92 การเมอื ง - การเลอื กต้งั ไทยและประเทศในอาเซียน 1) จะต้องได้รับการสนับสนุนจากผู้เสนอและผู้สนับสนุนในเขต เลือกต้ังเดียวกนั และ 2) ต้องมีการวางเงินประกันจาํ นวน 10,000 ริงกิต อีกดว้ ย การเลือกตั้งของมาเลเซียก�ำหนดระยะเวลาการลงคะแนนเลือกต้ัง ระหวา่ งเวลา 08.00 น. ถงึ เวลา 17.00 น. สาธารณรัฐแห่งสหภาพเมยี นมาร์ (The Republic of the Union of Myanmar) รัฐธรรมนญู เมียนมาร์ยกรา่ งเมอื่ วนั ที่ 9 เมษายน 2551 (ค.ศ. 2008) ไดน้ ำ� ออกใหป้ ระชาชนออกเสยี งลงประชามตเิ มอื่ วนั ที่ 10 พฤษภาคม 2551 (ค.ศ. 2008) และได้รับความเห็นชอบเม่ือวันท่ี 29 พฤษภาคม 2551 (ค.ศ. 2008) ได้บัญญัติให้ฝ่ายนิติบัญญัติหรือสภาสหภาพเป็นระบบสภาคู่ คือ สภาประชาชน (House of Representatives) (สภาผู้แทนราษฎร) 440 ทนี่ งั่ และสภาแหง่ ชาติ (House of Nationalities) (สภาสงู หรอื วฒุ สิ ภา) 224 ที่น่ัง โดยสงวนไวส้ �ำหรับทหาร (ก�ำลังทหาร) ให้เป็นสมาชิก 56 ทน่ี งั่ จาก 224 ที่นั่งในสมัชชาแห่งชาติ และ 110 ที่นั่งจาก 440 ในสมัชชา ประชาชน การเลือกต้ังของสาธารณรัฐสหภาพเมียนมาร์อยู่ในการควบคุม ก�ำกับโดยคณะกรรมการเลือกต้ังแห่งสหภาพ (Myanmar’s Union Election Commission : UEC) ในเดือนกรกฎาคม พ.ศ. 2555 คณะกรรมการการเลอื กตงั้ ไดก้ ำ� หนดจำ� นวนเขตเลอื กตงั้ ทวั่ ไป โดยจะมกี าร เลือกต้ังสี่ระดับ คือ 1) สภาประชาชน(House of Representatives) มจี �ำนวนสมาชิก 330 ท่นี ั่ง 2) สภาแห่งชาติ (House of Nationalities) มีจำ� นวนสมาชกิ 168 ที่นัง่ 3) ระดบั ภมู ิภาคหรอื รฐั (Regional or state parliaments) 644 ท่ีน่ัง และ 4) ระดับภูมิภาคหรือสภาชาติพันธุ์ (Regional or state parliaments for national races) 29 ที่นัง่ จาก
สมชาติ เจศรชี ัย 93 ประชาชนท้ัง 14 ภาค/รัฐ (สาธารณรัฐสหภาพเมียนมาร์ประกอบด้วย 7 ภมู ภิ าค (region) สำ� หรบั พนื้ ทซ่ี งึ่ ประชากรสว่ นใหญเ่ ปน็ กลมุ่ ชาตพิ นั ธพ์ุ มา่ และ 7 รฐั (states) สำ� หรบั พืน้ ท่ซี ่ึงประชากรส่วนใหญ่เปน็ ชนกลุ่มนอ้ ย) นอกจากน้ี กกต. เมียนมาร์ ยังออกวิธีการให้กบั ผสู้ ังเกตการณท์ ่ีจะ ปฏิบัติในการตรวจสอบที่จะเกิดขึ้น พร้อมท้ังเชิญชวนทั้งภายในและ ต่างประเทศให้ตรวจสอบและสังเกตการเลือกตง้ั ระบบการเลอื กตั้งสมาชกิ สภาปจั จบุ นั เปน็ แบบผไู้ ดค้ ะแนนสงู สดุ ชนะเลอื กตงั้ หรอื “คะแนนนำ� กำ� ชยั ” (the first-past-the-post system) ผู้ชนะการเลือกต้ังคือผู้ที่ได้คะแนน สูงสุด ส่วนผู้มีสิทธิสมัครรับเลือกตั้งเป็นสมาชิกสภาประชาชน จะต้องมี คณุ สมบตั ดิ งั ต่อไปนี้ (1) มีอายุ 25 ปีบริบูรณ์และต้องไม่เป็นบุคคลที่มีการกระท�ำฝ่าฝืน กฎหมายเลอื กตงั้ (2) จะต้องมถี ิ่นทอี่ ยูใ่ นเมยี นมาร์ไม่น้อยกวา่ 10 ปี (3) จะต้องเปน็ พลเมอื งโดยการเกิด (4) บุคคลทีม่ คี ณุ สมบตั ิตามกฎหมายเลือกตั้งกำ� หนด ตามบทบัญญัติแห่งรัฐธรรมนูญแห่งสาธารณรัฐสหภาพเมียนมาร์ ผู้มสี ิทธิเลอื กตง้ั จะตอ้ งมคี ณุ สมบตั ิดังนี้ 1) เป็นพลเมือง พลเมืองโดยการได้สัญชาติภายหลัง พลเมืองโดย ธรรมชาติหรอื โดยการถอื สญั ชาติชวั่ คราว เปน็ ผูซ้ ง่ึ มอี ายคุ รบ 18 ปีบรบิ รู ณ์ ในวันประกาศให้มีการเลือกตั้ง และต้องไม่เป็นบุคคลท่ีมีการกระท�ำฝ่าฝืน ตามกฎหมายเลือกตัง้ น้ี 2) บุคคลที่มีช่ืออยู่ในบัญชีรายชื่อผู้มีสิทธิเลือกต้ังในเขตเลือกตั้งนั้น บคุ คลต่อไปน้ไี ม่มสี ทิ ธิเลอื กต้งั
94 การเมอื ง - การเลอื กต้งั ไทยและประเทศในอาเซยี น 2.1) เปน็ บคุ คลอยใู่ นศาสนา 2.2) นักโทษ 2.3) บุคคลที่มีจติ ผิดปกตโิ ดยผลของกฎหมาย 2.4) บคุ คลซง่ึ ยงั มิไดพ้ น้ จากการเปน็ บุคคลลม้ ละลาย 2.5) บคุ คลทถ่ี กู ห้ามมใิ หใ้ ช้สิทธติ ามกฎหมายเลือกตั้ง 2.6) ชาวต่างชาติหรือสนั นษิ ฐานวา่ เปน็ พลเมอื งตา่ งชาติ ในวันเลือกตั้ง หน่วยเลือกต้ังจะเปิดให้มีการลงคะแนนต้ังแต่เวลา 06.00 นาฬกิ า จนถึงเวลา 16.00 นาฬกิ า ถา้ ยังมีผูม้ สี ิทธิเลือกต้งั ที่มาแสดง ตัวแล้วเหลอื อยู่ กจ็ ะได้รับอนญุ าตใหล้ งคะแนนต่อไป แม้จะมกี ารปิดหน่วย เลอื กตงั้ แลว้ กต็ าม สว่ นการนบั คะแนนเลอื กตงั้ จะกระทำ� กนั ทห่ี นว่ ยเลอื กตง้ั นัน้ โดยคณะกรรมการประจำ� หนว่ ยเลอื กตง้ั นนั้ สมาชกิ สภาผแู้ ทนราษฎร บคุ คลซง่ึ มคี ณุ สมบตั ติ อ่ ไปนมี้ สี ทิ ธลิ งสมคั ร รบั เลือกตงั้ เป็นสมาชกิ สภาผู้แทนราษฎร (ก) ผมู้ อี ายุ 25 ปบี ริบูรณ์ (ข) เปน็ บุคคลซงึ่ เกิดจากบดิ าและมารดา ที่เป็นพลเมอื งสาธารณรัฐแหง่ สหภาพเมยี นมาร์ (ค) มีถนิ่ ท่อี ยูใ่ นสหภาพเมยี นมาร์ติดต่อกนั อยา่ งน้อย 10 ปี ในวนั ท่ี จัดให้มกี ารเลือกตง้ั สมาชิกสภาผู้แทนราษฎร ทัง้ น้ี ระยะเวลาการพ�ำนกั ใน ตา่ งประเทศโดยการอนญุ าตของสหภาพเมยี นมารใ์ หน้ บั เปน็ ระยะเวลาทอ่ี ยู่ อาศัยในสหภาพเมียนมาร์ (ง) บคุ คลซง่ึ มีคุณสมบตั ิตามทีร่ ะบไุ ว้ในกฎหมายการเลือกตงั้ การขาดคณุ สมบตั ขิ องสมาชกิ สภาผแู้ ทนราษฎร บคุ คลดงั ตอ่ ไปนไี้ มม่ ี สทิ ธิลงสมคั รรบั เลอื กตงั้ เป็นสมาชกิ สภาผ้แู ทนราษฎร (ก) บุคคลซ่ึงอยู่ระหว่างการถูกจ�ำคุกหรือศาลได้พิจารณาแล้วว่าได้ กระท�ำความผิด (ข) บุคคลซึ่งกระท�ำความผิดท่ีเกี่ยวกับการขาดคุณสมบัติ
สมชาติ เจศรีชัย 95 ของสมาชกิ สภาผูแ้ ทนราษฎร และไดร้ บั การพพิ ากษาวา่ ไดก้ ระท�ำความผดิ (ค) บคุ คลวิกลจริต (ง) บคุ คลล้มละลาย (จ) บุคคลท่ีสวามิภักด์ิและอยู่ภายใต้อาณัติของรัฐบาลต่างประเทศ หรอื เปน็ พลเมืองของประเทศอืน่ การเพกิ ถอนสมาชกิ ภาพการเป็นสมาชิกสภาผูแ้ ทนราษฎร (ก) สมาชิกภาพอาจถกู เพกิ ถอนได้ด้วยเหตผุ ลต่อไปนี้ (1) เปน็ กบฏรา้ ยแรง (2) ละเมิดบทบญั ญตั แิ หง่ รัฐธรรมนูญ (3) ประพฤติชัว่ (4) เป็นผู้ขาดคุณสมบัติการเป็นสมาชิกสภาตามท่ีบัญญัติไว้ใน รัฐธรรมนญู (5) เปน็ ผู้ลม้ เหลวในการปฏิบตั ิหนา้ ท่ีตามต�ำแหน่งท่ีรบั ผดิ ชอบ (ข) ผู้มีสิทธิออกเสียงเลือกต้ังไม่น้อยกว่าร้อยละหน่ึงของผู้มีสิทธิ เลือกต้ังทั้งหมดของเขตเลือกตั้งนั้นๆ เข้าช่ือต่อคณะกรรมการการเลือกต้ัง แหง่ สหภาพเมียนมารเ์ พื่อให้พจิ ารณาถอดถอน (ค) คณะกรรมการการเลือกต้ังแห่งสาธารณรัฐสหภาพเมียนมาร์ ดำ� เนินการสบื สวนตามกฎหมาย (ง) สมาชิกสภา มีสิทธิอุทธรณ์ด้วยตนเองหรือผ่านตัวแทน เมื่อถูก ด�ำเนนิ การตามข้อกลา่ วหา (จ) หากคณะกรรมการการเลอื กตง้ั แหง่ สาธารณรฐั สหภาพเมยี นมาร์ พบวา่ ขอ้ กลา่ วหามมี ลู และผถู้ กู กลา่ วหาไมพ่ งึ ทำ� หนา้ ทใ่ี นฐานะสมาชกิ สภา อีกต่อไป คณะกรรมการการเลือกตั้งแห่งสหภาพเมียนมาร์ ย่อมพิจารณา ดำ� เนินการได้ตามกฎหมาย
96 การเมอื ง - การเลือกตัง้ ไทยและประเทศในอาเซยี น ผู้ลงสมัครรับเลือกตั้งเป็นสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรในการเลือกต้ัง ครง้ั หนงึ่ จะมสี ทิ ธไิ ดร้ บั เลอื กตง้ั เปน็ สมาชกิ เพยี งสภาเดยี วเทา่ นน้ั และมสี ทิ ธิ เป็นตัวแทนได้เพียงหนึ่งเขตเลือกตั้ง ผู้มีสิทธิเลือกตั้งที่อาศัยในอาณาเขต ของสาธารณรฐั สหภาพเมยี นมารห์ รอื ทก่ี ฎหมายของสภาแหง่ ชาตกิ ำ� หนดให้ เป็นอาณาเขตของสาธารณรัฐสหภาพเมียนมาร์ มีสิทธิเลือกต้ังสมาชิกสภา ผูแ้ ทนราษฎรและสภาชาตพิ ันธุ์เทา่ นั้น สมาชิกสภาประจ�ำภมู ภิ าคหรือรัฐท่ี ได้รับเลือกต้ังจากเขตที่ก�ำหนดให้เป็นอาณาเขตของสาธารณรัฐสหภาพ เมียนมาร์ตามกฎหมาย ไม่อาจเป็นสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรที่กล่าวแล้ว ข้างต้น พลเมืองทุกคนที่มิได้เป็นผู้ขาดคุณสมบัติตามรัฐธรรมนูญหรือตาม กฎหมายเลอื กต้งั มสี ิทธิลงสมคั รรับเลือกต้ังสมาชิกสภาใดก็ได้ สาธารณรัฐฟิลปิ ปนิ ส์ (The Republic of the Philippines) รัฐธรรมนูญฟิลิปปินส์ก�ำหนดให้มีการจัดการเลือกตั้งประธานาธิบดี และรองประธานาธิบดีทุก 6 ปี ในวันจันทร์ท่ีสองของเดือนพฤษภาคม นอกจากการเลอื กตงั้ ประธานาธบิ ดแี ลว้ ยงั มกี ารเลอื กตง้ั รองประธานาธบิ ดี สมาชิกวุฒิสภา สมาชิกสภาผแู้ ทนราษฎร ผู้บรหิ ารและสมาชิกสภาทอ้ งถิน่ ทั่วประเทศ รวมหม่ืนกว่าต�ำแหน่งในคราวเดียวกัน บัตรลงคะแนนเสียง เลอื กต้งั ของมขี นาดใหญม่ าก แบง่ เป็นชอ่ ง ๆ ตามตำ� แหน่ง การลงคะแนน เลือกตั้งใช้การแรเงาวงกลมหน้าช่ือผู้สมัครในแต่ละต�ำแหน่งด้วยดินสอ 2B ประธานาธิบดีของฟิลิปปินส์มาจากการเลือกตั้งโดยตรงจากประชาชน มีวาระในการด�ำรงต�ำแหน่ง 6 ปี และจ�ำกัดให้ด�ำรงต�ำแหน่งได้เพียงวาระ เดียวเท่าน้ัน ผู้ที่จะลงสมัครรับเลือกตั้งเป็นประธานาธิบดีต้องอาศัยอยู่ใน ฟิลิปปินสม์ าแลว้ ไม่ต่�ำกว่า 10 ปี อายุไมต่ �ำ่ กวา่ 40 ปี และไมม่ รี ายช่ืออยใู่ น คณะผู้บริหารขององค์กรท่ีท�ำธุรกิจเกี่ยวข้องกับนโยบายของรัฐบาล ท้ังน้ี ประธานาธบิ ดไี มม่ อี ำ� นาจในการยบุ สภา สว่ นตำ� แหนง่ รองประธานาธบิ ดไี ด้
สมชาติ เจศรีชยั 97 จากการเลอื กตง้ั มวี าระในการดำ� รงตำ� แหนง่ 6 ปี เชน่ เดยี วกบั ประธานาธบิ ดี และสามารถรับการแต่งตั้งเป็นส่วนหน่ึงในคณะรัฐมนตรีได้ โดยไม่จ�ำเป็น ตอ้ งสังกัดพรรคการเมอื งเดยี วกนั กบั ประธานาธิบดี ระบบการเลือกต้ังที่ปรากฏในรัฐธรรมนูญและระบบการลงคะแนน เลือกตั้งซึ่งจะเป็นการตัดสินว่าบุคคลใดและพรรคการเมืองใดจะได้รับการ เลือกต้ังต�ำแหน่งต่างๆ ระบบการลงคะแนนเลือกต้ังท่ีใช้กันอยู่เป็นการ ตัดสินจากเสียงส่วนใหญ่ของผู้ลงคะแนนเลือกตั้งทั้งในระบบสัดส่วนหรือ เสียงข้างมาก (majoritarian) ในอดีตเป็นระบบสัดส่วนแบบบัญชีรายช่ือ พรรค (Party-list proportional) และระบบสัดสว่ นสมาชิกพรรคแบบผสม (Mixed-member proportional) ในระยะตอ่ มาเปน็ แบบผไู้ ดค้ ะแนนสงู สดุ ชนะเลือกตั้งหรือ “คะแนนน�ำก�ำชัย”(First-Past-the-Post : FPP)) การเลือกตั้งในต�ำแหน่งต่างๆ กฎหมายของฟิลิปปินส์ก�ำหนดให้คณะ กรรมการการเลอื กตงั้ ฟลิ ปิ ปนิ ส์ (Commission of Elections – COMELEC) เปิดรับลงทะเบียนผู้สมัครรับเลือกต้ังท่ัวไปในทุกระดับก่อนที่จะมีการ เลอื กตง้ั เป็นเวลา 6 เดอื น รฐั สภาเปน็ แบบสภาคปู่ ระกอบไปดว้ ย 2 สภา คอื สภาสงู หรอื วฒุ สิ ภา (the Senate) และสภาล่างหรือสภาผู้แทนราษฎร (the House of Representatives) สภาสูงหรือวุฒิสภามีสมาชิกจ�ำนวน 24 คน จากการ เลือกต้ังโดยตรงจากประชาชนโดยเป็นการเลือกต้ังท้ังประเทศ (nation- wide) มวี าระการดำ� รงตำ� แหน่ง 6 ปี และสามารถดำ� รงต�ำแหนง่ ได้ 2 วาระ ติดตอ่ กนั ผ้ทู ไี่ ด้รบั เลอื กตั้งจะตอ้ งได้คะแนนเสยี งจากประชาชนจากมากไป หาน้อย 24 คน โดยผทู้ ่ไี ด้คะแนนเลือกตง้ั ในลำ� ดบั ที่ 1-12 จะสามารถอยู่ใน วาระได้ 6 ปี ผทู้ ่ีได้คะแนนในล�ำดบั ที่ 13-24 นั้น ให้ดำ� รงวาระ 3 ปแี ละ สามารถสมัครรับเลือกต้ังใหม่เพื่อให้อยู่ในวาระได้อีก 3 ปีในการเลือกตั้ง กลางสมยั ผทู้ จี่ ะเปน็ วฒุ สิ มาชกิ ตอ้ งเกดิ ในฟลิ ปิ ปนิ สแ์ ละอายไุ มต่ ำ่� กวา่ 35 ปี
98 การเมือง - การเลือกตง้ั ไทยและประเทศในอาเซยี น ในส่วนของสภาผู้แทนราษฎร สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรมีจ�ำนวนไม่เกิน 250 คน (เว้นแต่กฎหมายจะก�ำหนดไว้เป็นอย่างอื่น) ซึ่งปัจจุบันมีจ�ำนวน สมาชิกท้ังหมด 280 คน โดยสมาชิกจ�ำนวน 228 คนมาจากการเลือกต้ัง โดยตรงในระบบแบ่งเขต เขตละหน่ึงคน ส่วนท่ีเหลืออีกจ�ำนวน 52 คน มาจากการเลือกต้ังในระบบบัญชีรายชื่อของกลุ่มภาคส่วนต่างๆ (Sectors) ตามเจตนารมณข์ องรฐั ธรรมนญู ตอ้ งการใหเ้ ปน็ สมาชกิ กลมุ่ ผลประโยชนแ์ ละ กลุ่มคนท่ีอยู่ห่างไกลหรือชนเผ่า พรรคการเมืองท่ีจะได้รับการเลือกต้องได้ รับคะแนนเลือกตั้งมากกว่าร้อยละ 2 และแต่ละพรรคจะมีสมาชิกได้รับ เลอื กต้งั ในระบบนีไ้ มเ่ กนิ พรรคละ 3 คน สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรมีวาระใน การด�ำรงต�ำแหน่งคราวละ 3 ปี สามารถด�ำรงต�ำแหน่งได้ไม่เกิน 3 วาระ ติดต่อกัน ท้ังน้ี สามารถได้รับการเลือกต้ังเข้ามาได้อีก ผู้ที่จะสมัครเข้ารับ การเลือกตั้งเป็นสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรต้องเกิดในฟิลิปปินส์และอายุ ไม่ต�่ำกว่า 25 ปี คุณสมบัติของผู้มีสิทธิเลือกต้ัง 1. อายุ 18 ปีบริบูรณ์ 2. ถือสัญชาติฟิลิปปินส์ 3. อาศัยอยู่ในประเทศฟิลิปปินส์เป็นเวลาไม่น้อย กว่า 1 ปี และมีชื่ออยู่ในทะเบียนบ้านในเขตเลือกต้ังเป็นเวลาไม่น้อยกว่า 6 เดอื น นับถึงวนั เลอื กตั้ง 4. ต้องไม่เปน็ บคุ คลต้องหา้ มมใิ หใ้ ชส้ ทิ ธเิ ลือกตั้ง เนอื่ งจากเปน็ บคุ คลวกิ ลจรติ เปน็ ผูท้ ่ีศาลพพิ ากษาให้เปน็ ผไู้ รค้ วามสามารถ เป็นผู้ถูกพิพากษาว่าเป็นปรปักษ์ต่อรัฐบาลหรือเป็นภัยต่อความม่ันคง แหง่ ชาติ ภายหลงั สนิ้ สดุ การลงคะแนนเลอื กตงั้ แลว้ คณะกรรมการการเลอื กตง้ั จะมกี ารนบั คะแนนเลอื กตง้ั ดว้ ยเครอื่ งนบั คะแนนเลอื กตง้ั ทเี่ รยี กวา่ Precinct Count Optical Scan (PCOS) โดยการให้ผลู้ งคะแนนน�ำบัตรเลือกต้ังทมี่ ี การแรเงาเรยี บรอ้ ยแลว้ มาปอ้ นเขา้ เครอื่ ง PCOS ดว้ ยตนเองตอ่ หนา้ เจา้ หนา้ ที่ เครอ่ื งจะทำ� การสแกนบตั รเลอื กตง้ั และบรรจขุ อ้ มลู ความจำ� ไว้ ในกรณที เ่ี ปน็ บตั รเสยี หรอื มกี ารปอ้ นบตั รเลอื กตงั้ ภายใตร้ หสั ประจำ� ตวั ประชาชนนนั้ แลว้
สมชาติ เจศรีชยั 99 เครอื่ ง PCOS จะปฏเิ สธขอ้ มลู และแยกบตั รดงั กลา่ วไวใ้ นกลอ่ งบตั รเสยี ทนั ที หลงั จากหมดเวลาการเลอื กตงั้ คณะกรรมการประจำ� หนว่ ยปดิ การลงคะแนน และมกี ารประมวลผลการลงคะแนนเลอื กตง้ั ทง้ั หมดดว้ ยเครอ่ื งคอมพวิ เตอร์ ผลการลงคะแนนจะถกู สง่ โดยอตั โนมตั ไิ ปทศ่ี นู ยอ์ ำ� นวยการการเลอื กตงั้ กลาง เพอ่ื รวบรวมผลการเลือกต้ังที่ส่งมาจากหน่วยเลือกต้งั ทวั่ ประเทศ สาธารณรฐั สิงคโปร์ (The Republic of Singapore) สงิ คโปร์มีการเลอื กตัง้ อยู่สองประเภท ได้แก่ 1) การเลอื กตง้ั สมาชกิ รฐั สภา และ 2) การเลอื กตงั้ ประธานาธบิ ดี ตามรฐั ธรรมนญู การเลอื กตง้ั ทวั่ ไป ของสมาชิกรัฐสภาต้องด�ำเนินการภายใน 3 เดือนนับต้ังแต่สภาส้ินสุดลง ประธานาธบิ ดสี งิ คโปรม์ าจากการเลอื กตง้ั โดยตรง มวี าระดำ� รงตำ� แหนง่ 6 ปี สมาชิกรัฐสภามาจากการเลือกต้ังท่ัวไปทุก 5 ปี พรรคการเมืองส�ำคัญ 4 พรรค ไดแ้ ก่ พรรคกจิ ประชาชน (People’s Action Party : PAP) จัดต้ัง ในปี พ.ศ. 2497 ซึ่งนับตัง้ แตป่ ี พ.ศ. 2502 ทเ่ี รมิ่ มกี ารเลือกต้งั พรรค PAP ได้รับเสียงข้างมากโดยตลอด ท�ำให้การเมืองและรัฐบาลมีเสถียรภาพมาก พรรคกรรมกร (Worker’s Party : WP) จัดตั้งขึ้นในปี พ.ศ. 2500 พรรคประชาธิปัตย์สิงคโปร์ (Singapore Democratic Party : SDP) จัดต้ังในปี พ.ศ. 2523 และพรรคพันธมิตรแห่งประชาธิปัตย์สิงคโปร์ (Singapore Democratic Alliance : SDA) จดั ต้ังเม่อื ปี พ.ศ. 2544 การเลือกต้ังสมาชิกรัฐสภาเป็นการเลือกตั้งแบบแบ่งเขตเลือกต้ัง มีวาระการด�ำรงต�ำแหน่งคราวละ 5 ปี โดยกฎหมายก�ำหนดให้แบ่งเขต เลือกตั้งออกเป็น 2 ระบบ ได้แก่ การเลือกต้ังแบบเขตเดียวเบอร์เดียว จำ� นวน 12 คน มสี มาชิกได้เขตละ 1 ท่ีนงั่ มเี ขตเลอื กต้ังดังนี้ 1) Sengang West 2) Bukit Panjang 3) Whampoa 4) Hong Kah North 5) Hougang 6) Joo Chiat 7) Pioneer 8) Potong Pasir 9) Punggol East 10) Radin
100 การเมอื ง - การเลอื กตั้งไทยและประเทศในอาเซยี น Mas 11) Yuhua และ 12) Mountbatten และการเลือกตัง้ สมาชกิ รฐั สภา แบบรวมเขต (เขตใหญ)่ ลงคะแนนเลอื กต้งั ยกพรรคจำ� นวน 75 คน ใน 15 เขตเลือกต้ัง โดยแต่ละพรรคจะสง่ ผสู้ มัครลงในระบบนไี้ ดเ้ ขตละ 3 - 6 คน และให้ผูม้ สี ทิ ธเิ ลอื กต้งั ในแต่ละเขตลงคะแนนเลือกไดเ้ พยี งพรรคเดียว โดย พรรคทไ่ี ดค้ ะแนนเสยี งสงู สดุ จะไดท้ น่ี งั่ แบบยกพรรคในเขตนน้ั ๆ ตามรายชอื่ เขตเลือกต้ังและจ�ำนวนที่น่ังท่ีแตกต่างกัน ดังนี้ 1) เขตเลือกต้ัง Aljunied GRC จำ� นวน 5 ท่นี ่งั 2) เขตเลอื กตั้ง Ang Mo Kio GRC จำ� นวน 6 ทีน่ งั่ 3) เขตเลือกต้งั Bishan-Toa Payoh GRC จำ� นวน 5 ที่นง่ั 4) เขตเลอื กตั้ง Chua Chu Kang GRC จ�ำนวน 5 ที่นั่ง 5) เขตเลือกตั้ง East Coast GRC จ�ำนวน 5 ท่ีนั่ง 6) เขตเลือกตั้ง Holland-Bukit Timah GRC จ�ำนวน 4 ท่ีน่ัง 7) เขตเลือกต้ัง Jurong GRC จ�ำนวน 5 ท่ีนั่ง 8) เขต เลอื กตงั้ Marine Parade GRC จำ� นวน 5 ทนี่ ง่ั 9) เขตเลอื กตง้ั Moulmein- Kallang GRC จ�ำนวน 4 ทน่ี ่ัง 10) เขตเลอื กตั้ง Nee Soon GRC จำ� นวน 5 ทน่ี ง่ั 11) เขตเลอื กตง้ั Pasir Ris-Punggol GRC จ�ำนวน 6 ที่น่งั 12) เขต เลอื กตง้ั Sembawang GRC จ�ำนวน 5 ทีน่ ่ัง 13) เขตเลอื กตง้ั Tampines GRC จำ� นวน 5 ทนี่ ง่ั 14) เขตเลอื กตงั้ Tanjong Pagar GRC จำ� นวน 5 ทน่ี งั่ และ 15) เขตเลอื กต้งั West Coast GRC จ�ำนวน 5 ทน่ี ั่ง คณุ สมบตั ขิ องผมู้ สี ทิ ธเิ ลอื กตง้ั การเลอื กตง้ั เปน็ หนา้ ทสี่ ำ� คญั สำ� หรบั ผู้มีสิทธิเลือกตั้งทุกคน และผู้ที่ไม่ไปใช้สิทธิเลือกต้ังมีความผิดทางอาญา และหน่วยงานท่ีรับผิดชอบจะด�ำเนินการลบชื่อผู้น้ันออกจากทะเบียนของ ผมู้ ีสทิ ธิเลือกต้ังทันที แต่ทั้งนก้ี ฎหมายยงั อนโุ ลมใหใ้ นกรณที ่ีบคุ คลผู้นั้นยนื่ คำ� รอ้ งแจง้ ถงึ เหตผุ ลของการไมไ่ ปใชส้ ทิ ธหิ รอื เสยี คา่ ปรบั เปน็ เงนิ 5 ดอลลาร์ สิงคโปร์ บุคคลผู้มีสิทธิเลือกต้ังต้องมีคุณสมบัติดังต่อไปน้ี 1) มีอายุครบ 21 ปีบริบูรณ์ 2) มีสัญชาติสิงคโปร์ 3) มีถิ่นพ�ำนักอยู่ในประเทศสิงคโปร์ 4) ไม่เป็นบุคคลที่มีลักษณะต้องห้าม ดังต่อไปน้ี 4.1 ไม่จงรักภักดีต่อชาติ
สมชาติ เจศรชี ยั 101 4.2 ต้องค�ำพิพากษาประหารชีวิต 4.3 ต้องค�ำพิพากษาให้จ�ำคุกเกินกว่า 12 เดือน 4.4 กระท�ำผดิ กฎหมายเลือกต้ัง และ 4.5 ปฏิบัติหนา้ ทปี่ ระจ�ำการ ในกองทัพท่ีไม่ได้รับการอนุมัติเงินงบประมาณจากรัฐสภา เว้นแต่กองทัพ จะตั้งอยู่ภายในประเทศ การจัดท�ำทะเบียนรายช่ือผู้มีสิทธิเลือกต้ังเป็น อ�ำนาจหน้าท่ีของส�ำนักงานการเลือกต้ัง โดยแยกเป็นรายบัญชีตามเขต เลอื กตัง้ ซงึ่ การรวบรวมรายชอ่ื ผูม้ ีสิทธเิ ลือกต้ังจะดำ� เนินการผ่านส�ำนกั งาน ทะเบยี นแหง่ ชาติ ตามเงอ่ื นไขและคณุ สมบตั ขิ องผมู้ สี ทิ ธเิ ลอื กตง้ั ทร่ี ะบไุ วใ้ น รฐั บญั ญตั กิ ารเลอื กตง้ั ในรฐั บญั ญตั กิ ารเลอื กตงั้ ยงั ระบถุ งึ แนวทางปฏบิ ตั ขิ อง การเลือกต้ังไว้ โดยให้นายกรัฐมนตรีมอบหมายให้เจ้าหน้าที่ฝ่ายทะเบียน ทบทวนทะเบียนรายช่ือผู้มีสิทธิเลือกต้ังเป็นระยะๆ กล่าวคือ หลังจากการ เลือกตงั้ ทว่ั ไปไมเ่ กนิ 3 ปี คุณสมบัติของผู้สมัครรับเลือกตั้ง ผู้มีสิทธิสมัครรับเลือกตั้งต้องมี คณุ สมบัติ ดังตอ่ ไปน้ี 1) มอี ายุครบ 21 ปบี รบิ รู ณ์ 2) มสี ญั ชาตสิ งิ คโปร์ นับถึงวันสมัครรับเลือกต้ัง 3) มีถิ่นพ�ำนักอยู่ในประเทศโดยมีระยะเวลา รวมท้งั สิน้ อย่างนอ้ ย 10 ปี 4) มีวุฒิการศกึ ษาอยู่ในระดับที่สามารถดำ� เนนิ กจิ กรรมของรฐั สภาและกระบวนการตรารฐั บญั ญตั ิ สามารถอา่ นเขยี นภาษา หนง่ึ ภาษาใดจากภาษาตา่ งๆ เหลา่ น้ี ได้แก่ ภาษามาเลย์ ภาษาแมนดาริน ภาษาทมฬิ และภาษาอังกฤษได้ ระบบการเลอื กตง้ั ของสงิ คโปร์ เปน็ การลงคะแนนแบบแบง่ เขตเลอื ก ผสู้ มคั รไดค้ นละ 1 หมายเลข และแบบรวมเขตเลอื กพรรคการเมอื งไดค้ นละ 1 หมายเลขเชน่ กัน จากนน้ั จะเปน็ การนับคะแนนเลอื กตัง้ การนบั คะแนน ในแตล่ ะหนว่ ยเลอื กตงั้ จะสง่ ผลการนบั คะแนนใหศ้ นู ยก์ ลางการนบั คะแนน รวบรวมผลคะแนนทั้งหมด กรณีที่ผลการนับคะแนนจากนอกประเทศ ไม่ส่งผลกระทบกับผลคะแนนภายในประเทศ โดยถือว่าผู้สมัครซ่ึงได้ คะแนนเสียงสูงสุดได้ที่น่ังสมาชิกรัฐสภาทันที เป็นระบบผู้ได้คะแนนสูงสุด
102 การเมอื ง - การเลอื กตง้ั ไทยและประเทศในอาเซียน ชนะการเลอื กตง้ั หรือ First-Past-the-Post ส่วนกรณที ผ่ี ลการนับคะแนน ภายนอกประเทศมีผลกับคะแนนในประเทศ ให้เจ้าหน้าท่ีอ�ำนวยการเลือก ตั้งประกาศผลการนับคะแนนภายในประเทศไปพลางก่อน หลังจากที่มกี าร รวบรวมผลคะแนนท้งั หมดจากนอกประเทศเสรจ็ ส้นิ ให้เจ้าหนา้ ท่ีประกาศ ผสู้ มคั รทไี่ ดร้ บั เลอื กเป็นสมาชิกรฐั สภาทนั ที โดยให้ถอื ผลคะแนนรวมของผู้ สมคั รรบั เลอื กตงั้ เป็นท่สี ดุ โดยการประกาศในราชกจิ จานเุ บกษา สาธารณรัฐสงั คมนิยมเวยี ดนาม (The Socialist Republic of Vietnam) สภาแหง่ ชาตแิ หง่ สาธารณรฐั สงั คมนยิ มเวยี ดนาม เปน็ ระบบสภาเดยี่ ว สมาชิกสภาแห่งชาติมาจากการเลือกตั้ง มีวาระการด�ำรงต�ำแหน่งคราวละ 5 ปี แม้ว่าส่วนใหญ่จะเป็นสมาชิกของพรรคคอมมิวนิสต์ แต่กฎหมาย เวียดนามก็อนุญาตให้ผู้ท่ีมิได้เป็นสมาชิกของพรรคลงสมัครรับเลือกตั้งได้ เชน่ กนั โดยตอ้ งไดร้ บั ความเหน็ ชอบจากแนวรว่ มปติ ภุ มู เิ วยี ดนาม (Vietnam- ese Fatherland Front) อันเป็นองค์กรส่วนหนึ่งของพรรคคอมมิวนิสต์ ท�ำหนา้ ท่ีดแู ลรักษาอุดมการณส์ งั คมนิยม สภาแห่งชาติจะมีการประชุมในทุกเดือนมกราคม เพ่ือพิจารณา ตำ� แหนง่ สำ� คัญๆ ของประเทศ และหารือเกี่ยวกบั ยุทธศาสตร์ทางสงั คมและ เศรษฐกิจส�ำหรับ 10 ปขี ้างหนา้ และการเลอื กต้งั สมาชกิ สภาแห่งชาติ ในวนั ท่ี 6 มกราคม 2489 มกี ารเลอื กตงั้ ทวั่ ไปเปน็ ครงั้ แรก โดยกำ� หนด ใหป้ ระชาชนท่ีมอี ายุตัง้ แต่ 18 ปขี นึ้ ไป เป็นผู้ม ีสทิ ธเิ ลอื กต้งั การประชุมสภา คร้ังแรกของสภาชุดแรกมีข้ึนในวันที่ 2 มีนาคม 2489 ท่ีโรงละครฮานอย โดยมีสมาชกิ จำ� นวนเกือบ 300 คน ได้รบั รองให้ โฮ จิ มนิ ห์ ข้นึ เปน็ ผ้นู าํ ประเทศ
สมชาติ เจศรชี ัย 103 สมาชกิ สภาแห่งชาติ สาธารณรฐั สังคมนิยมเวยี ดนามมีจำ� นวนไมเ่ กนิ 500 คน และสมาชกิ สภาแหง่ ชาตอิ ยา่ งนอ้ ยทส่ี ดุ รอ้ ยละ 25 ตอ้ งปฏบิ ตั หิ นา้ ท่ี เตม็ เวลาใหก้ บั สภาแหง่ ชาติ จำ� นวนของสมาชกิ สภาแหง่ ชาติ ในแตล่ ะจงั หวดั หรือเมืองจะถูกก�ำหนดโดยเกณฑ์ของจํานวนประชากร รวมถึงสมาชิกสภา แห่งชาติที่เป็นชนกลุ่มน้อยหรือเพศหญิงก็ต้องมีสัดส่วนที่เหมาะสมกับ จำ� นวนประชากรดว้ ย ระบบการเลือกตั้งของเวียดนาม มีการแบ่งเขตเลือกต้ังที่มีผู้แทนได้ หลายคน จำ� นวน 158 เขตเลือกตงั้ การลงคะแนนเลอื กตั้ง ใชก้ ารลงคะแนน ลับ การนบั คะแนนเลอื กต้ังใช้ระบบเสียงขา้ งมากเด็ดขาด (the first-past- the-post) ภายในแต่ละเขตเลือกต้ัง จะมีผู้สมัครมากกว่าจํานวนท่ีนั่ง ในสภา ผู้สมคั รรับเลือกต้งั จะต้องไดร้ บั คะแนนเสียงมากกวา่ 1 ใน 5 ของ การลงคะแนนในเขตเลือกตั้งท่ีประกาศผลการเลือกตั้งแล้ว หากท่ีนั่งใน เขตเลือกต้ังทั้งยังไม่ครบ หรือหากว่าจ�ำนวนสมาชิกที่ได้มีการลงคะแนน มีคะแนนเสียงน้อยกว่าคร่ึงของจํานวนที่ได้ลงทะเบียนไว้ ก็จะมีการ ลงคะแนนเสียงเลือกต้ังในรอบที่สองเพ่ือเลือกตั้งผู้สมัครเดิม จ�ำนวน เขตเลือกตั้งและจ�ำนวนสมาชิกสภาในแต่ละเขตเลือกตั้งขึ้นอยู่กับจ�ำนวน ประชากรในแต่ละเขตเลือกต้ัง ผู้มีสิทธิเลือกตั้งสามารถลงคะแนนเลือกตั้ง สมาชกิ สภาแห่งชาตไิ ดไ้ ม่เกนิ 3 คน การแบ่งเขตเลอื กตั้งของแตล่ ะจังหวัด และเมอื งด�ำเนินการโดยรฐั บาลกลาง อยา่ งน้อยเขตละสามทนี่ ่งั ฮานอยซง่ึ เป็นเมืองหลวง มสี มาชกิ สภาไดม้ ากที่สดุ จ�ำนวน 23 คน กรณีที่ตำ� แหนง่ วา่ งลง จะมกี ารเลือกตั้งแทนตำ� แหนง่ ท่วี ่าง นอกจากว่าอายขุ องสภามรี ะยะ เวลาเหลืออยนู่ ้อยกวา่ 2 ปี การลงคะแนนเลอื กต้งั ไม่เปน็ การบังคับ สว่ นคุณสมบัตขิ องผ้มู สี ทิ ธิเลอื กต้ัง มีดังนี้ (1) มีอายุ 18 ปี (2) เป็น ประชากรของประเทศเวียดนาม กรณีท่ีมีสิทธิแต่ถูกตัดสิทธิไม่ให้ใช้สิทธิ เลือกตั้ง คือ การเป็นคนวิกลจริต คุณสมบัติของผู้สมัครรับเลือกตั้ง
104 การเมือง - การเลือกตัง้ ไทยและประเทศในอาเซียน ประกอบด้วย (1) อายุ 21 ปขี น้ึ ไป (2) เป็นประชากรของประเทศเวียดนาม (3) ผู้ท่ีจะลงสมัครรับเลือกตั้งได้จะถูกเสนอช่ือโดยแนวร่วมปิตุภูมิแห่ง เวียดนาม (National Liberation Front) การจัดการเลือกตั้งของเวียดนามด�ำเนินการโดยคณะกรรมการ การเลอื กตัง้ กลาง (The Election Council) ท�ำหน้าที่บริหารและติดตาม ตรวจสอบภารกิจเก่ียวกับการเลือกต้ังท่ัวประเทศ ขณะท่ีคณะกรรมการ การเลือกตง้ั (The Election Committee) จดั ตัง้ ข้ึนเพอ่ื ทําหนา้ ท่ปี ฏบิ ัติ งานการเลือกต้ังในระดับจังหวัดหรือเมืองท่ีมีฐานะเทียบเท่าจังหวัด และ คณะกรรมการเขตการเลอื กตงั้ (The Election Commissions) จัดตัง้ ขึน้ เพอ่ื จดั การเลอื กตง้ั ในเขตเลอื กตงั้ สว่ นระดบั หนว ยเลอื กตงั้ นน้ั หนว่ ยจดั การ เลือกต้ัง (Election Groups) ทําหน้าท่ีจัดการเลือกต้ังเฉพาะในหน่วย เลอื กตง้ั นั้นๆ ราชอาณาจกั รไทย (The Kingdom of Thailand) นับแต่การประกาศใช้รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทยเมื่อวันท่ี 10 ธันวาคม พ.ศ. 2475 เป็นต้นมา ก็ได้มีการเลือกต้ังสมาชิกสภา ผู้แทนราษฎรที่เป็นรูปแบบการเข้าสู่อ�ำนาจทางการเมืองในฝ่ายนิติบัญญัติ เม่ือวันท่ี 26 พฤศจิกายน พ.ศ. 2476 ตามแบบอย่างของการปกครองใน ระบอบประชาธิปไตย แต่เปน็ การเลอื กต้งั ทางอ้อมท่ียงั ไม่ยอมใหป้ ระชาชน มีอสิ ระในการเลอื กสมาชิกสภาผูแ้ ทนราษฎรโดยตรง ประเทศไทยมีการเลอื กตั้งสมาชกิ สภาผแู้ ทนราษฎรเป็นการเลือกตง้ั ทั่วไปมาแล้ว 27 คร้ัง ในทั้ง 27 ครั้งเป็นการเลือกตั้งท่ีเป็นผล จ�ำนวน 25 ครัง้ ไมเ่ ปน็ ผล 2 คร้งั (พ.ศ. 2549 และ 2557) กล่าวคอื ในการเลือกต้ัง เมื่อปี 2549 การเลือกต้ังเป็นโมฆะ เกิดจากพรรคไทยรักไทยได้ว่าจ้าง พรรคการเมืองขนาดเล็กลงสมัครรับเลือกต้ัง โดยท่ีคะแนนเสียงเลือกต้ังได้
สมชาติ เจศรชี ัย 105 ไม่ถึง 20% ของผมู้ ีสิทธิเลอื กต้งั ตามคำ� พิพากษาของศาลรฐั ธรรมนูญในคดี ยุบพรรคการเมือง พ.ศ. 2549 และศาลรัฐธรรมนูญมีค�ำวินิจฉัยให้ ยุบพรรคไทยรกั ไทย ในวนั ที่ 30 พฤษภาคม พ.ศ. 2550 และเพกิ ถอนสิทธิ เลือกตั้งกรรมการบริหารพรรคไทยรักไทยทั้งหมด 111 คน คนละ 5 ปี ส่วนคร้ังที่ 2 เป็นการเลือกต้ังทั่วไปเมื่อวันที่ 2 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2557 ศาลรัฐธรรมนูญวินิจฉัยว่า พระราชกฤษฎีกายุบสภาฯ ก�ำหนดให้เลือกตั้ง คร้ังนี้ไม่ชอบด้วยรัฐธรรมนูญ เพราะไม่สามารถเลือกต้ังให้แล้วเสร็จ ท่ัวประเทศได้ภายในวันเดียวตามรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พทุ ธศักราช 2550 มาตรา 108 วรรคสอง และเมื่อพระราชกฤษฎกี าในสว่ น ที่เกี่ยวกับการเลือกต้ังไม่ชอบด้วยรัฐธรรมนูญการเลือกต้ังนี้จึงไม่ชอบด้วย รัฐธรรมนูญไปด้วย เมื่อพิจารณาในแง่ของการควบคุมก�ำกับการเลือกต้ัง ของไทย จากการเลือกตัง้ สมาชิกสภาผ้แู ทนราษฎรทั้ง 27 ครงั้ ไดก้ ำ� หนด ให้การเลือกตั้งอยู่ในการควบคุมก�ำกับของกระทรวงมหาดไทย (ในฐานะ เปน็ ฝา่ ยบรหิ าร) จำ� นวน 21 ครง้ั และอยใู่ นความควบคมุ ของคณะกรรมการ การเลอื กตงั้ (ในฐานะองค์กรอสิ ระ) จ�ำนวน 6 ครง้ั (ต้งั แตป่ ี พ.ศ. 2544 เปน็ ตน้ มา) และในแงข่ องกรรมวิธใี นการเลอื กตง้ั ไดก้ �ำหนดให้มกี ารเลอื กตง้ั สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรแบบแบง่ เขตเลอื กต้งั จ�ำนวน 6 ครัง้ แบบรวมเขต จ�ำนวน 5 คร้ัง แบบแบ่งเขตและรวมเขต 10 ครั้ง แบบแบ่งเขตเลือกต้ัง และแบบบัญชีรายชื่อพรรค 4 คร้ัง แบบแบ่งเขตและแบบสัดส่วน 1 คร้ัง และอกี 1 ครั้งเปน็ การเลอื กต้งั ทางอ้อมดงั ทีไ่ ดก้ ลา่ วแลว้ ข้างต้น
106 การเมอื ง - การเลอื กตั้งไทยและประเทศในอาเซยี น
สมชาติ เจศรชี ยั 107 บทที่ 6 การเมืองและการเลอื กตงั้ ของประเทศไทย ในทศวรรษ 2540 - 2550 รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจกั รไทย พุทธศักราช 2540 ก. การเลอื กตงั้ สมาชกิ สภาผู้แทนราษฎร (ส.ส.) ภายหลังจากมีการประกาศบังคับใช้รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักร ไทย พทุ ธศกั ราช 2540 แลว้ ไดม้ กี ารเลอื กตงั้ สมาชกิ สภาผแู้ ทนราษฎร (ส.ส.) เปน็ การเลือกต้ังทว่ั ไป เม่อื วันท่ี 6 มกราคม พ.ศ. 2544 โดยสาเหตมุ าจากท่ี นายชวน หลกี ภยั นายกรฐั มนตรี ไดป้ ระกาศยบุ สภา เมอ่ื วนั ท่ี 9 พฤศจกิ ายน พ.ศ. 2543 จงึ นับไดว้ ่าเปน็ การเลอื กตงั้ ส.ส. ครัง้ แรกในระบบใหม่ โดย เป็นระบบการเลือกตงั้ แบบผสม กลา่ วคอื เปน็ การเลอื กต้งั ในแบบแบง่ เขต เลือกตั้งผสมกับแบบบัญชีรายชื่อ โดยการเลือกต้ังแบบแบ่งเขตเลือกต้ังมี จ�ำนวน 400 เขตเลือกตัง้ จำ� นวน ส.ส. ในเขตเลือกตง้ั มเี ขตละ 1 คน ผู้มีสทิ ธิ เลือกต้ังสามารถเลือกผู้สมัครรับเลือกต้ังได้เพียงคนเดียว (กากบาทในบัตร เลือกต้ังได้คนเดียว) หรือท่ีเรียกว่า “หนึ่งคนหนึ่งเสียง (One man one vote)” ส่วนแบบบัญชีรายช่ือพรรค แบ่งเป็นบัญชีรายช่ือละ 100 คน ภายใต้การก�ำกับดูแลและจัดการเลือกต้ังของคณะกรรมการการเลือกตั้ง หรือ กกต. ซึง่ เป็นองค์กรอิสระตามรัฐธรรมนญู ท่มี กี ารก�ำหนดขึ้นมาใหม่ให้ ท�ำหน้าท่ีในการจัดการเลือกต้ังแทนกระทรวงมหาดไทย นับเป็นการส้ินสุด การทำ� หนา้ ทจ่ี ดั การเลอื กตง้ั ของฝา่ ยบรหิ ารอยา่ งเดด็ ขาด การเลอื กตงั้ ส.ส.
108 การเมือง - การเลอื กตัง้ ไทยและประเทศในอาเซยี น ครงั้ นเี้ ปน็ การเลอื กตงั้ ครงั้ แรกทมี่ กี ารพจิ ารณาเรอ่ื งรอ้ งเรยี นการเลอื กตง้ั จาก ทกุ ฝา่ ย กอ่ นทจี่ ะประกาศผลการเลอื กตงั้ โดยคณะกรรมการการเลอื กตง้ั ได้ มีการประกาศให้จัดการเลือกต้ังใหม่ถึง 62 เขตเลือกต้ัง และประกาศผล การเลือกตั้งในคร้งั แรกเป็นจ�ำนวน 338 เขตเลือกตัง้ จากจำ� นวน 400 เขต เลอื กตงั้ คณะกรรมการการเลอื กตงั้ ไดป้ ระกาศกำ� หนดใหม้ กี ารเลอื กตง้ั ใหม่ ดังนี้ ในวันที่ 30 มิถุนายน พ.ศ. 2544 จ�ำนวน 7 เขตเลือกตั้ง ได้แก่ กาญจนบรุ ี เขต 5 ขอนแก่น เขต 10 นครนายก เขต 2 บุรรี ัมย์ เขต 5 สุรนิ ทร์ เขต 4 อุบลราชธานี เขต 1 และเขต 10 ในวันที่ 3 มีนาคม พ.ศ. 2545 จ�ำนวน 14 เขตเลือกตั้ง ได้แก่ กรงุ เทพมหานคร เขต 4 และเขต 26 กาฬสนิ ธ์ุ เขต 2 จนั ทบรุ ี เขต 1 นครพนม เขต 3 นนทบรุ ี เขต 3 เพชรบรู ณ์ เขต 4 มหาสารคาม เขต 2 มุกดาหาร เขต 2 ลพบุรี เขต 3 ศรีสะเกษ เขต 1 และเขต 5 สิงห์บุรี เขต 2 และ อุทัยธานี เขต 1 ในวันที่ 8 กนั ยายน พ.ศ. 2545 ที่จังหวดั อบุ ลราชธานี เขต 10 ในวันที่ 1 มถิ นุ ายน พ.ศ. 2546 ท่จี งั หวดั ศรีสะเกษ เขต 1 ในวนั ที่ 12 ตุลาคม พ.ศ. 2546 ท่ีจงั หวดั นนทบรุ ี เขต 3 ในวันที่ 22 กุมภาพนั ธ์ พ.ศ. 2547 ท่จี ังหวัดสงขลา เขต 3 ในวันที่ 20 มนี าคม พ.ศ. 2547 ท่ีจังหวัดนครปฐม เขต 3 ข. การได้มาซงึ่ สมาชิกวฒุ ิสภา (ส.ว.) การไดม้ าซงึ่ สมาชิกวฒุ สิ ภา (ส.ว.) เปน็ การเลือกต้งั ทงั้ หมด จำ� นวน 200 คน โดยก�ำหนดให้จังหวัดเป็นเขตเลือกตั้ง ผู้มีสิทธิเลือกต้ังสามารถ ลงคะแนน (กากบาท) เลือกผู้สมัครรรับเลือกตั้งได้เพียงหมายเลขเดียว
สมชาติ เจศรีชยั 109 ไมว่ า่ ในเขตเลอื กตงั้ จงั หวดั นน้ั จะมี ส.ว.ไดก้ คี่ นกต็ าม ระบบการเลอื กตง้ั ทใี่ ช้ ยังคงเป็นแบบ “คะแนนน�ำก�ำชัย (FPP)” แต่จังหวัดที่พึงมี ส.ว. เกินกว่า หนึง่ คน ก็จะใช้คะแนนไลเ่ รยี งตามลำ� ดบั ลงมาจนกวา่ จะครบจำ� นวน ส.ว. ท่ี พึงมใี นจงั หวดั นั้น รฐั ธรรมนญู แหง่ ราชอาณาจักรไทย พทุ ธศักราช 2550 ก. การเลือกตง้ั สมาชิกสภาผ้แู ทนราษฎร (ส.ส.) การเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร (ส.ส.) เป็นการเลือกต้ังทั่วไป ภายหลังประกาศใช้รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2550 เปน็ ระบบการเลือกตง้ั แบบผสม คอื แบบแบง่ เขตเลือกต้งั กับระบบสดั สว่ น สภาผู้แทนราษฎรประกอบด้วยสมาชิกจ�ำนวนสี่ร้อยแปดสิบคน โดยเป็น สมาชิกซ่ึงมาจากการเลือกตั้งแบบแบ่งเขตเลือกต้ังจ�ำนวนสี่ร้อยคน และ สมาชิกซ่ึงมาจากการเลือกต้ังแบบสัดส่วนจ�ำนวนแปดสิบคน ในแบบแบ่ง เขตเลือกต้ัง เปน็ แบบ “แบง่ เขตเรียงเบอร์” คอื มีการแบ่งเขตเลือกต้ังโดยท่ี การแบ่งเขตน้ันแต่ละเขตจะมีจ�ำนวนประชากรในเขตเลือกตั้งที่ต่างกัน ดงั น้ัน แตล่ ะเขตเลือกต้ังจะมจี ำ� นวนผแู้ ทนได้ไม่เทา่ กัน ตัง้ แต่ 1 คน 2 คน และ 3 คน ตามจ�ำนวนของประชากรในแต่ละเขตเลือกต้ัง ซึ่งผู้มีสิทธิ์ ออกเสียงเลือกตั้งสามารถกาบัตรเลือกผู้สมัครได้จ�ำนวนเท่ากับจ�ำนวน ผู้แทนในเขตของตน ส่วนแบบสัดส่วนมีการแบ่งเป็นกลุ่มจังหวัด 8 กลุ่ม จังหวดั กล่มุ ละไม่เกิน 10 คน ต่อมาในปี พ.ศ. 2554 ได้มีการแกไ้ ขรัฐธรรมนูญแหง่ ราชอาณาจักร ไทย พุทธศักราช 2550 โดยมีการยบุ สภาและจัดใหม้ ีการเลือกต้ังทัว่ ไปเม่ือ วันอาทติ ยท์ ี่ 3 กรกฎาคม พ.ศ. 2554 ยงั คงเป็นระบบการเลือกต้งั แบบผสม คือแบบแบ่งเขตเลือกต้ัง กับระบบบัญชีรายช่ือพรรคเหมือนเมื่อปี 2544 อกี คร้ัง แบบแบง่ เขตเลือกตงั้ เปน็ การลงคะแนนแบบ “เขตเดยี วเบอร์เดียว”
110 การเมอื ง - การเลือกตั้งไทยและประเทศในอาเซยี น คอื การแบง่ เขตเลอื กตั้งน้นั จะแบง่ เป็น 375 เขต โดยยดึ หลกั ใหแ้ ตล่ ะเขต นนั้ มจี ำ� นวนประชากรทใ่ี กลเ้ คยี งกนั ใหม้ ากทสี่ ดุ ดงั นนั้ ในแตล่ ะเขตเลอื กตง้ั จะมผี ูแ้ ทนไดเ้ ขตเลอื กต้งั ละ 1 คนอยา่ งเท่าเทยี มกนั และผู้มสี ทิ ธิอ์ อกเสียง เลือกตง้ั สามารถกาบัตรเลือกผ้สู มัครได้เพียงคนเดยี ว ข. การได้มาซึ่งสมาชิกวฒุ ิสภา การไดม้ าซงึ่ สมาชกิ วฒุ สิ ภา (ส.ว.) รฐั ธรรมนญู แหง่ ราชอาณาจกั รไทย ได้ออกแบบให้การไดม้ าซึ่ง ส.ว. จากสองทาง คือ การเลือกตง้ั โดยตรงของ ประชาชน จังหวัดละ 1 คน เทา่ กนั ทกุ จังหวดั และมาจากการสรรหาโดย คณะกรรมการสรรหา21 จ�ำนวนที่เหลอื เมอ่ื หักจำ� นวน ส.ว. จากการเลอื กตง้ั ออกจากจำ� นวน ส.ว. ท้ังหมด 150 คนแล้ว จากผู้ทไ่ี ดร้ ับการเสนอช่ือจาก องคก์ รตา่ งๆ ในภาควชิ าการ ภาครฐั ภาคเอกชน ภาควชิ าชพี และภาคอน่ื ๆ ทเ่ี ปน็ ประโยชน์ในการปฏิบตั ิหนา้ ที่ของวุฒสิ ภา รัฐธรรมนูญแหง่ ราชอาณาจกั รไทย พทุ ธศกั ราช 2560 ก. การเลือกตงั้ สมาชิกสภาผ้แู ทนราษฎร (ส.ส.) ตามรฐั ธรรมนูญแหง่ ราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2559 บญั ญตั ิ ให้มีสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจ�ำนวนห้าร้อยคน โดยก�ำหนดให้มาจากการ 21 คณะกรรมการสรรหาประกอบดว้ ย 1. ประธานศาลรัฐธรรมนูญ 2. ประธานกรรมการการเลือกตั้ง 3. ประธานผู้ตรวจการแผน่ ดนิ 4. ประธานกรรมการปอ้ งกันและปราบปรามการทุจริตแหง่ ชาติ 5. ประธานกรรมการตรวจเงนิ แผ่นดิน 6. ผพู้ ิพากษาในศาลฎีกาทท่ี ีป่ ระชมุ ใหญ่ศาลฎกี ามอบหมาย 7. ตลุ าการในศาลปกครองสงู สดุ ทท่ี ่ีประชมุ ใหญศ่ าลปกครองสงู สดุ มอบหมาย
สมชาติ เจศรชี ัย 111 เลอื กตงั้ ระบบผสมเชน่ เดมิ ทงั้ ระบบแบง่ เขตเลอื กตง้ั และระบบบญั ชรี ายชอ่ื (Party list) ประกอบดว้ ยสมาชกิ ซงึ่ มาจากการเลอื กตง้ั แบบแบง่ เขตเลอื กตง้ั จ�ำนวนสามร้อยห้าสิบ (350) คน และสมาชิกซึ่งมาจากบัญชีรายชื่อของ พรรคการเมืองจ�ำนวนหน่ึงร้อยห้าสิบ (150) คน ให้แต่ละเขตเลือกตั้งมี สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรได้เขตละหน่ึงคน และผู้มีสิทธิเลือกต้ังมีสิทธิออก เสยี งลงคะแนนเลอื กตงั้ ไดค้ นละหนงึ่ คะแนน โดยจะลงคะแนนเลอื กผสู้ มคั ร รบั เลอื กตงั้ ผใู้ ด หรอื จะลงคะแนนไมเ่ ลอื กผใู้ ดเลยกไ็ ด้ ใหผ้ สู้ มคั รรบั เลอื กตง้ั ซึ่งได้รับคะแนนสูงสุดและมีคะแนนสูงกว่าคะแนนเสียงท่ีไม่เลือกผู้ใด(Vote No) เป็นผู้ได้รับเลือกตั้ง อันเป็นหลักของระบบคะแนนเสียงมากที่สุดหรือ “คะแนนนำ� กำ� ชยั ” (the First-Past-the-Post) สว่ นระบบบญั ชรี ายชอื่ พรรค (party-list) นนั้ ไมม่ กี ารลงคะแนนในบตั รเลอื กตง้ั ตา่ งหาก แตจ่ ะใชค้ ะแนน ท่ีนับจากบัตรเลือกตั้งเป็นคะแนน (ไม่ใช้บัตรเสียหรือบัตรที่ไม่ประสงค์ ลงคะแนน) มาคิดค�ำนวณหาจ�ำนวนที่น่ังเพ่ิมเติมในส่วนของแบบบัญชี รายช่ือ กล่าวคือ การค�ำนวณหาสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรแบบบญั ชีรายชอ่ื ของแต่ละพรรคการเมือง ให้ด�ำเนินการตามหลักเกณฑ์ ดงั ตอ่ ไปนี้ (1) นำ� คะแนนรวมทงั้ ประเทศท่พี รรคการเมืองทุกพรรคท่สี ่งผูส้ มคั ร รับเลือกต้ังแบบบัญชีรายช่ือได้รับจากการเลือกตั้งแบบแบ่งเขตเลือกตั้ง หารดว้ ยหา้ รอ้ ยอันเปน็ จำ� นวนสมาชิกทง้ั หมดของสภาผู้แทนราษฎร (2) น�ำผลลัพธ์ตาม (1) ไปหารจ�ำนวนคะแนนรวมท้ังประเทศของ พรรคการเมอื งแตล่ ะพรรคทไี่ ดร้ บั จากการเลอื กตงั้ สมาชกิ สภาผแู้ ทนราษฎร แบบแบ่งเขตเลือกตั้งทุกเขต จ�ำนวนที่ได้รับให้ถือเป็นจ�ำนวนสมาชิกสภา ผ้แู ทนราษฎรที่พรรคการเมืองนัน้ จะพึงมไี ด้ (3) น�ำจ�ำนวนสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรที่พรรคการเมืองจะพึงมีได้ ตาม (2) ลบด้วยจ�ำนวนสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรแบบแบ่งเขตเลือกตั้ง ท้ังหมดท่ีพรรคการเมืองน้ันได้รับเลือกต้ังในทุกเขตเลือกตั้ง ผลลัพธ์คือ
112 การเมือง - การเลอื กตั้งไทยและประเทศในอาเซยี น จ�ำนวนสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรแบบบัญชีรายชื่อที่พรรคการเมืองน้ันจะ ไดร้ ับ (4) ถ้าพรรคการเมืองใดมีผู้ได้รับเลือกตั้งเป็นสมาชิกสภาผู้แทน ราษฎรแบบแบ่งเขตเลือกตั้งเท่ากับหรือสูงกว่าจ�ำนวนสมาชิกสภาผู้แทน ราษฎรทพ่ี รรคการเมอื งนนั้ จะพงึ มไี ดต้ าม (2) ใหพ้ รรคการเมอื งนนั้ มสี มาชกิ สภาผู้แทนราษฎรตามจ�ำนวนที่ได้รับจากการเลือกต้ังแบบแบ่งเขตเลือกตั้ง และจะไมม่ สี ทิ ธไิ ดร้ บั การจดั สรรสมาชกิ สภาผแู้ ทนราษฎรแบบบญั ชรี ายชอ่ื และให้น�ำจ�ำนวนสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรแบบบัญชีรายช่ือท้ังหมดไป จดั สรรใหแ้ กพ่ รรคการเมอื งทม่ี จี ำ� นวนสมาชกิ สภาผแู้ ทนราษฎรแบบแบง่ เขต เลอื กตงั้ ตำ�่ กวา่ จำ� นวนสมาชกิ สภาผแู้ ทนราษฎรทพ่ี รรคการเมอื งนน้ั จะพงึ มี ได้ตาม (2) ตามอัตราส่วน แต่ต้องไม่มีผลให้พรรคการเมืองใดดังกล่าวมี สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรเกนิ จำ� นวนทจ่ี ะพงึ มไี ดต้ าม (2) (5) เม่ือได้จ�ำนวนผู้ได้รับเลือกต้ังแบบบัญชีรายชื่อของแต่ละ พรรคการเมอื งแลว้ ใหผ้ สู้ มคั รรบั เลอื กตง้ั ตามลำ� ดบั หมายเลขในบญั ชรี ายชอ่ื สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรแบบบัญชีรายช่ือของพรรคการเมืองน้ัน เป็นผู้ได้ รับเลือกตั้งเป็นสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร ในกรณีท่ีผู้สมัครรับเลือกต้ังผู้ใด ตายภายหลังวันปิดรับสมัครรับเลือกตั้ง แต่ก่อนเวลาปิดการลงคะแนนใน วนั เลอื กตงั้ ใหน้ �ำคะแนนทม่ี ผี ลู้ งคะแนนใหม้ าค�ำนวณตาม (1) และ (2) ดว้ ย ข. การไดม้ าซึง่ สมาชกิ วฒุ ิสภา (ส.ว.) การไดม้ าซง่ึ สมาชิกวุฒิสภา (ส.ว.) รัฐธรรมนูญนี้ บญั ญตั ใิ ห้มีสมาชิก จำ� นวนสองรอ้ ย (200) คน ซึง่ มาจากการเลือกกันเองของบคุ คลซง่ึ มีความรู้ ความเช่ียวชาญ ประสบการณ์ อาชีพ ลกั ษณะ หรือประโยชน์รว่ มกัน หรอื ท�ำงานหรือเคยท�ำงานด้านต่างๆ ท่ีหลากหลายของสังคม โดยในการแบ่ง กลุ่มต้องแบ่งในลักษณะท่ีท�ำให้ประชาชนซ่ึงมีสิทธิสมัครรับเลือกทุกคน
สมชาติ เจศรีชัย 113 สามารถอยใู่ นกล่มุ ใดกลุ่มหน่ึงได้ การแบ่งกลุ่ม จ�ำนวนกลุ่ม และคุณสมบัติของบุคคลในแต่ละกลุ่ม การสมคั รและรบั สมัคร หลกั เกณฑแ์ ละวธิ กี ารเลอื กกนั เอง การได้รับเลอื ก จ�ำนวนสมาชิกวุฒิสภาที่จะพึงมีจากแต่ละกลุ่ม การขึ้นบัญชีส�ำรอง การเล่อื นบุคคลจากบัญชสี �ำรองข้นึ ดำ� รงตำ� แหน่งแทน และมาตรการอื่นใด ที่จ�ำเป็นเพ่ือให้การเลือกกันเองเป็นไปโดยสุจริตและเที่ยงธรรม ให้เป็นไป ตามพระราชบญั ญตั ปิ ระกอบรฐั ธรรมนญู วา่ ดว้ ยการไดม้ าซงึ่ สมาชกิ วฒุ สิ ภา และเพื่อประโยชน์ในการด�ำเนินการให้การเลือกดังกล่าวเป็นไปโดยสุจริต และเที่ยงธรรม จะก�ำหนดมิให้ผู้สมัครในแต่ละกลุ่มเลือกบุคคลในกลุ่ม เดียวกัน หรอื จะก�ำหนดให้มีการคดั กรองผสู้ มคั รรับเลอื กด้วยวิธกี ารอื่นใดที่ ผสู้ มัครรบั เลือกมีสว่ นร่วมในการคดั กรองกไ็ ด้ การด�ำเนินการเลือก ส.ว. ให้ ดำ� เนนิ การตง้ั แตร่ ะดบั อำ� เภอ ระดบั จงั หวดั และระดบั ประเทศ เพอ่ื ใหส้ มาชกิ วฒุ ิสภาเป็นผ้แู ทนปวงชนชาวไทยในระดบั ประเทศ
114 การเมอื ง - การเลอื กตั้งไทยและประเทศในอาเซยี น
สมชาติ เจศรีชยั 115 บทท่ี 7 การรณรงค์หาเสียงเลือกต้ัง จากท่ีกล่าวมาแล้ว จะพบว่าแต่ละประเทศในอาเซียนล้วนแต่มี ประสบการณท์ างการเมอื งและการเลอื กตงั้ ทแี่ ตกตา่ งกนั ออกไป และไมอ่ าจ ลอกเลียนหรือน�ำระบบใดมาใช้กับประเทศของตนได้เสียท้ังหมด หากแต่ สามารถน�ำบางเร่ือง บางประเด็นมาประยุกต์ใช้ในส่วนที่เป็นประโยชน์ และสอดคล้องกับวัฒนธรรม และเหมาะสมกับบรรยากาศหรือเงื่อนไข ทางการเมืองของประเทศตนเท่านั้น และประสบการณ์ทางการเลือกต้ัง ของประเทศไทยกว่าสิบครั้งท่ีผ่านมาในบริบทของรัฐธรรมนูญ กฎหมาย พรรคการเมือง และกฎหมายเลือกตั้งแต่ละฉบับ ก็อาจกล่าวได้ว่ามี พัฒนาการมากพอสมควร แมจ้ ะยังไม่สามารถแกไ้ ขปญั หาหลักๆ ที่เกดิ จาก การเลอื กตง้ั ใหห้ มดไป ไมว่ า่ จะเปน็ การทุจรติ เลอื กตงั้ การเอารัดเอาเปรียบ ทางการเมือง ความรุนแรงทางการเมือง ความเป็นกลางของกรรมการ ผูจ้ ัดการเลอื กตั้ง เป็นต้น ในกระบวนการเลอื กตง้ั ทมี่ สี ว่ นตอ่ ความสจุ รติ และเทย่ี งธรรมทส่ี ำ� คญั ประการหน่ึงท่ีจะขอน�ำเสนอในบทนี้ ก็คือ การรณรงค์หาเสียงเลือกตั้ง ท่จี ะนำ� ไปสกู่ ารได้คะแนนเสียงจากผ้มู สี ิทธเิ ลือกตง้ั มากพอจนอยใู่ นล�ำดับที่ จะได้รับการประกาศผลการเลือกต้ังหรือเป็นผู้ชนะการเลือกต้ัง ในแต่ละ ประเทศทมี่ กี ารปกครองในระบอบประชาธปิ ไตยจะมกี ารกำ� หนดระยะเวลา หลักเกณฑ์และวิธีการในการรณรงค์หาเสียงเลือกตั้งท่ีแตกต่างกัน
116 การเมือง - การเลือกต้งั ไทยและประเทศในอาเซยี น บางประเทศก็มีการควบคุมท่ีเข้มงวด มีบทลงโทษที่เป็นท้ังทางอาญา แพ่ง และจนถึงข้ันเพิกถอนสิทธิการเลือกต้ังก็มี หลักของการรณรงค์หาเสียง เลือกตั้ง คือ การให้การศึกษาทางการเมืองแก่ประชาชน ให้ประชาชน สามารถน�ำข้อมูลไปใช้ในการตัดสินใจท่ีเป็นอิสระ ปราศจากการใช้อิทธิพล ขม่ ขู่ หรือมกี ารใหอ้ ามสิ สนิ จา้ งทเ่ี ปน็ การบิดเบือนเจตนารมณ์ของผเู้ ลอื กตง้ั และทา้ ยทส่ี ดุ การรณรงคห์ าเสยี งกจ็ ะไมส่ ามารถควบคมุ ตรวจสอบคา่ ใชจ้ า่ ย ที่ใช้ในการหาเสียงได้ ซ่ึงนับเป็นความล้มเหลวของการจัดการเลือกต้ังท่ี ไมเ่ ป็นธรรม และไมเ่ ท่าเทียมกัน การรณรงคห์ าเสียงเลือกต้งั คอื อะไร การรณรงค์หาเสียงเลือกตั้งเป็นกระบวนการหนึ่งในการเลือกต้ังท่ีผู้ สมคั รรบั เลอื กตงั้ และพรรคการเมอื งตอ้ งการแสดงใหเ้ หน็ ถงึ ความตงั้ ใจ และ ความพยายามในการแกไ้ ขปญั หาของชมุ ชนทอ้ งถน่ิ หรอื ประเทศ เพอื่ ใหผ้ มู้ ี สิทธิเลือกตั้งเข้าใจและตัดสินใจทางการเมืองในการเลือกต้ังให้ตนหรือ พรรคการเมืองได้รับชัยชนะในการเลือกต้ังและสามารถเข้าไปใช้อ�ำนาจใน การจดั สรรสิง่ ที่มีคุณคา่ ตอบสนองประชาชนอย่างท่วั ถงึ และเป็นธรรม ดงั นน้ั โดยหลกั การการรณรงคห์ าเสยี งเลอื กตงั้ จงึ ตอ้ งดำ� เนนิ ไปอยา่ ง มปี ระชาธปิ ไตย เปดิ เผย มคี วามเสมอภาค ตามกฎหมายและเพอ่ื ความเปน็ ระเบยี บเรยี บรอ้ ยทางสงั คม โดยจะมกี ารจดั การพบปะกบั ผมู้ สี ทิ ธเิ ลอื กตง้ั ใน ชมุ ชนท้องถิ่นทีล่ งสมัครเพ่อื เสนอแนวนโยบายและแผนการปฏิบตั งิ านด้าน ต่างๆ ถ้าหากได้รบั เลอื กเปน็ สมาชกิ รฐั สภาหรือสภาท้องถ่ิน นอกจากน้ี การรณรงคห์ าเสยี งเลอื กตัง้ จะเปน็ ขน้ั ตอนท่ีเสีย่ งตอ่ การ ทจุ ริตเลอื กตั้ง (electoral fraud) ไดง้ ่าย โดยเฉพาะการสร้างแรงจงู ใจให้ ตนเองได้คะแนนนิยมจากผู้มีสิทธิเลือกตั้งโดยการใช้เงิน หรือสินทรัพย์ แจกจา่ ยประชาชน หรอื มกี ารประกาศนโยบายทเ่ี ออ้ื ประโยชนแ์ กป่ ระชาชน
สมชาติ เจศรีชัย 117 ท่ีอาจมีผลกระทบต่อสถานะการเงินการคลังของประเทศ โดยไม่สามารถ กำ� หนดแหล่งที่มาของรายไดไ้ ด้อย่างชัดเจน หรอื เปน็ นโยบาย “ขายฝัน” ท่ี “โดนใจ” ผ้มู ีสิทธิเลือกต้ัง แตเ่ ม่อื พิเคราะหล์ งลกึ ถึงวธิ ีน�ำนโยบายไปปฏบิ ัติ แล้วไม่อาจเป็นไปได้อย่างแน่นอน ท้ังน้ี โดยมีเจตนาให้ประชาชนผู้มีสิทธิ เลอื กตง้ั ลงคะแนนเลอื กตง้ั ใหก้ บั ตนเองหรอื พรรคการเมอื งหรอื กลมุ่ การเมอื ง ทต่ี นสงั กัด การรณรงคห์ าเสยี งเลอื กต้งั ต้องท�ำอย่างไร การรณรงค์หาเสียงมีเป้าหมายส�ำคัญอยู่ที่ “คะแนนเสียง” เพ่ือให้ ประชาชนรู้จักผู้สมัครกับการให้ผู้สมัครหรือพรรคการเมืองได้ “ขาย” นโยบายในการบรหิ ารประเทศหรือชมุ ชนทอ้ งถ่ิน แสวงหาคะแนนนิยมจาก ประชาชน หรือสมาชกิ ของชุมชน เพื่อได้คะแนนโหวตในการเลือกตง้ั ค�ำวา่ เสียง ในท่ีน้ี มิได้หมายถึงเสียงท่ีได้ยินด้วยหู แต่หมายถึงความนิยม หรือ คะแนนท่ีผู้สมัครรับเลือกต้ังได้รับจากประชาชนหรือสมาชิกของชุมชนน้ัน เพราะฉะนั้นการรณรงค์หาเสียงจึงต้องมีเทคนิคที่จะผูกใจประชาชน โดย เฉพาะในประเทศท่ีระบบสมาชิกพรรคยังไม่ค่อยเข้มแข็ง หรือมีประชาชน ผู้มีสิทธิเลือกตั้งท่ีมิใช่สมาชิกพรรคการเมืองประเภท “จงรักภักดี” กับ พรรคการเมืองที่ตนเป็นสมาชิก หรือยังไม่สังกัดพรรคการเมืองใด พรรคการเมืองหน่ึง การด�ำเนินการรณรงค์หาเสียงเลือกต้ังมักจะด�ำเนินไป ในสองลกั ษณะ คอื 1) การรณรงค์หาเสยี งเลือกต้ังโดยใช้กลยุทธ์การตลาด ทางการเมอื ง 2) ระบบหัวคะแนน ตัวอยา่ งการรณรงคห์ าเสียงในตา่ งประเทศ 1. ประเทศอังกฤษ การรณรงค์หาเสียงในอังกฤษใช้วิธีการหาเสียงท่ีครอบคลุมในระดับ ประเทศ (Nationalization) ในขณะเดียวกันต้องมีการหาเสียงแบบเจาะ
118 การเมือง - การเลือกต้ังไทยและประเทศในอาเซยี น เฉพาะกลมุ่ ด้วย (Differentiation) โดยมเี หตผุ ล 2 ประการในการหาเสยี ง ระดบั ประเทศ ดังน้ี ประการแรก ประชาชนจะให้ความสนใจกับเหตุการณ์หรือประเด็น ทางการเมืองในระดับประเทศมากกว่าประเด็นทางการเมืองระดับท้องถ่ิน ประกอบกับการก�ำหนดเขตเลือกตั้งใหม่โดยคณะกรรมการก�ำหนดเขต เลอื กตั้ง ซง่ึ ท�ำให้ประชาชนมคี วามผกู พันกบั ทางการเมืองท้องถ่นิ นอ้ ยลง ประการท่ีสอง กลยุทธ์ในการรณรงค์หาเสียงในการเลือกต้ังทั่วไป เปน็ การรวมศนู ยค์ วบคมุ โดยผนู้ ำ� พรรคการเมอื ง ซง่ึ ตา่ งจากในศตวรรษท่ี 19 ท่ีพรรคการเมืองต้องพึ่งพาผู้สมัครและสนับสนุนพรรคในท้องถิ่นในการ หาเสียงในแต่ละเขตเลือกตั้ง แต่ในปัจจุบันเทคโนโลยีในการสื่อสารและ การคมนาคมมีความทันสมัย ท�ำให้ผู้น�ำพรรคสามารถแถลงนโยบายกับผู้มี สิทธิออกเสียงเลือกตัง้ ท่ัวประเทศได้โดยตรง ผา่ นส่ือวทิ ยกุ ระจายเสียงและ วทิ ยุโทรทัศน์ และสือ่ ออนไลน์ เป็นตน้ อย่างไรก็ตาม ในการเลือกต้ังท่ัวไปในระยะหลังมิได้เป็นการแข่งขัน ระหว่างพรรคแรงงานและพรรคอนรุ ักษน์ ิยมเท่านน้ั มักจะมีพรรคการเมือง อื่นเริ่มเข้ามาแทรก เช่น ในสก็อตแลนด์ และ เวลส์ มีพรรคชาตินิยม (Nationalists) เข้ามาเป็นตัวแทรก และทางภาคใต้ก็มีพรรคศูนย์กลาง (Center Party) เขา้ มามบี ทบาทเชน่ กนั ดงั นนั้ การรณรงคห์ าเสยี งในปจั จบุ นั จงึ ต้องเจาะเฉพาะกลุ่มตามส่วนต่างๆ ของประเทศมากข้นึ การรณรงค์หาเสียงเลือกตั้งเป็นท่ีมาของค่าใช้จ่ายก้อนโตในการ เลือกต้ัง กฎหมายเลือกตั้งจะมีการจ�ำกัดในเร่ืองการใช้เงินในการหาเสียง ข้อที่นา่ สังเกตคือ อังกฤษเปน็ ประเทศท่มี ีคา่ ใชจ้ ่ายในการเลือกตงั้ น้อยมาก เม่ือเปรียบเทียบกับประเทศตะวันตกด้วยกัน นอกจากน้ี เพดานการ ใช้จ่ายสูงสุดยังผันแปรไปตามลักษณะของผู้มีสิทธิออกเสียงเลือกต้ัง และปจั จยั ทางภมู ศิ าสตรข์ องเขตเลอื กตงั้ แตล่ ะเขตอีกดว้ ย ในปี ค.ศ. 1992
สมชาติ เจศรชี ยั 119 ค่าใช้จ่ายโดยเฉล่ียส�ำหรับพรรคใหญ่ๆที่ได้รับอนุญาตให้ใช้อยู่ที่ประมาณ 5,000 ปอนด์ต่อผู้สมัคร 1 คน ในขณะท่ีมีการจ่ายจริงอยู่ที่ประมาณ 4,000 ปอนด์ อยา่ งไรกต็ าม คา่ ใชจ้ า่ ยสำ� หรบั พรรคในสว่ นกลางนนั้ มไิ ดจ้ ำ� กดั จำ� นวนไว้ ในปี ค.ศ. 1992 คา่ ใชจ้ า่ ยของสามพรรคใหญร่ วมกนั อยทู่ ป่ี ระมาณ 23 ลา้ นปอนด์ (พรรคอนุรักษ์นิยม 2 ลา้ นปอนด)์ ซ่ึงเปน็ ค่าใช้จ่ายระหว่าง การรณรงคห์ าเสยี งสี่สปั ดาห์ อยา่ งไรก็ตาม พรรคการเมอื งองั กฤษจะได้รับ ช่วงเวลาในการหาเสียงผ่านทางวิทยุและโทรทัศน์โดยไม่เสียค่าใช้จ่าย แต่ไม่รวมค่าใช้จ่ายในการชื้อเวลาโฆษณาที่แต่ละพรรคด�ำเนินการเอง นอกจากนกี้ ารโฆษณาผา่ นสอ่ื ในสว่ นภมู ภิ าคและการใชโ้ ทรศพั ทเ์ พอ่ื หาเสยี ง สนับสนุนและการส�ำรวจความคิดเห็นในท้องถิ่นเป็นส่ิงที่กระท�ำมิได้เลย ถ้าไม่มีการแก้ไขกฎหมายให้มีการปรับเพดานค่าใช้จ่ายในการหาเสียงของ พรรคในท้องถิ่น ซ่งึ ในประเด็นนี้เปน็ เร่อื งทีแ่ ตกต่างจากสหรัฐอเมริกา ตามปกติแล้วผู้สมัครในท้องถิ่นจะท�ำการรณรงค์หาเสียงโดยการ ออกพบประชาชน แจกใบปลิว และการกล่าวปราศรัยในการประชมุ แต่มี วิธีการหน่ึงท่ีพรรคการเมืองท้องถ่ินท่ีขยันขันแข็งสามารถเพ่ิมคะแนนเสียง สนับสนุนได้ น่ันคือ การกระตุ้นให้ผู้มีสิทธิออกเสียงเลือกต้ังที่แจ้งว่ามีเหตุ จำ� เปน็ เนอื่ งจากปว่ ยหรอื ตอ้ งไปทำ� ธรุ ะตา่ งถน่ิ ใชส้ ทิ ธอิ อกเสยี งทางไปรษณยี ์ พรรคท่ีมีการจัดต้ังดี และผู้สมัครที่มีช่ือเสียงซ่ึงต้องการเสียงสนับสนุนอีก เพยี ง 200-300 คะแนน เพ่อื ให้ได้รบั ชัยชนะอาจใชว้ ิธีการน้ไี ด้ผล ในปี ค.ศ. 1992 มีผู้ใช้สิทธิลงคะแนนเสียงผ่านทางไปรษณีย์ถึง 720,000 คน หรือ เท่ากับร้อยละ 2 ของคะแนนเสียงทั้งหมด เมื่อมีการเปรียบเทียบระหว่าง พรรคแรงงานและพรรคอนุรักษ์นิยมในการกระตุ้นให้มีการใช้สิทธิทาง ไปรษณีย์ปรากฏว่าพรรคอนุรักษ์นิยมจะมีความพร้อมมากกว่า และชนช้ัน กลางท่ีสนับสนุนก็มักมีคุณสมบัติท่ีเข้าเกณฑ์และให้ความร่วมมือในการใช้ สทิ ธทิ างไปรษณยี ์ มกี ารประมาณกันวา่ ในปี ค.ศ. 1992 พรรคอนุรักษ์นยิ ม
120 การเมอื ง - การเลอื กตั้งไทยและประเทศในอาเซยี น ได้รับท่นี ่งั ในสภา 5 ท่ีน่งั ดว้ ยวธิ กี ารน้ี นอกจากนี้ การเลือกใช้สือ่ และการใหบ้ ริการบางประการต่อผู้มีสทิ ธิ ออกเสียงเลือกต้ัง (Constituency Services) เป็นวิธีการท่ีสมาชิกสภาผู้ แทนราษฎรทเ่ี จนเวที (Established up) น�ำมาใช้ในการเพ่มิ คะแนนเสยี ง ใหก้ บั ตนเองได้ โดยกระทำ� ในลกั ษณะการดำ� เนนิ การสว่ นตวั มใิ ชใ่ นฐานะของ ตวั แทนพรรค ในเรอ่ื งนม้ี หี ลกั ฐานยนื ยนั ทพี่ สิ จู นไ์ ดจ้ ากการเลอื กตง้ั ในปี ค.ศ. 1992 ที่ผู้สมัครบางคนมิได้สอบตกไปตามกระแสความตกต�่ำของพรรคใน บางภูมภิ าคไปด้วย 2. ประเทศญป่ี ุ่น การรณรงค์หาเสียงเลือกต้ังฉบับ “โมเดลญ่ีปุ่น” น้ัน ทางคณะ กรรมการการเลอื กตง้ั (กกต.) จะเปน็ ผกู้ ำ� หนดสถานทกี่ ลางในการตดิ รปู และ ประวัติผู้สมัคร ส่วนการหาเสียงของผู้สมัครนั้น อนุญาตให้มีรถหาเสียงได้ 1 คนั และมผี ตู้ ดิ ตามได้ 5 คน พรอ้ มไมโครโฟน 1 ชุด และต้องไปหาเสยี ง ด้วยตัวเอง ระบบนี้จะท�ำให้ไม่มีการหาเสียงท่ีวุ่นวาย ไม่ต้องใช้จ่ายเงิน จ�ำนวนมาก เป็นการสร้างความเท่าเทียมให้ผู้สมัคร ซึ่งเสียค่าใช้จ่ายการ เลือกต้ังน้อยที่สุด ไม่ต้องมีการแห่ หรือจัดเวทีปราศรัย หรือใช้หัวคะแนน เคาะตามประตูบ้าน จะไม่มีแผน่ ป้ายหาเสยี งจำ� นวนมาก เนือ่ งจากเปน็ การ สิน้ เปลอื ง ญี่ปุ่นจะมีปา้ ยทป่ี ดิ หาเสยี งท่ที างการกำ� หนดไวโ้ ดยเฉพาะ จะไป ปดิ ปา้ ยตามใจชอบไมไ่ ด้ ผดิ กฎหมาย ดงั นน้ั ถา้ อยากทราบวา่ ใครสมคั รเปน็ สมาชกิ สภาผแู้ ทนราษฎร (ส.ส.) ในเขตของทา่ น ทา่ นจะตอ้ งไปทที่ ที่ าง กกต. ก�ำหนดไว้ เช่น ตามสวนสาธารณะ หรือจุดท่ีจะมีการลงคะแนนเลือกตั้ง เท่าน้ัน ตามกฎหมายการเลือกต้ังของญ่ีปุ่นน้ัน มีการห้ามใช้อินเตอร์เน็ต (Internet) ระหว่างฤดูกาลการหาเสียง นกั การเมอื งถูกห้ามเสนอข้อความ
สมชาติ เจศรชี ยั 121 ใดๆ ทางเว็บไซต์ หรืออินเตอร์เนต็ (Internet) ซ่ึงบรรดานักการเมืองเหน็ วา่ เป็นช่วงท่ีผู้มีสิทธิออกเสียงเลือกต้ังต้องการค้นหาข้อมูลเก่ียวกับตัวผู้สมัคร รบั เลอื กตง้ั มากทส่ี ดุ กฎหมายการเลอื กตง้ั ของญปี่ นุ่ คอ่ นขา้ งยงุ่ ยากซบั ซอ้ น ซง่ึ เปน็ กฎหมายทม่ี มี านานกวา่ 50 ปแี ลว้ มงุ่ ทจี่ ะสง่ เสรมิ ความยตุ ธิ รรม และ ควบคมุ การทจุ รติ ทางการเมือง แตก่ ่อใหเ้ กิดเปน็ ระบบท่ีตายตวั ไมม่ ีความ ยดื หยนุ่ มกี ารควบคมุ รายละเอยี ดหยมุ หยมิ ของการหาเสยี ง อยา่ งเชน่ จำ� กดั จ�ำนวนแผ่นพับ ใบปลิว และจ�ำนวนรถยนต์ที่ใช้ในการหาเสียง หรือป้าย โปสเตอร์ต่างๆ ต้องมีขนาดกว้างไม่เกิน 58 เซนติเมตร ยาวไม่เกิน 83 เซนติเมตร เปน็ ต้น การมีระเบียบกฎเกณฑท์ เี่ รียกวา่ “บุนโช โตหงะ” ซ่งึ จ�ำกัดการใช้ภาพ และถ้อยค�ำโดยมุ่งหมายท่ีจะให้ผู้สมัครรับเลือกตั้งทุกคน มีโอกาสเท่าเทียมกัน และป้องกันไม่ให้นักการเมืองผู้มีทุนมากๆ ได้เปรียบ อย่างไม่ยุติธรรมในการหาเสียง คณะกรรมการการเลือกต้ัง (กกต.) จัดให้ อนิ เตอร์เนต็ (Internet) อยูใ่ นขา่ ย “บนุ โช โตหงะ” และด้วยเหตุที่เวบ็ ไซต์ หรืออนิ เตอรเ์ น็ต (Internet) ทำ� ให้ผ้สู มัครมชี ่องทางเขา้ ถงึ อยา่ งไมจ่ �ำกัด จึง ถูกห้ามใช้ในช่วงท่ีมีการหาเสียง บรรดานักการเมืองท่ีมีเว็บไซต์ หรือ อินเตอร์เน็ต (Internet) ระหว่างสมัยประชุมรัฐสภา จะต้องหยุดการลง ขอ้ ความตา่ งๆ ระหวา่ งทกี่ ำ� ลงั มกี ารหาเสยี ง และตอ้ งตดิ ปา้ ยโปสเตอรห์ าเสยี ง ตามท่ีท่ีทางคณะกรรมการการเลือกตั้ง (กกต.) จัดไว้ให้ และใช้เคร่ือง ขยายเสียงในการประกาศหาเสียง ญี่ปุ่นซ่ึงเป็นหนึ่งในประเทศที่มีการ ตดิ ตอ่ สอื่ สารทางระบบ Digital หรอื อนิ เตอรเ์ นต็ (Internet) มากทสี่ ดุ ในโลก ยังคงใช้ระบบการหาเสียงสมัยเมื่อศตวรรษท่ี 20 ขณะที่บรรดาผู้น�ำทาง การเมอื งในประเทศอน่ื ๆ ทวั่ โลก ใช้อุปกรณเ์ คร่อื งมือเครื่องใช้สมยั ศตวรรษ ที่ 21 อยา่ ง Twitter และ Facebook ในการหาเสยี ง (ญ่ีป่นุ การห้ามใช้ Internet ในฤดกู าลการหาเสยี ง, 2552) โมเดลของญี่ปุ่นใช้แนวคิด Party politics หรือการเมืองท่ีอิงกับ
122 การเมือง - การเลอื กตงั้ ไทยและประเทศในอาเซียน อุดมการณแ์ ละผลประโยชนข์ องพรรคการเมอื งเปน็ หลัก ดงั น้ัน การรณรงค์ หาเสียงเลือกต้ังอาจไม่มีความจ�ำเป็นมากนัก อาศัยความคุ้นเคยและความ ภักดีของประชาชนต่อนโยบายของพรรคการเมือง ตราบที่นโยบายของ พรรคการเมืองยังสามารถตอบสนองความต้องการของประชาชนได้ พรรคการเมืองนั้นก็จะยังได้รับการสนับสนุนอย่างต่อเน่ือง อย่างไรก็ดี ใน ประวัติศาสตร์การเมืองญี่ปุ่น คนญ่ีปุ่นก็เปล่ียนความเห็นและความภักดี ทางการเมืองได้ หากพรรคการเมืองน้ันๆ ไม่อาจตอบสนองความต้องการ ทางการเมือง อย่างเช่น การลงจากอ�ำนาจทค่ี รอบง�ำมายาวนานของพรรค LDP (Liberal Democratic Party) ในปี ค.ศ. 1993 และอีกครั้งในปี ค.ศ. 2009 เมื่อวิเคราะห์เปรียบเทียบกับการรณรงค์หาเสียงเลือกต้ังท่ีมีการ สนบั สนนุ โดยรฐั แลว้ กฎหมายวา่ ดว้ ยการเลอื กตง้ั กพ็ ยายามนำ� มาบญั ญตั ไิ ว้ ภายใต้หลักความพอเพียง เท่าเทียมและไม่ให้เกิดการได้เปรียบเสียเปรียบ ในการรณรงคห์ าเสยี งเลอื กตงั้ และใหเ้ ปน็ หนา้ ทขี่ องรฐั ตอ้ งจดั ให้ ในลกั ษณะ ดงั น้ี “ใหค้ ณะกรรมการการเลอื กตง้ั กำ� หนดหลกั เกณฑก์ ารดำ� เนนิ การของ รฐั ในการสนับสนุนการเลือกตั้ง ในเร่ืองดังต่อไปน้ี (1) การจัดสถานท่ีปิดประกาศและที่ติดแผ่นป้ายเกี่ยวกับการ เลอื กตงั้ ในบรเิ วณสาธารณสถาน ซง่ึ เปน็ ของรฐั ใหพ้ อเพยี งและเทา่ เทยี มกนั ในการโฆษณาหาเสยี งเลอื กตง้ั ของผสู้ มคั รทกุ คนและพรรคการเมอื งทกุ พรรค (2) การพมิ พ์และจัดสง่ เอกสารเกยี่ วกบั การเลือกตง้ั และผสู้ มคั รหรือ พรรคการเมืองไปให้ผู้มีสทิ ธิเลอื กต้งั (3) สถานที่ส�ำหรับให้ผู้สมัครและพรรคการเมืองใช้ในการโฆษณา หาเสียงได้อย่างเท่าเทียมกัน ในการนี้รัฐอาจจัดให้มีการแสดงหรือการ ด�ำเนินการอ่ืนใดเพ่ือจูงใจให้ผู้มีสิทธิเลือกต้ังมาฟังการโฆษณาหาเสียงด้วย
สมชาติ เจศรีชยั 123 ก็ได้ แต่ต้องมิใช่เป็นการจัดให้มีเพ่ือการสนับสนุนผู้สมัครหรือพรรค การเมืองใดโดยเฉพาะ (4) การก�ำหนดหลักเกณฑ์และระยะเวลาให้พรรคการเมืองโฆษณา หาเสียงเลือกตั้งทางวิทยุกระจายเสียงและวิทยุโทรทัศน์หรือการไปออก อากาศทางวิทยุกระจายเสียงและวิทยุโทรทัศน์ของรัฐ ซึ่งจะต้องจัดให้ พรรคการเมืองท่ีส่งผู้สมคั รรบั เลอื กตั้งมีโอกาสเทา่ เทียมกัน (5) การสนับสนุนของรัฐในกิจการอ่ืนที่คณะกรรมการการเลือกตั้ง ก�ำหนดเพ่ือให้การหาเสียงเลือกต้ังเป็นไปด้วยความเรียบร้อย ให้คณะ กรรมการการเลอื กตง้ั วางระเบยี บเกย่ี วกบั ขอ้ ควรปฏบิ ตั ใิ นการเลอื กตงั้ หรอื ข้อห้ามมใิ หป้ ฏบิ ตั ใิ นการเลือกตง้ั ในราชกจิ จานเุ บกษา” โดยการกำ� หนดไวใ้ นลกั ษณะดงั กลา่ ว ยงั คงไมไ่ ดร้ บั ความสนใจทง้ั จาก นักการเมืองผู้สมัครรับเลือกต้ัง ประชาชนผู้มีสิทธิเลือกต้ัง โดยเฉพาะเรื่อง ของการจดั เวทสี ำ� หรบั ใหผ้ สู้ มคั รและพรรคการเมอื งใชใ้ นการโฆษณาหาเสยี ง บางเวทีมีแต่เจ้าหน้าที่ส�ำนักงาน กกต. กับผู้สมัครรับเลือกต้ัง จึงเป็นการ ใช้จ่ายงบประมาณท่ีไม่คุ้มค่า เพราะไม่สามารถสื่อสารการเมืองไปยัง ประชาชนผูม้ ีสิทธิเลือกตง้ั ได้ สว่ นการหาเสยี งผา่ นวิทยกุ ระจายเสียง และวิทยุโทรทัศน์ หน่วยงาน ผู้รับผิดชอบคือ คณะกรรมการกิจการกระจายเสียง กิจการโทรทัศน์ และ กิจการโทรคมนาคมแห่งชาติ (กสทช.) ก็ประสานทางผู้รับสัมปทานหรือ ผู้ประมูลคล่ืนไปได้ ปญั หาอย่ทู ี่รูปแบบของการหาเสยี งไม่น่าสนใจ เวลาทผ่ี ู้ สมัครและพรรคการเมืองได้รับการจัดสรรเวลาก็มีน้อย มิหน�ำซ�้ำช่วงเวลา การออกอากาศก็ไม่ใช่ช่วงเวลาที่ประชาชนให้ความสนใจ กอปรกับการ เคล่ือนเข้าสู่ยุคอินเตอร์เน็ตและประชาชนมีทางเลือกในการใช้สมาร์ทโฟน (Smart phone) กนั มากขึ้นทำ� ให้การสนับสนุนโดยรฐั ในช่องทางนี้ไม่ค่อย เป็นท่ีนิยม ได้ผลน้อย ไม่ค่อยคุ้มค่ากับเงินงบประมาณท่ีจ่ายไปและไม่มี
124 การเมอื ง - การเลือกต้งั ไทยและประเทศในอาเซียน ประสทิ ธภิ าพในการสื่อสารทางการเมืองกบั ประชาชนอกี เช่นกนั ส่วนการจัดพิมพ์เอกสารแนะน�ำตัวผู้สมัครรับเลือกต้ังและให้ข้อมูล การเลอื กตง้ั แกป่ ระชาชนผมู้ สี ทิ ธเิ ลอื กตง้ั โดยการสง่ ไปพรอ้ มหรอื แยกสง่ ไป ต่างหากกับหนงั สอื แจ้งเจา้ บ้าน ซึ่งประมาณวา่ มกี วา่ ยสี่ ิบลา้ นครัวเรอื น ซ่ึง กว่าการแจกจ่ายจะเป็นไปอย่างทั่วถึงและประชาชนได้เปิดอ่าน เพ่ือเป็น ข้อมูลในการตัดสนิ ใจกม็ เี วลาน้อย และขอ้ มูลทีใ่ หไ้ ปกม็ ีจำ� กัดมาก อาทิ ชือ่ - ชื่อสกุล วุฒิการศึกษา การด�ำรงต�ำแหน่งส�ำคัญ ประสบการณ์การท�ำงาน (อยา่ งยอ่ ) ซง่ึ กไ็ มอ่ าจสอื่ สารทางการเมอื งแกป่ ระชาชนอยา่ งมปี ระสทิ ธภิ าพ อกี เชน่ กนั ประเด็นสุดท้าย คือ การจัดสถานท่ีปิดประกาศและท่ีติดแผ่นป้าย เกี่ยวกบั การเลอื กต้ังในบรเิ วณสาธารณสถานซ่ึงเป็นของรัฐ ใหพ้ อเพียงและ เท่าเทยี มกนั เพื่อเป็นไปตามหลักของการไม่ใหไ้ ด้เปรียบเสียเปรียบกัน การ จดั ทำ� โปสเตอรจ์ งึ มกี ารกำ� หนดขนาดระหวา่ งโปสเตอร์ กบั แผน่ ปา้ ยหาเสยี ง จะตอ้ งมขี นาดเทา่ ใด จ�ำนวนเทา่ ใด โดยประกาศของ กกต. กำ� หนดไวด้ ังน้ี 1) โปสเตอรท์ จ่ี ะปดิ ไดต้ อ้ งมขี นาดกวา้ งไมเ่ กนิ 30 เซนตเิ มตร ยาวไมเ่ กนิ 42 เซนติเมตร หรือขนาดกระดาษเอสาม (A3) มีจ�ำนวนไม่เกิน 10 เท่าของ จ�ำนวนหน่วยเลือกต้ังในเขตเลือกตั้งน้ัน 2) แผ่นป้าย (คัตเอาท์) มี ขนาดไม่เกิน 130x245 เซนติเมตร มีจ�ำนวนไม่เกิน 5 เท่าของจ�ำนวน หน่วยเลือกตั้งในเขตเลือกต้ังน้ัน ความสนใจของผู้สมัครรับเลือกตั้งและ พรรคการเมืองในการปิดโปสเตอร์หาเสียงและแผ่นป้ายไม่ค่อยได้รับความ สนใจทจ่ี ะไปตดิ ในสถานทที่ ี่ กกต. มอบหมายใหอ้ งคก์ รปกครองสว่ นทอ้ งถนิ่ ประกาศก�ำหนดและจัดท�ำวัสดุไว้ให้ติดโปสเตอร์ ส่วนใหญ่จะปรากฏว่าอยู่ ในสถานที่ของทางราชการ ดังนั้น เป้าหมายหลักของผู้สมัครจึงมุ่งไปที่ สถานที่สาธารณะ และคนท่วั ไปเห็นไดง้ ่าย อาทิ เกาะกลางถนน รมิ ถนนที่ เปน็ ทางหลวง เสาไฟฟา้ ของการไฟฟา้ ในทร่ี ม่ ไม้ เปน็ ตน้ ซง่ึ การปดิ โปสเตอร์
สมชาติ เจศรชี ยั 125 และแผน่ ปา้ ยได้รับความนิยมสงู เพราะประชาชนเหน็ ง่าย แต่บางจุดท่เี ปน็ มุมอบั ในการมองเหน็ ของผ้ขู บั ข่รี ถยนตก์ ็เป็นเหตใุ หเ้ กิดอุบัตเิ หตุขนึ้ ได้ นอกจากนี้ กกต. ยังอนญุ าตใหม้ กี ารหาเสยี งโดยใชอ้ ปุ กรณอ์ น่ื อาทิ รถยนตแ์ หป่ า้ ย โดยกำ� หนดวา่ แผน่ ปา้ ยหาเสยี งตดิ ขา้ งรถตอ้ งไมเ่ กนิ สองปา้ ย ขนาด 130 x 245 เซนติเมตร วิธีการหาเสียงโดยใช้อุปกรณ์และวิธีการ เช่นนี้จะได้รับความนิยมในหมู่ผู้สมัครและพรรคการเมืองไม่น้อยในแง่ ของประสทิ ธิภาพในการเขา้ ถึงของประชาชน บทบัญญตั ิของกฎหมายไทย วา่ ด้วยขอ้ ห้ามและข้อควรปฏบิ ตั ิในการหาเสยี ง กฎหมายประกอบรัฐธรรมนูญว่าด้วยการเลือกต้ังสมาชิกสภาผู้แทน ราษฎรและสมาชกิ วุฒสิ ภา พ.ศ. 2541 และกฎหมายประกอบรฐั ธรรมนูญ วา่ ดว้ ยการเลอื กตงั้ สมาชกิ สภาผแู้ ทนราษฎรและการไดม้ าซงึ่ สมาชกิ วฒุ สิ ภา พ.ศ. 2550 บัญญัติสาระเกี่ยวกับการรณรงค์หาเสียงเลือกตั้งท่ีไม่ค่อย แตกต่างกันเท่าไรนัก โดยวางหลักเก่ียวกับการรณรงค์หาเสียงเลือกตั้งที่ เปน็ การทุจริตเลือกต้งั ไว้ดังนี้ “ห้ามมิให้ผู้สมัครหรือผู้ใดกระท�ำการอย่างหนึ่งอย่างใดเพื่อจูงใจ ให้ผู้มีสิทธิเลือกตั้งลงคะแนนเสียงเลือกตั้งให้แก่ตนเอง หรือผู้สมัครอ่ืน หรือพรรคการเมืองใด หรือให้งดเว้นการลงคะแนนให้แก่ผู้สมัครหรือ พรรคการเมืองใด ดว้ ยวธิ ีการดังตอ่ ไปนี้ (1) จัดท�ำ ให้ เสนอให้ สัญญาว่าจะให้ หรือจัดเตรียมเพ่ือจะให้ ทรัพยส์ นิ หรอื ผลประโยชนอ์ ืน่ ใดอนั อาจคำ� นวณเปน็ เงินได้ แกผ่ ู้ใด (2) ให้ เสนอให้ หรือสัญญาว่าจะให้เงิน ทรัพย์สิน หรือประโยชน์ อ่ืนใดไม่ว่าจะโดยตรงหรือโดยอ้อม แก่ชุมชน สมาคม มูลนิธิ วัด สถาบัน
126 การเมือง - การเลือกต้งั ไทยและประเทศในอาเซียน การศึกษา สถานสงเคราะห์ หรือสถาบนั อน่ื ใด (3) ท�ำการโฆษณาหาเสียงด้วยการจัดให้มีมหรสพหรือการรื่นเริง ตา่ งๆ (4) เลี้ยงหรือรับจะจดั เลี้ยงผู้ใด (5) หลอกลวง บงั คบั ขู่เขญ็ ใช้อิทธิพลคุกคาม ใสร่ ้ายด้วยความเทจ็ หรือจูงใจให้เข้าใจผิดในคะแนนนิยมของผู้สมคั รหรอื พรรคการเมอื งใด” ซึ่งหากวเิ คราะหแ์ ลว้ กจ็ ะพบว่า การร้องเรียนเรอื่ งการทุจริตเลือกตั้ง จากการรณรงค์หารเสียงเลือกต้ัง จะมีสาเหตุมาจากข้อห้ามเหล่านี้เป็น สว่ นใหญ่ โดยเฉพาะเรอ่ื งการใสร่ า้ ยปา้ ยสี หรอื การหลอกลวง การใชอ้ ทิ ธพิ ล คุกคาม เพราะการกระท�ำเหล่าน้ีมักมีการเก็บหลักฐานไว้ในลักษณะภาพ หรือเสียง แล้วน�ำไปถอดเทปเพื่อใช้เป็นเอกสารประกอบในการร้องเรียน ผู้สมัครรับเลือกต้ังอีกฝ่ายหนึ่ง แต่การกระท�ำใดๆ ท่ีเป็นการเสริมสร้าง ความเขา้ ใจ ให้ข้อมลู แกผ่ ู้เลือกตง้ั มกั จะมนี อ้ ย ระเบยี บคณะกรรมการการเลอื กตง้ั วา่ ดว้ ยการหาเสยี ง ขอ้ ควรปฏบิ ตั ิ และขอ้ หา้ มมใิ หป้ ฏบิ ตั ใิ นสว่ นทเ่ี กยี่ วกบั การเลอื กตง้ั สมาชกิ วฒุ สิ ภาและการ ด�ำเนินการใดๆ ของผูส้ มัครรับเลือกตั้งและผูม้ ีสิทธิเลอื กตงั้ พ.ศ. 2551 ในการหาเสียงเลือกต้ัง ผู้สมัครหรือบุคคลผู้ช่วยในการหาเสียง เลือกตงั้ สามารถหาเสยี งเลือกตัง้ ไดก้ ด็ ้วยวิธกี ารดังตอ่ ไปน้ี (1) แจกเอกสาร หรือเทปหรือวัสดุโทรทัศน์ที่เกี่ยวกับการหาเสียง เลือกต้ังในเขตชุมชน สถานทีต่ า่ งๆ หรืองานพิธกี ารต่างๆ โดยเอกสาร หรือ เทปหรือวัสดุโทรทัศน์ที่เก่ียวกับการหาเสียงเลือกตั้งสามารถมีชื่อ รูปถ่าย หมายเลขประจ�ำตัวผู้สมัคร ข้อมูลประวัติเฉพาะที่เก่ียวกับตัวผู้สมัคร และ ขอ้ ความทใี่ ชใ้ นการหาเสยี งเลอื กตงั้ เฉพาะทเ่ี กย่ี วกบั การปฏบิ ตั งิ านในหนา้ ท่ี ของวุฒิสภาตามทีก่ ฎหมายบัญญตั ิไว้
สมชาติ เจศรีชัย 127 (2) ใช้พาหนะในการหาเสียงเลือกต้ัง หรือจัดสถานที่หรือเวทีเพื่อ โฆษณาหาเสียงนอกเหนือจากการจัดสถานที่โฆษณาหาเสียงหรือเวทีกลาง ตามประกาศคณะกรรมการการเลือกตงั้ เร่ือง กำ� หนดวธิ ีการสนบั สนุนการ หาเสียงเลือกต้ังสมาชิกวุฒสิ ภา พ.ศ. 2551 (3) ใช้เครื่องขยายเสยี งเพอ่ื ชว่ ยในการหาเสยี งเลอื กตั้ง (4) จัดท�ำประกาศหรอื ปา้ ยโฆษณาหาเสียงเลือกตัง้ โดยมชี ่อื รปู ถา่ ย หมายเลขประจ�ำตัวผู้สมัครข้อมูลประวัติเฉพาะที่เก่ียวกับตัวผู้สมัคร และ ขอ้ ความทใี่ ชใ้ นการหาเสยี งเลอื กตง้ั เฉพาะทเ่ี กย่ี วกบั การปฏบิ ตั งิ านในหนา้ ที่ ของสมาชกิ รฐั สภาตามทกี่ ฎหมายบญั ญตั ไิ ว้ ทง้ั นี้ ประกาศหรอื ปา้ ยดงั กลา่ ว จะตอ้ งมขี นาดและจำ� นวน รวมทง้ั การปดิ ประกาศหรอื ตดิ ปา้ ยในสถานทต่ี าม ทกี่ �ำหนด (5) จัดหาเส้ือผ้า สิ่งของ เล้ียงอาหารหรือเคร่ืองดื่ม ส�ำหรับบุคคล ผู้ช่วยในการหาเสียงเลือกต้ังโดยต้องแจ้งรายชื่อและจ�ำนวนบุคคลผู้ช่วยใน การหาเสียงให้คณะกรรมการการเลือกตั้งประจ�ำจังหวัดทราบก่อน เพ่ือ พิจารณาตามความเหมาะสมและค�ำนึงถึงความเท่าเทียมกันของผู้สมัคร ทกุ คน (6) โฆษณาหาเสยี งเลือกตัง้ โดยวิธกี ารใช้ เช่า หรือจา้ ง รายการวิทยุ โทรทศั น์ วทิ ยกุ ระจายเสยี ง เคเบิลทวี ี หรือสปอ็ ตโฆษณา (7) โฆษณาหาเสียงเลือกตั้งผ่านทางเว็บไซต์ จดหมาย ส่ือสิ่งพิมพ์ และสื่ออเิ ลก็ ทรอนิกส์ (8) จัดท�ำเอกสารที่มีการกากบาทในช่องลงคะแนนเลือกตั้งให้กับ ตนเอง เพ่ือใช้ในการหาเสียงเลือกต้ังให้กับตนเองได้ แต่การจัดท�ำเอกสาร ดงั กลา่ วต้องไม่มีขนาด ลักษณะ หรอื สที คี่ ล้ายกบั บัตรเลือกตัง้ และต้องไม่ ปรากฏหมายเลขประจำ� ตวั ของผู้สมัครอ่นื
128 การเมอื ง - การเลอื กตัง้ ไทยและประเทศในอาเซยี น คนไทยคดิ อยา่ งไรกับการรณรงค์หาเสียงเลอื กตง้ั จากการด�ำเนินโครงการสัมมนาเชิงปฏิบัติการ เร่ือง การรณรงค์ ทางการเมืองและผู้ลงคะแนนเสียงท่ีมีคุณภาพของสถาบันนโยบายศึกษา โดยการสนบั สนนุ ของมลู นธิ คิ อนราด อาเดนาวร์ ตลอดทง้ั ปี 2559 โดยผเู้ ขา้ รว่ มกจิ กรรมเปน็ คนหน่มุ คนสาว เยาวชน นกั เรยี น นิสติ นกั ศึกษา ที่จังหวดั อบุ ลราชธานี ขอนแกน่ ชมุ พร ระนอง อตุ รดติ ถ์ และหนองบวั ล�ำภู ทงั้ ทก่ี ำ� ลงั จะมีสิทธิเลือกตั้งคร้ังแรก และบางส่วนก็เคยไปใช้สิทธิเลือกตั้งมาบ้างแล้ว พบวา่ ลกั ษณะทเ่ี ปน็ การรณรงคห์ าเสยี งเลอื กตงั้ ทอ่ี ยากเหน็ หรอื อยากใหท้ ำ� (Do) และไมอ่ ยากเห็นหรอื ไม่อยากใหท้ ำ� (Don’t) มีลักษณะดังต่อไปนี้ ก) การรณรงค์หาเสียงเลือกตั้งที่อยากเห็นหรืออยากให้ท�ำ (Do) ประกอบดว้ ย 1) การบอกใหท้ ราบถึงนโยบายของผู้สมคั รหรอื พรรคการเมอื ง ทีต่ นสังกัด 2) เสนอนโยบายที่ดีและทำ� ไดจ้ ริง 3) หาเสียงตามเวลาที่กำ� หนด 4) ซ่อื สตั ย์ สุจรติ (ไมท่ ุจริต) มีคุณธรรม จรยิ ธรรม 5) จดั ลำ� ดบั ความสำ� คญั ของปญั หาของชมุ ชนทอ้ งถน่ิ และประเทศ 6) ควรรับฟงั และเคารพความคดิ เหน็ ประชาชน 7) มคี วามรับผดิ ชอบ 8) ไม่วา่ รา้ ยผู้สมคั รพรรคการเมอื งอื่น 9) ทำ� คลิปวีดีโอเสนอทางสอื่ ออนไลน์ 10) มคี วามเสมอต้นเสมอปลาย 11) เป็นตวั อยา่ งที่ดีของประชาชน 12) ผู้สมัครต้องบอกประสบการณ์การท�ำงานและความส�ำเร็จ ในชีวิต
สมชาติ เจศรีชัย 129 ข) การรณรงค์หาเสียงเลือกตั้งท่ีไม่อยากเห็นหรือไม่อยากให้ท�ำ (Don’t) ประกอบด้วย 1) ใช้อ�ำนาจชักจงู ประชาชนใหเ้ ลือก 2) ทจุ ริตหาเสียง 3) เมอื่ ไดร้ บั เลือกตัง้ แลว้ ละเลยการปฏิบัตหิ น้าท่ี 4) ท�ำอะไรที่ขดั กบั รฐั ธรรมนูญ 5) ใหร้ า้ ยผู้สมคั รและพรรคการเมอื งอ่ืน 6) คดิ นโยบายทข่ี ายฝนั และนโยบายประชานิยม 7) ติดสนิ บนเจา้ หน้าท่ี (จัดการเลือกตงั้ ) 8) ทำ� ดเี อาหนา้ เฉพาะตอนทม่ี าหาเสยี ง ไมท่ ำ� ตามทหี่ าเสยี งไว้ 9) นำ� ประชาชนเข้าหาอบายมขุ 10) หาเสียงในวนั เลอื กตงั้ 11) โจมตกี นั จนสร้างปัญหาความวนุ่ วาย 12) ลงประวตั ทิ ่เี ปน็ เท็จ 13) ทำ� เพื่อประโยชนส์ ว่ นตวั และพวกพ้อง 14) เพกิ เฉยต่อปัญหา 15) ละเมดิ สิทธิพลเมือง จากความคิดเห็นของผู้เข้าร่วมสัมมนาเหล่านี้สะท้อนได้หลายมิติ ได้แก่ มิติของกฎหมายโดยเฉพาะการไม่ละเมิดกฎหมายรัฐธรรมนูญ การไม่ซื้อเสียง มิติความยึดโยงกับพ้ืนท่ี เช่น การไม่เพิกเฉยต่อปัญหา (ของชมุ ชนทอ้ งถนิ่ และประเทศ) จดั ลำ� ดบั ความสำ� คญั ของปญั หาของชมุ ชน ท้องถิ่นและประเทศ มิติของความเป็นผู้น�ำ เช่น เป็นตัวอย่างที่ดีของ ประชาชน การไม่น�ำประชาชนเข้าหาอบายมุข มิติความเป็นพลเมือง เช่น การไม่ท�ำเพ่ือประโยชน์ส่วนตัวและพวกพ้อง มีความรับผิดชอบ ไม่ละเมิด สิทธิพลเมือง ความเป็นคนเสมอต้นเสมอปลาย การไม่ว่าร้ายผู้สมัครและ
130 การเมอื ง - การเลอื กตั้งไทยและประเทศในอาเซยี น พรรคการเมืองอื่น รับฟังและเคารพความคิดเห็นประชาชน มิติทางด้าน การมีคุณธรรม จรยิ ธรรม เชน่ มีความซือ่ สัตย์ สุจรติ (ไมท่ จุ รติ ) มีคณุ ธรรม จริยธรรม และมีบางเรื่องก็เป็นเชิงให้ข้อคิดเห็น เช่น ท�ำคลิปวีดีโอเสนอ ทางสื่อออนไลน์ ในสว่ นประเดน็ ทจี่ ะสรา้ งสำ� นกึ รบั ผดิ ชอบของผสู้ มคั รในการหาเสยี ง ที่เคารพกฎหมาย ระเบียบ และกติกาสังคม ตลอดจนไม่กระท�ำการทุจริต เลอื กตงั้ ไม่ใช้นโยบายขายฝัน เปน็ เร่ืองท่ตี ้องการบ่มเพาะพฒั นา โดยอาจมี สถาบันของรัฐสภา ร่วมกับองคก์ รอื่นๆ ในการเตรยี มผสู้ มคั รไวเ้ สียแต่เน่นิ ๆ โดยไม่ต้องหวังวา่ ทกุ คนท่ผี ่านกระบวนการขดั เกลา บม่ เพาะให้มีความเปน็ พลเมือง จะต้องก้าวไปถึงขั้นการเป็นผู้ลงสมัครรับเลือกต้ังไปเสียทั้งหมด แต่อย่างน้อยก็ท�ำให้กระบวนการเสนอตัวในชั้นการรณรงค์หาเสียงเกิด ประโยชนแ์ ก่ผ้มู ีสิทธเิ ลือกตั้งทจี่ ะตัดสินใจทางการเมืองได้ไม่มากกน็ อ้ ย
สมชาติ เจศรชี ยั 131 บทที่ 8 ทิศทางอนาคตประชาธิปไตยไทย : คนคณุ ภาพ การเลอื กตงั้ คุณภาพ พอมรี ัฐธรรมนูญทกุ คนกม็ องไกลไปถงึ การเลือกต้ัง เพราะในสงั คมที่ มีการเมืองระบอบประชาธิปไตยใช้การเลือกต้ังเป็นมาตรวัดว่ามีความเป็น ประชาธปิ ไตยมากนอ้ ยแคไ่ หน เพราะเหตนุ กี้ ระมงั องคก์ รจดั การเลอื กตงั้ จงึ ต้องไปก�ำหนดร้อยละของผู้ไปใช้สิทธิลงคะแนนเลือกตั้ง และบางทีก็ไป ก�ำหนดถึงจ�ำนวนบัตรเสียว่าต้องไม่เกินร้อยละเท่าน้ันเท่าน้ี การก�ำหนด เช่นน้ีบางทีก็ท�ำให้เหมือนดูถูกประชาชนผู้มีสิทธิเลือกตั้งว่า ถ้าคนไป เลอื กตงั้ กันนอ้ ยเพราะ “เงินไม่มา กาไม่เปน็ ” ท�ำให้การเลอื กต้ังเปน็ เหมือน การซื้อขายสินค้า ไม่ได้เป็นการพัฒนาวัฒนธรรมการเมืองในระบอบ ประชาธิปไตย ที่มีการเลือกตั้งเป็นกิจกรรมในการแสดงออกถึงความเป็น เจ้าของ “อ�ำนาจอธิปไตย” ผมู้ ีสทิ ธิเลือกต้ัง บทบาทของคนในยคุ ศตวรรษท่ี 21 ไดเ้ ปลย่ี นไปมากทง้ั ดา้ นเศรษฐกจิ สังคม และการเมือง โดยมีดิจิทัลเป็นแกนหลักในการท�ำกิจกรรมการเมือง ในยุคนี้จึงมีลักษณะที่หลากหลายเกินกว่าการออกเสียงลงคะแนนโดยตรง อยา่ งไรกด็ ี เมอื่ ตอ้ งมกี ารเลอื กตง้ั หากจะใหบ้ รรลเุ ปา้ หมายของการเลอื กตง้ั ทส่ี ามารถเลอื กสรรผสู้ มคั รรบั เลอื กตง้ั ไปเปน็ ผแู้ ทนของประชาชนในการทำ�
132 การเมือง - การเลือกต้งั ไทยและประเทศในอาเซียน หน้าที่ทั้งในระบบรัฐสภาและระบบประธานาธิบดีแลว้ จะต้องมีการเตรียม ความพร้อมประชาชนผู้มีสิทธิเลือกตั้งเพื่อให้ได้พลเมืองแข็งขัน (active citizens) ในการไปท�ำหน้าที่ผู้เลือกตั้งท่ีมีคุณภาพ ซึ่งจากการด�ำเนิน โครงการสัมมนาเชิงปฏิบัติการ เรื่อง การรณรงค์ทางการเมืองและผู้ลง คะแนนเสียงทีม่ คี ณุ ภาพ ของสถาบันนโยบายศึกษา โดยการสนับสนุนของ มูลนธิ ิคอนราด อาเดนาวร์ ตลอดท้งั ปี 2559 โดยผเู้ ขา้ รว่ มกจิ กรรมเปน็ คนหนมุ่ คนสาว เยาวชน นกั เรยี น นสิ ติ นกั ศกึ ษา ทงั้ ทกี่ ำ� ลงั จะมสี ทิ ธเิ ลอื กตงั้ ครง้ั แรก และบางสว่ นก็เคยไปใช้สทิ ธิเลอื กต้ังมาบา้ งแล้ว พบว่า อยา่ งน้อย จะตอ้ งเปน็ ผ้ทู ่ีมีคุณลกั ษณะส�ำคัญดังนี้ 1. มีความรู้ความเข้าใจอย่างเพียงพอทางการเมือง การรู้ถึง ความสัมพันธ์ระหว่างการเมืองกับวิถีชีวิตของทุกคนในทุกๆ วัน ไม่ว่าจะ เป็นการด�ำรงชีวิตประจ�ำวัน หรือการประกอบอาชีพล้วนเป็นผลมาจาก การเมอื งทงั้ สนิ้ อาทิ การควบคมุ ราคาสนิ คา้ การกำ� หนดคา่ ใชจ้ า่ ยในบรกิ าร สาธารณะ (คา่ ไฟฟา้ คา่ นำ้� ประปา คา่ โดยสารรถไฟ รถเมล)์ การแกไ้ ขปญั หา การว่างงาน การขึ้นค่าแรง การขายสินค้าเกษตร ฯลฯ เหล่าน้ีมาจากการ บรหิ าราชการแผน่ ดนิ โดยรฐั บาลทผ่ี เู้ ลอื กตงั้ เลอื กไปทง้ั สน้ิ และยง่ิ ไดร้ บั รถู้ งึ การมอี ำ� นาจของผแู้ ทนทตี่ นเลอื กวา่ ตอ้ งไปท�ำหนา้ ทใ่ี นการอนมุ ตั งิ บประมาณ กว่าสองแสนล้านล้านบาท ท่ีมาจากการเสียภาษีทั้งทางตรงและทางอ้อม (ภาษมี ลู ค่าเพมิ่ ) ท่ีประชาชนจ่ายไปในการซอื้ สินคา้ ให้กบั รฐั ความร้เู ชน่ นีม้ ี ความส�ำคัญต่อการตัดสินใจไปเลือกตั้ง และจะต้องเลือกใครที่จะท�ำให้ ประเทศได้รับประโยชน์อย่างเต็มที่ การเสาะแสวงหาความรู้เหล่าน้ี ในยุค ดิจทิ ลั ก็สามารถเข้าถงึ ไดไ้ ม่ยากนัก ดังน้ัน สอื่ ทกุ ประเภท รฐั และองคก์ รท่ี เกีย่ วขอ้ ง เชน่ คณะกรรมการการเลอื กต้ัง จึงตอ้ งตระหนักถึงภารกจิ ในการ สรา้ งการรบั รใู้ หก้ บั ประชาชนอยา่ งครบถว้ นและรอบดา้ น ไมท่ ำ� ใหป้ ระชาชน ต้องได้รับข้อมลู ด้านเดยี วหรือข้อมูลทม่ี กี ารบดิ เบือน
สมชาติ เจศรชี ยั 133 2. คดิ เปน็ หรอื คดิ อยา่ งมวี จิ ารณญาณ ตดั สนิ ใจอยา่ งมเี หตผุ ลและ เปน็ อสิ ระ กอ่ นท่ีจะออกไปลงคะแนนเสียง ปญั หาส�ำคัญคือการตัดสนิ ใจว่า จะเลือกผู้สมัครรับเลือกตั้งคนใด หรือพรรคการเมืองใดและเพราะอะไร เร่ืองนี้ท่ีส�ำคัญ เพราะการจะเลือกใครโดยหลักการเลือกตั้งท่ีก�ำหนดว่า “ต้องเปน็ ความลบั ” ดังน้ัน เมอื่ เข้าคูหา การเลอื กหรอื ไมเ่ ลอื กใคร ไมม่ ใี คร บังคับจับมือให้กาเลือกผู้สมัครหรือพรรคการเมืองใด การลงคะแนนเลือก ผสู้ มคั รจงึ ขนึ้ อยกู่ บั การตดั สนิ ใจของผมู้ สี ทิ ธเิ ลอื กตง้ั และตอ้ งตดั สนิ ใจอยา่ ง มีเหตุผล เพราะนี่เป็นการใช้อ�ำนาจอธิปไตยท่ีไม่บ่อยครั้งนักและเป็นการ ตัดสินอนาคตของประเทศ ปัญหาว่าจะตัดสินใจอย่างไรจึงได้ช่ือว่าเป็น พลเมืองแขง็ ขัน ก็จะต้องขึ้นอยู่กบั การหาข้อมลู และคดิ ไตร่ตรองขอ้ มูลท่ีได้ รบั ประกอบการตดั สนิ ใจ มใิ ชเ่ หน็ หรอื อา่ นขอ้ มลู แลว้ เชอื่ วา่ ขอ้ มลู นนั้ เปน็ จรงิ ไปท้ังหมดเสียทีเดียว เนื่องจากช่วงการรณรงค์หาเสียง ข้อมูลจากส่ือและ หัวคะแนนจะมีมากมาย จรงิ บา้ งเท็จบ้างปะปนกันไป 3. การมีเป้าหมายอย่างชัดเจน ผลของการเลือกตั้งคือ การได้ บุคคลไปท�ำหน้าทีแ่ ทนผเู้ ลือกตง้ั เพราะไมส่ ามารถใหท้ ุกคนไปท�ำหนา้ ที่ใน การตัดสินใจทางการเมืองโดยตรงได้ ระบบประชาธิปไตยที่น�ำมาใช้จึงเป็น ระบบตัวแทน (Representative Democracy) ดังนั้น การเลือกตั้งจึงมี ความสำ� คญั ตอ่ การไปกำ� หนดนโยบาย ออกกฎหมายในการปกครองประเทศ โดยตวั แทน คำ� กลา่ วท่วี ่า “ประชาชนเปน็ อย่างไร ผแู้ ทนกจ็ ะเปน็ เช่นน้ัน” แสดงใหเ้ หน็ ถงึ ความสำ� คญั ของการตดั สนิ ใจไปใชส้ ทิ ธเิ ลอื กตง้ั ของประชาชน และเมอื่ ตดั สนิ ใจเลอื กผสู้ มคั รไปแลว้ กต็ อ้ งพรอ้ มทจี่ ะรบั ผลของการตดั สนิ ใจ น้ัน หากผู้เลือกตั้งยึดเอาผลประโยชน์แห่งชาติเป็นหลักที่ต้องการเห็นการ เปล่ียนแปลงในทุกๆ ด้านของประเทศ ก็ต้องเลือกผู้สมัครรับเลือกต้ังหรือ พรรคการเมืองทม่ี ีการเสนอนโยบายชดั เจน เป็นรปู ธรรมและมีความเป็นไป ได้โดยเฉพาะด้านเศรษฐกิจและสังคม เป็นประโยชน์ท่ีมีผลต่อส่วนรวม
134 การเมอื ง - การเลือกต้งั ไทยและประเทศในอาเซยี น ไม่เอาประโยชน์ส่วนตนหรือประโยชน์เฉพาะหน้าท่ีมาในรูปของเงิน หรือ สิ่งของท่ีมีผู้มาหยิบย่ืนให้เพื่อให้ไปลงคะแนนเลือกตั้งผู้สมัครคนใดท่ีไม่มี ประสบการณ์ ขาดหลกั การท�ำงานในฐานะผแู้ ทนราษฎร หรือไรน้ โยบายที่ เปน็ ประโยชนต์ ่อส่วนรวม 4. การยึด และปฏิบัติตามกฎหมาย และระเบียบ ความจริงกฎ ระเบียบของการเลือกต้ังมีมากพอสมควรที่อาจท�ำให้ผู้มีสิทธิเลือกต้ังไม่รู้ ทีค่ ุน้ เคยกัน กเ็ ชน่ การไม่จ�ำหน่ายสรุ าในวนั เลือกตงั้ (ถ้าจะนงั่ ดม่ื กนิ ในบา้ น ก็ไม่มีใครว่าอะไร) การไม่ขนคนไปหน่วยเลือกตั้ง (ส่วนมากที่มุ่งหมายหวัง เอาผิดกับพวกหัวคะแนนเสียมากกว่า) แต่ที่ส�ำคัญ คือการเรียกรับเงินเพื่อ ไปลงคะแนนเลือกต้ัง ซึ่งถือว่าการไปลงคะแนนเลือกต้ังมีเหตุจูงใจ และ เป็นการละเมิดกฎหมายการเลือกต้ัง ซึ่งในหลายประเทศที่มีพลเมือง แข็งขันและการเมืองยกระดับไปเป็นส่วนส�ำคัญของวิถีชีวิตท่ีชี้เป็นชี้ตาย อนาคตของประเทศแล้ว การทุจริตเลือกต้ังเช่นน้ีถือเป็นความผิดอาญา อยา่ งหนึ่ง 5. ร้จู กั หนา้ ทแี่ ละมคี วามรับผดิ ชอบส่วนตน สว่ นใหญ่เมอ่ื กล่าวถงึ หน้าที่และความรบั ผดิ ชอบ และหนา้ ท่ขี องผมู้ สี ิทธิเลอื กตั้งก็คือ “การไปใช้ สทิ ธเิ ลอื กตง้ั ” แตผ่ มู้ สี ทิ ธเิ ลอื กตงั้ ยงั มหี นา้ ทอี่ นื่ อกี อาทิ การตรวจสอบรายชอื่ ในบัญชีรายชอ่ื ผูม้ ีสทิ ธิเลอื กต้ัง (เพือ่ ไมใ่ หม้ ี “ผี” เข้ามาสวมสทิ ธิไปใช้สทิ ธิ อย่างไม่สุจริต) การเพ่ิมชื่อหรือถอนช่ือ การชักชวนเพื่อนบ้านให้ไปใช้สิทธิ เลอื กตงั้ และถา้ ตอ้ งเดนิ ทางหรอื ไมอ่ ยใู่ นเขตเลอื กตงั้ ทต่ี นเองมชี อื่ อยใู่ นบญั ชี รายชอ่ื ผ้มู สี ทิ ธิเลอื กตั้งก็จะตอ้ งไปลงทะเบยี นเพอ่ื ใชส้ ิทธลิ งคะแนนเลือกตง้ั กอ่ นวนั เลอื กตง้ั (ลงคะแนนเลอื กตง้ั ลว่ งหนา้ ) หรอื ลงคะแนนเลอื กตงั้ นอกเขต เช่นน้ีเป็นตน้ 6. การมคี วามร้คู วามเข้าใจในระบบและวิธกี ารเลือกต้ัง การไปใช้ สทิ ธเิ ลอื กตง้ั ดเู หมอื นจะงา่ ยๆ เพราะวธิ กี ารและกระบวนการเลอื กตงั้ ไมค่ อ่ ย
สมชาติ เจศรชี ัย 135 ได้เปลี่ยนแปลงไปมากจากที่เคยก�ำหนดและจัดการเลือกต้ัง ไม่ว่าจะเป็น ยุคสมัยท่ีกระทรวงมหาดไทยจัดการเลือกต้ัง หรือตกมาถึงยุคการจัดการ เลอื กต้งั โดยคณะกรรมการการเลอื กต้ัง หรอื กกต. ยังคงมีการจัดทเ่ี ลือกตง้ั การเข้าสู่กระบวนการเลอื กตง้ั โดยใชบ้ ตั รเลือกต้ัง กาบตั ร หยอ่ นบตั รลงไป ในหบี บตั ร (ไมว่ า่ จะเปน็ หบี บตั รทท่ี ำ� ดว้ ยกระดาษ หบี เหลก็ หรอื หบี พลาสตกิ กต็ าม) ในขณะทห่ี ลายประเทศมกี ารใชเ้ ครอื่ งอเิ ลก็ ทรอนกิ สใ์ นการลงคะแนน เลือกต้ังแล้ว การลงคะแนนเลือกตั้งท่ีส�ำคัญคือท�ำให้การออกเสียงเป็นไป ตามเจตนารมณ์และสามารถรู้ได้ว่าผู้เลือกตั้งมีเจตนารมณ์อย่างไร น่ัน หมายความว่า การลงคะแนนต้องไม่เป็นบัตรเสีย ซ่ึงจะท�ำให้การไปลง คะแนนเลือกตง้ั ไรค้ ณุ ค่าไปในทันที 7. การเตรียมความพร้อมในการไปลงคะแนนเลือกต้ัง นอกจาก การเตรยี มในเรอ่ื งของการตดั สนิ ใจในการเดนิ ทางไปออกเสยี งลงคะแนนแลว้ การจะไปเลอื กตงั้ กต็ อ้ งเตรยี มความพรอ้ มในดา้ นการเดนิ ทางไปยงั ทเ่ี ลอื กตง้ั (ชาวบ้านมักจะเรียกว่า “หน่วยเลือกต้ัง”) อย่างน้อยต้องรู้ว่าอยู่ตรงไหน (ทาง กกต. จะมีหนังสือแจ้งเจ้าบ้านให้รู้ล่วงหน้า) จากน้ันต้องเตรียม เอกสารแสดงตน ซง่ึ ปจั จบุ นั ระบบเลอื กตง้ั ของไทยใชก้ ารจดั ทำ� บญั ชรี ายชอ่ื ผู้มีสิทธิเลือกต้ังจากทะเบียนบ้าน ในขณะที่หลายประเทศใช้วิธีการลง ทะเบียน การไปใช้สิทธิเลือกตั้งของคนไทยจึงต้องใช้บัตรประชาชน หรือ บัตรท่ีทางราชการออกให้ (มีภาพถ่ายและเลขประจ�ำตัวประชาชนท่ีมีอยู่ 13 หลัก) บัตรหมดอายุก็ใช้ได้ (จุดอ่อนของการท�ำบัญชีรายช่ือผู้มีสิทธิ เลือกตั้งจากทะเบียนบ้านก็คือความไม่เป็นปัจจุบันของข้อมูลในระบบ ทะเบียนราษฎร (หรือทะเบยี นบา้ น) เนอ่ื งมาจากการไม่แจ้งเกดิ -ตาย ย้าย เข้าหรือย้ายออก) ในบางประเทศ อาทิ อินเดีย เคยมีการประกาศให้ผู้ลง คะแนนเลือกตั้งต้องมีขวดน้�ำและผ้าไปด้วย เพราะบางพ้ืนที่บางฤดูกาล อากาศรอ้ น มลี มพดั พาฝนุ่ ทรายเขา้ มาจงึ ตอ้ งมผี า้ ปดิ หนา้ ปอ้ งกนั ทรายปลวิ
136 การเมอื ง - การเลือกตงั้ ไทยและประเทศในอาเซียน เข้าตาติดตัวไปด้วย ในระยะหลังเพ่ืออ�ำนวยความสะดวกแก่ประชาชน ทาง กกต. มีการปรุบริเวณท่ีเป็นข้อมูลของผู้มีสิทธิเลือกต้ังให้ประชาชน สามารถฉีกข้อมูลในหนังสือแจ้งเจ้าบ้านติดตัวไปด้วย จะได้ไม่เสียเวลาไป ตรวจดูรายช่อื หนา้ หน่วยเลือกต้งั อยา่ ลืมก�ำหนดนดั หมายส่วนตัว จ�ำวันผดิ และประการส�ำคัญก็อย่าลืมเตรียมความพร้อมด้านสุขภาพร่างกายให้ สามารถเดนิ ทางไปลงคะแนนเลอื กตัง้ ไดด้ ว้ ย 8. ความมีส�ำนึกสาธารณะ เป็นประเด็นส�ำคัญท่ีในการสัมมนา พดู ถงึ ซึ่งการไปลงคะแนนเลอื กต้งั จะมีคณุ ภาพได้ แมก้ ฎหมายเลอื กต้งั จะ มิได้กำ� หนดให้เป็นหนา้ ที่ ผมู้ สี ิทธิเลอื กต้งั บางทา่ นทม่ี สี �ำนึกสาธารณะก็อาจ เขา้ รว่ มเป็นคณะกรรมการประจำ� หนว่ ยเลอื กตง้ (กปน.) เปน็ ผ้สู งั เกตการณ์ การเลือกตั้ง ซ่ึงจะต้องมีการฝึกอบรมให้พร้อมที่จะท�ำหน้าท่ี นอกจากนั้น ประชาชนทไี่ ปใชส้ ทิ ธลิ งคะแนนเลอื กตง้ั แลว้ เมอื่ ปดิ การลงคะแนนกอ็ าจรว่ ม ดกู ารนบั คะแนนภายนอกหน่วยเลือกตั้งไดด้ ้วย หากเหน็ การทจุ ริตจากการ นับคะแนน ประชาชนผู้มีสิทธิเลือกตั้งก็สามารถใช้สิทธิในการทักท้วงหรือ ร้องเรียนได้ด้วย ซ่ึงนับว่าเป็นความรับผิดชอบต่อส่วนรวมท่ีจะช่วยให้การ เลอื กตงั้ เป็นไปโดย “สุจรติ และเที่ยงธรรม” ผู้สมัครรบั เลือกตง้ั มผี กู้ ลา่ วไวว้ า่ “การเมอื งเปน็ เรอ่ื งของอำ� นาจ” แตก่ ใ็ ชว่ า่ เมอื่ ไดอ้ ำ� นาจ ไปแลว้ นกั การเมอื งจะใชอ้ ำ� นาจไปในทางทมี่ ชิ อบไดต้ ามใจ เพราะ “การเมอื ง เป็นเรื่องของการใช้อ�ำนาจที่ได้มาไปจัดสรรส่ิงที่มีคุณค่าให้กับคนในสังคม อย่างเป็นธรรม” นักการเมืองที่ใช้อ�ำนาจในแบบท่ีกล่าวมานี้จึงกลายเป็น รัฐบุรุษของรัฐน้ันๆ การเลือกต้ังเป็นกระบวนการของการเข้าสู่อ�ำนาจ นกั การเมอื งจงึ มกั จะมงุ่ เนน้ การเอาชนะการเลอื กตงั้ ทกุ รปู แบบทง้ั ทช่ี อบและ ไมช่ อบ ในประเทศทก่ี ารเมอื งในระบอบประชาธปิ ไตยอยใู่ นระยะเปลย่ี นผา่ น
สมชาติ เจศรชี ัย 137 จึงมีการควบคุมการหาเสียง เพ่ือป้องกันการทุจริตเลือกตั้ง (Electoral fraud) กลา่ วส�ำหรบั เมอื งไทยแลว้ การหาเสยี งในอดตี เปน็ เรอื่ งทมี่ ที ง้ั การน�ำ เสนอนโยบาย การโจมตจี นบางทีถงึ ข้นั ท�ำรา้ ยคู่แข่งขนั การเอาอกเอาใจผู้มี สิทธิเลอื กต้งั และในชว่ งกอ่ นการปฏริ ูปการเมอื งการหาเสยี งถึงขั้นแจกของ แจกเงินหรอื การซื้อสทิ ธเิ ลือกต้ัง ยุคการช่วงชิงคะแนนจากการเสนอให้สิ่งตอบแทนแก่ผู้เลือกต้ัง สะทอ้ นจากบทเพลงทช่ี ื่อว่า “มนตก์ ารเมือง” ของ คำ� รณ สมั บญุ ณานนท์ ในราวปี พ.ศ. 2495 เป็นการร้องเสียดสีนักการเมืองที่สัญญาไว้ก่อนลง คะแนนเลือกตั้ง (สมยั นั้นเรียกว่า “ท้ิงบัตร”) วา่ “เสียงโฆษณาของนักการเมือง ยกเอาแต่เรื่องท่ีดีงามมาพูดจา มีหนังมาฉายให้ชาวไร่ชาวนา ได้ดูได้ชมกันท่ัวหน้าระรื่นต่ืนตากันทั่วไป จะสร้างไอ้โน่นจะท�ำไอ้นี่ที่ยังขาดแคลน ทั่วทุกถ่ินทุกแดนฟังดูก็แสนจะ ชื่นใจ ถนนหนทางล�ำคลองจะสร้างให้มากมาย เลิกเล้ียงวัวเลี้ยงควายจะ ซอ้ื รถใหม้ าไถนา ดีอกดีใจแต่น้ตี อ่ ไปคงสุขอารมณ์ ชาวนาพากนั ช่นื ชมนิยม ดงั เขาพดู มา พอเปน็ ผแู้ ทนนงั่ แทน่ อยใู่ นสภา ตง้ั หลายปที ผี่ า่ นมาจะไถนายงั ต้องใช้ควาย....” บทเพลงข้างต้นคือภาพสะท้อนจากอดีตสู่ปัจจุบันดูเหมือนไม่ค่อยมี พัฒนาการท่ีดี เพราะพอย่างเข้าสู่มหกรรมการเลือกต้ังคร้ังใด เราก็จะเห็น บรรดาผสู้ มคั รหรอื นกั เลอื กตง้ั ทเี่ สนอตวั รบั ใชป้ ระชาชนออกมาพนิ อบพเิ ทา อ่อนน้อม เดินเข้าหาผู้มีสิทธิเลือกตั้ง ให้ความหวังและสัญญากับชาวบ้าน ชาวชอ่ ง จนถงึ บางยคุ บางสมยั นักเลอื กตั้งบางคนก็เอาสงิ่ ของ อาทิ รองเท้า ปลาทูเค็ม เสนอให้กับชาวบ้าน นักยิ่งไปกว่านั้นคือการแจกเงินสดให้เห็น กับตา พอกฎหมายเลือกตั้งเข้มงวดไม่ยอมให้ท�ำได้ ก็เลยมาออกนโยบาย ประชานิยมหลอกล่อเอาคะแนน แต่บทเรียนที่นักการเมืองประเภท “ไรจ้ รรยาบรรณ” ฝากไวก้ บั ประชาชนกค็ อื เมอ่ื ไดร้ บั เลอื กตงั้ แลว้ คนพวกน้ี
138 การเมือง - การเลือกต้ังไทยและประเทศในอาเซยี น ก็เปลีย่ นไปจากหน้ามือเปน็ หลงั มือ ไม่สนใจ ไมเ่ อาใจใสพ่ ้ืนที่ บางพวกไปตัง้ กลมุ่ ในสภาออกลายหาเงนิ จากโครงการตา่ งๆ ทมี่ กี ารอนมุ ตั งิ บประมาณจาก สภา การถอนทนุ คนื การกอบโกยโกงกินได้เกดิ ขึน้ อยา่ งเป็นล�ำ่ เปน็ สัน กรรมการการเลือกตั้งและเจา้ หนา้ ทร่ี ัฐ กรรมการในการจัดการเลือกตั้งนับว่ามีความส�ำคัญที่จะท�ำให้การ เลือกตั้งเป็นไปโดย “สุจริตและเที่ยงธรรม” กรรมการในการเลือกต้ังมี หลายระดบั โดยเฉพาะในการเลอื กตั้งสมาชิกสภาผ้แู ทนราษฎรมดี ังน้ี คณะกรรมการการเลอื กต้งั คณะกรรมการการเลอื กตงั้ สํานกั งานคณะกรรมการการเลอื กต้งั ประจําเขตเลอื กตั้ง เลขาธกิ ารคณะกรรมการการเลือกต้ัง คณะกรรมการประจาํ หนว่ ยเลอื กตั้ง สํานักงานคณะกรรมการการเลือกตัง้ ประจําเขตเลือกตง้ั ผูอ้ ํานวยการการเลือกตั้ง ผอู้ ํานวยการประจาํ หน่วยเลือกต้ัง เจ้าหน้าท่ีรักษาความปลอดภัย หลักการการได้มาซ่ึงกรรมการในทุกระดับจะมาจากการสรรหา และเปิดโอกาสให้ภาคประชาชน ะชาสังคม จะต้องมีส่วนร่วม ท้ังน้ี เพื่อให้ได้บุคคลท่ีมีความรู้ความสามารถระดับหนึ่งก่อนมีการ ความเปน็ กลางในการปฏบิ ัติงาน
สมชาติ เจศรีชยั 139 โดยหลักการ การไดม้ าซ่ึงกรรมการในทกุ ระดับจะมาจากการสรรหา และเปิดโอกาสให้ภาคประชาชนหรือภาคประชาสังคมจะต้องมีส่วนร่วม ท้ังน้ี เพื่อให้ได้บุคคลที่มีความรู้ความสามารถระดับหน่ึงก่อนมีการอบรม และมีความเป็นกลางในการปฏบิ ัตงิ าน พรรคการเมอื ง พรรคการเมอื งจะตอ้ งเขา้ มาดแู ลและบรหิ ารการเลอื กตงั้ ของผสู้ มคั ร รบั เลอื กตง้ั ทง้ั ดา้ นการใชจ้ า่ ยเงนิ และพฤตกิ ารณใ์ นการหาเสยี งเลอื กตง้ั ไมใ่ ห้ ออกนอกลู่นอกทาง เพราะหากเกิดการทุจริตเลือกต้ัง เช่น ไปซื้อเสียง หรือหาเสียงผิดระเบียบคณะกรรมการการเลือกตั้ง จนถึงข้ันเพิกถอนสิทธิ เลือกต้ัง คณะกรรมการบริหารพรรคการเมืองจะต้องร่วมรับผิด ตามหลัก ความรบั ผิดชอบรว่ ม (Collective Responsibility) กฎหมายประกอบรัฐธรรมนูญว่าด้วยพรรคการเมืองปี 2550 ได้ บญั ญตั ถิ งึ ความรบั ผดิ ชอบทพ่ี รรคการเมอื งมตี อ่ สมาชกิ พรรคการเมอื งเมอ่ื มี การเลือกตง้ั สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรเกิดขึ้น ดงั นี้ “มาตรา 18 คณะกรรมการบริหารพรรคการเมืองมีหน้าที่ต้อง ควบคุมไม่ให้สมาชิกกระท�ำการอย่างใดอย่างหนึ่ง อันเป็นการฝ่าฝืน รฐั ธรรมนญู กฎหมาย ระเบยี บ หรอื ประกาศของคณะกรรมการการเลอื กตงั้ เมื่อได้มีการประกาศพระราชกฤษฎีกาให้มีการเลือกต้ังสมาชิกสภา ผู้แทนราษฎร คณะกรรมการบริหารพรรคการเมืองมีหน้าที่ต้องควบคุม ไมใ่ หผ้ ซู้ งึ่ พรรคการเมอื งสง่ เขา้ สมคั รรบั เลอื กตง้ั กระทำ� การอยา่ งใดอยา่ งหนง่ึ อันเป็นการฝ่าฝืนรัฐธรรมนูญ พระราชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญว่าด้วย การเลือกต้ังสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรและการได้มาซ่ึงสมาชิกวุฒิสภา ระเบียบ หรือประกาศของคณะกรรมการการเลือกตั้ง ซ่ึงอาจท�ำให้การ เลอื กตั้ง มิไดเ้ ป็นไปโดยสุจริตและเท่ยี งธรรม”
140 การเมอื ง - การเลือกตง้ั ไทยและประเทศในอาเซียน นอกจากนี้ ช่วงท่ีมีการเลือกตั้งพรรคการเมืองจะต้องท�ำหน้าที่ สถาบันทางการเมืองท่ีมีคุณภาพด้วยการให้การศึกษาทางการเมืองด้วย เพราะนับเป็นช่วงโอกาสท่ีเหมาะสม เป็นช่วงที่ประชาชนตื่นตัว มีข้อมูล ข่าวสารทางการเมืองไหลเข้ามาจากหลายทิศทาง พรรคการเมืองจึงต้อง สร้างการรับรู้ทางการเมืองให้กับประชาชน อาทิ สภาผู้แทนราษฎรมี อำ� นาจหนา้ ทอี่ ยา่ งไร บทบาทของสมาชกิ สภาผแู้ ทนราษฎรวา่ ตอ้ งทำ� หนา้ ที่ อย่างไรในสภาผู้แทนราษฎร กระบวนการนิติบัญญัติมีผลต่อชีวิตความ เป็นอยู่ของประชาชนอย่างไร หรือประชาชนจะได้รับประโยชน์จากการมี ผู้แทนราษฎรได้อย่างไร ประชาชนจะมีส่วนร่วมในการท�ำหน้าที่ของ ส.ส. ได้อย่างไรบ้าง การพัฒนาประเทศหรือการบริหารราชการแผ่นดินของ รฐั บาลจะมผี ลกระทบกบั ประชาชนอย่างไร นโยบายของพรรคการเมืองจะ แก้ปัญหาชาติบ้านเมืองได้อย่างไร เป็นต้น แต่ประวัติศาสตร์เท่าที่ผ่านมา พรรคการเมืองและผู้สมัครรับเลือกต้ังจะทุ่มเทเวลาไปที่การลงคะแนน เลือกต้ังเพ่ือให้ได้ “ที่นั่ง” ในสภาแบบเอาเป็นเอาตายจนลืมบทบาทที่ ส�ำคัญไป เพราะแม้การเลือกตัง้ ผา่ นพ้นไปแล้ว และพรรคการเมืองมีโอกาส ขอรับการสนับสนุนจากกองทุนเพ่ือพัฒนาพรรคการเมืองไปให้ความรู้และ การศึกษาเก่ียวกับการปกครองระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์ ทรงเป็นประมุข แต่กิจกรรมการให้การศึกษาก็ยังขาดความเอาจริงเอาจัง และความต่อเน่ือง โดยเฉพาะในกลุ่มเยาวชนที่จะก้าวเข้าไปมีบทบาท ทางการเมืองในอนาคต ผู้สงั เกตการณก์ ารเลอื กตงั้ เป้าหมายหรือเป้าประสงค์หน่ึงของการจัดการเลือกตั้งก็คือ “ความ สุจริต และเที่ยงธรรม (Free and Fair Election)” อันเป็นคุณภาพการ เลือกต้ังที่ทุกประเทศต้องการให้เกิดข้ึน กลวิธีที่จะท�ำให้การเลือกตั้งสุจริต
สมชาติ เจศรชี ัย 141 และเท่ียงธรรมก็คือการมีบุคคลที่สามหรือหุ้นส่วนท่ีสาม (Third party) เขา้ รว่ มสงั เกตการณ์ (Observer) การเลอื กตงั้ ของคณะกรรมการเลอื กตง้ั ใน ฐานะกรรมการ (The Referee) และผู้สมคั รรบั เลือกตง้ั หรือผเู้ ลน่ (Player) การมผี ูส้ ังเกตการณป์ ระจ�ำหนว่ ยเลือกต้งั ก็เพื่อจุดม่งุ หมายในการเฝ้าระวัง หรือสังเกตพฤตกิ รรมของทกุ คนท่ีเข้ามาในหนว่ ยเลือกตงั้ เพ่อื ให้ทกุ ฝ่ายได้ ปฏบิ ตั กิ ารใหเ้ ปน็ ไปตามตวั บทกฎหมาย รวมทงั้ การสงั เกตการณก์ ารหาเสยี ง ของผสู้ มคั รรบั เลอื กตงั้ และพรรคการเมอื ง เพราะเปน็ ชว่ งเวลาที่เสี่ยงต่อการ กระท�ำการทุจริตเลือกต้ัง (Electoral fraud) ได้มากพอๆ กับช่วงการ ลงคะแนน และการนบั คะแนนที่ต้องจับตาทกุ นาทีทีเดยี ว ในหลายประเทศก็จะมีการสังเกตการณ์การเลือกต้ังท้ังจากภายใน ประเทศและองค์กรต่างประเทศ โดยในยุคปัจจุบันที่โลกไร้พรมแดน การเลือกตั้งท่ีมีความโปร่งใส สุจริต และเท่ียงธรรมเป็นเรื่องท่ีมีผลกระทบ ตอ่ นานาชาตอิ ยา่ งหลกี เลย่ี งไมไ่ ด้ การเลอื กตงั้ ทเ่ี ตม็ ไปดว้ ยความไมน่ า่ เชอ่ื ถอื (Trust) มีแต่การทุจริต จะเป็นภาพลักษณ์ที่น่ารังเกียจและท่าทีของ ต่างประเทศอาจเป็นผลลบต่อภาพลักษณ์ของประเทศน้ันๆ โดยรวมไป ด้วยก็ได้ ในประเทศอาเซียนมีการเลือกตั้งตามระบอบเสรีประชาธิปไตย จะมีระบบการสงั เกตการณ์การเลอื กตัง้ ในหลายประเทศ อาทิ องคก์ รเพ่ือ การเลอื กตง้ั เสรแี ห่งชาติ (NAMFREL) ของฟิลปิ ปินส์ ในระดับภมู ภิ าคกม็ ี เครอื ขา่ ยเอเชยี เพอ่ื การเลอื กตง้ั (ANFREL) สำ� หรบั ประเทศไทยกม็ พี ฒั นาการ ในการสังเกตการณ์การเลือกต้ัง โดยเร่ิมขึ้นเม่ือวันที่ 1 ธันวาคม 2511 นสิ ติ นกั ศกึ ษาจาก 11 สถาบนั รว่ มประชมุ กนั แลว้ จดั ตงั้ “กลมุ่ นสิ ติ นกั ศกึ ษา อาสาสมัครสังเกตการณ์การเลือกตั้ง” เป้าหมายก็เพื่อท่ีจะสังเกตการณ์ การเลือกตั้งทั่วไปในวันที่ 10 กุมภาพันธ์ 2512 มีการอบรมนักศึกษา อาสาสมัครนับพันคนแล้วส่งไปยังหน่วยเลือกตั้งเพ่ือสอดส่องดูแลการ เลือกตั้งทั่วไปในวันเลือกตั้ง การจัดตั้งกลุ่มดังกล่าวมีการน�ำเสนอรายงาน
Search
Read the Text Version
- 1
- 2
- 3
- 4
- 5
- 6
- 7
- 8
- 9
- 10
- 11
- 12
- 13
- 14
- 15
- 16
- 17
- 18
- 19
- 20
- 21
- 22
- 23
- 24
- 25
- 26
- 27
- 28
- 29
- 30
- 31
- 32
- 33
- 34
- 35
- 36
- 37
- 38
- 39
- 40
- 41
- 42
- 43
- 44
- 45
- 46
- 47
- 48
- 49
- 50
- 51
- 52
- 53
- 54
- 55
- 56
- 57
- 58
- 59
- 60
- 61
- 62
- 63
- 64
- 65
- 66
- 67
- 68
- 69
- 70
- 71
- 72
- 73
- 74
- 75
- 76
- 77
- 78
- 79
- 80
- 81
- 82
- 83
- 84
- 85
- 86
- 87
- 88
- 89
- 90
- 91
- 92
- 93
- 94
- 95
- 96
- 97
- 98
- 99
- 100
- 101
- 102
- 103
- 104
- 105
- 106
- 107
- 108
- 109
- 110
- 111
- 112
- 113
- 114
- 115
- 116
- 117
- 118
- 119
- 120
- 121
- 122
- 123
- 124
- 125
- 126
- 127
- 128
- 129
- 130
- 131
- 132
- 133
- 134
- 135
- 136
- 137
- 138
- 139
- 140
- 141
- 142
- 143
- 144
- 145
- 146
- 147
- 148
- 149
- 150
- 151
- 152
- 153
- 154
- 155
- 156
- 157
- 158
- 159
- 160
- 161
- 162
- 163
- 164
- 165
- 166
- 167
- 168
- 169
- 170
- 171
- 172
- 173
- 174
- 175
- 176
- 177
- 178
- 179
- 180
- 181
- 182
- 183
- 184
- 185
- 186