Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore ธรรมะครองใจคน

ธรรมะครองใจคน

Description: ธรรมะครองใจคน

Search

Read the Text Version

ธรรม เพอื่ ครองใจคน และ เพ่อื ความส�ำเรจ็ ในชีวิต อ. วศนิ อนิ ทสระ



ธรรมเพ่ือครองใจคน อ. วศนิ อินทสระ ฉบับธรรมทาน ธันวาคม ๒๕๕๕ จดั พิมพจ์ �ำนวน ๔,๐๐๐ เลม่ ชมรมกลั ยาณธรรม หนงั สอื ดอี ันดบั ท่ี ๒๐๖ ๑๐๐ ถ.ประโคนชัย ต.ปากน้�ำ อ.เมือง จ.สมุทรปราการ ๑๐๒๗๐ โทรศัพท์ ๐๒-๗๐๒-๗๓๕๓, ๐๒-๗๐๒-๙๖๒๔ โทรสาร ๐๒-๗๐๒-๗๓๕๓ www.kanlayanatam.com ออกแบบโดย : วชั รพล วงษ์อนุสาสน์ ดำ� เนนิ การผลติ โดย ชมรมกลั ยาณธรรม พมิ พท์ ่ี บรษิ ัท ขุมทองอตุ สาหกรรมและการพิมพ์ จำ� กัด ๕๙/๘๔ หมู่ ๑๙ ถนนบรมราชชนนี แขวงศาลาธรรมสพน์ เขตทววี ฒั นา กรุงเทพมหานคร ๑๐๑๗๐ โทรศัพท์ ๐-๒๘๘๕-๗๘๗๑-๓ โทรสาร ๐-๒๘๘๕-๗๘๗๔ สพั พทานงั ธัมมทานัง ชนิ าติ การใหwธ้ รwรมwะw.เkปwaน็ wnทlา.avนyisaยan่อlaมotช.aoนmrะgก.าcรoใหm้ท้ังปวง

คำ� อนโุ มทนา ชมรมกลั ยาณธรรม โดยทนั ตแพทยห์ ญงิ อจั ฉรา กลนิ่ สวุ รรณ์  ผเู้ ปน็ ประธานชมรม ไดข้ ออนญุ าตพมิ พห์ นงั สอื เรอ่ื ง “ธรรมเพอ่ื ครองใจคนและธรรมเพอ่ื ความสำ� เรจ็ ” ขา้ พเจา้ อนญุ าตดว้ ยความ ยนิ ดยี งิ่  เดมิ ทเี ดยี วหนงั สอื ทง้ั  ๒ เรอ่ื งน ้ี กรมวชิ าการ กระทรวง ศึกษาธิการได้ขอร้องให้ข้าพเจ้าเขียน  เพ่ือเป็นหนังสือส่งเสริม การอ่าน  ชุดพระพุทธศาสนาและจริยธรรม  ระดับมัธยมศึกษา เม่ือประมาณ  พ.ศ.๒๕๓๐ ตอ่ มา คณุ รชั นนี นั ท ์ ตรงั คานกุ ลู กจิ  เจา้ ของบรษิ ทั ศรไี ทยใหม่  อ�ำเภอเมือง  จังหวัดหนองบัวล�ำภู  ได้ขออนุญาตพิมพ์เร่ือง  “ธรรมเพื่อครองใจคน” เพ่อื แจกเป็นธรรมทาน ในปีใหม ่ พ.ศ. ๒๕๕๒

บัดนี้ชมรมกัลยาณธรรมได้มองเห็นคุณค่าของหนังสือ  ทง้ั  ๒ เรอื่ งน ี้ ขออนญุ าตพมิ พร์ วมเลม่ เดียวกนั  ดว้ ยเหน็ วา่ เขา้ กันได้รับกันดี  ระหว่างธรรม  ๒  หมวดนี้  กล่าวคือ  “ธรรมเพื่อ ครองใจคน” และ”ธรรมเพื่อความส�ำเร็จในชีวิต” ข้าพเจ้ารู้สึก ปลมื้ ใจและอนโุ มทนาอยา่ งยงิ่  ขอใหท้ กุ คนผมู้ สี ว่ นรว่ มในการทำ� หนังสือเรื่องนี้  ได้ประสบความส�ำเร็จในการครองใจคน  และ ประสบความส�ำเรจ็ ในชีวติ  ในทิศทางทต่ี นปรารถนาโดยทั่วหน้า กนั  ขอใหช้ มรมกลั ยาณธรรมสถติ สถาพรตง้ั มนั่ เพอ่ื ประโยชนส์ ขุ แก่คนหมมู่ ากตลอดกาลนาน ดว้ ยความปรารถนาดีอย่างย่ิง ๒๙ พฤศจกิ ายน ๒๕๕๕

คำ� น�ำของชมรมกัลยาณธรรม การดำ� เนนิ ชวี ติ ทดี่  ี จำ� เปน็ ตอ้ งมหี ลกั ธรรมเปน็ แกนของใจ  ซึ่งนอกจากการประคับประคองตนให้ผ่านพ้นอุปสรรคปัญหา ต่างๆ  ไปอย่างราบร่ืนปลอดภัย  ประสบความส�ำเร็จในกิจที่ตน ประสงค์อย่างถูกต้องตรงธรรมแล้ว  ปฏิเสธไม่ได้ว่าเราต้อง เกยี่ วขอ้ งกบั ผอู้ นื่  เกย่ี วขอ้ งกบั สงั คม การรกั ษาไมตรอี นั ดรี ะหวา่ ง ตนและผู้อ่ืน  รวมท้ังสังคม  อันประกอบด้วยมิตรสหายและ  ผู้ร่วมงาน  ตลอดจนถึงผู้คนหลากหลายท่ีผ่านเข้ามาในชีวิต  จงึ เปน็ เรือ่ งส�ำคัญทีต่ อ้ งเรยี นรู้และปฏิบตั ิใหเ้ หมาะสม

พระพุทธองค์ทรงสอนเรื่องสังคหวัตถุ  ๔  อันเป็นหลักธรรม เพอ่ื ครองใจคน และอทิ ธบิ าท ๔ อนั เปน็ หลกั ธรรมเพอื่ ความสำ� เรจ็ ของชวี ติ  ไวเ้ ปน็ แนวปฏบิ ตั อิ นั ประเสรฐิ  สำ� หรบั ผมู้ งุ่ ความสำ� เรจ็ และ ความผาสุกในชวี ติ  หากจะใหช้ ่งั ถงึ ความส�ำคัญ กย็ ากจะตดั สินใจว่า สองเรอื่ งนอ้ี ะไรจะสำ� คญั กวา่ กนั  โดยความเปน็ จรงิ แลว้  ทกุ ชวี ติ ยอ่ ม ตอ้ งการความสขุ และความสำ� เรจ็  จงึ ตอ้ งเอาใจใสแ่ ละใหค้ วามสำ� คญั ปฏิบัติตามหลักธรรมท้ังสองนี้ไม่ย่ิงหย่อนกว่ากัน  ไม่ว่าเราจะรู้จัก หวั ขอ้ ธรรมเหล่านี้หรือไม่ก็ตาม กราบขอบพระคณุ ทา่ นอาจารยว์ ศิน อินทสระ ที่เมตตาเขยี น เรือ่ ง “ธรรมเพื่อครองใจคนและธรรมเพือ่ ความสำ� เร็จของชีวิต” ไว้ อยา่ งชดั เจน เขา้ ใจงา่ ย มตี วั อยา่ งประกอบทป่ี ระทบั ใจ ดว้ ยภาษาธรรม  อนั สละสลวยชวนตดิ ตาม ชมรมกลั ยาณธรรมจงึ น�ำหลกั ธรรมสำ� คญั ทง้ั สองมารวมไวใ้ นเลม่ เดยี ว เพอื่ มอบเปน็ ธรรมบรรณาการรบั ศกั ราช ใหม่ ๒๕๕๖ แทนความปรารถนาดีแห่งธรรมมอบจากใจแดท่ ุกท่าน

ขอน้อมบูชาอาจริยคุณ  แด่ท่านอาจารย์วศิน  อินทสระ  ขอ อานิสงส์แห่งธรรมทาน  จงเป็นพลวปัจจัยแห่งมรรค  ผล  นิพพาน ตามทท่ี า่ นอาจารยต์ ง้ั จติ ปรารถนา และขอบญุ กศุ ลอนั เลศิ จงกลบั มา อภบิ าลรกั ษาทา่ นอาจารย ์ ใหม้ ชี วี ติ ทส่ี งบเยน็  เปน็ ประโยชน ์ ปราศจาก ทกุ ข ์ โศก โรค ภยั  มแี ตค่ วามสขุ กายสบายใจ ทกุ ทวิ าราตร ี และขอ ให้ท่านผู้อ่าน จงได้รับอานิสงส์แหง่ พระธรรมเพอื่ เปน็ แสงสวา่ งทาง ชวี ติ โดยทวั่ กนั กราบอนโุ มทนาและสวสั ดีปีใหมค่ ะ่ ทพญ.อัจฉรา กลิน่ สุวรรณ์ ประธานชมรมกัลยาณธรรม

สารบญั ธรรมเพื่อครองใจคน...................................... ๑๐ ทาน.................................................... ๑๔ ปิยวาจา............................................... ๓๔ อรรถจรยิ า............................................ ๕๓ สมานัตตตา...........................................๖๗ ธรรมเพือ่ ความสำ� เรจ็ ในชีวติ ...........................๗๔ ตวั อยา่ งไมเคิล ฟาราเดย.์ ......................... ๘๑ ลักษณะผู้มคี วามเพียร............................. ๙๙ ตวั อยา่ งครงั้ พทุ ธกาล............................ ๑๑๔ ประวัติ อ.วศิน อินทสระ......................... ๑๒๖



ธรรมเพอื่ ครองใจคน

ความเบื้องตน้ นักปราชญ์แต่โบราณกาลมา  กล่าวว่ามนุษย์เป็นสัตว์สังคม และเป็นสัตว์มีเหตุผล  น้ันคือ  มนุษย์มีความโน้มเอียงในการอยู่ร่วม กนั เปน็ พวกเปน็ หม ู่ และมเี หตผุ ลในการดำ� เนนิ ชวี ติ  การใชเ้ หตผุ ลใน การด�ำเนินน่ีแหละ ท�ำใหส้ ตั วโ์ ลกประเภทมนษุ ย์โดดเด่นล้�ำหน้าสัตว์ โลกประเภทอน่ื ๆ ในโลกเดยี วกนั  และเป็นใหญ่เปน็ ประธานของสตั ว์ โลกประเภทอ่ืนๆ  สัตว์ทั้งหลายอ่ืนพลอยสุขทุกข์ตามมนุษย์ไปด้วย ความจริงข้อนี้พอสังเกตเห็นได้  ว่าที่ใดมนุษย์มีธรรม  ที่น่ันสัตว์โลก ประเภทอนื่ กพ็ ลอยอยเู่ ยน็ เปน็ สขุ  อนงึ่  การรวมกลมุ่ กนั เปน็ หม ู่ ทำ� ให้ มนษุ ยผ์ มู้ คี วามสามารถตา่ งกนั  นำ� ความสามารถของแตล่ ะคนออกมา 

1 2 ธ ร ร ม เ พื่ อ ค ร อ ง ใ จ ค น ใชใ้ หเ้ ปน็ ประโยชนแ์ กต่ นแกค่ รอบครวั  เพอ่ื การด�ำรงชพี ใหผ้ าสกุ ยงั่ ยนื เมอ่ื รวมความสามารถเหลา่ นน้ั เขา้ ดว้ ยกนั  กก็ ลายเปน็ ความสามารถ อนั ยง่ิ ใหญข่ องมนษุ ย ์ สรา้ งสรรคส์ งั คมใหเ้ จรญิ รดุ หนา้ อยา่ งรวดเรว็ แตใ่ นตวั มนษุ ยม์ ที งั้ ธรรมและอธรรม นน่ั คอื  มที ง้ั ความดแี ละ ความชว่ั  ความดชี ว่ ยสรา้ งสรรค ์ สว่ นความชวั่ ชว่ ยทำ� ลาย ทำ� ลายเกยี รต ิ ของมนษุ ยเ์ อง ทำ� ลายอารยธรรม วฒั นธรรมทมี่ นษุ ยช์ ว่ ยกนั สรา้ งสรรค์  มาเปน็ เวลายดื ยาวนาน ให้ยอ่ ยยับลงด้วยนำ้� มอื ของมนษุ ย์เอง ศาสดาเจา้ ลทั ธทิ งั้ หลายผมู้ ใี จกรณุ า หวงั ความเจรญิ แกส่ งั คมมนษุ ย ์ ไดพ้ ยายามคน้ หาสจั จะแหง่ ชวี ติ  วา่ อะไรเปน็ ไปเพอ่ื ความสขุ ความเจรญิ   อะไรเป็นไปเพ่ือความเส่ือม  เมื่อค้นพบแล้ว  ก็แสดงหลักธรรมน้ันๆ ไว ้ คนทง้ั หลายลองปฏบิ ตั ติ ามด ู กป็ รากฏวา่ มผี ลตามทที่ า่ นสง่ั สอน ไวจ้ รงิ  ไดค้ วามประทบั ใจ เลอ่ื มใสยดึ ถอื ปฏบิ ตั สิ บื ๆ กนั มา หลกั ธรรม ของศาสนาดำ� รงอยไู่ ดด้ ว้ ยเหตนุ  ้ี หาใชเ่ พยี งแตจ่ ำ� กนั ไวอ้ ยา่ งเดยี วไม่ ในทนี่  ้ี ขอเสนอหลกั ธรรม ๔ ประการ ทเ่ี รยี กวา่  สงั คหวตั ถุ

อ . ว ศิ น อิ น ท ส ร ะ 13 ธรรมเครอื่ งยดึ เหนยี่ วนำ้� ใจกนั  หลกั การสงั คมสงเคราะห ์ ประสาน บุคคลไว้ในสามัคคี ที่พระพุทธเจ้าทรงแสดงไว้ ปรากฏในคัมภีร์ องั คตุ ตรนกิ าย จตกุ กนบิ าต พระไตรปฎิ กเลม่ ท ี่ ๒๑ ขอ้  ๓๒ หนา้ ๔๒ และขอ้  ๒๕๖ หนา้  ๓๓๕ จ�ำนวนและความหมาย ๑. ทาน การแบ่งปนั  เผอ่ื แผ่ การเสียสละวัตถ ุ ส่ิงของ การ แนะนำ� พรำ่� สอนชกั จงู ไปในทางทด่ี  ี การใหอ้ ภยั ในความผดิ พลาด เปดิ โอกาสใหก้ ลบั ตวั ๒.  ปิยวาจา  หรือ  เปยยวัชชะ  กล่าววาจาน่ารัก  อ่อนหวาน ดดู ดม่ื ใจ ใหค้ วามสขุ ในการฟงั  และทำ� ใจใหช้ นื่ บาน กลา่ ววาจามปี ระโยชน ์ ประสานสามคั คี มีเหตุมผี ล ท�ำตามแลว้ ให้เกิดประโยชน์ได้จรงิ ๓.  อัตถจริยา  ประพฤติประโยชน์  ท�ำสิ่งที่อ�ำนวยประโยชน์ แก่ตน  แก่คนทั้งหลาย  ช่วยส่งเสริมจริยธรรมให้มั่นคง  อันจะส่ง ประโยชนแ์ กค่ นในสงั คมทว่ั หน้า

1 4 ธ ร ร ม เ พ่ื อ ค ร อ ง ใ จ ค น ๔.  สมานัตตตา  การวางตนดี  ไม่ขาดไม่เกิน  พอดีพองาม  เสมอตน้ เสมอปลาย ไมถ่ อื ตวั  ไมป่ ลอ่ ยตวั  รว่ มสขุ รว่ มทกุ ข ์ วางตน เหมาะสมแกฐ่ านะ ภาวะ บคุ คล เหตกุ ารณ ์ และสง่ิ แวดลอ้ ม ถกู ตอ้ ง สมควรในทุกกรณี รายละเอียดของสงั คหวตั ถุ ๑. ทาน ทาน ตามตวั อกั ษรแปลว่า การให ้ จำ� แนกเป็นการให้ส่งิ ของ เครอ่ื งอปุ โภคบรโิ ภค เรยี ก อามสิ ทาน การใหธ้ รรม คำ� แนะนำ� สงั่ สอน  ชักจูงในทางที่ดี  เรียก  ธรรมทาน  การให้อภัย  ไม่ถือโทษล่วงเกิน ของผอู้ นื่  โดยเฉพาะเมอื่ เขารสู้ ำ� นกึ ผดิ แลว้ มาขอโทษ เรยี ก อภยั ทาน การงดเวน้ ไมเ่ บียดเบียนชีวิตและทรพั ยส์ นิ ของผู้อ่ืน กเ็ ป็นอภัยทาน เหมอื นกัน อามสิ ทาน การใหว้ ตั ถสุ งิ่ ของเครอื่ งอปุ โภคบรโิ ภค รวมเรยี ก วา่  ปัจจัย ๔ นั้น เปน็ ความจ�ำเป็นส�ำหรบั ผู้อยู่ร่วมกนั ตงั้ แต่ ๒ คน ขึ้นไป  เป็นการแสดงน�้ำใจต่อกัน  ท�ำให้มีใจผูกพันกันในด้านความ

อ . ว ศิ น อิ น ท ส ร ะ 15 ส�ำนึกคุณ  เป็นสาราณียธรรมข้อหน่ึง  สาราณียธรรม  คือส่ิงอันก่อ ให้เกิดความระลึกถึงซง่ึ กันและกนั ในด้านคุณ ด้วยเหตุน้ ี เราจงึ นิยม ให้ของที่ระลึกกันในโอกาสต่างๆ  เช่น  ข้ึนบ้านใหม่  แต่งงาน  วันเกิด และโอกาสอน่ื เทา่ ทจี่ ะเปดิ ใหท้ ำ� ความดตี อ่ กนั ได ้ พระพทุ ธเจา้ ตรสั วา่ การให้ย่อมผกู มติ รหรอื ไมตรีไว้ได ้ (ททํ มิตฺตานิ คนถฺ ติ) การใหด้ ้วยวตั ถปุ ระสงค ์ ๓ อยา่ ง การให้วัตถุส่ิงของ  ผู้ให้ย่อมมีวัตถุประสงค์ต่างกัน  ให้เพื่อ อนเุ คราะหบ์ า้ ง ใหเ้ พอื่ สงเคราะหบ์ า้ ง ใหเ้ พอ่ื บชู าคณุ บา้ ง การใหแ้ ก่ คนลำ� บากยากจนแรน้ แคน้  บากหนา้ เขา้ มาพง่ึ พงิ ขอความชว่ ยเหลอื การให้แก่ผู้น้อย  ช่วยเหลือเขาให้พ้นความล�ำบากด้วยความกรุณา เรยี กวา่  ให้เพือ่ อนุเคราะห์ การให้แก่คนเสมอกันเพ่ือรักษาไมตรีและน้�ำใจกันไว้  เป็นการ แบ่งปันเอื้อเฟ้อื ชว่ ยเหลอื กันตามโอกาสทีม่ าถงึ เขา้  เรยี กวา่  ให้เพือ่ สงเคราะห์

1 6 ธ ร ร ม เ พ่ื อ ค ร อ ง ใ จ ค น การให้สิ่งของแก่มารดาบิดา  อุปฌายะอาจารย์  ครูผู้สั่งสอน อบรม นกั พรตผปู้ ระพฤตธิ รรม ดว้ ยความสำ� นกึ คณุ ของทา่ นทมี่ ตี อ่ ตวั เราเองหรอื ทมี่ ตี อ่ โลก ตอ่ สงั คม เรยี กวา่  ใหเ้ พอ่ื บชู าคณุ  แมท้ า่ น จะไมข่ าดแคลนกค็ วรใหบ้ า้ งตามกาล ตามความเหมาะสมเพอ่ื ใหท้ า่ น ไดป้ ลื้มใจและท�ำหนา้ ทใี่ ห้ดียิ่งๆ ขนึ้ ไป บุคคลที่เป็นผู้ใหญ่แล้ว  ย่อมมีผู้ที่ตนต้องอนุเคราะห์  ต้อง สงเคราะห ์ และตอ้ งบชู าคณุ อยดู่ ว้ ยกนั ทกุ คน มากบา้ งนอ้ ยบา้ ง สดุ แลว้ แตค่ วามผกู พนั เกย่ี วขอ้ งของแตล่ ะคน ผหู้ วงั ความเจรญิ ในธรรม ควรตงั้ ใจท�ำให้สมบูรณเ์ ท่าทก่ี �ำลงั ความสามารถของตนมีอยู่ ทาน ๓ ประเภท หรือทายก ๓ จ�ำพวก ๑. ทานทาสะ บางทเี รยี ก ทาสทาน ทา่ นหมายถงึ  การใหข้ อง  เลวเป็นทาน  ค�ำว่าเลวนั้น  หมายถึง  เลวกว่าที่ตนบริโภคใช้สอยเอง ทที่ า่ นเรยี กทาสทาน เพราะอธบิ ายวา่  ตกเปน็ ทาสของความตระหนี่ ถึงอย่างไร  การให้ของที่เลวกว่าท่ีตนบริโภคใช้สอยเองแก่คนท่ีควร ได้รับเพียงแค่น้ัน  ก็ยังนับว่าดี  ดีกว่าการไม่ให้อะไรเสียเลย  เช่น 

อ . ว ศิ น อิ น ท ส ร ะ 17 การใหแ้ กค่ นรบั ใช ้ ใหแ้ กข่ อทาน ใหเ้ สอื้ ผา้ ซง่ึ ตนไมใ่ ชแ้ ลว้ แกค่ นยากจน ให้อาหารเหลือกินแก่สุนัข  เป็นต้น  ผู้ให้ของดังกล่าว  ท่านเรียกว่า ทานทาโส การใหข้ องทเี่ ขาตอ้ งการ จำ� เปน็ แกเ่ ขา ขา้ พเจา้ เหน็ วา่ ไม่ ควรจดั เปน็ การให้ทเ่ี ลว ๒. ทานสหาย บางทเี รียก สหายทาน หมายถึง การใหข้ อง ท่ีเสมอกันอย่างเดียวกันกับท่ีตนบริโภคใช้สอย  ตนบริโภคใช้สอย อยา่ งไร เมอ่ื ถงึ คราวจะใหผ้ อู้ นื่  กใ็ หอ้ ยา่ งนนั้  เหมอื นการใหแ้ กผ่ เู้ ปน็ เพื่อนฝูง ผู้ใหข้ องเช่นนัน้  ทา่ นเรียกวา่  ทานสหาโย ๓. ทานสามี บางทีเรียก สามีทาน การให้ของท่ีดีกว่าตน บริโภคใช้สอย  ส่วนมากเม่ือจะให้แก่ผู้ควรเคารพ  ทายกมักให้ของดี เท่าที่ตนจะพอหาได้  เช่น  ของท่ีน�ำไปให้มารดาบิดา  ครู  อาจารย์  พระสงฆ ์ หรอื นกั พรตผปู้ ระพฤตธิ รรม อนงึ่  ทา่ นผบู้ รจิ าคทานดว้ ย ความไมต่ ระหน ี่ บรจิ าคดว้ ยจาคเจตนาอยา่ งแทจ้ รงิ  ทา่ นเรยี กผเู้ ชน่ นน้ั ว่า ทานบดี ผ้เู ปน็ ใหญ่ในทาน



อ . ว ศิ น อิ น ท ส ร ะ 19 ประเภทของอามิสทาน กล่าวโดยย่อท่ีสุด  ท่านจัดทานไว้  ๒  ประเภท  คือ  ทานที่ให้ เจาะจงบุคคล เรียก  ปาฏิปุคคลิกทาน ทานท่ีให้ไม่เจาะจง เรียก สังฆทาน* การให้แกส่ งฆห์ รือใหแ้ ก่หมู่คณะ คนส่วนมากเข้าใจสังฆทานผิดไป  คือไปเข้าใจสังฆทานตาม พิธีการ  ได้แก่  จัดเครื่องไทยธรรมให้ครบตามประเพณีนิยม  เช่น  ตอ้ งมขี า้ วของอะไรบา้ งในการทำ� สงั ฆทานนน้ั  แตต่ ามความเปน็ จรงิ แลว้  สงั ฆทานมคี วามหมายไปในทางใหเ้ จาะจงหรอื ไมเ่ จาะจง ถา้ ให้เจาะจงบุคคล  แม้จะจัดข้าวของมโหฬารอย่างไร  ก็หาเป็น สังฆทานไม่ ตัวอย่าง บคุ คลผูห้ นงึ่ ตอ้ งการท�ำสงั ฆทาน ไปนมิ นต์พระเอง หรือส่งคนอืน่ ไปนมิ นตพ์ ระ แต่เจาะจงวา่  พระ ก. ข. ค. ... แมจ้ ะ นิมนต์สักร้อยรูป  ทานนั้นไม่เป็นสังฆทาน  คงเป็นปาฏิปุคคลิกทาน  ถา้ เขาไปนมิ นตก์ บั เจา้ หนา้ ทจี่ ดั พระ (ภตั ตทุ เทสก)์  หรอื กบั พระทต่ี น * ในพระบาลโี ดยทว่ั ไปไมเ่ รยี กสงั ฆทาน แตใ่ ชค้ �ำวา่ สงฆ คตา ทกข ณิ า แปลวา่ ทกั ษณิ า ที่ถึงแกส่ งฆ์

2 0 ธ ร ร ม เ พื่ อ ค ร อ ง ใ จ ค น คนุ้ เคย วา่ ตอ้ งการทำ� บญุ ทบี่ า้ นหรอื ทวี่ ดั กต็ าม ขอนมิ นตพ์ ระ ๑ รปู หรอื  ๒ รปู  (สดุ แลว้ แตต่ อ้ งการ) ขอใหจ้ ดั พระใหด้ ว้ ย ไมเ่ จาะจง ว่าจะเป็นใคร  ทานน้ันเป็นสังฆทานเต็มเม็ดเต็มหน่วย  โดยนัยนี้ การท�ำบุญใสบ่ าตรตอนเช้าจงึ เปน็ สงั ฆทานเตม็ ร้อยเปอรเ์ ซ็นต์ อนึ่ง  ในการท�ำสังฆทานนั้น  ท่านสอนให้ท�ำใจให้ยินดีในบุญ กุศล  ไม่ให้ยินดีในบุคคลผู้รับ  ท�ำใจให้ตรงแน่วต่อคุณพระรัตนตรัย คอื พระพทุ ธ พระธรรม และพระอรยิ สงฆ ์ ทานอยา่ งนแ้ี หละมอี านสิ งส์ มาก มผี ลมาก เพราะเปน็ การขดั เกลาจติ ใจของตนไปดว้ ย พระพทุ ธเจา้ เคยตรสั กบั พระอานนทว์ า่  ปาฏปิ คุ คลกิ ทานจะมผี ลมากกวา่ สงั ฆทาน มิได้เลย  ไม่ว่ากรณีใดๆ*  ตัวอย่างเช่น  ถวายทานแก่พระพุทธเจ้า เปน็ การเจาะจงกม็ อี านสิ งสส์ ถู้ วายสงั ฆทานไมไ่ ด ้ แตต่ อ้ งเปน็ สงั ฆทาน ทถ่ี กู ตอ้ ง ไมใ่ ชส่ งั ฆทานตามความเขา้ ใจของคนทง้ั หลาย หรอื สงั ฆทาน ตามประเพณีนิยม * ท ักขณิ าวิภังคสตู ร มชั ฌมิ นิกาย อปุ ริปณั ณาสก์

อ . ว ศิ น อิ น ท ส ร ะ 21 อีกอย่างหน่ึง  ถ้าขยายความให้กว้างออกไปตามรูปศัพท์  คือ สงั ฆะ ทแี่ ปลวา่  หมหู่ รอื คณะ สงั ฆทาน ยอ่ มหมายถงึ การใหแ้ กส่ ว่ น รวม เมอื่ มงุ่ ถงึ ประโยชนแ์ ลว้  การใหแ้ กส่ ว่ นรวมยอ่ มอำ� นวยประโยชน์ กวา้ งกวา่ การใหเ้ ปน็ สว่ นตวั  ผใู้ หจ้ งึ ไดร้ บั อานสิ งสม์ ากไปดว้ ย ถา้ หมู่ นนั้ เปน็ หมทู่ ดี่ มี ศี ลี มธี รรม เชน่ พระอรยิ ะดว้ ยแลว้  อานสิ งสก์ ย็ อ่ มจะ เพมิ่ พนู ข้นึ ควรเลอื กให ้ หรือไม่ควรเลอื กให้ บางคนเขา้ ใจวา่  เมอ่ื จะทำ� บญุ ทำ� ทานแลว้  ไมค่ วรเลอื กให ้ คอื เหน็ ว่า เม่อื เปน็ พระแล้ว ก็เป็นพระเหมือนกนั ทัง้ นั้น ความเห็นน้ีไม่ ตรงตามหลกั พระพทุ ธภาษติ  เพราะพระพทุ ธองคต์ รสั วา่  “ควรเลอื กให้  (วเิ จยยฺ  ทาน ํ ทาตพพฺ )ํ  ในท่ที จี่ ะมีผลมาก (ยตฺถ ทินนฺ  ํ มหปฺผล)ํ ” ความจรงิ แล้ว เปน็ พระเหมือนกนั ก็จรงิ  แต่กไ็ มเ่ หมือนกัน ในด้านคุณภาพ ก็เหมือนคนๆ เรานี่แหละ ซ่ึงเป็นคนเหมือนกัน แตไ่ ม่เหมอื นกนั ในด้านคณุ ภาพ บางคนดมี าก บางคนดนี อ้ ย แม้

2 2 ธ ร ร ม เ พื่ อ ค ร อ ง ใ จ ค น ในคนธรรมดา เรากค็ วรเลอื กสงเคราะหค์ นทค่ี วรไดร้ บั การสงเคราะห์ ไม่ใช่ให้ตะพึดตะพือไป  อันจะเป็นการก่อโทษมากกว่าก่อคุณ  เพราะ ฉะน้นั  พระพุทธเจา้ ท่านจงึ ตรัสวา่  ให้แก่ผู้มศี ีลย่อมจะมีผลมากกว่า ให้แกผ่ ู้ไมม่ ศี ลี  ให้แกผ่ ู้มธี รรมย่อมจะมผี ลมากกวา่ ให้แก่ผ้ไู ม่มธี รรม เพราะฉะนน้ั  การใหท้ านเจาะจงบคุ คล (ปาฏบิ คุ คลกิ ทาน) ถา้ หวงั   อานิสงส์มาก  ก็ควรเลือกให้แก่คนดีมีศีลธรรม  หรือคนท่ีควรได้รับ การช่วยเหลือ ถ้าให้แกห่ มู่คณะ กค็ วรเปน็ หม่ทู ี่ดีเชน่ เดียวกนั มอี กี ปญั หาหนง่ึ ทคี่ นทวั่ ไปยงั เขา้ ใจคลาดเคลอ่ื นอย ู่ คอื  เรอื่ ง การทำ� บญุ กบั การใหท้ าน คนทว่ั ไปเขา้ ใจวา่  การทำ� บญุ คอื ทำ� กบั พระ สว่ นการใหท้ านนน้ั คอื การใหแ้ กค่ นทวั่ ไป หรอื ใหแ้ กค่ นขอทาน ความจรงิ   เร่ืองน้ีชาวบ้านมาแยกออกเอง  ตามหลักศาสนาท่านไม่แยกอย่างนี้ ไมว่ า่ ใหแ้ กใ่ คร เรยี กวา่ ทานทงั้ หมด เพราะคำ� วา่  “ทาน” แปลตรง ตวั ว่า “การให้” อยู่แล้ว และบญุ กเ็ กิดข้ึนจากการให้นน้ั  ไม่ว่าให้ แกผ่ ใู้ ด เมอื่ เราทำ� ไปดว้ ยจติ เมตตา ปรารถนาสงเคราะห ์ อนเุ คราะห์ หรอื บชู าคณุ  สว่ นจะไดบ้ ญุ มากหรอื นอ้ ยนน้ั  ขน้ึ อยกู่ บั องคป์ ระกอบ

อ . ว ศิ น อิ น ท ส ร ะ 23 หลายอย่าง เชน่  เจตนาของผู้ให ้ คุณธรรมของผรู้ ับ ให้ในกาลที่ เขากำ� ลงั ต้องการหรอื ขาดแคลน เปน็ ตน้ การท�ำของน้อยให้มีผลมาก เร่ืองนี้ข้ึนอยู่กับความฉลาดรอบคอบของผู้บ�ำเพ็ญทาน  คือ เลอื กใหแ้ กค่ นทคี่ วรให ้ ในกาลทค่ี วรให ้ และดว้ ยเจตนาดขี องตน และ ไทยธรรมคอื ของทใี่ หน้ นั้  ตรงตามความตอ้ งการหรอื สำ� เรจ็ ประโยชน์ แก่ผู้รับด้วยดี  มิฉะนั้นจะได้ผลน้อยหรือไม่ได้ผลเลย  เข้าท�ำนองให้ แว่นแก่คนตาบอด  ให้แหวนแก่คนน้ิวด้วน  ให้หวีแก่คนไม่มีผม  บางคนสงเคราะหผ์ อู้ น่ื ดว้ ยความไมเ่ ตม็ ใจ เขากร็ บั การสงเคราะหน์ น้ั เหมือนกัน แต่ความสำ� นกึ คณุ มีนอ้ ย เพราะผรู้ ับเขารเู้ หมือนกนั วา่ ผู้ ท�ำทำ� อยา่ งเสยี ไม่ได้ ไม่เตม็ ใจทำ� พดู สำ� หรบั การทำ� บญุ กบั พระกอ่ น ตำ� ราทางพระพทุ ธศาสนา บอกเราวา่  การทำ� บญุ จะใหม้ ผี ลมากนน้ั  ตอ้ งประกอบดว้ ยสมั ปทาคณุ   ๔  ประการ

2 4 ธ ร ร ม เ พ่ื อ ค ร อ ง ใ จ ค น สมั ปทา ๔ (ความถงึ พรอ้ ม ความพรอ้ มแหง่ องคป์ ระกอบ) ซงึ่ จะท�ำให้ทานทีบ่ ริจาคแล้วมผี ลยอดเย่ยี ม ๑.  วัตถุสัมปทา  ความพร้อมแห่งวัตถุ  ในท่ีนี้หมายถึง  ผู้รับ (ปฏคิ าหก) หรอื ทกั ขไิ ณยบคุ คลเปน็ ผพู้ รงั่ พรอ้ มดว้ ยคณุ ธรรม ทา่ น มีคุณธรรมสูงมากเท่าใด  ย่อมท�ำให้ทานท่ีบริจาคแล้วมีผลมากข้ึน เท่าน้ัน ๒.  ปัจจัยสัมปทา  ความพร้อมแห่งปัจจัย  ในที่นี้หมายถึง ส่ิงของท่ีทายกน�ำมาท�ำบุญ  (ไทยธรรม)  น้ัน  ได้มาโดยทางบริสุทธ์ิ ชอบธรรม ๓.  เจตนาสัมปทา  ความพร้อมแห่งเจตนา  ในท่ีน้ีหมายถึง  มเี จตนาด ี เจตนาเพอ่ื สงเคราะห ์ อนเุ คราะห ์ หรอื บชู าคณุ โดยบรสิ ทุ ธ์ิ ใจ มไิ ดห้ วงั ลาภ ยศ หรอื ชอื่ เสยี ง มเี จตนาดที งั้  ๓ กาล คอื  กอ่ นให้  ก�ำลังให้  หลังจากให้แล้วยังรักษาเจตนาอันเป็นกุศลไว้ได้  นอกจาก น้ียังประกอบดว้ ยปัญญาในการให้ มใิ ช่ให้ดว้ ยความเขลา

อ . ว ศิ น อิ น ท ส ร ะ 25 ๔. คณุ าตเิ รกสมั ปทา ความพรอ้ มแหง่ คณุ พเิ ศษของปฏคิ าหก  คือผู้รับมีคุณพิเศษ  ท่านระบุไว้ในต�ำราว่า  ทักขิไณยบุคคลออกจาก นิโรธสมาบัติใหม่ๆ  ในต�ำราทางพุทธศาสนาได้เล่าไว้หลายเรื่องว่า  พระสารีบุตรบ้าง  พระมหากัสสปะบ้าง  ออกจากนิโรธสมาบัติใหม่ๆ ก�ำลังหิว  พิจารณาหาคนที่ท่านควรจะไปโปรดในวันนั้น  เพราะเม่ือ ท่านไปรับอาหารจากท่านผู้ใดในวันน้ัน  เขาจะต้องได้สมบัติเป็นอัน มาก ท่านจงึ มกั ไปสงเคราะห์คนจน เพื่อให้เขาได้มีความสขุ ขึน้ สว่ นการทำ� บญุ กบั คฤหสั ถห์ รอื คนทวั่ ไปนน้ั  ถา้ จะใหม้ ผี ลมาก กอ็ นโุ ลมอยา่ งเดยี วกบั ทท่ี ำ� บญุ กบั พระนน่ั เอง ทค่ี วรกำ� หนดเปน็ ขอ้ สำ� คญั   อยา่ งหนงึ่ กค็ อื  ใหส้ งิ่ ทจ่ี ำ� เปน็ แกเ่ ขาและในเวลาทเ่ี ขาตอ้ งการ นำ�้ เพยี ง แกว้ เลก็ ๆ กม็ คี วามหมายมากสำ� หรบั คนกระหาย เงนิ เพยี ง ๕ บาท ๑๐ บาท กม็ คี า่ มากสำ� หรบั คนผกู้ ำ� ลงั ขดั สน ถอ้ ยคำ� ปลอบประโลม ใจเพยี งเลก็ นอ้ ยมคี ณุ ค่ามากสำ� หรบั คนทว่ี ้าเหวต่ อ้ งการคำ� หวาน ประโลมใจ

2 6 ธ ร ร ม เ พ่ื อ ค ร อ ง ใ จ ค น การใหแ้ กส่ ตั วด์ ริ จั ฉานนนั้  ถา้ ใหด้ ว้ ยจติ เมตตาจรงิ ๆ มใิ ชเ่ พราะ เหตุอื่นแล้ว  พระพุทธองค์ตรัสว่ามีผลมาก  มีผลไพศาลเหมือนกัน ไมต่ ้องกลา่ วถงึ การใหก้ บั คนท่วั ไปและทา่ นผมู้ ศี ีลมธี รรม เพราะเหตไุ รการทำ� บญุ ใหท้ านแกท่ า่ นผมู้ ศี ลี ธรรมจงึ มผี ลมาก? ข้อน้ี  ทรงเปรียบเหมือนการหว่านพืชลงในเนื้อดินที่ดี  เม่ือ เมลด็ พชื ด ี หวา่ นลงในเนอื้ ดนิ ด ี และไดน้ ำ้� หลอ่ เลยี้ งตามสมควร พชื นั้นย่อมเจริญงอกงามกว่าพืชท่ีหว่านลงในเนื้อดินเลวหรือดินจืด  ฉันใด  การท�ำบุญท�ำทานหรือการท�ำความดีต่อผู้มีคุณธรรม  ก็ย่อม มผี ลมากกว่าการทำ� แก่ผ้ไู รค้ ณุ ธรรม ฉนั นนั้ พิจารณาในแง่ธรรมดาสามัญก็พอมองเห็น  กล่าวคือ  คนดี เป็นผู้มีความกตัญญูกตเวที  ใครท�ำความดีให้  ก็คิดตอบแทนตาม ก�ำลงั ความสามารถของตน เรยี กว่าทำ� ใหผ้ ้ปู ระกอบกรรมดไี ดร้ บั ผล ของกรรมดี  ส่วนคนช่ัว  เมื่อใครท�ำดีแล้วไม่คิดตอบแทน  นอกจาก นนั้  บางคนยงั คดิ รา้ ย ทำ� รา้ ยตอ่ ทา่ นผมู้ บี ญุ คณุ เสยี อกี  เรยี กวา่ ทำ� ให้

อ . ว ศิ น อิ น ท ส ร ะ 27 กรรมดีของท่านไม่มีผล  หรือบางทีกลายเป็นโทษ  ด้วยเหตุนี้แหละ ทา่ นจึงว่า ท�ำดกี ับคนดมี ีผลมาก คราวหนงึ่  พระเจา้ ปเสนทโิ กศลทลู ถามพระพทุ ธเจา้ วา่  ควร ท�ำบุญในที่ใด พระพุทธเจ้าตรัสตอบว่า ในท่ีที่เลื่อมใส พระเจ้า ปเสนทฯิ  ทลู ถามตอ่ ไปวา่  ทำ� บญุ ในทใี่ ดจงึ จะมผี ลมาก ตรสั ตอบ ว่า ถ้าต้องการผลมาก ก็ต้องท�ำในท่านผู้มีศีลมีธรรม ถ้าท�ำใน ท่านผไู้ ม่มศี ีลมีธรรม หามีผลมากเชน่ น้นั ไม่ ในที่อ่ืน  ตรัสอธิบายขยายความเร่ืองน้ีว่า  นาข้าวมีต้นหญ้า เปน็ โทษ ปลกู ขา้ วลงในนาทมี่ ตี น้ หญา้ มาก ขา้ วยอ่ มไมง่ อกงามเพราะ ถกู ตน้ หญา้ เบยี ดเบยี น เรยี กวา่ ประทษุ รา้ ย ฉนั ใด บคุ คลทงั้ หลายมี ราคะ โทสะ โมหะเปน็ โทษ เปน็ เครอื่ งประทษุ รา้ ย การทำ� บญุ ใหท้ าน ในบคุ คลผเู้ พยี บแปรไ้ ปดว้ ยราคะ โทสะ โมหะ ยอ่ มไมม่ ผี ลมาก ฉนั นน้ั   ส่วนการท�ำบุญให้ทานในท่านผู้ปราศจากราคะ  โทสะ  โมหะ  ย่อมได้ รบั อานสิ งสป์ ระมาณมไิ ด้

2 8 ธ ร ร ม เ พ่ื อ ค ร อ ง ใ จ ค น ด้วยเหตุน้ีแหละ  คนท้ังหลายจึงนิยมท�ำบุญกับพระภิกษุ สามเณร โดยเชอ่ื วา่ ทา่ นเปน็ ผมู้ คี ณุ ธรรมสงู กวา่ คนสามญั  ในบรรดา ภกิ ษสุ ามเณรดว้ ยกนั  พทุ ธบรษิ ทั กน็ ยิ มทำ� บญุ กบั ทา่ นทมี่ อี ายพุ รรษา มาก บวชมานาน ดว้ ยเชอื่ วา่ ทา่ นจติ ใจสงู กวา่  บำ� เพญ็ บารมมี ามากกวา่   เป็นตน้ อานสิ งส์ของอามสิ ทาน พระพทุ ธองคท์ รงแสดงอานสิ งสข์ องอามสิ ทาน* ไว ้ ๕ ประการ แกส่ หี เสนาบดี เสนาบดแี ห่งนครเวสาลี ดงั นี้ ๑. ผใู้ หย้ อ่ มเปน็ ท่ีรกั ที่พอใจของคนเป็นอันมาก ๒. คนดที ั้งหลายย่อมพอใจคบหาสมาคมกบั เขา ๓. ชื่อเสยี งอนั ดีงามย่อมฟุง้ ขจรไป ๔. เป็นผแู้ กล้วกลา้  เมอื่ เขา้ ทป่ี ระชมุ ไม่เกอ้ เขิน ๕. เมื่อสิ้นชีพย่อมเข้าถงึ สคุ ติโลกสวรรค์ *องั คุตตรนิกาย ปัญจกนิบาต ๒๒/๕๑

อ . ว ศิ น อิ น ท ส ร ะ 29 ตามเร่ืองว่า  เสนาบดีทูลขอให้ทรงแสดงอานิสงส์ของทานที่ เหน็ ไดเ้ อง หรอื เหน็ ไดใ้ นปจั จบุ นั  พระพทุ ธองคจ์ งึ ทรงแสดงอานสิ งส์ ของทานทเ่ี ห็นได้ในปจั จบุ นั  ๔ ขอ้  อีก ๑ ขอ้ เป็นผลในสมั ปรายภพ คอื ชาติหน้า เมื่อแสดงจบ  สีหเสนาบดีทูลว่า  ๔  ข้อข้างต้น  เขาเห็นด้วย ตนเองแลว้ ในปจั จุบัน แตข่ ้อท ี่ ๕ เขาไมเ่ ห็น แต่เชอื่ พระตถาคตเจ้า ว่าเป็นอยา่ งนนั้ จริง ธรรมทาน ธรรมทาน แปลวา่  การใหธ้ รรม กลา่ วคอื  ใหค้ �ำแนะนำ� สง่ั สอน  อันเป็นประโยชน์ในการด�ำรงชีวิต  ในการท�ำจิตใจให้ปลอดโปร่ง  สงบสดใส  การสั่งสอนศิลปะวิทยาการ  เป็นต้น  เหล่าน้ีรวมเรียกว่า ธรรมทาน ทงั้ ส้ิน

3 0 ธ ร ร ม เ พ่ื อ ค ร อ ง ใ จ ค น ธรรมทานมีความส�ำคัญต่อชีวิตของบุคคลมาก เพราะทุก คนจะดีได้ก็ด้วยอาศัยการได้ยินได้ฟังถ้อยค�ำพร่�ำสอนให้เว้นสิ่งที่ ควรเว้น  ให้ประพฤติกระท�ำส่ิงที่ควรประพฤติกระท�ำ  อนึ่ง  วิชา ส�ำหรับประกอบอาชีพเล้ียงตนของทุกๆ  คน  ก็มีได้เพราะอาศัยท่าน ผู้มีใจกรุณา  สั่งสอนวิชาน้ันๆ  ให้  จึงได้ติดตัวใช้เลี้ยงชีวิตไปจนตาย และยังเป็นอุปนิสยั ตดิ ไปในชาติหน้าอกี วิถีชีวิตของคนจะด�ำเนินไปอย่างไร  ย่อมสุดแล้วแต่ค�ำสอนที่ เขารสู้ กึ ประทบั ใจ ยดึ ไวเ้ ปน็ แนวทางชวี ติ  และมอี ทิ ธพิ ลตอ่ ความรสู้ กึ นกึ คดิ ของเขาอยตู่ ลอดเวลา ผเู้ ลอ่ื มใสในคำ� สอนทดี่  ี กด็ ำ� เนนิ ชวี ติ ไป ในทางทด่ี  ี ผเู้ ลอ่ื มใสในคำ� สอนทเี่ ลว กด็ ำ� เนนิ ชวี ติ ไปในทางเลว เพราะ ฉะน้ัน  พระพุทธองค์จึงตรัสเตือนว่า  “อย่าเสพธรรมเลว  หีนํ  ธมฺมํ น  เสเวยฺย”  แปลความว่า  อย่าเลื่อมใสศรัทธาซึ่งธรรม  (ค�ำสอน)  ทผ่ี ดิ  หรอื ลทั ธทิ ผ่ี ดิ  เพราะจะนำ� ตนไปในทางทผ่ี ดิ  เมอื่ จมลงไปแลว้ ถอนตนได้ยาก  บางคนก็จมอยู่ในลัทธิท่ีผิดน้ันจนตาย  และยังเป็น อุปนิสัยอันเลวร้ายติดตัวไปในชาติหน้าอีก  ช่างน่ากลัวจริงๆ  ตาม

อ . ว ศิ น อิ น ท ส ร ะ 31 ทรรศนะของพระศาสดา  มิจฉาทิฏฐิ  คือความเห็นผิด  จึงเป็น  ยอดโทษ  คือไม่มีโทษอ่ืนย่ิงกว่า  ส่วนสัมมาทิฏฐิเป็นยอดคุณ  คนท่ี ตอ้ งเปน็ มจิ ฉาทฏิ ฐไิ ปกเ็ พราะอาศยั เหต ุ ๒ อยา่ ง คอื  ไดย้ นิ ไดฟ้ งั จาก คนอนื่  (ปรโต โฆสะ) และไมใ่ ชป้ ญั ญาพจิ ารณาใหร้ อบคอบ (อโยนโิ ส มนสกิ าร) จงึ เชอื่ ตามเหน็ ตาม แลว้ ดง่ิ ลงไปในปลกั แหง่ ความเหน็ ผดิ   จึงพูดผิด  ด�ำเนินชีวิตและพยายามไปในทางท่ีผิด  ส่วนคนที่เป็น  สมั มาทฏิ ฐกิ เ็ พราะไดย้ นิ ไดฟ้ งั จากผอู้ น่ื ในทางทถ่ี กู ตอ้ ง และใชป้ ญั ญา พิจารณาโดยรอบคอบ  (โยนิโส  มนสิการ)  จึงเช่ือตามเห็นตาม  ด่ิงลงไปในความเห็นถูก  คิดถูก  พูดถูก  ท�ำถูก  พยายามในทางท่ีถูก เลย้ี งชพี ในทางทถี่ กู ทดี่  ี ดำ� เนนิ ชวี ติ ถกู  ดงั นนั้  การใหค้ ำ� สอนทผ่ี ดิ จงึ เหมือนการโปรยยาพิษลงในจิตใจคน  ยาพิษจริงเสียอีก  กินทีเดียว แล้วตายหนเดียว  ก็เป็นอันพ้นภัยยาพิษนั้น  แต่ยาพิษคือความ  เหน็ ผดิ  หลงในลทั ธทิ ผี่ ดิ นนั้  เสพแลว้ ทำ� ใหก้ อ่ กรรมทำ� เขญ็ ทง้ั แกต่ น และผอู้ นื่ ไปตลอดชวี ติ  ยงั เปน็ ปจั จยั ใหเ้ สพความเหน็ ผดิ อนั นน้ั ตดิ ตวั ไปในชาติหน้า  ชาติต่อๆ  ไปอีก  ต้องระก�ำล�ำบากหมกไหม้ในอบาย ทคุ ติวินิบาตไมร่ ู้กพ่ี นั กี่หมื่นกแี่ สนชาติ

3 2 ธ ร ร ม เ พื่ อ ค ร อ ง ใ จ ค น สว่ นการใหค้ ำ� สอนอนั ถกู ตอ้ งแกบ่ คุ คลนน้ั  เหมอื นการใหป้ ระทปี ประจ�ำตนแก่เขาไว้  เป็นแสงสว่างส่องทางชีวิตให้ด�ำเนินไปในทางท่ี ถูก  น�ำชีวิตไปสู่ความสุขความเจริญ  เมื่อยังเวียนว่ายตายเกิดอยู่ใน สังสารวัฏ  ก็เป็นผู้ไม่ตกต่�ำ  ย่อมได้คติท่ีดี  เป็นสุคติ  เมื่อบารมีแก ่ กลา้ แลว้  ยอ่ มปลดเปลอ้ื งกเิ ลสไดโ้ ดยสนิ้ เชงิ  บรรลคุ วามเยน็ สนทิ ที่ เรียกว่า  นิพพาน  ไม่ต้องเวียนว่ายตายเกิดอันเป็นความทุกข์อีกต่อ ไป  ด้วยเหตุนี้แหละ  พระพุทธองค์จึงตรัสว่า  “ธรรมทานย่อมชนะ ทานท้ังปวง  รสแห่งธรรมชนะรสทั้งปวง  ความสิ้นตัณหาชนะทุกข์ ทงั้ ปวง” อภัยทาน ยังมีทานท่ีส�ำคัญอีกประการหนึ่ง  คือ  อภัยทาน  =  การให้ อภัย  การไม่ถือโทษในการล่วงเกินของผู้อ่ืน  มีจิตเมตตาปรารถนา ประโยชน์แกเ่ ขา ไมผ่ ูกเวร ไม่ปองรา้ ย เปดิ โอกาสให้เขาแกต้ วั  กลบั ตัวใหม่  การให้อภัยท�ำให้ผู้ได้รับอภัยต้ืนตันใจและพอใจที่จะกลับตัว รู้สึกซาบซ้ึงใจในอาการของผู้ให้อภัย  และผู้ให้อภัยเองก็รู้สึกว่าตน เป็นผู้มีใจสูงข้ึน  –  สูงพอที่จะมองเห็นว่า  ความผิดพลาดเป็นเรื่อง

อ . ว ศิ น อิ น ท ส ร ะ 33 ธรรมดาของมนุษย์  ท่านมหาตมะคานธีได้เขียนเล่าไว้ในประวัติของ ท่านว่า การที่ทา่ นถอื อหงิ สาประจ�ำชวี ิตน้ัน สาเหตสุ ำ� คญั กค็ ือ เมื่อ ท่านยังเด็กอยู่  ท่านท�ำความผิดแล้วเขียนจดหมายสารภาพแก่ท่าน บดิ า บดิ าของทา่ นอา่ นจดหมายแลว้ นำ้� ตาไหล แสดงความปลมื้ ใจที่ ลกู สำ� นกึ ผดิ  และใหอ้ ภยั  เรอ่ื งนฝี้ งั ใจทา่ นคานธตี ลอดมา ทำ� ใหท้ า่ น ถือลัทธิการให้อภัยแก่ผู้อ่ืน  ไม่ถือโทษ  ไม่เบียดเบียน  มอบให้แต่ เมตตาปราณีแก่คนทั้งหลาย  ท่านเป็นมหาบุรุษชาวอินเดียที่โลก นับถอื เป็นที่สองรองจากพระพุทธเจ้า



อ . ว ศิ น อิ น ท ส ร ะ 35 ๒. ปิยวาจา ปิยวาจา  แปลว่า  วาจาที่น่ารัก  ก่อให้เกิดความดูดดื่มใจ  ใน ทางธรรมหมายถึงวาจาสุภาษิต มปี ระโยชน ์ มเี หตุผลที่ทำ� ตามแล้ว ใหเ้ กดิ ประโยชนไ์ ดจ้ รงิ  ไมใ่ ชว่ าจาทพ่ี ดู หลอกลวง ประจบประแจงให้ คนรักคนหลงและเจือดว้ ยโทษ วาจาสภุ าษติ นนั้  พระพทุ ธองคท์ รงแสดงไวว้ า่ * มอี งคป์ ระกอบ ๕  ประการ  คอื ๑. พดู ถูกกาลเวลา (กาเลน ภาสิตา) ๒. พูดคำ� จริง (สจจฺ า ภาสิตา) ๓. พูดอ่อนหวาน (สณหฺ า ภาสิตา) ๔. พดู มีประโยชน ์ (อตฺถสญฺหติ า ภาสติ า) ๕. พูดดว้ ยเมตตาจิต (เมตฺตจิตเฺ ตน ภาสติ า) ตอ่ ไปนจี้ ะอธิบายองค ์ ๕ แห่งวาจาสุภาษติ พอสมควร *สภุ าสติ สตู ร จตุตถปณั ณาสก์ ปัญจกนิบาต อังคุตตรนกิ าย ๒๒/๒๗๑

3 6 ธ ร ร ม เ พื่ อ ค ร อ ง ใ จ ค น ๑. พูดถกู กาล วาจาบางอย่างดีมีประโยชน์  แต่ถ้าผู้พูดพูดผิดกาลเวลา  พูด ในกาลที่ไม่ควรพูด  วาจานั้นก็ไม่ส�ำเร็จประโยชน์สมประสงค์  ตรง  กันข้ามอาจก่อให้เกิดโทษเสียอีก  เหมือนเสื้อหนาวที่คนเอามาใส่ใน หน้าร้อนหรือเวลาท่ีมอี ากาศรอ้ นจดั  ย่อมเพมิ่ ความรอ้ นข้ึน จะโทษ เสอื้ หนาวหาไดไ้ ม ่ ความจรงิ เปน็ โทษของคนทใ่ี ชเ้ สอื้ ไมถ่ กู กาลนน่ั เอง ของบางอยา่ งดมี ปี ระโยชน ์ แตถ่ า้ คนใชไ้ มต่ รงกบั กาลทคี่ วรใช้ ของนั้นก็ไม่อ�ำนวยประโยชน์เท่าที่ควร  บางทีจะกลับให้โทษเสียอีก ตวั อยา่ งเชน่  ขา้ วปลาอาหารซงึ่ จดั วา่ เปน็ ประโยชนแ์ กร่ า่ งกาย แต่ ถา้ รบี กนิ เมอ่ื ยงั ดบิ  กอ็ าจใหโ้ ทษแกร่ า่ งกาย หรอื ปลอ่ ยไวใ้ หล้ ว่ งกาล ไปแล้ว จนบูดเน่า กินเข้าไปก็เป็นโทษอีก จึงต้องกินเมื่อสุก ซ่ึง เป็นกาลที่ควรกิน  และถ้าได้กินเมื่อสุกใหม่ๆ  ก็จะดีย่ิงข้ึน  โบราณ ท่านจึงว่า  “ให้ตีเหล็กเมื่อร้อน”  คือคนจะดัดเหล็กให้เป็นรูปใด  เขา เอาเหล็กเผาไฟ  เมื่อร้อนพอดี  จึงตีและดัดให้เป็นรูปโค้งงออย่างไร ตามตอ้ งการ เรยี กวา่ ตใี นกาลทคี่ วรต ี จะกนิ ผลไมใ้ หอ้ รอ่ ยเมอ่ื มนั สกุ พอดี เป็นกาลท่คี วรกิน

อ . ว ศิ น อิ น ท ส ร ะ 37 ดงั นนั้  การทำ� อะไรใหถ้ กู กาล จงึ มคี วามสำ� คญั มใิ ชน่ อ้ ย ผทู้ ำ� ต้องมีปัญญาใคร่ครวญให้ดี  การพูดถูกกาล  พูดในกาลท่ีควรพูด  นงิ่ ในกาลท่ีควรนงิ่  ยอ่ มกอ่ ใหเ้ กดิ ประโยชน ์ เปน็ สงา่ ราศ ี เปน็ ความ ภาคภูมิ  เด็กนักเรียนบางคนชอบคุยกันเวลาครูก�ำลังสอน  เรียกว่า พดู ในกาลทค่ี วรนงิ่  พอครถู ามใหต้ อบขอ้ ความบางอยา่ งหรอื ใหแ้ สดง ความคิดเห็น  กลับนิ่งเฉย  แม้มีเรื่องที่ควรจะถามอยู่ในใจ  เรียกว่า นง่ิ ในกาลทค่ี วรพดู  ไมถ่ กู ทง้ั สองเวลา ทางทค่ี วรปฏบิ ตั กิ ค็ อื  ในฐานะ ผู้ฟังก็ควรตั้งใจฟัง  เม่ือฟังด้วยดี  ย่อมได้ปัญญา  (สุสฺสูสํ  ลภเต ปญฺญํ  –  พระพุทธพจน์)  นอกจากน้ียังเป็นประโยชน์ทางจิตวิทยา และมนุษยสัมพันธ์อีกด้วย  คือเป็นการให้เกียรติแก่ผู้พูด  ท�ำให้ผู้พูด (เช่นครู)  มีใจเมตตาเอ็นดูต่อนักเรียนเช่นนั้น  เป็นบุญส่วนหน่ึงท่ี นักเรียนท�ำได้ในขณะน่ังเรียนหนังสือ  ท่านเรียกว่า  ธัมมัสวนมัย  (บญุ ทไี่ ดจ้ ากการฟงั เรอ่ื งทด่ี มี ปี ระโยชน)์  นอกจากนยี้ งั เปน็ การฝกึ หดั ตนเองใหเ้ ปน็ คนสำ� รวมระวงั กริ ยิ าวาจา อนั เปน็ มรรยาทงาม ซง่ึ จดั เป็นคุณสมบัติส�ำคัญท่ีจะน�ำติดตัวไปภายหน้า  ไม่รบกวนคนอ่ืนท่ีมี ความต้ังใจฟัง นักเรยี นที่ด้ือดงึ  ชอบพดู คุยกนั ในขณะนง่ั ฟังครสู อน ไมส่ นใจเออ้ื เฟอ้ื ตอ่ คำ� ตกั เตอื นขอรอ้ งของครนู นั้  เปน็ การมานง่ั สรา้ งบาป 

3 8 ธ ร ร ม เ พ่ื อ ค ร อ ง ใ จ ค น สะสมบาปให้แก่ตนเองทุกช่ัวโมง  ทุกวัน  นานไปก็จะเป็นผู้ท่ีเต็มปรี่ ไปด้วยบาป  นอกจากน้ียังจะท�ำให้ครูเกิดบาปท่ีต้องมีใจเศร้าหมอง เช่น  โกรธ  ไม่พอใจนักเรียนเช่นนั้น  เป็นต้น  แทนท่ีจะไปนั่งเรียน  นงั่ สอน กลายเปน็ ไปนงั่ สรา้ งบาปสรา้ งกรรมใหแ้ กก่ นั  ซง่ึ ไมเ่ ปน็ การ สมควรเลย เพราะฉะนน้ั  ไมว่ า่ เดก็ หรอื ผใู้ หญ ่ จงึ ควรหดั ส�ำรวมตน พดู ใน กาลท่ีควรพูด  นิ่งในกาลท่ีควรน่ิง  ก็จะเป็นเสน่ห์แก่ตน  น่ารัก  น่า เอ็นดู  น่าเคารพนับถือ  เป็นที่ช่ืนชมของคนทั้งหลายผู้มีโอกาสได้ คบหาสมาคมและไดย้ ินไดฟ้ งั กิตติศัพท์ของผเู้ ชน่ นน้ั  ฯลฯ ๒. พูดค�ำจรงิ การพูดค�ำจริงเป็นลักษณะงามอย่างหนึ่งของสุภาพชน  แต่ ตามหลักธรรมในพระพทุ ธศาสนาแล้ว ค�ำจรงิ ท่คี วรพดู นนั้  คือค�ำท่ี เปน็ ธรรมและประกอบดว้ ยประโยชน*์  ดงั เถรภาษติ  (ทพ่ี ระพทุ ธองค์ *วาจาของพระวงั คสี เถระ กลา่ วเฉพาะพระพักตรข์ องพระผู้มพี ระภาคเจ้า ; จากพระ ไตรปิฎกเล่ม ๑๕ หนา้ ๒๗๘

อ . ว ศิ น อิ น ท ส ร ะ 39 ทรงอนโุ มทนา) วา่  สจฺเจ อตฺเถ จ ธมเฺ ม จ อห ุ สนฺโต ปิ ฏฺิ ตา แปลว่า  สัตบุรุษ  (คนดี)  ย่อมด�ำรงมั่นอยู่ในสัจจะท่ีเป็นธรรมและมี ประโยชน ์ ดังนี้ อธิบายว่า  แม้จะเป็นค�ำจริง ก็มิใช่ว่าจะควรพูดเสมอไป บณั ฑติ จะพดู วาจาใด แมร้ วู้ า่ จรงิ  กย็ งั ตอ้ งพจิ ารณาถงึ ความเปน็ ธรรม คือความสมควร และพิจารณาถึงประโยชน์ตนประโยชน์ ผู้อ่ืนเสียก่อน  เมื่อเห็นว่าสมควรและเป็นประโยชน์แล้ว  จึงพูด แมจ้ ะเปน็ วาจาจรงิ  แตเ่ มอื่ พดู ไปแลว้ เปน็ โทษแกผ่ อู้ นื่  เชน่  ทำ� ให้ เขาทะเลาะกัน หรือท�ำให้ครอบครัวเขาแตกร้าวกัน ก็เว้นค�ำพูด เช่นนัน้ เสยี ศาสตรบ์ างศาสตร์ เชน่  วทิ ยาศาสตร์ ตัดสินส่งิ ใดส่ิงหน่งึ วา่ ดที จ่ี รงิ  คอื เปน็ เรอ่ื งจรงิ แลว้ เปดิ เผยออกมา สว่ นศาสนาและจรยิ ธรรม น้ันตัดสินว่าดีที่จริงด้วย  มีคุณค่าด้วย  ถ้าจริงกับคุณค่าเกิดขัดแย้ง กนั ขนึ้  ทางศาสนาและจรยิ ธรรมจะยอมใหท้ ง้ิ ความจรงิ  ถอื เอาคณุ คา่ ไว้  คือ  ถึงไม่จริงก็พูดได้เมื่อเห็นว่ามีคุณค่า  ค�ำพูดเช่นนั้นไม่มีโทษ

4 0 ธ ร ร ม เ พ่ื อ ค ร อ ง ใ จ ค น เชน่  หมอต้องการปลอบใจคนไข้ให้มีกำ� ลงั ใจดี ซึง่ สำ� คญั มากในการ หายโรคเรว็  หมออาจพดู ไมจ่ รงิ  แตค่ ำ� ของหมอมคี ณุ คา่  นทิ านสอน เดก็  (ความจรงิ สอนผใู้ หญก่ ไ็ ด)้  เชน่  นทิ านอสี ป เปน็ คตสิ อนใจ ใครๆ ก็รู้ว่าไม่ใช่เร่ืองจริง  แต่มีคุณค่าในด้านจริยธรรม  ความรู้สึกนึกคิด  อันดี  ประเทืองปัญญา  โลกจึงได้รักษาเรื่องราวเหล่าน้ันไว้มิให้สูญ ทจี่ รงิ นทิ านอสี ปนนั้  เปน็ การจำ� ลองความจรงิ ในสงั คมมนษุ ยใ์ นสมยั ของอสี ปนนั่ เอง ไปไวใ้ นหมสู่ ตั วด์ ริ จั ฉาน แลว้ ใหส้ ตั วด์ ริ จั ฉานพดู กนั แปลว่าเอาสัตว์เป็นตัวละคร  แสดงความมีอยู่และความเป็นไปจริงๆ ทั้งฝา่ ยดแี ละฝ่ายชั่วในสังคมมนุษย์ เรอื่ งชาดกตา่ งๆ ทแี่ สดงวา่ สตั วพ์ ดู กบั มนษุ ย ์ เชน่  ชา้ งเทศนา สอนพระราชาด้วยภาษามนุษย์  เป็นต้น  น้ัน  ใครๆ  ก็ย่อมทราบว่า ช้างพูดภาษามนุษย์ไม่ได้  แต่ที่คงรักษาเร่ืองราวเหล่าน้ันไว้  ก็ด้วย ค�ำนึงถึงคุณค่าทางจริยธรรม  หรือหลักแห่งความประพฤติที่แทรก อยู่ในเรื่องน้ันๆ  คนท้ังหลายจึงชอบจดจ�ำและเล่าสืบๆ  กันมา  สนุก กับท้องเร่ืองและได้ประโยชน์ทางคติธรรม  จึงมีคุณค่าควรแก่การ รกั ษาไว้

อ . ว ศิ น อิ น ท ส ร ะ 41 คำ� เทจ็  ซงึ่ ตรงกนั ขา้ มกบั คำ� จรงิ นนั้  จะมโี ทษมากถา้ หกั ราน ประโยชน์ของผู้อ่ืนมาก ท�ำลายช่ือเสียงเกียรติยศหรือทรัพย์สิน ของผอู้ น่ื  เชน่  เปน็ พยานเทจ็ ในศาล ทำ� ใหค้ นตดิ คกุ  หรอื ทำ� ใหเ้ ขา เสยี ทรพั ย์สิน ตอ้ งเสียเกยี รติ เสียชื่อเสียง เสียราศีของสกลุ วงศ์ อนึ่ง ค�ำเท็จซง่ึ เป็นไปในท�ำนองลบหล่บู ญุ คุณของทา่ นผู้มีคณุ  ก็ มีโทษมาก ท�ำใหต้ นเสื่อมจากอ�ำนาจและวิชาก็ได้ ดังเร่ืองมานพ ผ้มู วี ชิ าเสกมะมว่ ง มีเรื่องเลา่ ดังน้ี ในอดีตกาล  พระโพธิสัตว์เกิดในตระกูลจัณฑาลในหมู่บ้านคน จณั ฑาล (คนวรรณะตำ�่ ทส่ี ดุ ของสงั คมอนิ เดยี ) แตเ่ ปน็ บณั ฑติ เฉลยี ว ฉลาด รอบรมู้ นต์ส�ำหรับเสกมะม่วงให้สกุ ไดต้ ามต้องการ วธิ เี สกมะมว่ ง ทา่ นทำ� ดงั น ้ี ยนื หา่ งตน้ มะมว่ งออกไป ๗ กา้ ว ร่ายมนต์  เอาน�้ำฟายมือหนึ่งสาดต้นมะม่วง  ทันใดน้ัน  ใบเก่าๆ  จะ หล่นไป  ใบใหม่งอกออกมา  ดอกบานแล้วหล่นลง  ครู่เดียวเท่านั้น ตน้ มะมว่ งจะผลติ ผลสกุ  มีรสอรอ่ ยปานผลไม้ทพิ ย์

4 2 ธ ร ร ม เ พ่ื อ ค ร อ ง ใ จ ค น พระโพธสิ ตั วก์ นิ เทา่ ทตี่ อ้ งการแลว้  หาบมะมว่ งทเ่ี หลอื มาสเู่ รอื น  ขายมะม่วงเลยี้ งบตุ รและภรรยา ครง้ั นนั้  มพี ราหมณค์ นหนง่ึ  ขอเรยี นมนตใ์ นสำ� นกั พระโพธสิ ตั ว์ พระโพธสิ ตั วใ์ หเ้ รยี นมนต ์ แลว้ เตอื นไวว้ า่  “มนตน์ มี้ คี า่ มาก ทา่ นอาศยั มนต์นี้แล้ว  จักได้ทรัพย์เป็นอันมาก  แต่เม่ือผู้ใดผู้หน่ึงถามว่า  เรยี นมนตม์ าจากทใ่ี ด ขอใหบ้ อกตามความเปน็ จรงิ  อยา่ ไดป้ ดิ บงั เรา เอาไว้  ถ้าท่านละอายไม่กล้าบอกความจริง  และอ้างเอาผู้อ่ืนเป็นครู ของทา่ น มนตจ์ ะเส่อื ม” พราหมณร์ บั คำ� อยา่ งด ี ไหวพ้ ระโพธสิ ตั วแ์ ลว้ เดนิ ทางไปยงั กรงุ พาราณสี  ได้มีโอกาสเข้าเฝ้าพระราชา  น�ำมะม่วงเสกถวายพระราชา ได้รบั พระราชทานทรัพยเ์ ปน็ อันมาก ตอ่ มาวนั หนงึ่  พระราชาตรสั ถามวา่  “ไดเ้ รยี นมนตม์ าจากสำ� นกั ของผู้ใด?”

อ . ว ศิ น อิ น ท ส ร ะ 43 พราหมณ์นั้นละอายที่จะทูลว่า  เรียนมาจากส�ำนักของคน จณั ฑาลคนหนงึ่  จงึ กราบทลู วา่  เรยี นมาจากส�ำนกั อาจารยท์ ศิ าปาโมกข์  ในนครตักกสลิ า พอพดู ขาดคำ�  มนตก์ เ็ สอื่ มไปทนั ท ี แตพ่ ราหมณน์ นั้ หารตู้ วั ไม่ วันต่อมา  พระราชาเสด็จไปยังพระราชอุทยาน  ตรัสให้พราหมณ์น้ัน น�ำมะม่วงมาถวาย  พราหมณ์ร่ายมนต์  แต่มนต์เส่ือมเสียแล้ว  มนต์ ไมป่ รากฏเลย มะมว่ งไมส่ กุ อยา่ งทเี่ คย รสู้ กึ ละอายใจมาก ถกู พระราชา  คาดค้ันถามหนักเข้า  ไม่อาจปิดบังอีกต่อไป  จึงกราบทูลตามความ เป็นจรงิ  วา่ ไดเ้ รียนมนต์มาจากสำ� นักของคนจัณฑาล พระราชาทรงกริ้วมากท่ีพราหมณ์หนุ่มคนนั้นลบหลู่คุณของ อาจารย์  และตรัสให้ไล่ออกไป  พร้อมด้วยทรงก�ำชับว่า  “จงกลับไป หาอาจารย ์ ท�ำใหท้ า่ นโปรดปรานพอใจ ขอเรยี นมนตใ์ หม ่ ถา้ ไดม้ นต์ กจ็ งกลบั มา ถา้ ไมไ่ ด้มนตก์ ็อยา่ กลบั มาอกี เลย”

4 4 ธ ร ร ม เ พ่ื อ ค ร อ ง ใ จ ค น พราหมณ์น้ันกลับไปหาพระโพธิสัตว์  ขอเรียนมนต์ใหม่  แต่ พระโพธิสัตว์ไม่ยอมให้เรียนอีก  ตะเพิดเอาว่า  “ไปเสียเถิด  ไปให้พ้น เราไม่ยอมให้มนต์แกค่ นมักพูดเท็จเชน่ ท่าน ไปเสยี เถิด” พราหมณน์ นั้ เสียใจมาก ซมซานไปตายในป่าอย่างอนาถา ๓. พูดอ่อนหวาน คำ� พดู ทอี่ อ่ นหวานทำ� ใหผ้ ฟู้ งั  ฟงั แลว้ สบายใจ รน่ื รมยใ์ จ และ ดูดดื่มใจ  มีความสุขใจ  สบายหู  ตรงกันข้ามกับค�ำหยาบ  ซึ่งเป็น  ทพุ ภาสิต คำ� ออ่ นหวานยอ่ มพูดออกมาจากใจท่อี ่อนโยน มคี วามรกั ความเมตตาเป็นมูลฐาน  ท�ำนองเดียวกับค�ำหยาบพูดออกมาจากใจ ทห่ี ยาบ เชน่  ใจโกรธ หวงั รา้ ย อาฆาตเคยี ดแคน้  คนทม่ี ใี จอยา่ งนน้ั แม้จะพูดวาจาที่อ่อนหวาน  ท่านก็ถือเป็นค�ำหยาบ  เช่น  มุ่งร้ายต่อ เขา  พูดจาดีให้เขากินขนมเจือด้วยยาพิษ  วาจาเช่นน้ันเป็นค�ำหยาบ เหมอื นขนมหวานทเี่ จอื ดว้ ยยาพษิ นนั่ เอง สว่ นผหู้ วงั ดมี เี มตตาปราณี ตอ่ คนทพี่ ดู ดว้ ย แมจ้ ะใชภ้ าษาทรี่ นุ แรงเหมอื นโกรธ เชน่  มารดาบดิ า ครอู าจารย ์ พดู ตำ� หนติ เิ ตยี นลกู หรอื ศษิ ยข์ องตนเพอื่ ใหเ้ ขาไดด้  ี วาจา เช่นนี ้ ท่านไม่จดั เปน็ คำ� หยาบ

อ . ว ศิ น อิ น ท ส ร ะ 45 คำ� หยาบ เชน่  คำ� ดา่  คำ� ประชด คำ� กระทบกระเทยี บเปรยี บเปรย  คำ� ออ่ นหวานตรงกนั ขา้ มกบั คำ� หยาบ เปน็ วาจาทใ่ี หก้ ำ� ลงั ใจ ใหค้ วาม หวงั  ติดอยทู่ ่ใี จนาน ดงั ทีท่ า่ นสุนทรภ่วู า่ “อนั ออ้ ยตาลหวานลน้ิ แลว้ สน้ิ ซาก แตล่ มปากหวานหไู มร่ หู้ าย” เขาพูดอ่อนหวานดื่มด่�ำใจของเราต้ังเมื่อ  ๒๐  ปีก่อน  เดี๋ยวนี้ ก็ยังรู้สึกหวานอยู่  พอนึกข้ึนมาแล้วให้เกิดความสุขใจ  วาจาท่ีอ่อน หวาน สภุ าพ จึงเปน็ วาจาสภุ าษติ  จดั เป็นปิยวาจาอยา่ งหน่ึง คนที่ พูดจาอ่อนหวาน  แม้ใช้คนให้ท�ำงานหนัก  คนท�ำงานก็รู้สึกไม่ค่อย เหนอื่ ย เพราะไดว้ าจาทอ่ี อ่ นหวานนน่ั เองหลอ่ เลย้ี งดวงใจ เพมิ่ กำ� ลงั ให้ ๔. พูดมปี ระโยชน์ คำ� พดู มปี ระโยชนจ์ ดั เปน็ สงิ่ ส�ำคญั มาก เปน็ องคค์ ณุ ทเ่ี ปน็ แกน กลางของปยิ วาจา ปราศจากประโยชนเ์ สยี แลว้  แมจ้ ะมอี งคอ์ ยา่ งอน่ื ครบถ้วน วาจานั้นก็ดอ้ ยคุณคา่ ลง

4 6 ธ ร ร ม เ พ่ื อ ค ร อ ง ใ จ ค น ค�ำมีประโยชน์ตรงกันข้ามกับค�ำเพ้อเจ้อ  ค�ำเพ้อเจ้อคือ  ค�ำ เหลวไหลไร้สาระ  ฟังแล้วเสียเวลาเปล่า  ไม่ได้ประโยชน์อันใด  ค�ำมี ประโยชนจ์ ดั เปน็ วาจามคี า่ มากเพราะเปน็ แนวทางชวี ติ  เปน็ แสงสวา่ ง ของการด�ำเนินชีวติ  ชว่ ยระงับดับทกุ ข์ ช่วยผอ่ นคลายความทุกข์ บทกลอนของสุนทรภู่ที่ท่านเขียนไว้เป็นร้อยๆ  ปีมาแล้ว  แต่ ยงั มคี นพอใจอา่ นพอใจจดจ�ำนนั้  นอกจากความไพเราะแลว้  ยงั แฝง เอาถ้อยค�ำอันมีประโยชน์เป็นคติเตือนใจไว้ด้วย  คนจึงชอบ  และ บทกลอนนัน้ ย่ังยนื ตลอดมา ค�ำสอนของนกั ปราชญ์สมัยเมอื่ หลายพนั ปีมาแล้ว เวลานี้ยงั อย ู่ มคี นทว่ั โลกชว่ ยกนั จำ�  ชว่ ยกนั เผยแพร ่ ทง้ั นเ้ี พราะวาจาของทา่ น มีประโยชน์ ปฏบิ ตั ติ ามแลว้ ละความทุกข ์ ใหค้ วามสุขได้จรงิ  ดังเชน่ พระวาจาของพระพุทธเจ้า  เป็นวาจาสุภาษิตท้ังหมด  พระองค์ท่าน เองกท็ รงปฏบิ ตั ติ ามพระวาจาทที่ รงสอนผอู้ นื่  กลา่ วอกี อยา่ งหนงึ่ วา่ คำ� สอนของทา่ นออกมาจากผลของการปฏบิ ตั แิ ละการรแู้ จง้ เหน็ จรงิ

อ . ว ศิ น อิ น ท ส ร ะ 47 วาจามปี ระโยชนจ์ งึ เปน็ ปยิ วาจาอยา่ งแทจ้ รงิ  การทจ่ี ะทำ� ให้ คนพูดมีประโยชน์ พูดเป็นธรรมนั้น ก็ด้วยการฝึกฝนหรือฝึกหัด หดั เวน้ จากการพดู เพอ้ เจอ้  เมอ่ื เวน้ จากการพดู เพอ้ เจอ้ ไดแ้ ลว้  เมอื่ ถงึ คราวจำ� เปน็ ตอ้ งพดู  ยอ่ มตอ้ งพดู วาจาทเี่ ปน็ ประโยชนเ์ ปน็ ธรรม ในวินัย  พระพุทธเจ้าทรงบัญญัติให้พระผู้น้อย  คือบวชภาย หลัง  เคารพนับถือพระภิกษุผู้บวชก่อน  แก่พรรษากว่า  แต่ถ้าภิกษุ เถระรูปใดพูดไม่เป็นประโยชน์  พูดไม่เป็นธรรม  ไม่เป็นวินัย  ภิกษุผู้ ออ่ นพรรษาจะไมแ่ สดงความเคารพกไ็ ด ้ ไมถ่ อื เปน็ ผดิ วนิ ยั  เรอื่ งนเ้ี ปน็ ตัวอย่างให้เห็นว่า  ผู้ใหญ่ท่ีต้องการได้รับความเคารพนับถือจากผู้ นอ้ ยอยา่ งจรงิ ใจนน้ั  ควรสำ� รวมวาจาของตนใหพ้ ดู เปน็ ธรรมเปน็ วนิ ยั พูดเป็นสุภาษติ วาจาเปน็ การแสดงถงึ ภายในของบคุ คล ว่าได้สะสมอะไรไว้ เหมือนคนกนิ อาหารอยา่ งใด เม่ือเรอออก ย่อมมกี ลน่ิ สิง่ นน้ั ออก มา คนมสี งิ่ ใดสะสมอยใู่ นใจมาก เมอื่ พดู ออกมา ยอ่ มอดทจี่ ะแสดง

4 8 ธ ร ร ม เ พ่ื อ ค ร อ ง ใ จ ค น สง่ิ นน้ั ออกมาไมไ่ ด ้ เพราะคำ� พดู และดวงตาเปน็ เสมอื นทอ่ ระบายของ จติ ใจ เมอื่ ดวงใจใสสะอาด วาจาท่อี อกมากใ็ สสะอาด ดวงตาแจม่ ใส มปี ระกายแหง่ ความสขุ  เมอ่ื ใจขนุ่ มวั  วาจาทอี่ อกมากข็ นุ่ มวั  ไมช่ วน ด่ืม  ไม่เป็นวาจาเปยยะ  ชวนดูดดื่ม  ดวงตาก็ขุ่นมัว  หม่นหมอง  มี แววเศรา้ หรือประกายไฟแหง่ โทสะ สดุ แลว้ แตก่ รณี ฉะนนั้  ผทู้ ตี่ อ้ งการพดู จาเปน็ ประโยชน ์ จงึ ตอ้ งเรมิ่ ตน้ หดั ทใ่ี จ เมื่อใจใคร่ประโยชน์  หวังประโยชน์แก่ผู้อ่ืน  วาจาที่ออกมาย่อมเป็น ประโยชน์  ฝึกหัดใจให้มีธรรม  อยู่กับธรรม  วาจาท่ีออกมาก็ย่อม ประกอบดว้ ยธรรม ให้เกิดประโยชนส์ ุขแก่คนทั้งหลายประมาณมิได้ วาจาไรป้ ระโยชนแ์ มต้ ง้ั พนั  ไมม่ คี ณุ คา่ เทา่ วาจาทปี่ ระกอบดว้ ยประโยชน์ เพยี งคำ� เดยี วหรอื บทเดยี ว เหมอื นกอ้ นกรวดตงั้ พนั กอ้ นหมนื่ กอ้ น ก็ หามีค่าเท่าเพชรเม็ดเดียวไม่  พระพุทธองค์ตรัสกับอภัยราชกุมารว่า วาจาจะเปน็ ทรี่ กั หรอื ไมเ่ ปน็ ทร่ี กั ของผอู้ น่ื กต็ าม พระองคม์ งุ่ ประโยชน์ เหน็ วา่ เปน็ ประโยชน ์ แลว้ เลือกกาลเวลาตรัสพระวาจานนั้

อ . ว ศิ น อิ น ท ส ร ะ 49 ๕. พูดดว้ ยจติ เมตตา เมตตาคือความสนิทสนม  ความปรารถนาสุขแก่ผู้อื่น  ความ หวังดี  เม่ือบุคคลพูดด้วยจิตที่เปี่ยมด้วยความหวังดีและปรารถนา ประโยชน์สุขแก่ผู้อ่ืน  ค�ำพูดนั้นย่อมมีอานุภาพรัดตรึงใจ  เพราะโดย ปกติธรรมดา คนเราสว่ นมากมีความสามารถพเิ ศษอยูอ่ ยา่ งหนึง่ คอื ความสามารถในการอา่ นใจของผพู้ ดู วา่  เขาพดู ดว้ ยจติ อยา่ งไร มคี วามประสงคอ์ ะไรแอบแฝงซอ่ นเรน้ อยดู่ ว้ ย พดู ดว้ ยความหวงั ดี หรือหวังรา้ ย พูดเพ่อื ประโยชนข์ องเราหรือเพือ่ ประโยชน์ของเขา แมจ้ ะพดู ดีอยา่ งไร ถา้ ใจคดิ คำ� นึงคำ� นวณแตผ่ ลประโยชนข์ องตน แล้ว ความรู้สึกอันนั้นย่อมแลบออกมาให้คนรู้สึกและจับได้เสมอ เมอ่ื ผฟู้ งั รวู้ า่ ผพู้ ดู พดู เพอ่ื ประโยชนข์ องตนเสยี แลว้  การทจ่ี ะยอมรบั เช่ือและยินดีท�ำตาม  ก็ลดน้อยลง  หรืออาจไม่พอใจรับฟังเลย เพราะฉะน้ัน ควรพูดด้วยจิตเมตตาปรารถนาสุขแก่ผู้อ่ืน แม้จะ รนุ แรงไปบา้ ง กไ็ มร่ ะคายหผู ฟู้ งั  และผฟู้ งั จะรสู้ กึ ประทบั ใจมากกวา่ พดู ออ่ นหวานแตป่ ราศจากความหวังดี การพูดดว้ ยจติ เมตตาจึง เป็นองค์คุณอยา่ งหน่ึงของวาจาสุภาษติ


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook