142 การเมอื ง - การเลอื กตัง้ ไทยและประเทศในอาเซียน สรุปภายหลังการเลือกต้ัง และพบการทุจริตท้ังโดยเจ้าหน้าท่ีของรัฐและ นักการเมือง จากน้ันเมื่อมีการเลือกตั้งในปี 2535 นับเป็นครั้งแรกท่ี กระบวนการตรวจสอบการเลือกตั้งโดยภาคประชาชนได้รับการสนับสนุน จากรัฐบาลสมัยน้ัน คือ ยุคที่นายอานันท์ ปันยารชุน เป็นนายกรัฐมนตรี โดยมีค�ำส่ังแต่งต้ัง “คณะกรรมการติดตามและสอดส่องดูแลการเลือกต้ัง สมาชิกสภาผู้แทนราษฎร” ซึ่งเป็นองค์กรกลางภาคประชาชน ท�ำหน้าท่ี สอดสอ่ งดแู ลการเลอื กตงั้ วนั ที่ 22 มนี าคม 2535 และทำ� วจิ ยั พฤตกิ รรมการ หาเสียงของนกั การเมอื ง มี ศาตราจารย์ ดร. เกษม สวุ รรณกุล รองนายก รัฐมนตรีและรัฐมนตรีว่าการกระทรวงศึกษาธิการ เป็นประธาน สามารถ ระดมอาสาสมัครท่ัวประเทศได้ประมาณ 35,000 คน ครอบคลุมหน่วย เลอื กตั้งได้ครง่ึ หนงึ่ ในหลายพืน้ ที่ซึ่งเคยมปี ระวัตินกั การเมืองใช้เงินซื้อเสยี ง ได้ถูกอาสาสมัครติดตามจนไม่สามารถแจกเงินได้ ผลการเลือกต้ังในหลาย เขตเกิดความเปลี่ยนแปลงท่มี ีนัยส�ำคัญ จากนนั้ มาในการตรากฎหมายวา่ ดว้ ยคณะกรรมการการเลอื กตง้ั ไดเ้ ออ้ื ตอ่ การเปดิ โอกาสใหภ้ าคประชาสงั คม เข้ามาช่วยเหลือคณะกรรมการการเลือกต้ังท�ำหน้าที่สังเกตการณ์ และ องค์กรตรวจสอบการเลอื กต้ังในประเทศก็พฒั นามาเปน็ “องคก์ รกลางเพ่ือ ประชาธปิ ไตย (P-Net Forum)” อยา่ งไรกด็ ี ในกฎหมายวา่ ดว้ ยการเลอื กตงั้ สมาชกิ สภาผแู้ ทนราษฎรยงั ตอ้ งพฒั นาใหม้ กี ารบญั ญตั ใิ นสว่ นทเี่ กย่ี วกบั การ สังเกตการณก์ ารเลือกตั้ง (Electoral Observation) ไวด้ ้วย เพอ่ื เปน็ ช่อง ทางใหเ้ กดิ การมีส่วนรว่ มของภาคประชาสังคมและภาคประชาชน 3 ค�ำถามกบั การไปลงคะแนนเลือกตัง้ จากการด�ำเนินโครงการสัมมนาเชิงปฏิบัติการ เรื่อง การรณรงค์ ทางการเมืองและผู้ลงคะแนนเสียงท่ีมีคุณภาพของสถาบันนโยบายศึกษา โดยการสนับสนนุ ของมูลนธิ คิ อนราด อาเดนาวร์ ตลอดท้งั ปี 2559 โดยผู้
สมชาติ เจศรชี ัย 143 เข้าร่วมกิจกรรมเป็นคนหนุ่มคนสาว เยาวชน นักเรียน นิสิตนักศึกษา ท่ี จังหวัดอบุ ลราชธานี ขอนแกน่ ชมุ พร ระนอง อุตรดิตถ์ และหนองบวั ลำ� ภู ทั้งทีก่ �ำลังจะมีสทิ ธเิ ลอื กตัง้ คร้งั แรก และบางส่วนกเ็ คยไปใช้สทิ ธิเลอื กตงั้ มา บา้ งแลว้ โดยการตั้งค�ำถามแลว้ คน้ หาค�ำตอบจากการระดมความคิด แมจ้ ะ ไม่อาจเปน็ ตัวแทนของคนไทยท้งั ประเทศ แต่กพ็ อจะให้ภาพโดยรวมได้บ้าง ไม่มากกน็ อ้ ย คำ� ถามแรกถามวา่ “รู้มยั้ รมู้ ั้ย ว่า การเลอื กตง้ั คณุ ภาพเปน็ อย่างไร” ค�ำถามทส่ี องถามว่า “ผู้มสี ิทธเิ ลอื กตั้ง จะมกี ารเตรยี มตัวอยา่ งไรบา้ ง จงึ จะมีส่วนชว่ ยให้เกิดการเลอื กต้ังคุณภาพ” และ ค�ำถามสดุ ทา้ ยถามวา่ “ทา่ นจะใชห้ ลกั เกณฑ์ใดในการพจิ ารณา ตัดสนิ ใจลงคะแนนเลอื กตัง้ ผูส้ มคั รรบั เลือกตั้ง” คราวนลี้ องมาดคู ำ� ตอบจากการระดมความเหน็ ของผเู้ ขา้ รว่ มกจิ กรรม บางค�ำตอบอาจจะตรงใจท่านผู้อ่าน บางค�ำตอบท่านอาจคิดไม่ถึง และ บางค�ำตอบอาจเป็น “ค�ำตอบท่ีคลาสสิก” ทีเดียว เพราะเกิดขึ้นมานาน หลายปแี ล้ว ค�ำตอบจากค�ำถามแรก “การเลอื กต้ังคณุ ภาพ” ประกอบดว้ ย 1) ต้องไม่มกี ารโกงเลอื กตั้ง ซ้อื สทิ ธิขายเสยี ง 2) ไมม่ กี ารพูดโจมตีเรือ่ งสว่ นตวั 3) ผมู้ ีสทิ ธิเลอื กต้ังออกไปใช้สิทธิ 4) มีการเสนอนโยบายของผู้สมัครและพรรคการเมอื งในการบริหาร ประเทศ 5) ไมม่ ีการใช้บตั รเลือกต้งั ปลอม 6) มีการอ�ำนวยความสะดวกให้แกค่ นพิการ 7) คณะกรรมการการเลือกตัง้ มีความเป็นกลาง
144 การเมอื ง - การเลือกตั้งไทยและประเทศในอาเซยี น คำ� ตอบจากคำ� ถามทสี่ อง “การเตรยี มความพรอ้ มของผมู้ สี ทิ ธเิ ลอื กตงั้ ” ประกอบด้วย 1) หาขอ้ มูลของผู้สมัครและพรรคการเมืองท่สี ่งสมาชกิ ลงเลือกต้งั 2) ตรวจสอบสิทธิ และแจ้งเพ่มิ ชอ่ื ของตนถ้าไมม่ ชี อื่ 3) เตรยี มบตั รประจ�ำตัวประชาชน 4) ดสู ถานท่ีเลือกตั้งจากหนังสือแจง้ เจา้ บ้าน และค�ำตอบจากค�ำถามสดุ ท้าย “เกณฑก์ ารตัดสนิ ใจลงคะแนนเลือก ผู้สมัคร” ประกอบดว้ ย 1) ตอ้ งเป็นคนมีประวัติดี ไม่มเี รือ่ งมัวหมอง 2) ต้องเคารพกฎหมาย 3) มปี ระสบการณ์ 4) มคี วามรูค้ วามสามารถ 5) ไม่ใชอ้ ิทธิพล พดู จาขม่ ขปู่ ระชาชน 6) มบี ุคลกิ ภาพดี 7) ไมท่ �ำผดิ กฎหมายเลอื กตง้ั 8) ไมซ่ ื้อเสียง บทสรปุ การเลอื กตง้ั จะมคี ณุ ภาพได้ ไมว่ า่ จะเปน็ การไดต้ วั แทนประชาชนทม่ี ี ความเหมาะสมในการไปท�ำหน้าท่ี หรือการเลือกต้ังท่ีเชื่อถือได้ ไม่มีการ ประท้วงว่ามีการโกงการเลือกตั้ง (ทุจริตเลือกต้ัง หรือ electoral fraud) หรือการเลือกตั้งที่น�ำไปสู่การแก้ปัญหาของชาติบ้านเมืองได้ต้องเกิดจาก การเลือกต้ังของคนคุณภาพ ซ่ึงนอกจากผู้มีสิทธิเลือกตั้งดังท่ีกล่าวไปแล้ว บรรดาผู้สมัคร หัวคะแนนหรือผ้สู นับสนนุ ผูส้ มคั ร และกรรมการผู้ท�ำหนา้ ท่ี
สมชาติ เจศรีชยั 145 จัดการเลอื กตัง้ กจ็ ะต้องยึดมั่นในกฎ ระเบยี บ ไม่ละเมดิ กฎหมายบา้ นเมอื ง ทำ� ตนใหเ้ ปน็ แบบอยา่ งทดี่ แี กป่ ระชาชน มคี วามพรอ้ มทจ่ี ะรบั ผดิ (account- ability) ปฏิบัติตามหน้าที่และอ�ำนาจที่มี รับผิดชอบต่อส่วนรวม และ ประการส�ำคัญคือกรรมการในการจัดการเลือกตั้งต้องมีความเป็นกลาง ซอื่ สตั ยส์ จุ รติ และไมม่ กี ารเรยี กรบั ผลประโยชนใ์ ดๆ มอี งคก์ รภาคประชาสงั คม ท�ำหน้าที่สังเกตการณ์การเลือกตั้งท่ีเข้มแข็ง มีพลเมืองแข็งขันท่ีเข้าไป มีส่วนร่วมในการเลือกต้ัง หากเราสามารถผลักดันให้การเลือกต้ังมีคุณภาพ เชื่อถือได้ ก็เชื่อว่าการเมืองบ้านเราจะเดินหน้าไปไกลได้อย่างมีเสถียรภาพ และสามารถพัฒนาประเทศได้รุดหน้า เพราะสุดท้ายความก้าวหน้าหรือ ลา้ หลังตดั สนิ กันท่กี ารเมืองจรงิ ๆ ครบั
146 การเมอื ง - การเลอื กตั้งไทยและประเทศในอาเซยี น
สมชาติ เจศรีชยั 147 บทสง่ ท้าย อำ� นาจทาง “การเมอื ง” เปน็ ปจั จยั บง่ ชก้ี ารพฒั นาทางดา้ นเศรษฐกจิ และสังคมท่ียึดโยงอยู่กับความเช่ือและอุดมการณ์ของผู้คนในสังคม อีกท้ัง ประวัติศาสตร์สังคมที่มีมาอย่างยาวนานก็มีส่วนหล่อหลอมทางความคิด ก็สามารถท่ีจะก่อให้เกิดการเปลี่ยนแปลงทางสังคม รัฐชาติในภูมิภาคแห่ง “อุษาคเนย”์ ก็เช่นกัน ถา้ ยกเอาเสน้ กนั้ พรมแดนทห่ี มายเอาวา่ เปน็ ของประเทศนนั้ ประเทศ นอี้ อกเสยี ไมว่ า่ จะเปน็ ผนื ดนิ สำ� หรบั ประเทศทต่ี งั้ อยบู่ นสว่ นทเ่ี ปน็ แผน่ ทวปี หรอื ประเทศทเี่ ปน็ หมเู่ กาะลว้ นมคี วามคลา้ ยคลงึ กนั ทง้ั ภาษา หนา้ ตา อาหาร การกิน เครือ่ งแตง่ กาย หรอื แม้พืชพนั ธธุ์ ญั ญาหารทางธรรมชาติ ทำ� ใหช้ าติ ในอาเซยี นมวี ถิ ชี วี ติ ทไ่ี มแ่ ตกตา่ งกนั มากนกั ถา้ เอาประเทศไทยเปน็ ศนู ยก์ ลาง ด้านตะวันออกมีภาษาเขมรท่ีใช้ส่ือสารกันของคนในพื้นท่ีตะวันออกเฉียง เหนือ ทางภาคเหนือมีภาษาลา้ นนาหรอื ภาษาไตที่สามารถสอื่ สารรคู้ วามได้ กับพ่ีน้องเมียนมาร์ รวมทั้งทิศตะวันตกท่ีใช้ภาษามอญและกะเหร่ียง ส่วน แดนใตม้ ภี าษายาวแี ละบาฮะซาทสี่ ามารถพูดคยุ กบั ผคู้ นในแถบฝัง่ มาเลเซีย เลยไปถงึ สิงคโปร์ บรไู น และอนิ โดนเี ซยี ส่องประวัติศาสตร์...ส่วู นั นี้ อาเซยี นวนั นี้ มรี ากประวตั ศิ าสตรม์ าอยา่ งยาวนาน และประวตั ศิ าสตร์ ทำ� ใหแ้ ตล่ ะประเทศเลอื กทจี่ ะใชร้ ปู แบบการเมอื งการปกครองเปน็ อตั ลกั ษณ์ ของตนเอง และเมื่อสบื ยอ้ นกลบั ไปในอดตี จะพบว่า ประเทศในย่านนีม้ ีการ
148 การเมอื ง - การเลือกตง้ั ไทยและประเทศในอาเซยี น ปกครองในรูปแบบท่ีคล้ายๆ กัน โดยเฉพาะการปกครองโดยคนๆ เดียวมี อ�ำนาจ เช่น ระบอบกษัตริย์ท่ีมีการต่อสู้ทางการเมืองทั้งในลักษณะของ การแย่งอ�ำนาจกันเองภายในประเทศ และกับจักรวรรดิท่ีเป็นมหาอ�ำนาจ ภายนอกทตี่ อ้ งการดนิ แดนเมอื งขนึ้ เพอื่ แสวงหาและตกั ตวงผลประโยชนจ์ าก ทรัพยากรธรรมชาติกลับไปยังประเทศแม่ และเกิดการปลุกเร้าเรียกร้อง เอกราชกลบั มาเปน็ ของตนเองโดยวรี บรุ ษุ ของชาตทิ เ่ี ขา้ ตอ่ สอู้ ยา่ งวรี อาจหาญ หากจะลองพิเคราะห์ประวัติศาสตร์ย้อนห้วงเวลากลับไปในสี่ช่วงเวลาก็จะ พบการก่อตวั ของรัฐชาตใิ นสมัยปจั จบุ ันมีความเปน็ มาแตใ่ นอดตี ดังนี้ ประเทศ ยคุ ปกครองโดย ยคุ ลา่ อาณานิคม ยุคเรียกร้อง ยุคปจั จบุ ัน เนการา บรูไน กษตั ริย์ เอกราช ระบอบสมบรู ณาญา- ดารสุ ซาลาม สิทธิราชย์ (กษัตริย์ ใชร้ ะบบสุลต่าน หลงั ครสิ ต์ศตวรรษท่ี อังกฤษปกครองถงึ ทรงเปน็ ประมุขและ นับตั้งแตป่ ี ค.ศ. 16 สเปน และ 95 ปีจึงไดร้ บั หวั หนา้ ฝ่ายบริหาร) 1363 จนถงึ ฮอลันดาเขา้ มาปก เอกราชเม่อื วันท่ี 1 ปจั จบุ นั มีสลุ ตา่ น ครองจนถงึ พ.ศ. มกราคม 2527 ทงั้ หมดจ�ำนวน 30 2449 (ค.ศ. 1906) (ค.ศ. 1984) องค์ โดยสุลต่าน บรไู นได้ ลงนามใน บรไู นองค์แรกคอื สนธสิ ัญญายินยอม Sultan อยู่เปน็ รัฐในอารักขา Muhammad ขององั กฤษ Shah (1363- 1402) ราชอาณาจักร ใน พ.ศ. 1345 รฐั ในอารกั ขาของ สมเด็จพระนโรดม ระบอบ กมั พชู า (ค.ศ. 802) ฝรัง่ เศสตามสนธิ สหี นตุ ่อสู้จนเป็น ประชาธิปไตยอันมี พระเจ้าชัยวรมนั สัญญาอารกั ขา อิสระจากฝรัง่ เศส พระมหากษัตรยิ ์ทรง ท่ี 2 ปราบดาภเิ ษก ระหว่างฝรั่งเศส- ในปี ค.ศ. 1954 เป็นประมุข ขน้ึ เป็นพระมหา กมั พชู าเมอ่ื 11 จากนนั้ เกดิ สงคราม กษตั ริย์ เริม่ ตน้ สิงหาคม พ.ศ. 2406 กลางเมืองในเขมร จกั รวรรดขิ ะแมร์ (ค.ศ. 1863) จนถงึ 17 เมษายน พ.ศ. 2518 (ค.ศ. 1975) เขมรแดงจึง เขา้ ปกครอง
สมชาติ เจศรีชัย 149 ประเทศ ยุคปกครองโดย ยุคลา่ อาณานิคม ยคุ เรยี กร้อง ยุคปจั จบุ นั กษตั รยิ ์ เอกราช แตย่ งั คงมีสงคราม ความขัดแย้งใน กมั พชู าด�ำเนนิ มา จนถงึ ปี พ.ศ. 2534 ฝา่ ยคอมมวิ นสิ ตท์ ่ี มเี วียดนามและ สหภาพโซเวยี ต หนุนหลังขบั ไล่ เขมรแดงไดส้ ำ� เร็จ และสหประชาชาติ เข้ามาจดั การ เลอื กตง้ั เมอื่ ปี 2536 สาธารณรฐั ----------- พ.ศ. 2164 (ค.ศ. ในวนั ที่ 27 ระบอบ อนิ โดนเี ซีย 1621) ฮอลแลนดไ์ ด้ ธนั วาคม พ.ศ. ประชาธปิ ไตย สาธารณรฐั เขา้ มายึดครอง 2492 (ค.ศ.1949) แบบประธานาธิบดี ประชาธิปไตย อินโดนีเซยี ประมาณ อนิ โดนเี ซยี ไดร้ บั ประชาชนลาว 301 ปี จนถึง พ.ศ. เอกราช 2485 (ค.ศ. 1942) ซ่งึ เป็นชว่ ง สงครามโลกครงั้ ที่ 2 ญ่ปี นุ่ บุกอนิ โดนีเซยี และทำ� การขบั ไล่ เนเธอร์แลนด์เจ้า อาณานคิ มของ อินโดนีเซยี ออกไปได้ ส�ำเรจ็ สมัยพระเจ้าฟา้ งุม้ พ.ศ. 2436 ฝรงั่ เศส การต่อสู้กับ สาธารณรัฐ ผรู้ วบรวมอาณาจกั ร ได้เขา้ ปกครองลาว จักรวรรดินยิ มท้ัง ประชาธปิ ไตย ลา้ นชา้ งได้เป็นผล โดยไดด้ นิ แดน ฝรัง่ เศส (อนิ โดจีน ประชาชนลาว มี ส�ำเรจ็ ในชว่ งสมยั ฝั่งซา้ ยและฝ่ังขวา ฝร่ังเศส) และ ประธานประเทศเป็น พทุ ธศตวรรษที่ 13 ในปี พ.ศ. 2450 สหรฐั อเมรกิ า พ.ศ. ประมุข (แบบ ใน ปี พ.ศ. 2496 (ค.ศ.1907) ไปจาก 2502 เจา้ สภุ านวุ งศ์ ประธานาธิบดี) สยาม
150 การเมือง - การเลือกต้ังไทยและประเทศในอาเซยี น ประเทศ ยคุ ปกครองโดย ยคุ ลา่ อาณานิคม ยุคเรยี กร้อง ยคุ ปัจจุบนั มาเลเซยี กษัตริย์ เอกราช ลาวประกาศ ประกาศเปน็ นายกรัฐมนตรีเป็น เอกราชเปน็ หัวหน้าขบวนการ หวั หน้าฝ่ายบริหาร ราชอาณาจักรลาว ประเทศลาว เกดิ โดยมีเจ้ามหาชีวติ การรัฐประหารและ ศรีสว่างวงศ์ ด�ำรง สงครามกลางเมอื ง ตำ� แหน่งเปน็ เจา้ ทยี่ ดื เยอ้ื ภายใต้ มหาชวี ิต (พระ การแทรกแซงของ มหากษตั ริย)์ ชาติต่างๆ ทงั้ ฝา่ ย คอมมิวนิสตแ์ ละ ฝ่ายโลกเสรี จนเมอ่ื วันที่ 2 ธันวาคม 2518 (1975) พรรคประชาชน ปฏิวัตลิ าว ซึ่งไดร้ บั การสนับสนนุ จาก สหภาพโซเวยี ตและ เวยี ดนาม โดย การน�ำของเจา้ สภุ า นุวงศ์ กย็ ดึ อำ� นาจ รัฐจากรฐั บาล ประชาธปิ ไตยทม่ี ี เจา้ สุวรรณภูมา พระเชษฐาพระ มหากษตั รยิ เ์ ป็น ประมุข การกอ่ ตง้ั ระบบ พ.ศ. 2054 (ค.ศ. มาเลเซียได้รับ ระบอบ สลุ ตา่ นมาจากการ 1511) โดยถกู เอกราชในวันท่ี 31 ประชาธิปไตย แผ่ขยายของ โปรตุเกส ยึดครอง สิงหาคม พ.ศ. แบบรฐั สภาหรอื ศาสนาอสิ ลาม ชอ่ งแคบมะละกาซ่ึง 2500 สหพนั ธรัฐราชา- เข้าสู่ปัตตานแี ละ เปน็ เสน้ ทางการค้า ธิปไตยภายใต้ ปาหงั ก่อนท่ีจะ สำ� คญั ในขณะนัน้ รัฐธรรมนญู เข้าส่มู ะละกา และต่อมาตกเป็น ประมาณคริสต์ ของดัตชห์ รือ ศตวรรษที่ 10 เนเธอรแ์ ลนด์
สมชาติ เจศรชี ยั 151 ประเทศ ยุคปกครองโดย ยุคล่าอาณานคิ ม ยคุ เรยี กร้อง ยคุ ปจั จบุ ัน กษัตริย์ เอกราช พ.ศ. 2367 (ค.ศ. 1824) องั กฤษ เขา้ ยึดครองตอ่ จากดตั ช์ สาธารณรฐั แหง่ แบง่ ชว่ งเปน็ ดังน้ี กองทพั อังกฤษได้เขา้ พ.ศ. 2485 ระบอบ สหภาพเมยี นมาร์ อาณาจกั รพุกาม ทำ� สงครามกับพม่า อองซานได้กอ่ ตงั้ ประชาธิปไตยแบบ พ.ศ. 1392-1832 ในปี พ.ศ. 2367 องคก์ ารสันนบิ าต ประธานาธิบดี ราชวงศ์อังวะ สงครามระหวา่ งพมา่ เสรภี าพแห่ง พ.ศ. 1907-2070 และองั กฤษ คร้งั ที่ ประชาชนต่อต้าน อาณาจักรตองอู หนึ่งนี้ (พ.ศ. ฟาสซิสต์ พ.ศ. 2074-2295 2367–2369) ยตุ ลิ ง (Anti-Fascist ราชวงศ์อลองพญา โดยอังกฤษเป็นฝ่าย Peoples พ.ศ. 2296-2428 ไดร้ บั ชยั ชนะ Freedom สงครามคร้ังทส่ี อง League : AFPFL) พ.ศ. 2396 และสาม พม่าไดร้ บั เอกราช ในปี พ.ศ. 2428 อยา่ งสมบรู ณ์วันที่ องั กฤษไดร้ ับชัยชนะ 4 มกราคม พ.ศ. เด็ดขาด พม่าจึงตก 2491 (ค.ศ.1948) เปน็ อาณานิคมของ (เปลยี่ นช่อื เปน็ องั กฤษใน พ.ศ.2429 เมียนมาร์เมอ่ื ปี (ค.ศ. 1886) และ พ.ศ. 2532 (ค.ศ. ช่วงกอ่ นสงครามโลก 1989) ครัง้ ทสี่ อง ญี่ปุ่นเขา้ ครอบครองพม่า สาธารณรัฐ ไมม่ รี ะบบกษตั ริย์ ฟิลิปปนิ สอ์ ยู่ใต้การ ฟิลปิ ปินสไ์ ดร้ บั ระบอบ ฟลิ ปิ ปนิ ส์ ปกครองของสเปนใน เอกราชโดย ประชาธปิ ไตยแบบ ฐานะอาณานิคมของ สมบรู ณเ์ มอื่ วันที่ ประธานาธิบดี สเปนนบั ตงั้ แตป่ ี 4 กรกฎาคม 2489 พ.ศ. 2108 (ค.ศ. (ค.ศ. 1946) 1565) ถงึ ปี พ.ศ. อันเป็นช่วงหลงั 2364 (ค.ศ. 1821) สงครามโลกครงั้ และจนถึงศตวรรษ ท่ี 2 ที่ 19 เกดิ สงคราม ระหวา่ ง สหรฐั อเมริกากบั
152 การเมือง - การเลือกตง้ั ไทยและประเทศในอาเซยี น ประเทศ ยุคปกครองโดย ยุคลา่ อาณานคิ ม ยุคเรียกร้อง ยุคปจั จุบัน สาธารณรฐั กษัตรยิ ์ สเปน ฟลิ ปิ ปนิ ส์ได้ เอกราช สิงคโปร์ เข้าร่วมรบกบั ฝา่ ย สาธารณรัฐ สหรฐั อเมรกิ าได้ สังคมนิยม ชยั ชนะ เวยี ดนาม สงครามโลกคร้งั ท่ี 2 ฟิลปิ ปินส์ถกู กองทพั ญีป่ ุน่ บกุ เขา้ ยดึ ครอง เดมิ ช่ือว่า เทมา เป็นเมอื งขน้ึ ของ พรรคกิจประชาชน ระบอบ เส็ก (ทมู าสิค) มี โปรตุเกสในราวปี ของสงิ คโปร์ ประชาธิปไตยแบบ กษัตรยิ ์ปกครอง ค.ศ. 1498 ต่อมาอยู่ ประกาศให้สงิ คโปร์ สาธารณรฐั ระบบ ตอ่ มาในคริสต์ ภายใตอ้ ิทธพิ ลของ เป็นเอกราชต้ังแต่ รฐั สภา รฐั เดี่ยว ศตวรรษท่ี 17 ฮอลันดาในช่วง วันท่ี 9 สิงหาคม ประธานาธบิ ดีเป็น ตอ่ มาเจ้าผู้ครอง ศตวรรษที่ 17 และ ค.ศ. 1965 ประมขุ นครปาเล็มบงั องั กฤษในปี ค.ศ. เปลี่ยนชอ่ื เทมา 1817 อย่ภู ายใตก้ าร เส็กเสียใหมว่ ่า ยึดครองของญ่ีปุน่ สิงหปรุ ะ ต่อมา ระหว่างสงครามโลก สิงหปุระกไ็ ดต้ ก ครั้งท่ี 2 (ค.ศ. เป็นของสลุ ตา่ น 1942-1946) แห่งมะละกา ราชวงศ์โห่งบัง่ ลัทธิจักรวรรดนิ ิยม เวยี ดนามถูกแบ่ง สาธารณรฐั ระหว่างปี ตะวนั ตกโดย เป็นเหนือ/ใต้ สงั คมนิยมเวยี ดนาม 287-258 ปกี ่อน จักรวรรดิฝรัง่ เศส กองกำ� ลังเวียดนาม มีประธานาธบิ ดเี ป็น คริสต์ศักราชจนถึง เหนอื และเวียดกง ประมุข ราชวงศเ์ หวียน จึงสามารถรกุ เขา้ (ค.ศ.1802-1945) ยดึ ไซง่ ่อนและ ต่อด้วย ราชวงศ์โง เวียดนามใต้ได้ ราชวงศด์ ิงห์ ทงั้ หมดในปี พ.ศ. ราชวงศ์เตยี่ นเล 2518 การรวม หรือเลยคุ แรก เวยี ดนามทงั้ สอง ราชวงศห์ ลี สว่ นเขา้ ดว้ ยกันเกดิ ราชวงศเ์ จ่นิ ขน้ึ ในวันที่ 2 ราชวงศ์โห่ กรกฎาคม พ.ศ. ราชวงศ์เล จนถึง 2519
สมชาติ เจศรชี ัย 153 ประเทศ ยคุ ปกครองโดย ยคุ ลา่ อาณานิคม ยคุ เรยี กร้อง ยคุ ปจั จบุ นั กษัตรยิ ์ เอกราช จกั รวรรดเิ วยี ดนาม (พ.ศ.2345-2488) ใ น ส มั ย ร า ช ว ง ศ ์ เหวียน จนส้ินสุด ราชวงศ์ ในรชั สมยั จกั รพรรดบิ า๋ วได่ ราชอาณาจักร อาณาจักรสโุ ขทยั การเสยี ดินแดนให้ เปลยี่ นแปลงจาก ระบอบ ไทย เป็นราชธานี กับประเทศต่างๆ ระบอบสมบูรณา- ประชาธิปไตยอันมี ต้ังแต่ พ.ศ. 1781 จำ� นวน 14 ครงั้ ดังนี้ ญาสิทธริ าชย์ เม่ือ พระมหากษตั ริย์ทรง (ค.ศ. 1175) - 11 ส.ค. 2329 วันที่ 24 มถิ ุนายน เปน็ ประมขุ อาณาจกั รอยธุ ยา เสยี เกาะหมากให้กับ 2475 (ค.ศ. 1932) ในปี พ.ศ. 1893 องั กฤษ จนถงึ พ.ศ. 2310 - 16 ม.ค. 2336 สมัยกรุงธนบุรี เสยี มะริด ทวาย (พ.ศ.2130-2325) ตะนาวศรี ให้กบั และสมยั กรงุ พมา่ รัตนโกสนิ ทร์ - 2353 เสยี บนั ทาย ตัง้ แต่ พ.ศ. 2325 มาศ (ฮาเตียน) ให้ กบั ฝรง่ั เศส - 2368 เสียแสนหวี เมอื งพง เชยี งตุง ให้ กบั พมา่ - 2369 เสยี รฐั เปรคั ใหก้ บั องั กฤษ - 1 พ.ค. 2393 เสีย สิบสองปันนา ให้กับ จนี - 15 ก.ค. 2410 เสยี เขมรและเกาะ 6 เกาะใหก้ บั องั กฤษ - 22 ธ.ค. 2431 เสยี สิบสองจุไทย (เมืองไล เมอื งเชยี ง คอ้ ) ให้กบั ฝรง่ั เศส
154 การเมือง - การเลอื กตั้งไทยและประเทศในอาเซยี น ประเทศ ยคุ ปกครองโดย ยุคล่าอาณานคิ ม ยคุ เรียกรอ้ ง ยุคปจั จุบนั กษตั ริย์ เอกราช - 27 ต.ค. 2435 เสยี ดนิ แดนฝั่งซา้ ย แมน่ �้ำสาละวนิ (5 เมอื งเง้ียว และ 13 เมอื งกะเหร่ยี ง) ใหก้ บั อังกฤษ - 3 ต.ค. 2436 เสยี ดินแดนฝั่งซา้ ย แมน่ ้ำ� โขง (อาณาจักร ลา้ นชา้ ง หรอื ประเทศ ลาว) ใหก้ บั ฝรงั่ เศส - 12 พ.ค. 2546 เสยี ดินแดนฝง่ั ขวา แมน่ �ำ้ โขง (ตรงข้าม เมอื งหลวงพระบาง คอื จ�ำปาสกั และ ไซยะบูล)ี ใหก้ ับ ฝร่งั เศส - 23 มี.ค. 2449 เสยี มลฑลบูรพา (พระตะบอง, เสียมราฐ, ศรีโสภณ) ให้กบั ฝร่งั เศส - 10 ม.ี ค. 2451 เสยี รฐั กลันตนั , ตรัง กาน,ู ไทรบรุ ี, ปะรสิ ใหก้ ับองั กฤษ - 10 ม.ิ ย. 2505 เสยี เขาพระวหิ ารให้ กบั เขมร
สมชาติ เจศรีชยั 155 จากตารางดังกล่าวข้างต้นจะเห็นได้ว่า ประเทศสมาชิกประชาคม อาเซียนถูกรุกรานและท�ำให้ต้องเสียดินแดนให้กับประเทศมหาอ�ำนาจ นักล่าอาณานิคม จนต้องมีการต่อสู้เรียกร้องเอกราชเกิดขึ้นอย่างต่อเน่ือง นอกจากนยี้ งั มปี ระวตั ศิ าสตรค์ วามขดั แยง้ เรอ่ื งผลประโยชนข์ องชาติ ระหวา่ ง ประเทศท่ีมีอาณาเขตติดกันมาอย่างยาวนานมากบ้างน้อยบ้าง ซึ่งเป็นเรื่อง ท่ีต้องเจรจาหาขอ้ ยุตใิ ห้ได้ โดยใช้มิติการเมอื งเขา้ มาแกไ้ ขปัญหา โดยเฉพาะ ความขัดแย้งหรือข้อพิพาทท่ีไม่อาจหาอาณาเขตได้ชัดเจน เพราะเป็น ปัญหาท่ีเกิดจากเรื่องของข้อพิพาทอธิปไตยแห่งดินแดนตามไหล่ทวีป (Continental Shelves) เช่น ข้อพิพาทเหนือหมู่เกาะสแปรตลีย์ ความ ขัดแย้งเหนือหมู่เกาะพาราเซล นอกจากน้ี ประวัติศาสตร์ความเป็นมา ยังก่อให้เกิดพัฒนาการทางการเมืองท่ีสะท้อนถึงการเลือกที่จะใช้รูปแบบ การปกครองระบอบใดๆ ก็ตามที่มีอัตลักษณ์เข้ากับลักษณะเฉพาะของ ประเทศตนเองได้ ตัวอย่างเช่นการต่อสู้ของเวียดมินห์ที่น�ำโดยโฮจิมินห์ และขบวนการประเทศลาวที่น�ำโดยเจ้าสุภานุวงศ์ท่ีมีต่อฝรั่งเศส และ สหรัฐอเมริกา จึงเลือกที่จะใช้การปกครองแบบคอมมิวนิสต์สังคมนิยม เพราะได้พิสูจน์แล้วว่าท�ำให้พวกเขาสามารถเอาชนะมหาอ�ำนาจที่มีก�ำลัง เหนือกวา่ ได้ แม้ว่าประชาคมการเมืองและความมั่นคงอาเซียนจะให้ความส�ำคัญ กับความปลอดภัยของประชาชน แต่ประชาคมอาเซียนกใ็ ห้ความสนใจดา้ น การเมืองอยู่ไม่น้อย ดังจะเห็นได้จากการก�ำหนดเร่ืองเกี่ยวกับการมี เสถยี รภาพทางการเมอื งของภมู ภิ าค การสง่ เสรมิ ความรว่ มมอื ดา้ นการรกั ษา สันติภาพในภูมิภาค การทูตเชิงป้องกัน (Preventive Diplomacy) สิทธิ มนษุ ยชนเหลา่ น้ี ไวใ้ นแผนการการกอ่ ตง้ั ประชาคมการเมอื งและความมน่ั คง อาเซยี น ซงึ่ กำ� หนดกรอบและกจิ กรรมทจ่ี ะทำ� ใหอ้ าเซยี นบรรลเุ ปา้ หมายการ เป็นประชาคมการเมืองและความมนั่ คง
156 การเมือง - การเลือกตงั้ ไทยและประเทศในอาเซยี น การนำ� เสนอเรอ่ื งเกยี่ วกบั การเมอื ง-การปกครองและการเลอื กตง้ั ของ ประเทศสมาชิกอาเซียนน้ี ก็เพื่อให้เกิดการรับรู้และสร้างความเข้าใจใน การเมืองรูปแบบต่างๆ และเพื่อสะท้อนให้เห็นในมิติของ “ความเป็น ประชาธปิ ไตย” เปน็ การเฉพาะย่งิ ขึ้น ท้ังในเชิงรปู แบบและเน้ือหา กล่าวคอื กระบวนการทางการเมืองที่เป็นประชาธิปไตย ประชาชนเจ้าของอ�ำนาจ อธิปไตยมีส่วนร่วมทางการเมือง มีกระบวนการปรึกษาหารือเพื่อยกระดับ ประชาธิปไตยแบบตัวแทน (Representative Democracy) ตลอดจนการ ใชก้ ระบวนการประชาธปิ ไตยมาแกไ้ ขปญั หาทางเศรษฐกจิ และสงั คม เพราะ ประชาธปิ ไตยเปน็ ทงั้ อดุ มการณ์ ระบอบการปกครอง และวถิ ชี วี ิตของผ้คู น ในสงั คม โดยเฉพาะอย่างยิ่งการที่ประเทศสมาชิกท้ังสิบประเทศมีรูปแบบ การเมอื งการปกครองทแ่ี ตกตา่ งกนั กลา่ วคอื มที งั้ ระบอบประชาธปิ ไตยแบบ รัฐสภา (กัมพูชา มาเลเซีย สิงคโปร์ เมียนมาร์ และไทย) และแบบ ประธานาธบิ ดี (อนิ โดนีเซีย และฟิลปิ ปนิ ส์) ระบอบสมบูรณาญาสทิ ธิราชย์ (บรไู น) และระบอบคอมมวิ นสิ ตส์ งั คมนิยม (ลาว และเวียดนาม) ดว้ ยความ เข้าใจในความหลากหลายในเรื่องระบอบการเมืองการปกครองเช่นน้ี ย่อม ทำ� ใหส้ ามารถอยรู่ ว่ มกนั เปน็ ประชาคมไดโ้ ดยไมก่ อ่ ใหเ้ กดิ ความขดั แยง้ หรอื แทรกแซงกิจการภายในของกันและกัน และจะเป็นพื้นฐานท่ีส�ำคัญให้ พลเมืองอาเซียนมีความรู้และเข้าใจถึงความจ�ำเป็นและสนับสนุนความเป็น พหุทางการเมืองท่ีมีความแตกต่างหลากหลายให้ได้อยู่ร่วมกันอย่างพึ่งอิง พิงกัน ในความเป็นประชาคมของภูมิภาคนี้
สมชาติ เจศรีชยั 157 บรรณานุกรม หนังสือ กรมอาเซียน กระทรวงการต่างประเทศ, แผนงานการจัดต้ังประชาคม อาเซยี น (3 เสา) Roadmap for ASEAN Community 2015, กรมอาเซียน กระทรวงการต่างประเทศ, กรุงเทพฯ : 2555 จันทิมา เกษแก้ว, การเมืองการปกครอง, สถาบันราชภัฏสวนดุสิต, กรุงเทพฯ : 2540 จุลนภ ศานติพงศ์ และคณะ, 17 ผู้ทรงอิทธิพลในอาเซียน, ส�ำนักพิมพ์ สถาพรบคุ๊ , กรงุ เทพฯ : 2556 โชคสขุ กรกติ ตชิ ยั , การหาเสยี งฉบบั โมเดลญปี่ นุ่ เอกสารวจิ ยั ส�ำนกั วชิ าการ สำ� นกั งานเลขาธกิ ารสภาผแู้ ทนราษฎร ดาณภุ า ไชยพรหม, การเมอื งการปกครอง : เรอื่ งทท่ี กุ คนตอ้ งร,ู้ สำ� นกั พมิ พ์ แพรธรรม, กรุงเทพฯ : 2537 ไตรรัตน์ ยืนยง, รู้รอบเร่ืองประชาคมอาเซียน, ส�ำนักพิมพ์รวมสาส์น, กรุงเทพฯ : 2558 ฐากูร จุลินทร, รวมบทความเก่ียวกับประชาคมอาเซียน พ.ศ. 2555, ส�ำนักงานเลขาธิการสภาผูแ้ ทนราษฎร, กรงุ เทพฯ : 2556 ประณต นันทยิ กุล, พรรคการเมอื งในสาธารณรฐั อนิ เดีย, ส�ำนักงานคณะ กรรมการการเลอื กต้งั , กรุงเทพฯ : 2557 ปรีชา หงสไ์ กรเลิศ, พรรคการเมอื งในสหราชอาณาจกั ร, ส�ำนักงานคณะ กรรมการการเลอื กตง้ั , กรุงเทพฯ : 2557
158 การเมือง - การเลอื กต้งั ไทยและประเทศในอาเซียน มหาวิทยาลัยสโุ ขทยั ธรรมาธริ าช สาขาวิชารัฐศาสตร,์ เอกสารการสอนชุด วิชาการเมืองการปกครองของประเทศในเอเซีย, ส�ำนักพิมพ์ มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช, นนทบุรี : 2556 รงุ่ พงษ์ ชยั นาม, การเมอื งในประเทศคอมมวิ นสิ ตเ์ อเชยี , ในเอกสารการสอน ชุดวิชาระบบการเมืองการปกครองเปรียบเทียบ, ส�ำนักพิมพ์ มหาวทิ ยาลัยสโุ ขทยั ธรรมาธริ าช, นนทบุรี : 2528 สกุล สือ่ ทรงธรรม และอรวรรณ ยะฝา (แปล), การออกแบบระบบเลอื กตง้ั , สถาบันสิทธิมนุษยชนและสันติศึกษา มหาวิทยาลัยมหิดล, นครปฐม : 2555 สกุล ส่ือทรงธรรม, ภาคประชาสังคมกับการตรวจสอบการเลือกตั้ง, เอกสารประกอบการอภปิ ราย “ภาคประชาสงั คมกบั การตรวจสอบ การเลอื กต้ัง” ปรบั ปรงุ ล่าสดุ กมุ ภาพนั ธ์ 2556 สดี า สอนศรี, รศ. พรรคการเมืองในฟลิ ิปปินส์, สำ� นักงานคณะกรรมการ การเลือกตงั้ , กรงุ เทพฯ : 2557 สีดา สอนศรี และคณะ. การเลอื กต้งั ในเอเชยี ตะวนั ออกเฉยี งใต้ : ศึกษา เฉพาะประเทศอินโดนีเซีย มาเลเซีย ฟิลิปปินส์ และไทย, ศูนย์หนังสือแห่งจุฬาลงกรณม์ หาวิทยาลยั , กรงุ เทพฯ : 2547 สีดา สอนศรี และคณะ. เอเชียตะวนั ออกเฉียงใต้ : การเมอื งการปกครอง หลงั สน้ิ สดุ สงครามเยน็ , คณะรฐั ศาสตร์ มหาวทิ ยาลยั ธรรมศาสตร,์ กรงุ เทพฯ : 2546 สีดา สอนศรี และคณะ. พรรคการเมืองในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ : ศกึ ษาเฉพาะประเทศอินโดนีเซยี ฟิลปิ ปินส์ ไทย และมาเลเซยี , ศูนย์หนงั สอื แหง่ จุฬาลงกรณม์ หาวิทยาลัย, กรงุ เทพฯ : 2546
สมชาติ เจศรีชัย 159 สุรินทร์ พิศสุวรรณ, อาเซียนรู้ไว้ได้เปรียบแน่, ส�ำนักพิมพ์อัมรินทร์, กรงุ เทพฯ : 2556 Constitution of the Republic of the Union of Myanmar (2008) Institute of Southeast Asia studies, Regional outlook ; Southeast Asia 2012-2013, ISEAS Publishing , Singapore : 2012 เวบ็ ไซต์ http://www.parliament.go.th/ewtadmin/ewt/admin_souvanee/ ewt_dl_link.php?nid=406 http://aceproject.org/epic-en/em/CDCountry?set_language =en&topic =EM&country=SG&questions=all http://aceproject.org/ero-en/regions/asia/KH/cambodia-political- party-law/view https://ilaw.or.th/node/4264 http://politicalparty-interestgroup-election.blogspot.com/ 2011/03/13.html http://globaledge.msu.edu/countries/brunei/government http://election.exteen.com/page-11
160 การเมอื ง - การเลอื กตั้งไทยและประเทศในอาเซยี น
สมชาติ เจศรชี ยั 161 สถาบนั นโยบายศึกษา Institute of Public Policy Studies ...................................................................... สถาบันนโยบายศึกษา (Institute of Public Policy Studies-ipps) เปน็ องคก์ รอสิ ระทดี่ ำ� เนนิ งานภายใตม้ ลู นธิ สิ ง่ เสรมิ นโยบายศกึ ษา (Founda- tion for the Promotion of Public Policy Studies-fpps) ซงึ่ ได้รบั การ สนบั สนนุ จากมลู นธิ คิ อนราด อาเดนาวร์ (Konrad Adenauer Foundation) แห่งประเทศสาธารณรัฐเยอรมันนบั แต่ก่อตงั้ จนถงึ ปัจจบุ ัน กำ� เนดิ สถาบันนโยบายศึกษาก่อก�ำเนิดในเดือนตุลาคม พ.ศ. 2528 โดยมี จดุ เร่ิมตน้ จากโครงการศกึ ษานโยบายสาธารณะภายใตส้ มาคมสงั คมศาสตร์ แห่งประเทศไทย ต่อมาสถาบันฯ ได้แยกตัวออกจากการบริหารงานของ สำ� นกั เลขาธกิ ารสมาคมสงั คมศาสตรภ์ ายใตช้ อื่ “โครงการศกึ ษาสาธารณะ” โดยมี ศ.ดร.สมศกั ด์ิ ชโู ต เป็นผู้อ�ำนวยการ และ ศ.ดร.ชยั อนันต์ สมทุ วณิช เป็นผู้อ�ำนวยการร่วม ปัจจุบันสถาบันนโยบายศึกษามี ศ.ดร.ชัยอนันต์ สมทุ วณชิ เปน็ ประธาน และมผี บู้ รหิ ารรว่ มสองคน คอื นางยศวดี บณุ ยเกยี รติ และ นางทพิ ย์พาพร ตนั ติสนุ ทร วตั ถุประสงค์ สถาบันนโยบายศึกษาเป็นองค์กรเอกชนที่ด�ำเนินกิจกรรมโดย ไม่มุ่งหวังผลก�ำไร มีวัตถุประสงค์ที่จะด�ำเนินงานท่ีเก่ียวข้องกับนโยบาย สาธารณะ โดยมกี ารทำ� กจิ กรรมในรปู แบบของการสมั มนา การวจิ ยั ผลติ สอื่ และส่ิงพิมพ์ เพื่อสนับสนุนการพัฒนาประชาธิปไตยแบบมีส่วนร่วม ตาม
162 การเมอื ง - การเลือกตั้งไทยและประเทศในอาเซยี น วัตถปุ ระสงค์ดงั นี้ 1. เพ่ือส่งเสริมและเผยแพร่ความรู้ความเข้าใจการเมืองระบอบ ประชาธิปไตย 2. เพื่อให้การศึกษาและเผยแพร่ข่าวสารกิจการนโยบายสาธารณะ และสนบั สนนุ การศกึ ษาทางการเมอื งใหพ้ ลเมอื งไดม้ สี ว่ นรว่ มในการกำ� หนด นโยบายสาธารณะทีส่ ำ� คัญต่อสังคมส่วนรวม 3. เพื่อสร้างพลเมืองให้มีความสามารถที่จะใช้เสรีภาพบนพื้นฐาน ของความรบั ผดิ ชอบท้งั ตอ่ ตนเองและสังคม 4. เพ่อื สนับสนนุ การเสวนา สมั มนาและฝึกอบรม วจิ ัย ผลติ สิง่ พมิ พ์ และสื่อต่างๆ เพ่ือสนับสนุนแนวทางการปฏิรูปการเมืองและการกระจาย อำ� นาจโดยใหพ้ ลเมอื งมสี ว่ นร่วมในทุกระดบั ของสังคม กิจกรรม สถาบันนโยบายศึกษา มีการด�ำเนินงานในรูปการจัดกิจกรรม 4 รปู แบบใหญ่ ๆ คือ 1. การจัดเสวนา สัมมนา และฝึกอบรม เพ่ือเป็นเวทีแลกเปลี่ยน แสดงความคิดเห็นและถกเถียงระหว่างกลุ่มตัวแทนต่างๆ ของสังคม ต่อประเดน็ นโยบายสาธารณะท่สี �ำคญั ๆ เพอ่ื เสนอตอ่ สาธารณะและรฐั บาล อีกทั้งยังเป็นเวทีในการน�ำเสนอข้อมูลข่าวสารที่ส�ำคัญจากหน่วยงาน ท้ังภาครัฐและเอกชนท่ีเกี่ยวข้องต่อประชาชน เพ่ือท�ำหน้าที่ในการให้ ความรู้และทกั ษะทางการเมอื งและสงั คม 2. วิจัย โดยใหก้ ารสนับสนนุ การศึกษาและวจิ ยั ในเรื่องต่างๆ ทจี่ ะมี ผลกระทบต่อสาธารณชน ผลงานสำ� คญั ๆ ท่ีผา่ นมา อาทิเชน่ การกระจาย อ�ำนาจการปกครองส่วนทอ้ งถน่ิ การปฏิรูปการเมอื ง พ.ร.บ.ขอ้ มลู ข่าวสาร
สมชาติ เจศรชี ัย 163 ฯลฯ ซ่ึงผลของงานวิจัยดังกล่าวได้มีส่วนส�ำคัญยิ่งในการเปล่ียนแปลงและ การพัฒนาทางการเมืองของประเทศ 3. สิ่งพิมพ์ จัดท�ำจดหมายข่าวรายเดือนเป็นประจ�ำต้ังแต่ “ผู้แทนราษฎร” ในปี พ.ศ. 2529 ซึ่งในต้นปี พ.ศ. 2533 ได้เปลี่ยนเป็น “จดหมายข่าวปฏิรูปการเมือง” และปัจจุบัน คือ จดหมายข่าว “ปฏิรูป การเมอื ง-กระจายอ�ำนาจ” เน้อื หาสาระของจดหมายขา่ วของสถาบันฯ คือ การติดตามความเปล่ียนแปลงด้านเศรษฐกิจ สังคม และการเมืองของ ประเทศ นอกจากนี้ สถาบนั ฯ ยังจัดพมิ พห์ นังสอื เอกสารนโยบาย เอกสาร ข้อมลู เอกสารวจิ ัย เอกสารสมั มนาต่างๆ เป็นประจำ� ทกุ ปี 4. สื่อการศึกษา จัดท�ำส่ือในหลายรูปแบบเพื่อเป็นส่ือให้ความรู้ ทางการเมอื งแกป่ ระชาชนได้มากขนึ้ อาทิ l ธนาคารเสยี ง (Digital Voice Bank) เป็นการรวบรวมข้อมูล เสียงของบุคคลต่างๆ ในระดับผู้ตัดสินนโยบายของประเทศ รวมท้ังนัก วชิ าการ และนักธุรกจิ ในหัวขอ้ ทนี่ า่ สนใจไวเ้ พ่อื ใชป้ ระโยชน์ในการคน้ คว้า อ้างอิง โดยจัดท�ำเป็นซีดี ท่ีประกอบด้วยภาพและเสียงที่ได้รวบรวมจาก รายการวทิ ยขุ องโครงการ “ศกึ ษานโยบายสาธารณะทางวทิ ย”ุ ทอี่ อกอากาศ ทางสถานีวิทยุกระจายเสียง อสมท. เอเอ็ม 1494 เป็นประจ�ำทุกวันเสาร์ ด�ำเนนิ รายการโดย ศ.ดร.สมศักดิ์ ชโู ต ข้อมลู เหลา่ น้ถี ือเปน็ หลักฐานชั้นตน้ ทางประวัติศาสตร์ที่จะเป็นประโยชน์ยิ่งในการก่อต้ังห้องสมุดเสียง เพ่ือ ประโยชน์ทางการศึกษาตอ่ ไป l ปฏทิ นิ ประวัตศิ าสตร์ทางการเมอื งและเกมการเมอื ง เชน่ เกม วงเวียนประชาธิปไตย ไพก่ ารเมอื ง ปฏทิ นิ รัฐธรรมนูญไทย และเกมเลือกต้งั เป็นการสร้างสรรค์มิติใหม่ในการให้ความรู้ทางการเมืองแก่เยาวชนและ บคุ คลท่วั ไป
164 การเมือง - การเลือกต้ังไทยและประเทศในอาเซยี น l เวบ็ ไซตข์ องสถาบนั นโยบายศกึ ษา เปน็ สอื่ อเิ ลก็ ทรอนกิ สท์ ม่ี ที งั้ ภาษาไทยและอังกฤษ ซึ่งท่านผู้ใช้อินเทอร์เน็ตสามารถเข้าชมได้โดยผ่าน เว็บไซต์ http://www.fpps.or.th ซ่งึ จะน�ำเสนอ:- - จดหมายข่าวรายเดือน “ปฏริ ปู การเมอื ง-กระจายอำ� นาจ” - บทความ - หนังสอื ทางวิชาการ - กิจกรรมของสถาบันฯ - e-library โดยนำ� หนังสอื ท่ีสถาบันฯ จดั พิมพ์ ขึน้ เผยแพร่ให้ ผู้ท่ีสนใจไดห้ าความรโู้ ดยไมเ่ สยี คา่ ใช้จ่าย ......................................................................
สมชาติ เจศรีชัย 165 สิง่ พิมพ์สถาบันนโยบายศกึ ษา ...................................................................... Policies of Thai Political Parties in the 1995 General Election (1995) Kiratipong Naewmalee, Nattaya Kuanrak, Prachak Kongkirati, Win Phromphaet (Translated and edited by Santhad Atthaseree, David Peters, Parichart Chotiya) Thai Constitutions in Brief (1997) Parichart Siwaraksa, Chaowana Traimas, Ratha Vayagool เปรยี บเทียบนโยบาย 4 รัฐบาล (พมิ พค์ รงั้ ที่ 2) (2541) ปารชิ าต ศิวะรักษ์ กรอบนโยบายแมบ่ ทของพรรคการเมอื งไทยยุคใหม่ (2541) เชาวนะ ไตรมาศ กฎหมายประกอบรฐั ธรรมนญู ฝร่ังเศส: ขอ้ คิดเพ่ือการปรบั ปรงุ กฎหมายประกอบรัฐธรรมนญู ไทย (2541) นันทวฒั น์ บรมานนั ท์ บทเฉพาะกาลของรฐั ธรรมนญู กับการปฏิรูปการเมือง (2541) นันทวัฒน์ บรมานันท์ ปฏิรูปประเทศไทย…จากวิกฤตสู่สหสวรรษใหม่ (2541) วฒุ พิ งษ์ เพรียบจริยวฒั น์ มาตรการทางกฎหมายในการเสรมิ สรา้ งเสถียรภาพรัฐบาล (2541) มานติ ย์ จุมปา
166 การเมอื ง - การเลอื กตงั้ ไทยและประเทศในอาเซียน ทฤษฎีใหม่ : มิติท่ยี ่ิงใหญท่ างความคิด (2541) ชยั อนนั ต์ สมุทวณชิ ข้อมลู พ้นื ฐาน 66 ปี ประชาธปิ ไตยไทย (2541) เชาวนะ ไตรมาศ ศกั ยภาพทางการคลงั ของ อบต. (2541) จรสั สวุ รรณมาลา Portfolio Government and Multiple Legislative Processes ข้อเสนอในการออกแบบระบบการเมือง และการบริหารใหม่ (2542) ชัยอนนั ต์ สมุทวณิช การเลอื กตง้ั และพรรคการเมอื ง: บทเรียนจากเยอรมนั (2542) บญุ ศรี มวี งศอ์ ุโฆษ การเลือกตงั้ แบบใหม่ : ทำ� ไมคนไทยตอ้ งไปเลอื กตงั้ (2542) เชาวนะ ไตรมาศ บทบาทใหมข่ องขา้ ราชการไทย: ในบรบิ ทของรฐั ธรรมนญู ปจั จบุ นั (2542) เชาวนะ ไตรมาศ องคก์ รช้ีขาดอ�ำนาจหน้าท่ีระหว่างศาล (2542) นันทวัฒน์ บรมานนั ท์ ความเขา้ ใจเรือ่ งการปกครองทอ้ งถิ่น (พมิ พ์ครั้งที่ 2 2543) สนทิ จรอนันต์ กับดกั ของสงครามความเปลีย่ นแปลง : ทางเลอื กและทางรอดของสงั คม การเมอื งไทยในสหัสวรรษใหม่ (2543) เชาวนะ ไตรมาศ เลอื กตัง้ อยา่ งไร : คนไทยและประเทศจึงไม่เสยี โอกาส (2543) เชาวนะ ไตรมาศ
สมชาติ เจศรีชัย 167 การใช้กลไกรัฐธรรมนูญสำ� หรบั ประชาชน (2545) เชาวนะ ไตรมาศ Thailand: State-Building, Democracy and Globalization (2002) Chai-Anan Samudavanija รัฐบาลทำ� งานอย่างไร (พมิ พ์ครัง้ ท่ี 2 2546) สนทิ จรอนนั ต์ นติ ิรฐั กับประชาสังคม (2546) นันทวฒั น์ บรมานันท์ สิง่ แวดล้อมกบั ความมัน่ คง : ความมน่ั คงของรัฐกับความไม่มน่ั คงของราษฎร (2546) ชัยอนันต์ สมทุ วณิช กสุ มุ า สนทิ วงศ์ ณ อยุธยา อนาคตทไี่ ล่ลา่ ประเทศไทย: แนวโน้มของโลก สงั คม เศรษฐกิจ การเมอื ง กบั อนาคตของวทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี (2546) ถริ พฒั น์ วลิ ยั ทอง, ชัยอนนั ต์ สมุทวณชิ และคณะ คมู่ อื สทิ ธมิ นุษยชน ฉบับพลเมอื ง (เลม่ 1) (2546) จรัล ดษิ ฐาอภิชัย ประชารฐั กับการเปล่ียนแปลง (พมิ พค์ รั้งที่ 3) (2547) ชัยอนนั ต์ สมทุ วณชิ การปฏริ ูประบบราชการ : เพื่อการพัฒนาประเทศที่ยัง่ ยนื (2547) สถาบนั นโยบายศึกษา ฅนไทยกบั การเมอื ง : ปีติฤาวิปโยค (2547) อภญิ ญา รตั นมงคลมาศ วิวัฒน์ คติธรรมนิตย์
168 การเมอื ง - การเลอื กตงั้ ไทยและประเทศในอาเซยี น วัฒนธรรมการเมืองและการปฏริ ูป (พมิ พ์ครงั้ ท่ี 2) (2547) วิชยั ตนั ศิริ นโยบายพรรคการเมืองไทย (2547) เชาวนะ ไตรมาศ …กวา่ จะเป็นพลเมอื ง (2547) สถาบนั นโยบายศึกษา คูม่ ือสทิ ธิมนุษยชน ฉบับพลเมือง (เลม่ 2) (2548) จรลั ดษิ ฐาอภชิ ยั ความเขา้ ใจเรื่องการปกครองท้องถิน่ (ฉบบั ปรับปรุง) (2548) สนทิ จรอนันต์ Thai Political Parties in the Age of Reform (2006) Siripan Nogsuan Sawasdee บนหนทางสทิ ธิมนุษยชน (2549) จรัล ดิษฐาอภชิ ัย ข้อมูลพน้ื ฐาน 75 ปี ประชาธิปไตยไทย (2550) เชาวนะ ไตรมาศ อตุ สาหกรรมโทรคมนาคมกบั เศรษฐกิจไทย (2550) เศรษฐพร คูศรีพทิ กั ษ์ โพลเลอื กตัง้ กบั การเมืองไทย (ในมิตกิ ฎหมาย) (2550) ณรงคเ์ ดช สรโุ ฆษิต วัฒนธรรมพลเมอื ง (2551) วิชัย ตนั ศิริ การจดั การศกึ ษาในท้องถิน่ (2551) สนทิ จรอนนั ต์
สมชาติ เจศรชี ยั 169 การเมอื งในรัฐธรรมนญู (2551) เชาวนะ ไตรมาศ รฐั (2551) ชยั อนันต์ สมุทวณชิ วทิ ยุชุมชน : กฎหมายและการพัฒนา (2552) ธนาวชั ณ์ แก้วพงศ์พันธุ์ ไปดู Civic Education ท่เี ยอรมนั (2553) ทพิ ยพ์ าพร ตันติสนุ ทร 100 ปแี ห่งการปฏิรปู ระบบราชการ : ววิ ฒั นาการของอำ� นาจรฐั และอำ� นาจการเมือง (พมิ พค์ รัง้ ที่ 4) (2554) ชัยอนันต์ สมทุ วณิช รัฐกบั สังคม : ไตรลกั ษณรัฐไทยในพหุสังคมสยาม (พิมพ์ครงั้ ท่ี 2) (2554) ชยั อนันต์ สมทุ วณชิ การชุมนุมสาธารณะ (2554) โสพล จริงจิตร ทิพยพ์ าพร ตนั ตสิ ุนทร ประชาธปิ ไตยนอกหอ้ งเรียน : เรยี นให้เพลนิ - LEARN ดว้ ยโครงงาน (2555) ยศวดี บุณยเกยี รติ ขอ้ มูลพืน้ ฐาน 80 ปปี ระชาธิปไตยไทย (2556) เชาวนะ ไตรมาศ จาก 100 ปี ร.ศ. 130 ถึง 80 ปี ประชาธปิ ไตย (2556) สุธาชยั ย้มิ ประเสรฐิ ทพิ ย์พาพร ตันตสิ นุ ทร
170 การเมอื ง - การเลอื กตง้ั ไทยและประเทศในอาเซยี น แนวทางการศกึ ษาเพื่อสรา้ งพลเมืองในสงั คมประชาธิปไตย (Civic Education) (2557) วิชัย ตนั ศริ ิ ชยั อนนั ต์ สมุทวณชิ Dr. Canan Atilgan ทพิ ย์พาพร ตันติสุนทร ศาสตร์การสอนความเปน็ นกั ประชาธิปไตย (2557) วชิ ัย ตนั สริ ิ กฎแห่งความช้า (2557) ชัยอนันต์ สมทุ วณชิ พลเมอื ง สิทธมิ นษุ ยชน และประชาธิปไตย (2558) ทพิ ยพ์ าพร ตนั ตสิ นุ ทร การศึกษาเพอ่ื สรา้ งพลเมอื ง (พมิ พค์ รั้งที่ 4, 2558) ทพิ ย์พาพร ตนั ติสนุ ทร คุณธรรมเพือ่ ความเป็นพลเมือง: เรียนให้ “เพลิน” Learn ดว้ ย “นทิ าน” (2558) ยศวดี บณุ ยเกียรติ ภูมอิ ากาศเปลี่ยน : ทางออกและขอ้ เสนอ (2558) สถาบันนโยบายศึกษา การเมอื ง - การเลือกต้งั ไทยและประเทศในอาเซียน (2559) สมชาติ เจศรชี ัย ......................................................................
สมชาติ เจศรีชยั 171 ส่ือความรู้ทางการเมอื งของสถาบนั นโยบายศึกษา ...................................................................... วงเวียนประชาธิปไตย แผนที่เสน้ ทางประชาชน-ถนนประชาธิปไตย Road of Democracy Map ไพ่การเมือง เกมการเมือง (Political Monopoly) เกมเลือกตง้ั ปฏทิ นิ รัฐธรรมนญู ไทย 2475-2545 ธนาคารเสียง (Digital Voice Bank) การต์ ูนอนเิ มชน่ั “การพฒั นาท่ยี ัง่ ยืน” (Sustainable Development) สนใจกรณุ าตดิ ตอ่ : สถาบนั นโยบายศึกษา 99/146 ถนนงามวงศ์วาน แขวงลาดยาว เขตจตุจักร กรงุ เทพฯ 10900 โทร. 0 2941-1832-3 โทรสาร: 0 2941-1834 e-mail: [email protected] ......................................................................
172 การเมือง - การเลือกตั้งไทยและประเทศในอาเซียน ประวตั ผิ ู้เขยี น นายสมชาติ เจศรีชัย นกั วชิ าการอสิ ระ สถาบันนโยบายศึกษา การศกึ ษา 1. ปรญิ ญาบัตร วทิ ยาลัยป้องกันราชอาณาจกั ร (พ.ศ. 2548) 2. รัฐประศาสนศาสตร์มหาบัณฑิต จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย (พ.ศ. 2532) 3. นิตศิ าสตรบ์ ัณฑติ มหาวทิ ยาลยั สุโขทัยธรรมาธริ าช (พ.ศ. 2531) 4. รัฐศาสตร์บัณฑิต (เกียรตินิยมอันดับ 2) สาขาวิชาการปกครอง จุฬาลงกรณม์ หาวทิ ยาลยั (พ.ศ. 2520) ประสบการณก์ ารท�ำงาน 1. เลขาธิการคณะกรรมการองค์การอิสระด้านส่ิงแวดล้อมและ สขุ ภาพ (พ.ศ. 2555) 2. รองเลขาธกิ ารคณะกรรมการการเลอื กตง้ั รกั ษาการแทนเลขาธกิ าร คณะกรรมการการเลอื กต้งั (พ.ศ. 2554-2555) 3. รองเลขาธกิ ารคณะกรรมการการเลอื กตั้ง (พ.ศ. 2551-2555) 4. ผูท้ รงคณุ วฒุ ิ สำ� นักงานคณะกรรมการการเลอื กตั้ง (พ.ศ. 2550- 2551) 5. ผู้ตรวจการ ส�ำนักงานคณะกรรมการการเลือกตั้ง (พ.ศ. 2549- 2550) 6. ผู้อ�ำนวยการส�ำนักการมีส่วนร่วมในกระบวนการเลือกต้ัง (พ.ศ. 2547-2549)
สมชาติ เจศรีชัย 173 7. ผอู้ ำ� นวยการสำ� นกั นโยบายและแผน สำ� นกั งานคณะกรรมการการ เลือกตง้ั (พ.ศ. 2543-2547) 8. รองผู้อ�ำนวยการฝ่ายบริหาร โรงพยาบาลมหาราชนครราชสีมา สำ� นกั งานปลดั กระทรวงสาธารณสขุ (พ.ศ. 2538-2539) หนา้ ท่ีการงานในปัจจุบนั 1. ที่ปรึกษากรรมการป้องกันและปราบปรามการทุจริตในภาครัฐ (ป.ป.ท.) (นายอนสุ ษิ ฐ คณุ ากร) 2. อนุกรรมการและเลขานุการคณะอนุกรรมการต่อต้านการทุจริต แห่งชาติด้านการประชาสัมพันธ์ ในคณะกรรมการต่อต้านการ ทจุ ริตแหง่ ชาติ (คตช.) 3. อนุกรรมาธิการและเลขานุการ คณะอนุกรรมาธิการศึกษา เสนอแนะมาตรการและกลไกในการปลกู ฝงั และปอ้ งกนั การทจุ รติ และประพฤติมิชอบ ในคณะกรรมาธิการวิสามัญขับเคล่ือนการ ปฏิรูปประเทศด้านการป้องกันและปราบปรามการทุจริตและ ประพฤตมิ ิชอบ สภาขบั เคลอ่ื นการปฏริ ูปประเทศ (สปท.) 4. อนุกรรมาธิการ คณะอนุกรรมาธิการขับเคล่ือนว่าด้วยแผนการ เสริมสร้างวัฒนธรรม ในคณะกรรมาธิการขับเคลื่อนการปฏิรูป ประเทศด้านการเมอื ง สภาขบั เคลอ่ื นการปฏิรูปประเทศ (สปท.) 5. อนุกรรมาธิการ คณะอนุกรรมาธิการขับเคลื่อนว่าด้วยแผนการ เสริมสร้างวัฒนธรรม ในคณะกรรมาธิการขับเคล่ือนการปฏิรูป ประเทศด้านการเมือง สภาขบั เคลอ่ื นการปฏิรูปประเทศ (สปท.) 6. อนุกรรมการ คณะอนุกรรมการศึกษาและจัดท�ำข้อเสนอแนะ ประเด็นส�ำคัญท่ีเก่ียวข้องกับร่างพระราชบัญญัติประกอบ รฐั ธรรมนูญ ในคณะกรรมการร่างรฐั ธรรมนญู (กรธ.)
174 การเมือง - การเลอื กตงั้ ไทยและประเทศในอาเซียน About the Book Politics and Elections in ASEAN Countries By Somchart Jasrichai Political cooperation to protect Southeast Asia from threats against its security during the cold war period brought together Thailand and the Philippines and countries outside the region - Australia, New Zealand, Great Britain, France and the United States - to form the Southeast Asia Treaty Organization (SEATO) in 1954. The organization, however, formally disbanded in 1977 after the end of the Indochina wars. That was 10 years after five Southeast Asian countries - Thailand, Indonesia, Malaysia, the Philippines and Singapore - signed the ASEAN Declaration or Bangkok Declaration which is the founding document of the Association of Southeast Asian Nations (ASEAN) in 1967. The regional organization had expanded and finally had five more members - Brunei, Cambodia, Laos, Myanmar and Vietnam - by 1999. Regional cooperation has also been extended from political to cultural and economic areas. Member states have been working together towards increasing understanding of different cultures which include languages, traditions and religious beliefs. Buddhism, Islam and Christianity are three major religions adhered to among people of these 10 ASEAN nations. On the economic front, the ASEAN Econocic Community (AEC), the regional grouping’s key driving force towards the goal of economic integration, became official on January 1, 2016. The birth of AEC also has helped legitimize movements of migrant
สมชาติ เจศรชี ัย 175 workers within ASEAN. ASEAN comprises three pillars - ASEAN Political - Security Community, ASEAN EConomic Community and ASEAN Socio- Cultural Community. Political developments in all 10 member countries are still worth studying given their different systems of government - democracy, socialism, communism and absolute monarchy - as well as different ideologies. Democracy itself also takes on different forms. Such political, economic and cultural diversity is common in plural societies which exist around the world, including South- east Asia. ASEAN citizens, therefore, should try to deepen their knowledge and understanding of political and economic systems and cultural differences in other member countries so they will be able to work in harmony with all ASEAN neighbors in promot- ing peace and unity in the region. Thailand, meanwhile, is returning to democracy under the military government’s roadmap for reform in which a general election has been scheduled to be held in 2017. Thai peple should prepare for changes, which look inevitable, since politics is always an integral part of everyday life. They still have time to gather information that can increase their political awareness and help them choose quality candidates into parliament. This book itself can be considered a useful source about politics and elections in Thailand and all other ASEAN nations.
176 การเมอื ง - การเลอื กตั้งไทยและประเทศในอาเซยี น
ii
Search
Read the Text Version
- 1
- 2
- 3
- 4
- 5
- 6
- 7
- 8
- 9
- 10
- 11
- 12
- 13
- 14
- 15
- 16
- 17
- 18
- 19
- 20
- 21
- 22
- 23
- 24
- 25
- 26
- 27
- 28
- 29
- 30
- 31
- 32
- 33
- 34
- 35
- 36
- 37
- 38
- 39
- 40
- 41
- 42
- 43
- 44
- 45
- 46
- 47
- 48
- 49
- 50
- 51
- 52
- 53
- 54
- 55
- 56
- 57
- 58
- 59
- 60
- 61
- 62
- 63
- 64
- 65
- 66
- 67
- 68
- 69
- 70
- 71
- 72
- 73
- 74
- 75
- 76
- 77
- 78
- 79
- 80
- 81
- 82
- 83
- 84
- 85
- 86
- 87
- 88
- 89
- 90
- 91
- 92
- 93
- 94
- 95
- 96
- 97
- 98
- 99
- 100
- 101
- 102
- 103
- 104
- 105
- 106
- 107
- 108
- 109
- 110
- 111
- 112
- 113
- 114
- 115
- 116
- 117
- 118
- 119
- 120
- 121
- 122
- 123
- 124
- 125
- 126
- 127
- 128
- 129
- 130
- 131
- 132
- 133
- 134
- 135
- 136
- 137
- 138
- 139
- 140
- 141
- 142
- 143
- 144
- 145
- 146
- 147
- 148
- 149
- 150
- 151
- 152
- 153
- 154
- 155
- 156
- 157
- 158
- 159
- 160
- 161
- 162
- 163
- 164
- 165
- 166
- 167
- 168
- 169
- 170
- 171
- 172
- 173
- 174
- 175
- 176
- 177
- 178
- 179
- 180
- 181
- 182
- 183
- 184
- 185
- 186