Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore วิสัยทัศน์การจัดการศึกษาเพื่อขับเคลื่อนประเทศไทย 4.0

วิสัยทัศน์การจัดการศึกษาเพื่อขับเคลื่อนประเทศไทย 4.0

Published by samrannakchoom, 2019-12-04 06:52:35

Description: วิสัยทัศน์การจัดการศึกษาเพื่อขับเคลื่อนประเทศไทย 4.0

Search

Read the Text Version

วิสยั ทัศน์การจดั การศึกษาเพื่อขบั เคล่ือน ประเทศไทย 4.0 โดย ศาสตราจารย์ ดร.พฤทธ์ิ ศิริบรรณพิทกั ษ์

1 . เ ก ริ่ น นา 1.1 โฉมหน้าโลกอนาคต (1) โลกยคุ VUCA V คือ Volatility มีอตั ราการเปล่ียนแปลงหรอื ผนั แปรสูง U คือ Uncertainty มีความไม่แน่นอนเกี่ยวกบั อนาคต C คือ Complexity มีความซบั ซ้อนสงู A คือ Ambiguity มีความไมช่ ดั เจนหรอื กากวมหรอื อาจไมม่ ีคาตอบท่ีถกู ต้อง (เพียงคาตอบเดียว)

1.1 โฉมหน้าโลกอนาคต (ต่อ) (4) โลกแห่งความเปลี่ยนแปลง แบบพลิกโฉม (2) โลกแห่งความย้อนแย้ง (The age of paradox) • การเปลี่ยนแปลงทาง • กฎกลายเป็นข้อยกเว้น เทคโนโลยี • ขอ้ ยกเวน้ กลายเป็นกฎ • ส่ิงที่เป็นไปไมไ่ ด้กลบั เป็นไปได้ • การเปลี่ยนแปลงทาง อตุ สาหกรรม (3) โลกแห่งความสดุ โต่ง • ความสดุ โต่งของธรรมชาติ • ความสดุ โต่งของเศรษฐกิจ • ความสดุ โต่งของสงั คม • ความสดุ โต่งของการเมอื ง

1.2 โฉมหน้ าประเทศไทย 4.0 (1) เศรษฐกิจ 4.0 เศรษฐกิจสรา้ งสรรค์ นวตั กรรมอาชีพ นวตั กรรมผลิตภณั ฑ์ (2) อตุ สาหกรรม 4.0 อตุ สาหกรรมดิจิทลั นวตั กรรมสงั คม (3) สงั คม 4.0 สงั คมดิจิทลั (4) ประเทศแห่งนวตั กรรม (Innovative country)

The most innovative countries จากการจดั อนั ดบั ของ Bloomberg’s 2015 ranking of the World’s 50 most innovative countries ด้วยดชั นี (The Bloomberg Innovation Index : BII) 6 ตวั พบว่าประเทศไทยอยู่ ในอนั ดบั ที่ 46 ในขณะท่ี 15 อนั ดบั แรก ได้แก่ 1. South Korea 6. US 11. Denmark 2. Japan 7. Sweden 12. Canada 3. Germany 8. Singapore 13. Australia 4. Finland 9. France 14. Russia 5. Israel 10. UK 15. Norway ทงั้ นี้ ประเทศในอาเซียนท่ีมีอนั ดบั ดีกว่าไทยนอกจาก Singapore คือ Malaysia ซ่ึงอย่ใู นอนั ดบั ท่ี 27

ดชั นี 6 ตวั ได้แก่ 1. R&D : R&D expenditure as a percentage of GDP 2. Manufacturing : Manufacturing value-added per capita 3. High-tech companies : Number of domestically domiciled high-tech public companies-such as aerospace and defense, biotechnology, hardware, software, semiconductors, internet software and services, and renewable energy companies-as a share of word’s total high-tech public companies

ดชั นี 6 ตวั (ต่อ) 4. postsecondary education : Number of secondary graduates enrolled in postsecondary institutions as a percentage of cohort; percentage of labor force with tertiary degrees; annual science and engineering graduates as a percentage of the labor force and as a percentage of total tertiary graduates. 5. Research personnel : professionals including Ph.D. students engaged in R&D per 1 million population 6. Patents : Resident utility patent filings per 1 million population and per 1 million dollar of R&D spent; utility patents granted as a percentage of world total

2. ลักษณะสาคัญของประเทศไทย 4.0 2.1 ความเขม้ แขง็ จากภายใน (Strength from within) ทาให้เกิด องคก์ าร/กิจการที่ชาญฉลาด และ การเลื่อนชนั้ ทางสงั คม (smart enterprise) (social mobility) โดยมีพลงั ขบั เคล่ือน 3 พลงั คือ 1. นวตั กรรม (Innovation Driven) 2. การประกอบการ (Entrepreneur Driven) 3. ชุมชน (Community Driven)

องคก์ าร/กิจการที่ชาญฉลาด การเลื่อนชนั้ ทางสงั คม (smart enterprise) (social mobility) ลกั ษณะของ Smart enterprise ลกั ษณะของ Smart mobility 1. โมเดลธรุ กิจใหม่ 1. สงั คมแห่งโอกาส (new business model) (Society with opportunity) 2. ระบบท่ีเอื้อ 2. สงั คมสมรรถนะ (enabling ecosystem) (Society with competence)

โดยมีความเช่ือมโยงกนั ดงั นี้

2. ลักษณะสาคัญของประเทศไทย 4.0 2.2 การเช่ือมต่อกบั โลก (Connected to the world) ทาให้เกิด การเสริมพลงั ท้องถ่ิน การขยายตลาดภายใน การเช่ือมต่อ (Local empowerment) (ประเทศ) (CLMVT as our ASEAN กบั โลก (ASEAN Global Connect) home market) โดยมีพลงั ขบั เคล่ือน 3 พลงั คือ 1. เศรษฐกิจภายในประเทศ (Domestic economy) 2. เศรษฐกิจภมู ิภาค (Regional economy) 3. เศรษฐกิจโลก (World economy)

ลกั ษณะของ ลกั ษณะของ การเชื่อมต่อ การเสริมพลงั ท้องถิ่น การขยายตลาดภายใน ASEAN กบั โลก (ASEAN Global Connect 1. การลงทุนและธรุ กิจ 1. การค้าของรฐั กบั รฐั การค้าท้องถิ่น (Local (G2G) 1. ภมู ิการเมือง trade & investment) (Geopolitics) 2. การค้าของเพื่อนกบั 2. การจ้างงานท้องถ่ิน เพื่อน (P2P) 2. ภมู ิเศรษฐกิจ (Local employment) (Geoeconomics) 3. การค้าของธรุ กิจกบั 3. การเป็นเจา้ ของโดย ธรุ กิจ (B2B) ท้องถิ่น (Local ownership)

โดยมคี วามเชอ่ื มโยงกนั ดงั น้ี

3.กลไกขับเคลื่อนประเทศไทย 4.0 3.1 กลไกการเพิ่มขีด 3.2 กลไกการขยายการพฒั นา 3.3 กลไกการเติบโตสีเขียว ความสามารถในการแข่งขนั อย่างทวั่ ถึง (Green Growth Engine) (Competitive Growth Engine) (Inclusive Growth Engine) (1) การพฒั นานวตั กรรม (1) การบม่ เพาผปู้ ระกอบการ (1) การพฒั นาขีด สีเขียว เป็นมิตรกบั ที่ขบั เคล่ือนด้วยนวตั กรรม ส่ิงแวดล้อม ความสามารถคนทกุ คน (2) การพฒั นาพลงั งาน (2) การยกระดบั การวิจยั และ (2) การยกระดบั ความฉลาดรู้ ทดแทน พฒั นานวตั กรรม ทางดิจิทลั (Digital literacy) (3) การเปล่ียนวิถีชีวิตที่เป็น (3) การพฒั นา Innovation มิตรกบั สิ่งแวดล้อม (3) การพฒั นางานใหมส่ าหรบั (4) ฯลฯ อนาคต Hub ให้กระจายทุกท้องถิ่น (4) ฯลฯ (4) ฯลฯ

4. วิสัยทัศน์ของระบบการศึกษาท่ีพึงประสงค์ “It is not the strongest of the species that survive, nor the most intelligent but the one most responsive to change.” Charles Darwin ผทู้ ี่อย่รู อดได้ คือ ผทู้ ่ีตอบสนองการเปล่ียนแปลงได้ดีที่สดุ เมอ่ื ดจู ากสภาพที่พึงประสงคด์ ้านเศรษฐกิจ เราต้องการระบบเศรษฐกิจอจั ฉริยะ (smart economic system) ซึ่งประกอบด้วยการเกษตรอจั ฉริยะ (smart farming) อตุ สาหกรรมอจั ฉริยะ (smart industry) และธรุ กิจอจั ฉริยะ (smart business model) ลกั ษณะสาคญั ของระบบเศรษฐกิจอจั ฉริยะ คือ นวตั กรรมทางเศรษฐกิจที่มีคณุ ธรรมเป็น ฐานและเป็นมิตรกบั ส่ิงแวดล้อม

4. วิสยั ทศั น์ของระบบการศึกษาที่พึงประสงค์ (ต่อ) ตวั อย่างนวตั กรรมทางการเกษตร ได้แก่ 1) นวตั กรรมการพฒั นาพนั ธข์ุ ้าวระดบั พนั ธวุ ิศวกรรม เช่น พนั ธข์ุ ้าวทบั ทิมชมุ แพ 2) นวตั กรรมการขอดเกลด็ ปลาด้วยเอนไซม์ 3) นวตั กรรมการพฒั นาผลิตภณั ฑส์ มนุ ไพรเพื่อการรกั ษา 4) สมารท์ ฟารม์ คิท (ชดุ ควบคมุ น้าอจั ฉริยะ) 5) โดรนพ่นยาฆ่าเมลง 6) ชดุ ปลกู พืชแนวตงั้

4. วิสยั ทศั น์ของระบบการศึกษาท่ีพึงประสงค์ (ต่อ) ตวั อย่างของนวตั กรรมทางอตุ สาหกรรมได้แก่ 1) ปัญญาประดิษฐ์ (AI : Artificial Intelligence) 2) Internet of things (IoT) 3) ยานยนตข์ บั เคลื่อนอตั โนมตั ิ (Self-driving vehicles) 4) Nanotechnology 5) Renewable Energy 6) Quantum computing 7) Biotechnology

4. วิสยั ทศั น์ของระบบการศึกษาที่พึงประสงค์ (ต่อ) ตวั อย่างนวตั กรรมทางธรุ กิจ ได้แก่ 1) ระบบแฟรนไชส์ 2) รา้ นค้าราคาเดียว 3) รา้ นให้เช่าสินค้า 4) ระบบตวั ๋ รวม 5) ระบบขายตรง 6) Grab Taxi 7) Amazon Go (ร้านสะดวกซื้ออจั ฉริยะ)

4. วิสยั ทศั น์ของระบบการศึกษาท่ีพึงประสงค์ (ต่อ) เมอื่ ดจู ากสภาพท่ีพึงประสงคด์ ้านสงั คม เรากต็ ้องการระบบสงั คมอจั ฉริยะ (smart social system) ซึ่งประกอบด้วยสงั คมอย่ดู ีมีสขุ (societal well-being หรือ Happy society) ในทกุ ระดบั ทงั้ ระดบั ครอบครวั และชมุ ชนระดบั ต่างๆ ลกั ษณะสาคญั ของระบบ สงั คมอจั ฉริยะ คือ นวตั กรรมทางสงั คมที่มีคณุ ธรรมเป็นฐานและเป็นมิตรกบั ส่ิงแวดล้อม เช่นเดียวกนั

4. วิสยั ทศั น์ของระบบการศึกษาท่ีพึงประสงค์ (ต่อ) ตวั อย่างนวตั กรรมทางสงั คม ได้แก่ 1) จิตอาสา : นวตั กรรมการปฏิบตั ิธรรม 2) ธนาคารเวลา 3) นวตั กรรมการบริหารวดั 4) กิจการเพื่อสงั คม

4. วิสยั ทศั น์ของระบบการศึกษาท่ีพึงประสงค์ (ต่อ) เมอ่ื ดจู ากสภาพท่ีพึงประสงคด์ ้านการเมือง เราต้องการระบบการเมือง อจั ฉริยะ (smart political system) ซ่ึงประกอบด้วยการเมอื งคณุ ภาพในทุก ระดบั ทงั้ ระดบั ท้องถ่ิน จงั หวดั และประเทศ ลกั ษณะสาคญั ของระบบการเมือง อจั ฉริยะ คือ นวตั กรรมทางการเมอื งท่ีมีคณุ ธรรมเป็นฐานและเป็นมิตรกบั ส่ิงแวดล้อมเช่นเดียวกนั

4. วิสยั ทศั น์ของระบบการศึกษาที่พึงประสงค์ (ต่อ) ตวั อย่างนวตั กรรมทางการเมือง ได้แก่ 1) ประชาธิปไตยแบบส่วนรว่ ม (participative democracy) 2) ประชาพิจารณ์ (public hearing) 3) ประชามติ (referendum) 4) ท้องถ่ินบริหารตนเอง (local self governing) 5) จงั หวดั บริหารตนเอง (self-governing province) 6) องคก์ ารสหประชาชาติ (United Nations)

4. วิสยั ทศั น์ของระบบการศึกษาที่พึงประสงค์ (ต่อ) ดงั นนั้ ระบบการศกึ ษาทพ่ี งึ ประสงคใ์ นอนาคต กค็ วรเป็น “ระบบการศึกษาอจั ฉริยะ” (smart education system) ลกั ษณะสาคญั ของระบบการศกึ ษาอจั ฉรยิ ะ คอื การศึกษา 4.0 โดย เปลย่ี นกระบวนทศั น์จากการศกึ ษา 1.0 ทเ่ี ป็นการพฒั นาผเู้ รยี นใหม้ คี วามรโู้ ดยครู การศกึ ษา 2.0 ท่ี เป็นการพฒั นาผเู้ รยี นใหม้ คี วามรโู้ ดยเทคโนโลยี ICT และการศกึ ษา 3.0 ทเ่ี ป็นการพฒั นาผเู้ รยี นให้ สามารถสรา้ งความรไู้ ดโ้ ดยการวจิ ยั เป็น การศึกษา 4.0 ท่ีเป็นการพฒั นาผเู้ รียนให้เป็นนวตั กร อย่างหลากหลาย ทงั้ ด้านเศรษฐกิจ สงั คม และการเมือง เพอ่ื เป็นกาลงั สาคญั ในการเสรมิ สรา้ ง ระบบเศรษฐกจิ อจั ฉรยิ ะ ระบบสงั คมอจั ฉรยิ ะ ระบบการเมอื งอจั ฉรยิ ะและระบบธรรมชาตอิ จั ฉรยิ ะใน อนาคต

4. วิสยั ทศั น์ของระบบการศึกษาท่ีพึงประสงค์ (ต่อ) ดงั แผนภาพต่อไปนี้

5. นวตั กรรมการบริหารการศึกษาที่พึงประสงคใ์ นอนาคต การบริหารให้เกิดระบบการศึกษาอจั ฉริยะจะต้องเปล่ียนกระบวน ทัศน์ในการบริหารการศึกษาให้เป็ นการบริหารการศึกษา 4.0 คือ การ บริหารการศึกษาเพ่ือสร้างนวตั กรรม โดยให้ครแู ละผ้เู รียนบริหารตนเองให้ เกิดความมุ่งมนั่ ผกู พนั (engagement) ในการก้าวสู่การเป็ นนวตั กร ด้วย นวตั กรรมการบริหารที่เรียกว่า การบริหารระบบสงั คมธิปไตย (Sociocracy) หรอื การบริหารระบบอะมีบา (Holacracy)

5. นวตั กรรมการบริหารการศึกษาท่ีพึงประสงคใ์ นอนาคต (ต่อ) การบริหารระบบสงั คมธิปไตย (Sociocracy) เป็ นระบบการบริหารเชิงพลวตั (dynamic governance) ที่สามารถตอบสนอง การเปล่ียนแปลงอย่างรวดเรว็ ของสงั คม เศรษฐกิจ และการเมือง เปล่ียนวิธีการ ตดั สินใจจากผ้บู งั คบั บญั ชาหรือเสียงข้างมาก เป็ นการพูดคุยด้วยเหตุผล และใช้ ความยินยอม (consent) ของผปู้ ฏิบตั ิงานและผ้เู ก่ียวข้อง มีลกั ษณะเป็นการกระจาย อานาจในการทางาน และการตดั สินใจโดยมีเป้าประสงคร์ ว่ มกนั

5. นวตั กรรมการบริหารการศึกษาท่ีพึงประสงคใ์ นอนาคต (ต่อ) การบริหารระบบอะมีบา (Holacracy) เป็ นระบบการบริหารแบบไร้ผู้บริหาร กระจายอานาจในการตัดสิ นใจไปท่ี ผ้ปู ฏิบตั ิงานระดบั บุคคลและระดบั กลุ่ม จึงเป็ นระบบบริหารคล้ายระบบสงั คมธิปไตย (Sociocracy) ดงั แผนภาพ

5. นวตั กรรมการบริหารการศึกษาที่พึงประสงคใ์ นอนาคต (ต่อ) ผบู้ ริหารสถานศึกษามอื อาชีพท่ีพึงประสงค์ จะต้องเป็นนวตั กรเปลี่ยนสถานศึกษาจากการเป็นแหล่งเรียนรหู้ รือพืน้ ที่เรียนรู้ (learning space) เป็นพืน้ ท่ีนักประดิษฐห์ รือพืน้ ท่ีสร้างนวตั กรและ นวตั กรรม (makerspace) ผบู้ ริหารสถานศึกษา จะต้องเปล่ียนครใู ห้เป็นผสู้ ร้างนวตั กร (creating innovator) ครู จะต้องเป็นผอู้ อกแบบการเรียน (learning designer) เพื่อเปล่ียนนักเรียนให้เป็นนวตั กร (innovator)

5. นวตั กรรมการบริหารการศึกษาท่ีพึงประสงคใ์ นอนาคต (ต่อ) “Imagination is more important than knowledge. For knowledge is limited, whereas imagination embraces the entire world, stimulating progress, giving birth to evolution.” Albert Einstein จินตนาการสาคญั กว่าความรู้ เพราะความรใู้ ช้ได้จากดั แต่จินตนาการ นามาใช้ได้ทวั่ โลก ทาให้เกิดความก้าวหน้าและการเปลี่ยนแปลงท่ีดีกวา่

6. นวตั กรรมการบริหารการศึกษาเพื่อขบั เคล่ือนประเทศไทย 4.0 ต้องทาอย่างไร 6.1 ปฏิรปู การบริหารการศึกษา 6.2ปฏิรปู การจดั การเรียน 6.3 ปฏิรปู การประเมินผล แบบ 360 องศา การสอนแบบ 360 องศา การเรียนแบบ 360 องศา ให้เป็นการศึกษา 4.0 ให้ความสาคญั กบั ให้ความสาคญั กบั ให้ความสาคญั กบั การพฒั นา การพฒั นาผเู้ รยี นให้ การประเมินการนาส่ิงท่ีเรียน สามารถคิดริเร่ิมสรา้ งสรรค์ ไปใช้สรา้ งนวตั กรรมในโลก ผเู้ รียนให้เป็นนวตั กร นวตั กรรมในวิชาที่เรียน (Innovator) ผสู้ ร้างนวตั กรรม และเช่ือมโยงกบั การพฒั นา แห่งความจริง (Innovation Creator) มากกว่า งานอาชีพ เศรษฐกิจ สงั คม การจดั การศึกษาและการ และการเมอื ง บริหารการศึกษาอย่างมี นวตั กรรม Innovation Education and Management)

การศึกษา 1.0 4.0 1. การศึกษา 1.0  การเรียนร้เู พือ่ รบั ความร้จู ากครู (Receptionist ยคุ 1) 2. การศึกษา 2.0  การเรียนร้เู พื่อรบั ความร้จู าก ICT (Receptionist ยคุ 2) 3. การศึกษา 3.0  การเรียนร้เู พือ่ สร้างความรู้ (Constructionist ยคุ 1: Knowledge Production) 4. การศึกษา 4.0  การเรียนร้เู พอ่ื สร้างนวตั กรรม (Constructionist ยคุ 2: Innovation Producing)

รปู แบบการเรียนรู้ อตั ราความคงอย่ขู องความรู้ (Learning Model) (Retention Rates) 1. แบบเดิม/แบบเฉ่ือย (Traditional / Passive) 5% 1.1 ฟังการบรรยาย 10% 1.2 การอ่าน 20% 1.3 การใช้สื่อเรียน 30% 1.4 ดกู ารสาธิต 50% 2. แบบกระฉับกระเฉง/แบบเชิงรกุ (Active) 75% 2.1 การอภิปรายกล่มุ 90% 2.2 ฝึ ก/ลงมือทา 2.3 สอนผอู้ ื่น/นาไปใช้จริง

Informational Transformational Learning Learning 1. Teachers talking 1. Letting individual students 2. Students listening figure out the answer on taking notes, taking tests their own. and getting letter grade at 2. It triggers more creativity, the end. empowerment, problem 3. It’s about memorization and solving and real world regurgitation. applicability.

การเรียนรแู้ บบเดิม การเรียนรแู้ บบคล่องแคล่วว่องไว (Traditional Learning) (Agile Learning) 1. พฒั นาสติปัญญา (IQ) 1. พฒั นานักคิดที่ฉับไวหรอื คิดเรว็ เรียนร้ไู ว 2. ให้ความสาคญั กบั ผลการเรียนที่เป็น (Quick Thinkers) เกรดและคะแนน 2. ให้ความสาคญั กบั การคิดริเริ่มสร้างสรรค์ 3. ใช้ผลการสอบจากข้อสอบมาตรฐาน 3. ใช้ผลการเรียนเชื่อมโยงกบั โลกของการ ในการเข้ามหาวิทยาลยั ทางาน 4. เรียนร้ทู กั ษะทางเทคนิคใน 4. ได้เรยี นรกู้ ารประยกุ ตใ์ ช้กฎและหลกั การ 5. นักคิดท่ีมีวิสยั ทศั น์กว้าง การปฏิบตั ิงาน 6. รจู้ ดุ แขง็ จดุ อ่อนส่วนบคุ คล 5. เรียนร้ทู กั ษะภาษาพดู 6. เรียนร้ทู กั ษะการวิเคราะห์ 7. เรียนร้กู ารแก้ปัญหาท่ีไมซ่ บั ซ้อน

7.นวตั กรบริหารสถานศึกษามืออาชีพที่พึงประสงค์ ผบู้ ริหารสถานศึกษามืออาชีพท่ีพึงประสงค์ จะต้องเป็นนวตั กรเปล่ียน สถานศึกษาจากการเป็นแหล่งเรียนร้หู รือพืน้ ที่เรียนรู้ (learning space) เป็น พืน้ ที่นักประดิษฐห์ รอื พืน้ ท่ีสรา้ งนวตั กรและนวตั กรรม (makerspace) ผบู้ ริหารสถานศึกษา จะต้องเปล่ียนครใู ห้เป็นผสู้ ร้างนวตั กร (creating innovator) ครู จะต้องเป็นผอู้ อกแบบการเรยี น (learning designer) เพื่อเปลี่ยน นักเรยี นให้เป็นนวตั กร (innovator)

7.นวตั กรบริหารสถานศึกษามืออาชีพที่พึงประสงค์ “Imagination is more important than knowledge. For knowledge is limited, whereas imagination embraces the entire world, stimulating progress, giving birth to evolution.” Albert Einstein จินตนาการสาคญั กว่าความรู้ เพราะความรใู้ ช้ได้จากดั แต่จินตนาการนามาใช้ได้ ทวั่ โลก ทาให้เกิดความก้าวหน้าและการเปลี่ยนแปลงท่ีดีกว่า

7.นวตั กรบริหารสถานศึกษามืออาชีพท่ีพึงประสงค์ ผบู้ ริหาร ครู และผเู้ รียนที่มีความเป็นนวตั กร จะต้องมีความสามารถในด้านจินตนาการ (imagination) มากกว่าความรู้ (knowledge) และมีความสามารถในการคิดเชิงออกแบบ (design thinking) ซ่ึงมีกระบวนการสาคญั 5 ขนั้ ตอน คือ 1. การเขา้ ใจในความจาเป็น วา่ ทาไมตอ้ งมนี วตั กรรม (why) 2. การกาหนดนวตั กรรมทต่ี อ้ งการออกแบบ (what) 3. การระดมความคดิ เพอ่ื ออกแบบนวตั กรรม (how to) 4. การสรา้ งตน้ แบบนวตั กรรม (prototype) 5. การนาตน้ แบบนวตั กรรมไปทดสอบ/ทดลองใชเ้ พอ่ื ปรบั ปรงุ (test)

8. วิสยั ทศั น์และกลยทุ ธใ์ หม่ในการจดั การศึกษาเพื่อขบั เคลื่อนประเทศไทย 4.0 วิสยั ทศั น์ใหมใ่ นการจดั การศึกษา ระบบการศึกษาของโรงเรียน จะเป็นระบบการศึกษาชนั้ นา ในการพฒั นาผเู้ รียน ให้เป็นนวตั กรสรา้ งสรรค์ ระบบเศรษฐกิจ สงั คมและ การเมืองในอนาคต กลยทุ ธใ์ หมใ่ นการจดั การศึกษา เปลี่ยนกระบวนทศั น์การจดั การศึกษาเป็นการศึกษา 4.0 คือการเรียนรเู้ พอื่ สรา้ งนวตั กรรม (innovation producing)

9. นวตั กรรมคืออะไร นวตั กรรม ตรงกบั ภาษาองั กฤษว่า innovation คือ ผลิตภณั ฑ์ (product/physical & intangible) และ การบริการ (services/that deliver products) รวมทงั้ กระบวนการ (processes) ในการสร้างผลิตภณั ฑแ์ ละ บริการซึ่งมีความใหม่ (newness) หรอื มีการเปล่ียนแปลงในทิศทางท่ีดี ขึน้ หรือมีประโยชน์มากกว่าเดิม (beneficial changes)

วเิ คราะหค์ วามแตกตา่ งระหวา่ งคา 3 คา (1) Discovery (n) การคน้ พบ (2) Invention (n) สง่ิ ประดษิ ฐ,์ การประดษิ ฐ์ (3) Innovation (n) นวตั กรรม “A discovery is recognizing something that already exists for the first time, that nobody has found before” ตวั อยา่ ง เชน่ การคน้ พบดาวดวงใหม่

“An invention is creating something totally new with one’s own ideas and development” ตวั อยา่ ง เชน่ การประดษิ ฐห์ ลอดไฟฟ้าครงั้ แรก “An innovation occurs it someone improves on or makes a significant contribution to an existing product, process or service. ตวั อยา่ งเชน่ การประดษิ ฐห์ ลอดไฟฟ้า LED MOOC (massive open online course) block course

10. การแบง่ ประเภทนวตั กรรม 10.1 ประเภทนวตั กรรมพืน้ ฐานมี 3 ประเภท (1) นวตั กรรมผลิตภณั ฑ์ (2) นวตั กรรมการบริการ (3) นวตั กรรมกระบวนการ (product innovation) (service innovation) (processes innovation) นวตั กรรม นวตั กรรม นวตั กรรม ผลิตภณั ฑท์ างการศึกษา การบริการทางการศึกษา กระบวนการทางการศึกษา อาจแบง่ เป็นผลิตภณั ฑ์ อาจแบง่ เป็นบริการทาง อาจแบง่ เป็นกระบวนการ ประเภทเครอ่ื งมอื การศึกษาในระบบ นอกระบบ เข้าศึกษา กระบวน การศึกษาและกระบวนการ หรอื อปุ กรณ์ (hardware) และอธั ยาศยั และผลิตภณั ฑป์ ระเภทวสั ดุ จบการศึกษา หรือโปรแกรมคอมพิวเตอร์ (software)

10. การแบง่ ประเภทนวตั กรรม 10.2 ประเภทนวตั กรรมตามระดบั และแนวทางการเปล่ียนแปลง มี 3 ประเภท (1) นวตั กรรมแบบค่อยเป็นค่อยไป (incremental innovation) เป็นผลิตภณั ฑ์ บริการ หรือกระบวนการที่มีการเปลี่ยนแปลงในทิศทาง เดิม หรือการเปลี่ยนแปลงแบบปรบั แต่ง (tune) ปรบั ปรงุ (improve) การพฒั นา (development) และวิวฒั นาการ (evolution) เรียกอีกอย่าง หน่ึงว่าเป็นการเปล่ียนแปลงในลาดบั ท่ีหนึ่ง (first-order change)

10. การแบง่ ประเภทนวตั กรรม (ต่อ) 10.2 ประเภทนวตั กรรมตามระดบั และแนวทางการเปล่ียนแปลง (2) นวตั กรรมแบบก้าวกระโดด (radical innovation) เป็นผลิตภณั ฑ์ บริการ หรือกระบวนการท่ีมีการเปล่ียนแปลงใน ทิศทางใหมแ่ บบหน้ามือเป็นหลงั มือ หรือการเปล่ียนแปลงแบบ ไมต่ ่อเนื่อง (discontinuous change) เรียกอีกอย่างหน่ึงว่าเป็น การเปล่ียนแปลงในลาดบั ที่สอง (second-order change และ transformation)

10. การแบง่ ประเภทนวตั กรรม (ต่อ) 10.2 ประเภทนวตั กรรมตามระดบั และแนวทางการเปล่ียนแปลง (3) นวตั กรรมแบบแปลกใหม่ (disruptive innovation) เป็นการเปลี่ยนแปลงของผลิตภณั ฑ์ บริการ หรือกระบวนการที่ เหนือกว่าแบบก้าวกระโดดและนาไปส่กู ารเปล่ียนแปลง ท่ีสร้างความเติบโตให้กบั องคก์ ารอย่างยงั่ ยืน โดยอาศยั การใช้นวตั กรรมท่ีแตกต่างจากผนู้ าตลาด ไม่ว่าจะเป็นเร่ือง เทคโนโลยีหรือการตลาด นวตั กรรมแบบแปลกใหม่

(3) นวตั กรรมแบบแปลกใหม่ (disruptive innovation) (3.1) นวตั กรรมแบบแปลกใหมส่ าหรบั ตลาดระดบั ล่าง (low-end disruption) เป็นการนาเสนอผลิตภณั ฑ์ หรือบริการ แข่งกบั ผ้นู าตลาดโดยสร้างผลิตภณั ฑท์ ี่ใช้งานง่าย กว่าเดิม (simpler) ราคาถกู กว่าเดิม (cheaper) แต่อาจมีความสามารถหรือคณุ ภาพที่ลดลง เลก็ น้อยเม่ือเทียบกบั ผลิตภณั ฑ์ท่ีครองตลาดอยู่ แล้วค่อยๆ พฒั นาให้ดีขึ้นทีละนิ ด และขาย ราคาเพ่ิมอีกนิ ดจนส่วนแบ่งการตลาดเติบโตเพ่ิมมากขึ้นเร่ือยๆ ในท่ีสุดกจ็ ะสามารถพฒั นา ผลิตภณั ฑใ์ ห้เข้ากบั ความต้องการของลูกค้าระดบั บน สามารถเพ่ิมส่วนแบ่งการตลาดจนชนะ ผู้นาตลาดได้ ดงั นัน้ นวตั กรรมแบบแปลกใหม่สาหรบั ตลาดระดบั ล่าง จะเกิดขึ้นได้เม่ือ ผลิตภณั ฑห์ รือบริการนัน้ มีคณุ ลกั ษณะ/ราคา ไม่ตรงกบั ความต้องการของลกู ค้าบางกล่มุ (3.2) นวตั กรรมแบบแปลกใหมส่ าหรบั ตลาดใหม่ (new-market disruption) เป็ นการนาเสนอผลิตภณั ฑ์ หรือบริการท่ีดีกว่าท่ีมีในตลาดเพ่ือตอบสนองความต้องการของ ลกู ค้าท่ียงั ไม่มีค่แู ข่ง

ตวั อย่างนวตั กรรมการศึกษา ประเภท ระดบั /แนวทาง ตวั อย่าง 1. ผลิตภณั ฑ์ 1.1 ค่อยเป็นค่อยไป (1) White board ทางการศึกษา (incremental) (2) บทเรียนสาเรจ็ รปู 1.2 ก้าวกระโดด (program instruction) (radical) (1) smart board (2) web based/E-learning 1.3 แปลกใหม่ (1) magnetic board (disruptive) (2) computer ช่วยสอน (CAI)

ประเภท ระดบั /แนวทาง ตวั อย่าง 2. การบริการ 2.1 ค่อยเป็นค่อยไป (1) การศึกษาผใู้ หญ่ ทางการศึกษา (incremental) (2) การศึกษานอกระบบ (1) โรงเรียนอิสระ (independent school) 2.2 ก้าวกระโดด (2) โรงเรียนเอกชนรบั เงินอดุ หนุน (radical) (charter school) 2.3 แปลกใหม่ (1) มหาวิทยาลยั เปิ ด (disruptive) (2) โรงเรยี นในรปู แบบองคก์ ารมหาชน

ประเภท ระดบั /แนวทาง ตวั อย่าง 3. กระบวน 3.1 ค่อยเป็นค่อยไป (1) การจดั การเรยี นร้โู ดยผเู้ รยี นเป็นศนู ยก์ ลาง (Learner centered) ทางการศึกษา (incremental) (2) การประเมินท่ีแท้จริง (authentic assessment) 2.2 ก้าวกระโดด (1) ห้องเรียนพลิกกลบั (flipped classroom: (radical) turning homework and class time upside down) 2.3 แปลกใหม่ (2) การเรียนแบบสรา้ งความรู้ (constructionist model) (disruptive) (1) การเรียนแบบสรา้ งความรรู้ ว่ มกนั (co-constructionist model) (2) การเรียนร้แู บบจิตตยปัญญาศึกษา (contemplative education)

11. การสร้างนวตั กรรม (1) นวตั กรรม (innovation) = ความคิดสรา้ งสรรค์ + การใช้ให้เป็นประโยชน์ (creativity) (exploitation) (2) วิธีการ 4 วิธี (2.1) การประดิษฐ์ (invention) คอื การสรา้ ง (creation) ผลิตภณั ฑบ์ ริการ หรือ กระบวนการใหม่ (2.2) การขยายผล (extension) คอื การนาผลิตภณั ฑ์ บริการ หรอื กระบวนการที่มีอยู่ ไปประยกุ ตใ์ นวงกวา้ งขึน้ (2.3) การปรบั ใช้ (duplication) คอื การนาผลิตภณั ฑ์ บริการหรือกระบวนการที่มีอย่ไู ป ใช้โดยเพิ่มความคิดสรา้ งสรรคเ์ พ่ือปรบั ปรงุ หรือพฒั นาให้ดียิ่งขึน้ (2.4) การสงั เคราะห์ (synthesis) คอื การนาผลิตภณั ฑ์ บริการ หรอื กระบวนการไป ประยกุ ตใ์ ช้ในลกั ษณะโปรแกรมใหม่