นโยบาย CSR 5 ค�ำ ถาม 32 ความเสี่ยงดา้ นส่ิงแวดล้อม ในการระบคุ วามเสย่ี งทางธรุ กจิ ของฝา่ ยตนเองตอ้ งมเี รอ่ื งความเสย่ี งดา้ นสง่ิ แวดลอ้ มอยดู่ ว้ ย ความเสย่ี งดา้ นสง่ิ แวดลอ้ ม หมายถงึ อะไร? คำ�ตอบ 32 คอื ความเสี่ยงตอ่ ความเสยี หายท่สี งั คมหรือบริษทั จะได้รับจากการดำ�เนินกิจกรรม ด้านสิง่ แวดล้อมอย่างไม่เหมาะสม ในระยะหลงั น้ี บรษิ ทั จ�ำ เปน็ ตอ้ งด�ำ เนนิ การเกนิ กวา่ กฎหมายและขอ้ บงั คบั ตามการยกระดบั ดา้ นจติ ส�ำ นกึ ของผู้ ทม่ี สี ว่ นไดส้ ว่ นเสยี ทเ่ี กย่ี วขอ้ งกบั ปญั หาดา้ นสง่ิ แวดลอ้ มโลก เชน่ การเปดิ เผยขอ้ มลู สง่ิ แวดลอ้ ม การรบั มอื ตอ่ ขอ้ เรยี กรอ้ งของตลาดในเรอ่ื งสารเคมที ม่ี ใี นผลติ ภณั ฑ์ การจดั การรบั มอื เองตอ่ เรอ่ื งการขาดแคลนทรพั ยากร และภาวะโลกรอ้ น ฯลฯ ดงั นน้ั ไมเ่ พยี งแคค่ วามเสย่ี งทเ่ี กย่ี วขอ้ งกบั กฎหมายและระเบยี บขอ้ บงั คบั อยา่ ง เชน่ บทลงโทษเมอ่ื มกี ารละเมดิ และภาระคา่ ใชจ้ า่ ยในการปฏบิ ตั ติ ามกฎหมาย และขอ้ บงั คบั ทใ่ี หค้ วามส�ำ คญั กบั สง่ิ แวดลอ้ มเทา่ นน้ั ยงั จ�ำ เปน็ ตอ้ งค�ำ นงึ ถงึ ความ เสย่ี งในการสญู เสยี โอกาสจากความลา่ ชา้ ในการด�ำ เนนิ การตอ่ การเปลย่ี นแปลง ของแนวโนม้ ตลาดและสง่ิ ทส่ี งั คมตระหนกั ใหค้ วามส�ำ คญั ในดา้ นสง่ิ แวดลอ้ มอกี ดว้ ย คำ�ถาม 33 ผลติ ภณั ฑแ์ ละบริการเพอ่ื ตอบสนองต่อความตอ้ งการดา้ นส่ิงแวดล้อม ไดย้ นิ มาวา่ ไมเ่ พยี งแคเ่ รอ่ื งคณุ ภาพและเรอ่ื งความปลอดภยั เทา่ นน้ั เมอ่ื ออกแบบพฒั นาผลติ ภณั ฑ์ กม็ สี ง่ิ แวดลอ้ มเปน็ ปจั จยั ทส่ี �ำ คญั ดว้ ยเชน่ กนั เราควรพจิ ารณาเรอ่ื งใดบา้ ง? คำ�ตอบ 33 ขอให้พจิ ารณาเร่อื งความตอ้ งการของสังคมทเ่ี กยี่ วข้องกบั ปญั หาสงิ่ แวดลอ้ มโลก ในการส่งมอบผลิตภณั ฑท์ รี่ ับมอื กบั ปญั หาสิง่ แวดลอ้ มโลก (การเปลยี่ นแปลงสภาพภูมิอากาศ การสญู เสยี ทรพั ยากร มลพษิ ทางอากาศ มลพิษทางนำ�้ เปน็ ตน้ ) ออกส่ตู ลาดเป็นการด�ำ เนนิ การท่สี �ำ คญั ในการ มีส่วนรว่ มในการสรา้ งสงั คมทย่ี ง่ั ยนื ด้วยเหตุน้ี จึงจำ�เปน็ ท่ีจะต้องออกแบบผลิตภัณฑ์ทีช่ ่วยลดภาระทาง ด้านส่ิงแวดลอ้ ม (ลดการใช้ทรัพยากร ลดการปลอ่ ยก๊าซเรือนกระจก ลดการปล่อยของเสยี เป็นต้น) ท่ีจะเกิดขึ้นในแต่ละขัน้ ตอนของวงจร ชีวิต (→Q31)หากสามารถสร้างความแตกต่างจากบริษัทอน่ื ในด้านการ ออกแบบและพัฒนาผลิตภณั ฑท์ ร่ี ับมือกบั การเปลย่ี นแปลงสภาพภมู ิ อากาศ การประหยัดทรพั ยากร การท�ำ รไี ซเคลิ ฯลฯ ไดก้ จ็ ะเชือ่ มโยงน�ำ ไปสู่การพัฒนาศกั ยภาพในการแข่งขันในตลาดได้ 48
นโยบาย CSR 5 รายการตรวจสอบการประเมินตนเอง รายการตรวจสอบการประเมินตนเองจะนำ�ไปใชเ้ ปน็ เครอ่ื งมือทีท่ �ำ ให้ CSR ในสว่ นที่เก่ยี วข้องกับพนกั งานแต่ละ คนใหช้ ัดเจนยงิ่ ขึ้น ดูว่ารายการตรวจสอบแต่ละรายการมคี วามเกยี่ วข้องกับหนา้ ทง่ี านของตนหรอื ไม่ และในกรณี ที่มีความเกยี่ วขอ้ ง ใหต้ รวจสอบและตอบค�ำ ตอบต่อไปนล้ี งในช่อง “ประเมินตนเอง” ว่าท่านไดป้ ฏบิ ตั ติ ามหรือไม่ ○: ไดท้ �ำ อยู่ △: มบี างสว่ นทไ่ี มไ่ ดท้ �ำ ×: ไมไ่ ดท้ �ำ ―: ไมไ่ ดเ้ กย่ี วขอ้ งกบั หนา้ ทห่ี รอื งานของตน รายการตรวจสอบ การประเมนิ ถาม-ตอบ (ส่งิ ที่ตอ้ งกระทำ�, ส่ิงทหี่ า้ มกระท�ำ ) ตนเอง ในเร่อื งที่ เกีย่ วข้อง การส่งเสรมิ ผลักดนั การอนรุ ักษ์สงิ่ แวดลอ้ ม Q30 ขา้ พเจ้าไดป้ ระเมนิ ผลกระทบของกิจกรรมทางธุรกจิ ผลติ ภณั ฑแ์ ละบริการทอ่ี าจสง่ ผลต่อสงิ่ แวดลอ้ ม (รับทราบถึงความสญู เปลา่ หรอื ความสญู เสียในการทำ�งาน รับทราบถงึ ผลกระทบตอ่ ส่งิ แวดล้อมในทกุ ขั้นตอนของผลติ ภณั ฑ์ ได้แก่ การผลิต การกระจายสนิ ค้า การใช้ และกำ�จดั ทิ้ง เป็นตน้ ) ข้าพเจา้ พยายามที่จะอนุรักษ์สงิ่ แวดล้อม (เชน่ ป้องกนั มลพษิ ใช้ทรัพยากรอย่างมปี ระสทิ ธิภาพ ลดขยะและกา๊ ซเรอื น กระจก ทำ�รไี ซเคิล เป็นตน้ ) ข้าพเจา้ ได้ดำ�เนนิ การเพือ่ ลดภาระส่ิงแวดล้อมในแตล่ ะข้ันตอนของวงจรชีวิตของ Q31 ผลติ ภัณฑ์และบรกิ าร (การได้มาซ่งึ วตั ถดุ บิ การพัฒนา การออกแบบ การผลิต การขนสง่ การใช้งาน และการก�ำ จัดท้งิ ) ข้าพเจา้ ได้ดำ�เนินมาตรการเพื่อจัดการความเสี่ยงด้านสงิ่ แวดลอ้ ม Q32 (เช่น ควบคมุ ดูแลใหป้ ฏิบตั ติ นตามกฎหมายและระเบยี บข้อบงั คับที่เกี่ยวขอ้ งกบั Q33 สง่ิ แวดล้อม เตรียมการป้องกันและเตรยี มรับมอื กบั อุบตั เิ หตอุ ันอาจนำ�ไปสูม่ ลพิษ ทางสง่ิ แวดลอ้ มไว้ลว่ งหน้า เป็นต้น) การสง่ มอบผลติ ภัณฑ์ทีใ่ ส่ใจส่ิงแวดล้อม พยายามที่จะส่งมอบผลติ ภัณฑ์และบรกิ ารท่ีสอดคล้องต่อความต้องการของ ลูกคา้ และความต้องการด้านสิง่ แวดลอ้ ม (อายใุ ชง้ านทีย่ ืนยาว ประสิทธภิ าพของพลงั งาน ไม่เกดิ อันตราย งา่ ยตอ่ การ บำ�รงุ ดแู ลรักษา และง่ายต่อการน�ำ ไปรีไซเคิล เปน็ ตน้ ) 49
นโยบาย CSR 5 คอลัมน์ ความสญู เสียของสังคมและบรษิ ทั เนื่องจาก การจัดการความเสย่ี งดา้ นส่งิ แวดล้อมท่ไี มเ่ หมาะสม ทีส่ ำ�นักงานของบริษัทเหล็กขนาดใหญ่ (บรษิ ทั C) ได้ปลอ่ ยนำ�้ เสียทม่ี ีไซยาโนเจนหรอื แอลคาไลน์ ทม่ี ีความเข้มข้นเกินมาตรฐานการปล่อยน้�ำ เสีย และไดบ้ ิดเบอื นขอ้ มูลการตรวจวัดน�ำ้ เสียท่รี ายงานต่อ ภาครัฐตลอดระยะเวลาประมาณ 4 ปี จนพฤติกรรมท่เี ลวร้ายน้ีไดถ้ กู เปดิ เผย ผลทเ่ี กิดข้ึนก็คือ พนกั งาน ท้งั 3 คนของบรษิ ทั C ได้รับโทษตอ้ งจา่ ยค่าปรับเป็นเงินจ�ำ นวนมากสำ�หรบั โทษทฝ่ี า่ ฝนื กฎหมายและ ระเบยี บขอ้ บังคับดา้ นคุณภาพนำ�้ นอกจากน้ี สำ�นกั งานดงั กลา่ วไดร้ ับโทษปรบั ทางปกครอง เช่น ถูก ส่ังใหห้ ยุดปล่อยนำ้�เสีย สัง่ หยุดเครอ่ื งจกั รในสถานทที่ เ่ี กย่ี วข้อง จงึ ตอ้ งอยู่ในสภาพทีต่ อ้ งหยุดกจิ การ ประมาณ 1 ปี ซ่ึงเกดิ ความเสยี หายต่อการบรหิ ารงานอย่างมาก สภาพจรงิ ท่ีอยูเ่ บือ้ งหลังการเกดิ เรื่องอือ้ ฉาวน้ี คอื บริษทั ปลอ่ ยใหเ้ ปน็ หนา้ ทข่ี องผูร้ ับผิดชอบดา้ น คุณภาพน�ำ้ และไมไ่ ด้รบั มอื ในการป้องกันการเกดิ มลพิษ (เชน่ มาตรการปอ้ งกนั ปล่อยนำ�้ เสยี เป็นตน้ ) กลา่ วคือ อาจพิจารณาไดว้ ่าเป็นเรื่องท่เี กิดมากจากการความออ่ นแอและการรบั มือในการปอ้ งกัน มลพษิ สิง่ แวดลอ้ มอยา่ งไมม่ ีระบบ และมตี น้ เหตุมาจากการดูแลจัดการความเสยี่ งด้านสง่ิ แวดล้อมท่ีไม่ เหมาะสม ความเส่ยี งดา้ นสง่ิ แวดล้อม หมายถงึ ความเสี่ยงทีบ่ รษิ ัทหรอื สงั คมอาจได้รับอนั มสี าเหตุมาจาก การดำ�เนินการทีไ่ มเ่ หมาะสมต่อส่งิ แวดล้อม ความเส่ยี งด้านส่ิงแวดลอ้ มจะเกดิ ข้นึ จากความผิดพลาด ต่าง ๆ เชน่ ความบกพรอ่ งของผลิตภณั ฑ์และบริการ ความไมส่ มบรู ณ์ของอปุ กรณ์และเคร่ืองจกั ร มาตรการป้องกนั มลพษิ ทีไ่ มเ่ หมาะสม และการปฏิบัตติ ่อกฎหมายและข้อบงั คับท่ีเกีย่ วข้องกบั สงิ่ แวดล้อมทงั้ ในและต่างประเทศอย่างไม่ถกู ต้อง ในกรณีที่ปลอ่ ยเกดิ ปญั หาสงิ่ แวดล้อม อาจเกดิ ความ สูญเสียต่อไปนี้ได้ หมวดหมู่ ตวั อยา่ ง การสญู เสยี การช�ำ ระคา่ ปรบั หรอื ภาษเี พม่ิ เนอ่ื งจากการละเมดิ กฎหมายและขอ้ บงั คบั การระงบั กจิ การ ทางการเงิน ภาระคา่ ใชจ้ า่ ยเพอ่ื การฟน้ื ฟกู ลบั สสู่ ภาพเดมิ การชดเชยความเสยี หายทต่ี อ้ งจา่ ยใหแ้ ก่ บคุ คลท่ี 3 และการสญู เสยี โอกาสในการจ�ำ หนา่ ย การสญู เสีย ทางสังคม ความไวว้ างใจจากผมู้ สี ว่ นไดส้ ว่ นเสยี ลดลง เกดิ ผลกระทบทางลบตอ่ ระบบนเิ วศและ การท�ำ ลายสง่ิ แวดลอ้ มเนอ่ื งจากมลพษิ สง่ิ แวดลอ้ ม การสูญเสีย เกดิ อนั ตรายตอ่ สขุ ภาพหรอื ผคู้ นไดร้ บั บาดเจบ็ หรอื เสยี ชวี ติ (พนกั งาน บคุ คลท่ี 3) ชวี ิตมนุษย์ ขวญั และก�ำ ลงั ใจของพนกั งานลดลง 50
51
นโยบาย CSR 6 กรณีศกึ ษา จะทำ�อยา่ งไรดใี นสถานการณเ์ ชน่ นี้ ? ค�ำ ถาม 34 การสร้างความสัมพนั ธ์และการอยู่รว่ มกนั กับชมุ ชนในท้องถ่ิน ในหลักจรรยาบรรณ CSR ได้ระบุไว้ว่า “จะมุ่งสู่การพัฒนาพรอ้ มกับการร่วมมือกบั ชมุ ชนใน ทอ้ งถ่นิ ” เราควรทำ�อย่างไร? คำ�ตอบ 34 ขอให้สนใจในประเด็นที่ชุมชนท้องถ่ินประสบปญั หาอยู่ และกำ�หนดวา่ จะดำ�เนินการอะไร บรษิ ัทคือสมาชิกของสงั คมและสังคมในท้องถ่นิ ก็เปน็ พื้นฐานให้บริษัทคงอยู่ จากมุมมองนี้ บริษทั จงึ อยู่ รว่ มกบั กับสังคมในทอ้ งถน่ิ ด้วยแนวคดิ ทจี่ ะมีส่วนร่วมในการพัฒนาชมุ ชนท้องถนิ่ ในฐานะสมาชกิ ของ ชมุ ชน การมสี ว่ นรว่ มของบริษัทตอ่ ชมุ ชนในท้องถ่ินมีหลากหลายรูปแบบ เชน่ การช่วยเหลือดา้ นการ เงนิ การเตรยี มรากฐานทางสงั คม การสนบั สนุนช่วยเหลือด้านการศึกษา วัฒนธรรม และการกีฬา และการอนุรักษส์ ง่ิ แวดล้อม เป็นต้น ขอให้มุง่ ไปสู่การเปน็ บริษัททไี่ ด้รบั ความไวว้ างใจจากสงั คมดว้ ยการแก้ไข ปญั หาทชี่ มุ ชนท้องถ่ินประสบโดยเคารพในประเพณีและวัฒนธรรนใน ทอ้ งถ่นิ คำ�ถาม 35 การสรา้ งความสมั พนั ธแ์ ละการอยู่รว่ มกนั กบั ชมุ ชนในทอ้ งถน่ิ ขา้ พเจา้ ไดพ้ ูดคุยกนั ถึงการมสี ่วนรว่ มต่อชุมชนในท้องถ่นิ ภายในฝ่าย มบี างความเห็นที่วา่ กจิ กรรมอาสาสมคั รโดยการท�ำ ความสะอาดบริเวณโดยรอบโรงงานก็ เพียงพอแล้ว ควรพจิ ารณาในแง่มมุ มองใดดี? คำ�ตอบ 35 การมีส่วนรว่ มตอ่ สังคมในท้องถ่นิ ผ่านผลิตภณั ฑ์ บรกิ ารและกจิ กรรมทางธุรกจิ ของบริษัทเรา เปน็ สงิ่ ส�ำ คัญ จรงิ อยทู่ ว่ี า่ การท�ำ ความสะอาดบรเิ วณโดยรอบโรงงาน การสนบั สนนุ ดา้ นวฒั นธรรมหรอื กฬี ากถ็ อื เปน็ กจิ กรรมบ�ำ เพญ็ ประโยชนต์ อ่ สงั คมในทอ้ งถน่ิ แตก่ ารพฒั นาทางเศรษฐกจิ ของสงั คมในทอ้ งถน่ิ หรอื การ แกไ้ ขปญั หาของสงั คมในทอ้ งถน่ิ ผา่ นกจิ กรรมการด�ำ เนนิ งานของเราเองก็ เปน็ เรอ่ื งทม่ี คี วามส�ำ คญั ดว้ ยเชน่ เดยี วกนั ขอใหร้ ว่ มกนั ผลกั ดนั ไปสกู่ ารด�ำ เนนิ การใหบ้ รษิ ทั กบั สงั คมในทอ้ งถน่ิ เตบิ โตไปพรอ้ มกนั เชน่ ผลกั ดนั การจา้ งงานในทอ้ งถน่ิ ขยายกจิ การกบั คคู่ า้ ทางธรุ กจิ ในทอ้ งถน่ิ รบั มอื กบั โครงสรา้ งพน้ื ฐานทไ่ี มแ่ ขง็ แกรง่ หรอื ทอ้ งถน่ิ ทจ่ี า่ ยกระแสไฟฟา้ ไมเ่ สถยี รผา่ นการสง่ มอบผลติ ภณั ฑแ์ ละความ ชว่ ยเหลอื ทางเทคโนโลยขี องบรษิ ทั เรา ฯลฯ 52
นโยบาย CSR 6 รายการตรวจสอบการประเมินตนเอง รายการตรวจสอบการประเมนิ ตนเองจะนำ�ไปใช้เป็นเคร่ืองมอื ที่ทำ�ให้ CSR ในส่วนทเ่ี กย่ี วขอ้ งกบั พนักงานแต่ละ คนให้ชัดเจนยง่ิ ขึ้น ดวู ่ารายการตรวจสอบแต่ละรายการมีความเกี่ยวขอ้ งกบั หน้าทีง่ านของตนหรือไม่ และในกรณี ทีม่ คี วามเกี่ยวข้อง ให้ตรวจสอบและตอบค�ำ ตอบต่อไปนีล้ งในช่อง “ประเมินตนเอง” วา่ ท่านได้ปฏบิ ัติตามหรือไม่ ○: ไดท้ �ำ อยู่ △: มบี างสว่ นทไ่ี มไ่ ดท้ �ำ ×: ไมไ่ ดท้ �ำ ―: ไมไ่ ดเ้ กย่ี วขอ้ งกบั หนา้ ทห่ี รอื งานของตน รายการตรวจสอบ การประเมิน ถาม-ตอบ (สิง่ ท่ตี ้องกระท�ำ , ส่ิงทหี่ า้ มกระท�ำ ) ตนเอง ในเรือ่ งที่ เกยี่ วข้อง การมสี ว่ นร่วมในการพฒั นาชุมชนทอ้ งถิ่นอย่างย่งั ยืน ข้าพเจา้ พยายามด�ำ เนินกิจกรรมทางธุรกิจโดยคำ�นึงถึงวฒั นธรรมและ Q34 ประเพณีในทอ้ งถ่ินและมสี ่วนรว่ มในการพฒั นาชุมชนในท้องถิน่ Q35 (เชน่ ด�ำ เนินการแกไ้ ขปญั หาสงั คมที่ท้องถิ่นประสบอยู่ สนบั สนนุ การจดั ซอื้ ในพื้นท่ี ฯลฯ) การใช้ทรัพยากรมนุษย์ในทอ้ งถ่ิน ขา้ พเจา้ ใช้ทรัพยากรมนุษย์ในท้องถ่ินอย่างกระตอื รือรน้ Q34 Q35 53
นโยบาย CSR 6 คอลัมน์ การมสี ว่ นร่วม ในการพัฒนาชมุ ชนท้องถ่ินอยา่ งย่งั ยืน ในกจิ กรรมที่มสี ่วนร่วมในการพัฒนาสงั คมท้องถน่ิ อยา่ งย่งั ยืน การมุง่ เนน้ ไปท่ีประเดน็ ปัญหา ทช่ี มุ ชนทอ้ งถนิ่ ประสบอยู่เปน็ ส่ิงส�ำ คัญ การก�ำ หนดปัญหาสังคมในท้องถิ่นโดยเคารพและคำ�นึงถึง วฒั นธรรมและประเพณใี นท้องถิ่นและการดำ�เนินการแก้ไขปัญหาผา่ นความร่วมมอื กบั NPO หรือ NGO ฯลฯ และหนว่ ยงานปกครองในทอ้ งถิน่ เป็นเรอ่ื งทสี่ ังคมคาดหวงั ตัวอยา่ งเช่น การก�ำ หนด กจิ กรรมทบ่ี ริษทั จะดำ�เนินการต่อหัวเรื่องตอ่ ไปน้ี หวั เรื่อง ตวั อยา่ งของการดำ�เนนิ การ สวัสดิการสังคม สง่ เสริมการมีส่วนร่วมในสงั คมและใหผ้ ู้ทอ่ี ยู่ในสถานะทีอ่ ่อนแอทางสังคมสามารถยืนหยัดได้ สขุ ภาพ กฬี า กจิ กรรมท่ีน�ำ ไปสกู่ ารส่งเสรมิ สุขภาพของพลเมืองในทอ้ งถน่ิ และความร่วมมอื ท่ีจะสร้าง นกั กฬี าประเภทต่าง ๆ การวจิ ยั ทางวชิ าการ การสนับสนนุ การวิจัยทนี่ ำ�ไปสกู่ ารแก้ไขปัญหาสงั คม การศึกษา การจดั หาสอ่ื การเรยี นการสอน และสง่ อาจารยไ์ ปยงั โรงเรยี น ศิลปวัฒนธรรม การบรจิ าคและเปน็ สปอนเซอรส์ นบั สนนุ ใหม้ โี อกาสชมศลิ ปวฒั นธรรมทห่ี ลากหลาย การอนรุ ักษ์ระบบนิเวศและสนบั สนุนการแก้ไขปญั หาสิ่งแวดล้อมท่โี ลกเผชญิ อยู่ ส่ิงแวดล้อม (เชน่ มลพิษ เป็นต้น) การแลกเปลย่ี นและความรว่ มมอื การสนันสนนุ ตอ่ การพัฒนาของประเทศก�ำ ลงั พฒั นา กจิ กรรมแลกเปลีย่ นเยาวชน ระหวา่ งประเทศ การสนบั สนนุ ชว่ ยเหลอื พน้ื ท่ี การบรจิ าคเงินเพ่อื บรรเทาทุกข์ การชว่ ยเหลอื ในกิจกรรมอาสาสมัครภยั พิบัติ ประสบภยั (เช่น จัดใหใ้ ชพ้ ้ืนทภี่ ายในบรษิ ทั เป็นที่อพยพหนภี ยั เปน็ ต้น) บรษิ ัทผู้ผลิตสารเคมแี บบครบวงจร (บรษิ ทั D) คดิ วา่ เทคโนโลยีของบริษทั เราจะทำ�ประโยชนใ์ ห้ กับเด็ก ๆ ในแอฟรกิ าที่ทนทกุ ข์ทรมานกบั โรคมาลาเรยี ไดบ้ า้ งหรอื ไม่ โรคมาลาเรยี เปน็ โรคติดต่อท่ีมี ยุงก้นปอ่ งเปน็ พาหะนำ�โรค และหากไม่ได้รบั การรักษาอย่างถกู ตอ้ งแต่เนน่ิ ๆ อาการก็อาจทรดุ หนกั ภายในระยะเวลาอันสนั้ และอาจอาจถึงกับสญู เสยี ชีวติ ได้ บริษัท D ไดว้ ิจัยและพฒั นาอย่างตอ่ เนอ่ื งจน ในท่สี ุดสามารถทจี่ ะพฒั นามุง้ ท่ีมียากนั ยุงค่อย ๆ ซึมทัว่ พ้ืนผิวทำ�ให้มีประสิทธิภาพกันยุงในระยะยาว ประสิทธิภาพดงั กล่าวนี้ได้รับการยอมรับจากองคก์ ารอนามัยโลก (WHO) และองค์กรนานาชาติรวมท้งั องค์การทุนเพ่อื เด็กแหง่ สหประชาชาติ (UNICEF) ก็ไดจ้ ดั สง่ มุ้งดังกลา่ วไปยังประเทศตา่ ง ๆ อีกเป็น จ�ำ นวนมาก นอกจากนี้ บรษิ ทั D ยงั ไดน้ ำ�ผลกำ�ไรทไ่ี ดร้ ับจากการดำ�เนินงานไปใช้ประโยชน์ในกิจกรรม สนบั สนนุ ช่วยเหลอื ด้านการศกึ ษา (เชน่ สร้างอาคารเรยี นของโรงเรยี นประถมและมัธยมศกึ ษาตอนต้น ในท้องถนิ่ เปน็ ตน้ ) การเลือกการดำ�เนนิ การใหบ้ ริษัทและสังคมเตบิ โตไปพร้อมกนั ได้โดยค�ำ นึงทรพั ยากรในการ บรหิ ารงาน เนอื้ หากจิ การ ปรัชญาการบรหิ ารงานของบรษิ ัทเราหลงั จากทราบความต้องการของผูม้ ี ส่วนได้สว่ นเสียตอ่ ประเดน็ สังคมในทอ้ งถน่ิ ของบริษัทเปน็ เรือ่ งท่มี ีความส�ำ คัญ 54
55
นโยบาย CSR 7 กรณศี ึกษา จะทำ�อยา่ งไรดีในสถานการณเ์ ชน่ น้ี ? คำ�ถาม 36 การจดั ซื้อ CSR ไดย้ นิ มาวา่ จะรว่ มกันผลักดนั ส่งเสริม CSR กับคคู่ า้ ทางธุรกจิ ท�ำ ไมบริษทั จ�ำ เป็นต้องพัฒนา CSR ในห่วงโซ่อปุ ทานดว้ ย? คำ�ตอบ 36 เพราะการผลักดันส่งเสริม CSR รว่ มกนั กบั หว่ งโซ่อปุ ทานจะเป็นการส่งเสริมการแกไ้ ขปญั หา สงั คมได้ CSR หมายถึง การจดั การดว้ ยความรับผดิ ชอบต่อผลกระทบของกจิ กรรมทางธุรกจิ ท่จี ะส่งผลตอ่ สังคม กจิ กรรมการจัดซอ้ื กร็ วมอยูใ่ นเร่ืองนี้ดว้ ย โดยเฉพาะอยา่ งยงิ่ ส�ำ หรับบริษัททข่ี ยายกิจการไปทัว่ โลก มหี น้าทรี่ บั ผดิ ชอบส�ำ คัญในการรับมืออย่างเหมาะสมตอ่ ปัญหาทางสงั คม (เชน่ สิทธิมนุษยชน ความ ปลอดภัยและอาชวี อนามยั ส่งิ แวดลอ้ ม Compliance (การปฏบิ ัติตามระเบยี บขอ้ บงั คบั ) เปน็ ตน้ ) ที่แฝงอยใู่ นห่วงโซ่อปุ ทานของแตล่ ะประเทศในโลก หากการรบั มอื ต่อส่ิง เหล่าน้ไี มส่ มบูรณ์ อาจกอ่ ให้เกดิ กระแสวพิ ากษว์ ิจารณอ์ ยา่ งรุนแรง หรอื น�ำ ไปสู่การคว่ำ�บาตรไมซ่ ือ้ สนิ ค้าจากลกู ค้า ผู้บรโิ ภค หรอื NGO ฯลฯ ได้ หากบรษิ ัทท่ัวโลกท�ำ CSR ทวั่ ทั้งหว่ งโซอ่ ุปทานกจ็ ะเป็นก�ำ ลังส�ำ คญั ใน การแกไ้ ขปญั หาสังคม. คำ�ถาม 37 การจัดซอ้ื CSR เราตดั สินใจส�ำ รวจสถานการณก์ ารรับมือต่อ CSR ของคูค่ ้าทางธุรกจิ ในฐานะท่เี ป็นเรือ่ งหน่ึง ของการจดั ซื้อ CSR การจัดซื้อ CSR น้ันแตเ่ ดมิ หมายถึง การทำ�กจิ กรรมอะไร? คำ�ตอบ 37 เปน็ กิจกรรมทเ่ี รารว่ มมือกบั คคู่ ้าทางธุรกิจในการลดความเสีย่ ง CSR รกั ษาแบรนด์ของ บริษัท และเพิม่ มลู คา่ ให้แก่องคก์ ร การจัดซอื้ CSR คือ กจิ กรรมผลกั ดนั สง่ เสรมิ CSR โดยรวมในห่วงโซอ่ ุปทานเมอ่ื มีการจัดหา วัตถุดบิ ทรัพยากร ผลติ ภณั ฑ์ ฯลฯ ซึง่ ไดข้ ยายการด�ำ เนินการองค์ประกอบหลักของ CSR (เชน่ สทิ ธมิ นุษยชน ความปลอดภัยและอาชวี อนามัย สิง่ แวดล้อม Compliance (การปฏบิ ัตติ ามระเบยี บ ข้อบังคับ) เป็นต้น) นอกเหนือจากก�ำ หนดส่งมอบ ราคา และคณุ ภาพ ซง่ึ มีอย่เู ดิม ในการเพมิ่ ประสิทธิภาพการจดั ซอ้ื CSR เราไม่ควรบงั คบั ใหค้ คู่ า้ ทางธุรกิจทำ�กจิ กรรม CSR แต่ควรร่วมมือกบั คคู่ ้าทางธุรกจิ ดำ�เนินการลดความเสย่ี ง CSR เพ่มิ มูลค่าขององคก์ ร และม่งุ ไปสู่ ความเตบิ โตไปด้วยกนั 56
นโยบาย CSR 7 รายการตรวจสอบการประเมินตนเอง รายการตรวจสอบการประเมินตนเองจะน�ำ ไปใชเ้ ป็นเครอ่ื งมือท่ีทำ�ให้ CSR ในสว่ นทเี่ ก่ียวขอ้ งกับพนกั งานแต่ละ คนใหช้ ัดเจนยิง่ ข้ึน ดวู า่ รายการตรวจสอบแตล่ ะรายการมีความเกีย่ วขอ้ งกบั หน้าท่ีงานของตนหรอื ไม่ และในกรณี ทม่ี คี วามเก่ียวขอ้ ง ใหต้ รวจสอบและตอบคำ�ตอบตอ่ ไปน้ลี งในช่อง “ประเมนิ ตนเอง” วา่ ทา่ นไดป้ ฏบิ ตั ติ ามหรอื ไม่ ○: ไดท้ �ำ อยู่ △: มบี างสว่ นทไ่ี มไ่ ดท้ �ำ ×: ไมไ่ ดท้ �ำ ―: ไมไ่ ดเ้ กย่ี วขอ้ งกบั หนา้ ทห่ี รอื งานของตน รายการตรวจสอบ การประเมนิ ถาม-ตอบ (ส่งิ ทตี่ อ้ งกระทำ�, ส่งิ ทห่ี ้ามกระท�ำ ) ตนเอง ในเร่ืองท่ี เกย่ี วข้อง การสง่ เสริมผลกั ดันการจัดซอ้ื CSR ข้าพเจ้าได้แจ้งให้คคู่ ้าทางธรุ กจิ รบั ทราบแนวทางปฏบิ ัตใิ นการจดั ซ้อื CSR และ Q36 ขอความรว่ มมอื ในการดำ�เนนิ การทีเ่ หมาะสมตามแนวทางนี้ ขา้ พเจา้ ไดค้ ัดเลือกคคู่ ้าทางธุรกิจโดยประเมินจากคณุ ภาพ ราคาและ ก�ำ หนด Q37 ส่งมอบ รวมทง้ั องค์ประกอบหลกั ของ CSR (สิทธิมนุษยชน ความปลอดภัยและ อาชวี อนามยั สงิ่ แวดลอ้ ม และ Compliance (การปฏบิ ัตติ ามระเบียบขอ้ บังคบั ) ฯลฯ เป็นต้น) 57
นโยบาย CSR 7 คอลมั น์ การด�ำ เนนิ การตอ่ ความเสีย่ ง CSR ที่แฝงอย่ใู นหว่ งโซอ่ ปุ ทาน การขยายกจิ กรรมทางธรุ กจิ ส่รู ะดบั สากลในระยะหลงั น้ี ท�ำ ให้ผลกระทบของบริษทั ทัง้ ในและตา่ ง ประเทศทีม่ ีต่อสงั คมเร่มิ มมี ากข้นึ ดังน้นั จงึ เร่ิมมกี ารเรยี กรอ้ งอยา่ งมากใหด้ ำ�เนนิ CSR ต่อห่วงโซ่ อปุ ทาน ซึ่งไมจ่ �ำ กัดเพียงแค่บริษทั เราเท่าน้นั ผผู้ ลติ เครอ่ื งกีฬาในสหรัฐอเมรกิ า (บรษิ ัท E) ซ่ึงขยายธุรกิจท่ัวโลก ด�ำ เนนิ การออกแบบและ พฒั นาผลติ ภณั ฑ์ทบ่ี รษิ ทั และไดม้ อบหมายการผลิตให้กบั โรงงานในประเทศก�ำ ลังพัฒนาเพื่อเปน็ การ ลดตน้ ทนุ แม้ว่ารูปแบบธุรกจิ ขา้ งต้นท�ำ ให้บรษิ ทั E ไดร้ บั ผลกำ�ไรมหาศาล แต่ในความเป็นจริงแลว้ เปน็ การผลติ ทเี่ กดิ ขนึ้ จากการแสวงหาผลประโยชน์จากผ้ใู ชแ้ รงงาน วันหน่งึ บรษิ ัท E พบวา่ ท่โี รงงาน ของค่คู ้าทางธรุ กิจในเอเชยี ตะวันออกเฉยี งใตท้ ่บี ริษัทตนไดม้ อบหมายใหผ้ ลติ มกี ารใชแ้ รงงานเดก็ การ ท�ำ งานติดต่อกนั นานหลายช่วั โมง การใช้แรงงานค่าแรงต่�ำ ฯลฯ ทำ�ให้องค์กรตา่ ง ๆ ในสหรัฐอเมรกิ า เช่น NGO ไดว้ พิ ากษว์ ิจารณ์ถงึ หนา้ ที่ความรบั ผดิ ชอบต่อสังคมของบรษิ ทั E ส่ิงน้ีเปน็ ตน้ เหตทุ ท่ี ำ�ให้ ท่ัวโลกเกดิ การประท้วงไม่ซอื้ ผลิตภัณฑข์ องบรษิ ทั E ซึ่งทำ�ให้บริษัท E ไดร้ บั ผลกระทบอย่างมาก ผูผ้ ลติ เครอ่ื งใชไ้ ฟฟา้ ชน้ั น�ำ ในประเทศญีป่ ุ่น (บริษทั F) กับบรษิ ทั ผผู้ ลิตเคร่อื งใชไ้ ฟฟ้าในบา้ น แบบครบวงจร (บริษัท G) ในประเทศเกาหลีใตต้ า่ งก็กำ�ลงั เผชญิ ปัญหาการละเมิดสทิ ธมิ นุษยชนตอ่ แรงงานชาวตา่ งชาติทที่ ำ�งานท่ีโรงงานของคคู่ า้ ทางธุรกจิ ทีต่ งั้ อยู่ในเอเชยี ตะวนั ออกเฉียงใต้ ท่ีโรงงาน แหง่ นจี้ า้ งแรงงานชาวต่างชาติผา่ นบรษิ ัทจดั หางาน แรงงานจ�ำ นวนหนงึ่ ได้ถกู บังคบั ให้ท�ำ งานเกินกว่า 12 ช่วั โมงตอ่ วนั และแรงงานถูกจัดให้พักรวมกันอยู่ในหอ้ งพกั ท่ีสกปรกห้องละ 14 คน มีแรงงานคน หนึง่ รอ้ งเรียนว่า “ลาออกไม่ได้เนอ่ื งจากถูกยึดหนงั สอื เดนิ ทาง และถูกบงั คับให้จา่ ยเงินค่าปรบั เป็น เงนิ จำ�นวนมากส�ำ หรับการกลบั ประเทศก่อนหมดสญั ญา” เมื่อความเป็นจรงิ ดงั กลา่ วนถี้ ูกเปิดเผยผ่าน ส่ือไปท่วั โลก บรษิ ัทท้งั สองแห่งจึงถูกสังคมวิพากษ์วจิ ารณ์ ต่อมาท้ังสองบริษัทจงึ ไดเ้ ริ่มทำ�การส�ำ รวจ ซพั พลายเออร์ขนาดใหญเ่ กย่ี วกบั สภาพจริง เช่น สภาพแวดลอ้ มในการท�ำ งานทแ่ี ย่และการละเมิดสิทธิ มนุษยชนต่อแรงงาน เราควรตระหนักวา่ การทไ่ี ม่ได้มกี ารพัฒนาการด�ำ เนินการ CSR ในห่วงโซ่อปุ ทานอาจท�ำ ให้ตอ้ ง สญู เสียผลประโยชนม์ หาศาล และยังตอ้ งตกอยภู่ ายใต้ความยากล�ำ บาก 58
คูม่ ือ CSR ของ กลมุ่ บริษทั ยเี อส ยัวซา่ ฉบับที่ 1 พมิ พค์ รงั้ ที่ 1 เดือนธนั วาคม ปี ค.ศ. 2018 จัดพิมพ์โดย หน่วยงาน CSR บริษัท ยเี อส ยวั ซ่า อินเตอร์เนชั่นแนล จำ�กัด 1, อโิ นะบนั บะ-โจ, นิชโิ นะโช, คิโชอนิ , มนิ าม-ิ ค,ุ กรงุ เกยี วโต บรรณาธิการ คณะกรรมการ CSR ของกลุ่มบรษิ ัท ยเี อส ยวั ซ่า หา้ มทำ�ซ้ำ�หรอื คดั ลอกโดยไม่ได้รบั อนญุ าต ©2018 สงวนลขิ สิทธ์ิโดย บริษัท ยีเอส ยัวซ่า อนิ เตอร์เนช่นั แนล จำ�กัด
Search