข์ 17เ ข ม รั ง สี ภ ิ ก ขุ

ต่อมาปรากฏว่านางสิริมาซ่ึงป่วย หนกั ไดเ้ สยี ชวี ติ  ในสมยั นน้ั เขากจ็ ะนำ� ศพ ไปเผาทป่ี า่ ชา้  พระพทุ ธเจา้ ทรงทราบเรอ่ื ง ภิกษุรูปน้ีด้วยพระญาณก็ขอให้เก็บศพไว้ สักสามวันก่อนจึงค่อยเผา พอได้สามวัน แล้วพระพุทธเจ้าจึงให้ประกาศท่ัวเมือง รวมทั้งภิกษุในวัดด้วยว่าใครอยากจะไป ชมนางสิริมาก็ให้ตามพระองค์ไปที่ป่าช้า ภิกษุหนุ่มที่นอนซมอยู่ก็ลุกขึ้นได้อย่างมี กำ� ลงั  เพราะอยากจะเห็นนางสริ ิมา  18 พ ึ ง ต า ม ร ั ก ษ า จ ิ ต ต น

ในปา่ ช้าน้ันเตม็ ไปด้วยผคู้ น ก็มีทั้ง พระราชา ประชาชน และภกิ ษสุ งฆ ์ ตา่ งก็ ไปรายลอ้ มศพนางสริ มิ า นางตายมาสามวนั แล้ว ก็ข้ึนอืดน้�ำเลือดน้�ำหนองไหลออก จากปาก มหี นอนชอนไชสง่ กลนิ่ เนา่ เหมน็ พระพุทธเจ้าได้ตรัสถามในท่ีชุมนุมน้ันว่า นางสิริมาน้ีปกติค่าตัวเท่าไร มีผู้ทูลว่า หนง่ึ พนั กหาปณะ ใครจะเชยชมนางสริ มิ า ต้องจ่ายถึงหน่ึงพันกหาปณะ ซ่ึงในสมัย นนั้ ถือวา่ แพงมาก 19เ ข ม รั ง สี ภ ิ ก ขุ

พระองค์ก็ให้ประกาศว่าใครจะรับ นางสิริมาไปด้วยเงินหน่ึงพันกหาปณะ เงียบ ไม่มีใครเอา ก็ลดราคาลงมา จาก หนง่ึ พนั เหลอื หา้ รอ้ ยกเ็ งยี บ สองรอ้ ยหา้ สบิ ลดลงมาเหลือหน่ึงร้อย เหลือห้าสิบ จน ลดลงมาเหลอื หนง่ึ กหาปณะกไ็ มม่ ใี ครเอา ในทส่ี ุด กระทั่งให้ฟรๆี  ก็ยงั ไมม่ ีใครเอา จากนนั้ พระพทุ ธองคไ์ ดแ้ สดงธรรม โปรดพทุ ธบรษิ ทั แลว้ ตรสั วา่  “ดกู อ่ นภกิ ษ ุ ทง้ั หลาย เธอจงมองดมู าตคุ ามผนู้  ี้ นางเปน็   ท่ีพึงพอใจของชนท้ังหลาย เม่ือต้องการ  20 พ ึ ง ต า ม ร ั ก ษ า จ ิ ต ต น

อภิรมย์กับนางเพียงคืนเดียว ต้องยอม  จา่ ยดว้ ยทรพั ยถ์ งึ หนงึ่ พนั กหาปณะ แตม่ า  บดั นแี้ มจ้ ะยกใหเ้ ปลา่ ๆ กไ็ มม่ ผี ใู้ ดตอ้ งการ  ดเู ถดิ ภกิ ษทุ ง้ั หลาย กายนมี้ คี วามเสอ่ื มไป  ส้ินไปเป็นธรรมดา เธอท้ังหลายจงแลด ู อตั ภาพอันอาดรู น”้ี ดงั นแี้ ลว้ ตรสั วา่  “ความตง้ั อยยู่ งั่ ยนื   ของรา่ งกายใดไมม่  ี ขอทา่ นจงดกู ายน ี้ ซง่ึ   กรรมทำ� ใหว้ จิ ติ รแลว้  มแี ผลอยเู่ ปน็ ประจำ�   มกี ระดกู เปน็ โครง นา่ เบอื่ หนา่ ย แตเ่ ปน็   ท่ีร�ำพึงถึงของหมู่ชน” ทรงชี้ให้เห็นถึง 21เ ข ม รั ง สี ภ ิ ก ขุ

ความไม่สวยไม่งามของสังขาร ของสรีระ รา่ งกายนวี้ า่ ไมไ่ ดเ้ ปน็ ของสวยงาม แตเ่ มอ่ื มองภายนอกกด็ วู า่ สวยงามเพราะมผี วิ หนงั ปกปิดไว้ คนที่ไม่พิจารณาให้แยบคาย ก็เห็นว่าเป็นของงาม แต่ท่ีจริงแล้วมีสิ่ง ปฏกิ ลู ไหลออก แม้ตอนยังมีชีวิตอยู่ก็ยังมีส่ิงปฏิกูล ไหลออกจากทวารท้ัง ๙ ทางตา ทางหู ทางจมูก ทางปาก ทางทวารหนัก ทวาร เบา ทางรขู ุมขนก็มไี หลออกมาอีก แสดง ว่าภายในร่างกายน้ีเต็มไปด้วยของเสีย 22 พ ึ ง ต า ม ร ั ก ษ า จ ิ ต ต น

พิจารณาว่าที่เราน่ังกันอยู่น่ี ก็น่ังพยุงเอา ไส้ขดอยู่ในท้อง ซ่ึงมีอุจจาระ กินอาหาร ใหม่เข้าไปก็กลายเป็นอาหารเก่า แล้ว กลายเปน็ อุจจาระ ยังมีปัสสาวะ มีน�้ำเหลือง มีเลือด หัวใจ ตับ ปอด ฟอนเฟะกันอยู่อย่างนี้ นี่ขนาดว่าในขณะท่ีมีชีวิตอยู่นี่ก็ยังเป็น ของปฏกิ ลู  ลองนกึ ดวู า่ ถา้ ถลกหนงั ออกไป แลว้ จะเปน็ อยา่ งไร คนเราแลดวู า่ งามกแ็ ค่ หนังก�ำพร้าปิดไว้ ถ้าขูดเอาหนังมารวมๆ กันแล้วก็คงจะเท่ากับเม็ดพุทรา มีความ 23เ ข ม รั ง สี ภ ิ ก ขุ

สวยอยู่แค่น้ัน ขูดแค่หนังก�ำพร้าออกก็ ไม่งามแล้ว คราวนถี้ า้ เราพจิ ารณาใหท้ ะลเุ ขา้ ไป ถงึ ขา้ งใน กจ็ ะเหน็ ความไมง่ ามของสงั ขาร ตวั เราเองกม็ คี วามสกปรก มคี วามไมง่ าม ของคนอน่ื ก็เหมือนกนั  นอกจากน้ยี ังเปน็ รงั แหง่ โรคภยั สารพดั อยา่ ง เฉพาะตวั ของ สงั ขารเอง กเ็ สอื่ มชรา ทรดุ โทรมลงเรอื่ ยๆ ถ้าเราพิจารณาโดยแยบคายว่าเป็นของ ไม่งาม ก็เรียกว่าโยนิโสมนสิการ ถ้าเรา พิจารณาไปในทางว่างาม ว่าสวย ก็เป็น 24 พ ึ ง ต า ม ร ั ก ษ า จ ิ ต ต น

อโยนิโสมนสิการ เป็นการพิจารณาโดย ไม่แยบคาย ไม่ตรงกับสภาพตามความ เป็นจริง หากไม่มองให้ลึกซึ้งก็จะเกิด ราคะ เกิดความก�ำหนัดยนิ ดใี นทางเพศ ดงั นนั้ พระพทุ ธเจา้ ทรงสอนใหพ้ จิ ารณา ให้แยบคาย พิจารณาย้�ำถึงความไม่งาม การพจิ ารณาอยา่ งนเี้ ปน็ สง่ิ ทส่ี มควร ซงึ่ เรา อาจจะไม่ค่อยอยากคิดพิจารณา ไม่ชอบ ในอารมณ์ท่ีมันไม่งาม แต่ท่ีจริงมันเป็น อุบาย เป็นค�ำสอนของพระพุทธเจ้าให้ พิจารณา เพ่อื ท่จี ะขม่ ระงับกิเลสราคะ 25เ ข ม รั ง สี ภ ิ ก ขุ

26 พ ึ ง ต า ม ร ั ก ษ า จ ิ ต ต น

ส่วนการเพ่งมองไปในความงาม ไม่ใช่ท่ีอยู่ของบิดา เหมือนอย่างภิกษุรูป นั้นไม่ส�ำรวม จึงต้องถูกศรเสียดแทงใจ เป็นทุกข ์ แต่ด้วยพระมหากรุณาของพระ พุทธเจ้าทรงชี้แนะให้พิจารณา จึงหมด ความหลงใหล การแสดงธรรมของพระ พุทธเจ้าในครง้ั น้นั  ทำ� ใหม้ หาชนทงั้ หลาย ได้บรรลุธรรมเป็นอริยบุคคล แม้ภิกษุ รูปท่ีหลงใหลในตัวนางสิริมาก็ได้บรรลุ โสดาปตั ตผิ ลด้วย 27เ ข ม รั ง สี ภ ิ ก ขุ

เพราะฉะนั้น การท่ีเราได้หลีกเร้น กันมาอยู่วัดก็เรียกว่าเรามาอยู่ในถ่ินบิดา ของเรา พระพทุ ธเจา้ ตรสั สอนวา่ ทอี่ ยขู่ อง จิตที่จะเป็นไปสู่ความสงบระงับแห่งความ ทุกข์ ก็คือสติปัฏฐาน ๔ นี้เป็นท่ีอยู่ของ บิดาที่จะต้องปฏิบัติตาม โดยพยายามมี สตริ กั ษาจิตใหอ้ ยู่ในอารมณก์ รรมฐาน พึงตามระลึกพิจารณากายในกาย  อยู่เสมอ ตามระลึกพิจารณาเวทนาใน  เวทนาอยู่เสมอ ตามระลึกรู้จิตในจิตอยู่ เสมอ ตามระลึกรู้ธรรมในธรรมอยู่เสมอ 28 พ ึ ง ต า ม ร ั ก ษ า จ ิ ต ต น

น้ีเป็นค�ำสอนของพระพุทธเจ้าที่สอนด้วย พระมหากรณุ าจติ ถ้าเราส่งจิตของเรามาอยู่กับสิ่ง เหล่าน ้ี เรากจ็ ะมีความสงบระงบั ทจ่ี ะเปน็ ทางให้เกิดความรู้แจ้งเห็นจริง อันจะเป็น ไปเพอื่ ความดบั ทกุ ข์ โดยตอ้ งอาศยั ความ เพยี รประคองตงั้ จติ ไว ้ มสี ตสิ มั ปชญั ญะใน การระลึกรู้กายในกายอยู่เนืองๆ อะไรคอื กายในกาย อตั ภาพสงั ขาร รา่ งกายน ี้ ประกอบดว้ ยสว่ นตา่ งๆ ประชมุ 29เ ข ม รั ง สี ภ ิ ก ขุ

กันอยู่เป็นอวัยวะต่างๆ ก็พิจารณาเข้ามา ในกายนี้ เหมือนเรามีของในตะกร้า เรา ก็พิจารณาดูว่าในตะกร้ามีอะไรอยู่บ้าง กายน้ีก็เหมือนกัน การพิจารณาถึงความ ไม่สวยไม่งามนี้ก็เป็นการพิจารณากาย ในกาย พจิ ารณาผมบา้ ง ขนบา้ ง เลบ็ บา้ ง ฟนั บา้ ง หนงั บา้ ง เนอื้ บา้ ง เปน็ ของปฏกิ ลู ในหนังเข้าไปก็มีเนื้อ มีเอ็นมีกระดูกอยู่ ภายใน กระดกู กต็ อ่ กนั เปน็ ชน้ิ ๆ กะโหลก ศีรษะ ตาท่ีโบ๋ลงไป จมูกที่โหว่มันมีหนัง หุ้มอยู่ ท่ีจริงกะโหลกข้างในกลวงมีมัน สมอง มีกระดูกต่อเป็นข้อๆ เป็นกระดูก 30 พ ึ ง ต า ม ร ั ก ษ า จ ิ ต ต น

สนั หลงั  กระดกู ซโี่ ครง กระดกู แขน กระดกู มือ กระดูกนิ้ว กระดูกขา ที่นั่งอยู่น่ีก็ พยงุ เอาโครงกระดกู ไว ้ พจิ ารณาไปอยา่ งนี้ เรยี กว่า “พจิ ารณากายในกาย” ร่างกายประกอบด้วยอาการ ๓๒ มผี ม ขน เลบ็  ฟนั  หนงั  เนอื้ เอน็  กระดกู อวยั วะภายในตา่ งๆ เชน่ ปอด ปอดกส็ บู ลม เข้าคายลมออกซักฟอกโลหิต ฟอนเฟะ ไปด้วยโลหิต โลหิตก็มีกล่ินคาว หัวใจก็ สูบฉีดโลหิต ท�ำงานกันอย่างไม่หยุดย้ัง ไม่เคยได้พักผ่อนเลยนะ เป็นเคร่ืองจักร 31เ ข ม รั ง สี ภ ิ ก ขุ

ทที่ ำ� งานตลอดเวลา ถา้ หยดุ เมอ่ื ไหร ่ กต็ าย หลบั แลว้ กย็ งั ตอ้ งทำ� งานอย ู่ ปอดกด็  ี หวั ใจ ก็ดี เลือดก็ดี ต้องไหลเวียนกันอยู่ตลอด แล้วกเ็ ปน็ ของเปราะบาง เปน็ เนอื้ ออ่ นๆ ที่ เสื่อมทรุดง่าย พิจารณาอย่างน้ีเรียกว่า “เหน็ กายในกาย” หรือแม้แต่พิจารณาอิริยาบถใหญ่ บา้ งเลก็ บา้ งกเ็ ปน็ การพจิ ารณากายในกาย อย ู่ กายนย้ี นื มสี ตริ ะลกึ รทู้ ก่ี าย เวลากาย ยืนเป็นอย่างไร จิตมาเกาะไว้ในถิ่นท่ีอยู่ ของบดิ า ถา้ เราเอาจติ ของเราอยกู่ บั อารมณ์ 32 พ ึ ง ต า ม ร ั ก ษ า จ ิ ต ต น

เหล่าน้ีถือว่าเราอยู่ในถ่ินของบิดา อยู่ ในอารมณก์ รรมฐานตามค�ำสอนของพทุ ธ บดิ าทตี่ รสั สอนไว ้ ยอ่ มจะเปน็ ไปเพอื่ ความ ดบั ทกุ ข์ ขอให้ต้ังสติตามรู้กาย น่ังอยู่ก็ให้ รู้ตัวว่าน่ัง ยืนก็ระลึกรู้กายอยู่ว่าขณะนี้ กายก�ำลังยืนอยู่ เดินก็ให้มีสติระลึกรู้ กายท่ีก�ำลังเดิน ก้าวไป...รู้ ก้าวไป...รู้ เคลื่อนไหวไป...รู้ นอนก็มีสติระลึกรู้อยู่ ที่กายที่ก�ำลังนอน จิตมาเกาะไว้ท่ีกายน่ี ก็จะท้ิงอารมณ์ภายนอกเพราะจิตมีที่อยู่ 33เ ข ม รั ง สี ภ ิ ก ขุ

เอาจิตมาอยู่กับอารมณ์กรรมฐาน จิตจะ มีความสงบ มีความสุข มีปีติ เบากาย เบาใจ ถ้าจิตไม่มีท่ีเกาะ ไม่มีท่ีอยู่ จิต ก็จะแล่นไปหลุดลอยไป ไหลไปเร่ืองอดีต อนาคต ไปเรอ่ื งลกู หลาน เรอ่ื งสาม ี ภรรยา เรอ่ื งงาน เรอ่ื งคนนนู้ ดา่ เรา คนนนั้ โกงเรา อะไรไปเรอื่ ยอยา่ งนนั้  แลว้ กท็ กุ ขเ์ ศรา้ หมอง เรียกว่าไม่อยู่ในถ่ินของบิดา แล่นไปสู่ อารมณ์ต่างๆ เหล่านั้น ส่งใจออกนอก กต็ อ้ งคอยระลกึ ส�ำรวมกลบั เขา้ มาหากาย 34 พ ึ ง ต า ม ร ั ก ษ า จ ิ ต ต น

นง่ั ใหร้ ตู้ วั วา่ นง่ั  ตง้ั สตไิ ว ้ จติ มาเกาะ เอาไวท้ ก่ี าย หมน่ั ระลกึ รทู้ ก่ี ายนเี้ ปน็ กรรม ฐาน (กายานปุ สั สนาสตปิ ฏั ฐาน) ครน้ั เมอื่ มอี ริ ยิ าบถยอ่ ยกร็ ะลกึ รสู้ กึ ไปดว้ ย ทำ� ความ รสู้ กึ ตวั ในอริ ยิ าบถยอ่ ย มกี ารขยบั มอื กใ็ ห้ รู้สึกว่ามือขยับไป มีการเหยียดแขนออก ยกแขนขน้ึ มา กม้ บา้ ง เงยบา้ ง เหลยี วไป กใ็ หร้ สู้ กึ ตวั วา่ ก�ำลงั เหลยี วอยู่ กำ� ลงั เออื้ ม มือไป ก�ำลังจับขยับเขยื้อนก็ให้รู้สึกตัวว่า กำ� ลงั ขยบั เขยอื้ น นเ่ี อากายเปน็ ทต่ี ง้ั ของสติ อย่างนี้ก็ช่วยให้เกิดความสงบ มีปัญญา ตามมาได้ 35เ ข ม รั ง สี ภ ิ ก ขุ

แม้แต่ก�ำลังทานอาหาร เวลาเค้ียว กใ็ หม้ สี ตริ กู้ บั การเคยี้ ว การเคยี้ วไปเคย้ี วมา ล้ินตลบไปตลบมา ขากรรไกรเคลื่อนไหว แล้วกลืนลงไป เวลากลืนก็รู้สึกถึงการ บบี รดั อาหารของกลา้ มเนอ้ื คอลงไป เวลา ด่ืมก็ให้มีสติ น่ีปฏิบัติในขณะทานอาหาร ได้ หรอื แมเ้ วลาทอี่ าบนำ้�  ขนั ไปตกั  ยก มาราด หรอื วา่ นำ�้ ไหลมาถกู กาย กายขยบั เขยื้อน ถูตัวเคล่ือนไหว หัดรู้สึกตัวใน ขณะนนั้  แมน้ งุ่ หม่ เสอื้ ผา้ กร็ สู้ กึ ตวั  ในขณะ 36 พ ึ ง ต า ม ร ั ก ษ า จ ิ ต ต น

ถ่ายอุจจาระปัสสาวะ พระพุทธเจ้าก็ทรง สอนให้มีสติ “อุจจาระปัสสาวะ กัมเม  สัมปะชานะการี โหติ พึงท�ำความรู้ตัว ในขณะถ่ายอุจจาระปัสสาวะ” เรียกว่า ทุกขณะปฏิบัติได้หมด เจริญสติไว้เสมอ ให้จิตเกาะอยู่กับกายรู้ตัวทั่วพร้อมอยู่น่ีก็ คอื กายานปุ สั สนาสตปิ ฏั ฐาน กายสว่ นยอ่ ย กายค้เู หยยี ด เคลอ่ื นไหว กม้ เงย เหลียว ซา้ ยแลขวา เดนิ หนา้ ถอยหลงั  กระพรบิ ตา อ้าปาก กลืนน้�ำลาย ขยับเขยื้อนอยู่นี่ให้ ร้สู ึกตัว 37เ ข ม รั ง สี ภ ิ ก ขุ

หรือแม้แต่การหายใจเข้าหายใจ ออกกเ็ ปน็ กาย เรยี กวา่  กายสงั ขาร สิ่งที่ ปรุงแต่งกายนี้ กายนี้ด�ำรงอยู่ได้ก็ต้องมี ลมหายใจปรงุ อย ู่ ถา้ ไมม่ ลี มหายใจเขา้ ออก กส็ ิ้นชวี ติ   ลมหายใจเข้าออกน้ีต้องมีอยู่ตลอด เวลา จึงเอาลมหายใจน่ีแหละมาเป็นที่ต้ัง มาเป็นที่เกาะของจิตได้ เพราะว่ามัน เปล่ียนแปลงอยู่ มีหายใจเข้าแล้วหายใจ ออก มันไม่ได้อยู่นิ่ง จิตบางทีถ้ามันไป อยู่กับอะไรนิ่งๆ มันไม่อยู่ มันหนีไปสู่ 38 พ ึ ง ต า ม ร ั ก ษ า จ ิ ต ต น

39เ ข ม รั ง สี ภ ิ ก ขุ

อารมณ์ภายนอก แต่ถ้ามีอารมณ์อันใด ที่มันเปล่ียนแปลงให้ดูไว้อยู่ จิตจะได้มีที่ เกาะ หายใจเขา้ กร็  ู้ หายใจออกกร็  ู้ บางครง้ั ลมหายใจกย็ าว เมอ่ื เราหายใจออกยาวก็  รชู้ ดั วา่ เราหายใจออกยาว เมอ่ื เราหายใจ  เข้ายาวกร็ ู้ชดั วา่ เราหายใจเข้ายาว  เม่ือจิตมีท่ีเกาะอยู่ก็จะเกิดสมาธิ บางครง้ั ลมหายใจกส็ น้ั  เมอื่ ลมหายใจออก  สนั้ กใ็ หร้ ชู้ ดั วา่ เราหายใจออกสนั้  เมอ่ื ลม  หายใจเขา้ สนั้ กใ็ หร้ ชู้ ดั วา่ เราหายใจเขา้ สนั้ ประคองตง้ั จติ ไวอ้ ยกู่ บั ลมหายใจจติ จะเปน็ 40 พ ึ ง ต า ม ร ั ก ษ า จ ิ ต ต น

สมาธิ โดยเฉพาะการก�ำหนดลมหายใจ จะท�ำให้เกิดความสงบระงับท้ังกายทั้งใจ ทำ� ใหเ้ กดิ ความผาสกุ ทางกายทางใจ จติ จะ เกิดปีติ เกิดความสุขกายก็จะผ่อนคลาย หายปวด หายเจ็บ หายเม่อื ย เมื่อดูลมหายใจ จนกระท่ังจิตเป็น สมาธิ บางทีโรคภัยไข้เจ็บบางโรคก็อาจ หายไปได ้ ดว้ ยอำ� นาจของสมาธ ิ อำ� นาจของ ปตี  ิ ซงึ่ ทำ� ใหก้ ายเบา ใจเบา จติ ทมี่ สี มาธนิ ี่ ใจจะเบา กายจะเบา การดูลมหายใจนี่ เปน็ สงิ่ ทเี่ ราไมต่ อ้ งไปแสวงหาทไ่ี หน อยทู่ ่ี 41เ ข ม รั ง สี ภ ิ ก ขุ

ตัวของเราเอง ท�ำได้ทุกขณะ ทอี่ ยขู่ องจติ ทหี่ าไดง้ า่ ย คอื ลมหายใจ เพยี งคอยตามรอู้ ย ู่ หายใจเขา้  หายใจออก ยาวหรือสั้น พงึ ศกึ ษาวา่  เราจกั เปน็ ผกู้ ำ� หนดร ู้ ตลอดกองลมหายใจทงั้ ปวง หายใจออก  พึงศึกษาว่า เราจักเป็นผู้ก�ำหนด  รตู้ ลอดกองลมหายใจทงั้ ปวง หายใจเขา้ 42 พ ึ ง ต า ม ร ั ก ษ า จ ิ ต ต น

ให้เราฝึกดูลมหายใจไปเรื่อยๆ ก็ จะรู้ท่ัวถึงกายทั้งหมด ศึกษา ส�ำเหนียก ฝกึ หดั  ไมเ่ ชน่ นนั้ บางทมี นั กไ็ ปจมจอ่ มอยู่ กบั อารมณเ์ ดยี ว ไมข่ ยายการรบั ร ู้ กฝ็ กึ หดั ให้มันรู้ทั่วกาย ก�ำหนดรู้ตลอดกองลม หายใจเขา้  กองลมหายใจออก และตลอด ท่ัวกายท้ังหมด จิตมันจะแผ่ขยายความ รู้สึกได้ท่ัวถึงกายทั้งหมด แล้วก็ยังรู้ลม หายใจเขา้ ลมหายใจออกอย ู่ พงึ ศกึ ษาวา่ เราจกั ระงบั กายสงั ขาร  หายใจออก 43เ ข ม รั ง สี ภ ิ ก ขุ

พงึ ศกึ ษาวา่ เราจกั ระงบั กายสงั ขาร   หายใจเข้า ถ้าเรารู้จักปรับผ่อนให้ดีมันจะนุ่ม นวลมันจะเบาจะละเอียดอ่อน เช่น ถ้า เราหายใจเข้าก็รู้จัก ค่อยๆ หายใจเข้าไป จนสดุ  หายใจออกก็คอ่ ยๆ ออก ผ่อนลม เข้า ผ่อนลมออก จะท�ำให้ลมนี้ละเอียด นมุ่ นวล ในการหายใจ เรยี กวา่ ผอ่ นระงบั ลมหายใจเขา้ -ลมหายใจออก 44 พ ึ ง ต า ม ร ั ก ษ า จ ิ ต ต น

ถ้าเราหายใจฟืดฟาดรุนแรงนี่ลมก็ จะหยาบ ดไี มด่ กี แ็ นน่  ดลู มหายใจไปนานๆ ถ้าไม่ละเอียดมันจะเสียดแทง เสียดแทง หนา้ อก แนน่ ตงึ  บางทกี เ็ จบ็ หนา้ อก แตถ่ า้ ลมมันละเอียดแล้วนี่ มันจะไม่เสียดแทง ฉะน้ันจะให้ลมละเอียดได้ก็ต้องคอยผ่อน ระงับให้ดี หายใจเข้าออกยังไงให้นุ่มนวล ละเอียดอ่อน ในท่ีสุดลมน้ีมันก็ละเอียด เขา้ ๆ เหมอื นไมห่ ายใจ แตท่ จี่ รงิ กย็ งั หายใจ อยู่ 45เ ข ม รั ง สี ภ ิ ก ขุ



ในสมาธริ ะดบั ตน้ ๆ ยงั หายใจอย ู่ ที่ จะไมห่ ายใจกค็ อื ระดบั ฌาน ๔ แตไ่ มต่ าย นะ พวกเราน่ีพอรู้สึกเหมือนว่าไม่หายใจ กม็ ักจะกลวั ตาย ตน่ื เตน้  ทำ� ใหเ้ สียสมาธิ ต่อไปนี้ต้องไม่กลัว ให้รู้ว่าแนวทางของ การดูลมหายใจมันจะต้องเป็นอย่างนั้น คือลมมันจะต้องเบาลงๆ น้อยลงๆ จน กระทั่งเหมือนไม่หายใจก็ดูต่อไปเร่ือยๆ ลมมนั จะนง่ิ กน็ ่ิง มนั ไม่ตายหรอก พอถึง ระดบั นส้ี ภาพจติ มนั กจ็ ะดงี าม มนั กจ็ ะไม่ ฟุ้งซ่าน จะไม่ร้อนใจ เบาใจเบากาย เกิด ปตี  ิ อมิ่ เอบิ ใจ เยน็ ใจโปรง่ โลง่ ใจ สขุ มากๆ 47เ ข ม รั ง สี ภ ิ ก ขุ

ก็เย็นกายไปด้วย แต่แล้วพอปีติมากเกิน ไปก็ตอ้ งระงบั เหมือนกัน บางคนปีติล้นใจโลดโผน บางคน มีอาการเหมือนอยากจะวิ่งออกไปถนน ฉะนนั้ ทง้ั ๆ ทมี่ นั มคี วามสขุ  หากมนั ลน้ มาก ก็ต้องมีการระงับ ควบคุมให้อยู่ในความ เหมาะสมพอสมควร ก็ต้องก�ำหนดดูที่ จิต ปีติสุขกถ็ ือว่าเปน็ เวทนา เป็นโสมนัส เวทนา เปน็ สขุ เวทนาทเ่ี กดิ ขนึ้  ขณะกำ� หนด ดูเวทนาก็เรียกว่าเป็นการเจริญเวทนานุ-  ปัสสนาสติปัฏฐาน ก�ำหนดดูกายไปเกิด 48 พ ึ ง ต า ม ร ั ก ษ า จ ิ ต ต น

ความสงบ มปี ตี  ิ กำ� หนดดปู ตี  ิ มคี วามสขุ กำ� หนดรคู้ วามสขุ  จติ กำ� หนดรจู้ ติ  กำ� หนด สภาพธรรมต่างๆ ท่เี กดิ กับจิตใจ จิตที่มันมีสติมีสัมปชัญญะมีความ เพยี ร มปี ญั ญาเกดิ ขนึ้  พจิ ารณาธรรม เหน็ ธรรม เห็นสภาวธรรม พิจารณาธรรมท้ัง หลายให้เห็นความเกิดขึ้น ความเสื่อมไป ความดับไป ความบังคับบัญชาไม่ได้ คือ ทุกแนวทาง ในท่ีสุดแล้วต้องไปสูก่ ารเห็น ไตรลักษณ์ เข้าถึงวิปัสสนาแล้วต้องเห็น ไตรลกั ษณ ์ เหน็ ลกั ษณะ ๓ ประการกค็ อื 49เ ข ม รั ง สี ภ ิ ก ขุ


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook