Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore วารสารวิชาการ โรงเรียนโพนทองพัฒนาวิทยา ปีการศึกษา 2561

วารสารวิชาการ โรงเรียนโพนทองพัฒนาวิทยา ปีการศึกษา 2561

Published by jaturapad, 2021-07-12 00:25:50

Description: วารสารวิชาการ โรงเรียนโพนทองพัฒนาวิทยา ปีการศึกษา 2561

Search

Read the Text Version

บทบรรณาธิการ โรงเรียนโพนทองพัฒนาวิทยา กาหนดวิสัยทัศน์ “ เป็นองค์กรแห่งการเรียนรู้ มุ่งสู่ มาตรฐานสากล สรา้ งผลติ ผลตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง ” และมพี ันธกจิ ทีส่ าคญั คอื มงุ่ พัฒนาผู้เรียน ให้มีความรู้ มีคุณลักษณะอันพึงประสงค์ และสมรรถนะตามหลักสูตร บนพ้ืนฐาน หลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง พัฒนาผู้บริหาร และครู ให้มีคุณภาพตามมาตรฐานวิชาชีพ ซึ่ง โรงเรียนไดม้ กี ารดาเนินงานอยา่ งหลากหลาย ดงั จะเห็นไดจ้ ากผลงานนักเรยี น และผลงานครู ในดา้ น ต่างๆ ไม่ว่าจะเป็น การแข่งขันงานมหกรรมความสามารถทางศิลปหัตถกรรม วิชาการ และ เทคโนโลยี ระดับชาติ หรือกจิ กรรมอื่นๆ ท่จี ัดข้ึนภายในโรงเรียน เพ่ือเป็นการนาเสนอความรู้ทางวิชาการ และ เผยแพร่ผลงานทางวิชาการของนักเรียน ครู และผู้บริหาร โรงเรียนจึงจัดทา วารสารวิชาการ ปีที่ 1 ฉบับที่ 1 ข้ึน ภายในเล่ม ประกอบไปด้วย บทความทางวชิ าการ 4 บทความ คอื บทความ ปจั จัยทีส่ ง่ ผลต่อความเปน็ พลเมืองโลกอย่างย่ังยืน ของนักเรียนโรงเรียนโพนทองพัฒนาวิทยา เป็นบทความเกี่ยวกับ ปัจจัยที่ส่งผลต่อการมีส่วนร่วม เป็นส่วนหนึ่งของมนุษยชาติ ความเข้าใจทางวัฒนธรรม สานึกพลเมืองโลกแบบศตวรรษที่ 21 บทความ การพัฒนาความสามารถการคิดแก้ปัญหาทางวิทยาศาสตร์ ในวิชาการศึกษาค้นคว้า อิสระ (IS) ของนักเรียนช้ันมัธยมศึกษาปีท่ี 2 โดยใช้แบบฝึกทักษะ และการจัดการเรียนรู้ตาม แนว Active Learning เป็นบทความงานวิจัย เพ่ือเปรียบเทียบการคิดแก้ปัญหาทางวิทยาศาสตร์ ของนักเรียนช้ันมัธยมศึกษาปีที่ 2 ที่เรียนโดยใช้แบบฝึกทักษะการแก้ปัญหาทางวิทยาศาสตร์และ การเรียนรู้ตามแนว Active Learning บทความ การใช้ทักษะการเขียนภาษาอังกฤษเพ่ือ พฒั นาการคดิ วิเคราะห์ความรู้ในรายวชิ า สังคมศึกษา ศาสนาและวฒั นธรรม สาระภมู ศิ าสตร์ เป็น บทความงานวิจัย การพัฒนาความสามารถในการเขียนภาษาอังกฤษ เรื่องความหมายและ ความสาคญั ของเศรษฐศาสตร์ สาหรบั นกั เรยี นระดับชัน้ มธั ยมศึกษาปที ่ี 1 และ บทความของนักเรียน เร่ือง หมดราคาญ รู้ฉับไว ด้วย LED และภูมิปัญญาไทยดักหนู เป็นบทความโครงงานสะเต็ม ที่นา ภมู ปิ ญั ญาทอ้ งถน่ิ และความรทู้ างวิทยาศาสตร์มาประดษิ ฐ์เคร่ืองดกั หนู โดยไมใ่ ชส้ ารเคมี สุดท้ายนี้ กองบรรณาธิการหวังเป็นอย่างย่ิงว่า วารสารวิชาการฉบับแรกฉบับนี้ จะเป็น ประโยชนก์ ับนักเรยี น ครู และผบู้ ริหารไมม่ ากก็น้อย กองบรรณาธิการ

สารบญั 1 ปัจจัยทีส่ ง่ ผลตอ่ ความเป็นพลเมืองโลกอย่างยง่ั ยืน ของนกั เรยี นโรงเรียนโพนทองพัฒนาวิทยา 17 การพฒั นาความสามารถการคดิ แก้ปัญหาทางวิทยาศาสตร์ ในวิชาการศึกษาค้นควา้ อิสระ (IS) ของนกั เรียนชน้ั มัธยมศึกษาปที ี่ 2 โดยใช้แบบฝกึ ทักษะ และการจัดการเรียนรู้ตามแนว Active Learning 34 การใชท้ กั ษะการเขียนภาษาองั กฤษเพอื่ พัฒนาการคิดวเิ คราะหค์ วามรู้ในรายวชิ า สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม สาระภมู ิศาสตร์ เร่ือง ความหมายและความสาคัญ ของเศรษฐศาสตร์ สาหรับนกั เรียนระดับช้ันมัธยมศกึ ษาปีท่ี 1 โรงเรยี นโพนทองพัฒนาวทิ ยา อาเภอโพนทอง จงั หวัดร้อยเอ็ด 44 หมดราคาญ รฉู้ บั ไว ดว้ ย LED และภูมปิ ัญญาไทยดักหนู ทีป่ รึกษา นายเทดิ ทนู สจุ ารี ผ้อู านวยการโรงเรยี นโพนทองพัฒนาวทิ ยา นางสาววิไลภรณ์ เตชะ รองผู้อานวยการกลมุ่ บริหารงานวิชาการโรงเรยี นโพนทองพัฒนาวทิ ยา กองบรรณาธิการ นางสรุ นิ ธร วังคะฮาด ,นางลดั ดา สีนางกุ, นางสาวชลดา ตะกะศลิ า นายสทิ ธิพร ผกากลีบ, นางสาวณฐั วรรณ วมิ ลพล

ปจั จยั ทีส่ ่งผลต่อความเป็นพลเมอื งโลกอย่างยั่งยนื ของนักเรยี น โรงเรยี นโพนทองพัฒนาวิทยา สานกั งานเขตพื้นทีก่ ารศกึ ษามัธยมศกึ ษา เขต 27 Factors Affecting Sustainable Global Citizenship of Student in Phontongpattanawitaya School, The Secondary Education Secondary Education Service Area Office 27 วิไลภรณ์ เตชะ1, ลัดดา สีนางกุ2, ชลดา ตะกะศิลา3 1รองผูอ้ านวยการฝา่ ยวชิ าการ 2,3 ครู โรงเรียนโพนทองพัฒนาวิทยา สานักงานเขตพน้ื ทก่ี ารศึกษามธั ยมศึกษา เขต 27 บทคัดย่อ การวิจัยครั้งน้ีมีวัตถุประสงค์ เพ่ือ 1) ศึกษาระดับปัจจัยเชิงสาเหตุและระดับความเป็น พลเมืองโลกอย่างย่ังยืนของนักเรียนโรงเรียนโพนทองพัฒนาวิทยา สานักงานเขตพ้ืนที่การศึกษา มัธยมศึกษา เขต 27 และ 2) เพื่อศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างปัจจัยเชิงสาเหตุกับความเป็นพลเมือง โลกอย่างย่ังยืนของนักเรียน กลุ่มตัวอย่างท่ีใช้ในการศึกษาคร้ังนี้ คือ นักเรียน จานวน 396 คน ได้มา โดยวิธีการสุ่มแบบหลายข้ันตอน เครื่องมือท่ีใช้ในการวิจัยเป็นแบบสอบถาม แบ่งออกเป็น 3 ตอน ประกอบด้วย ตอนท่ี 1 แบบสอบถามข้อมูลทั่วไปมีลักษณะเป็นแบบตรวจสอบรายการ ตอนที่ 2 แบบสอบถามวัดระดับความเป็นพลเมืองโลกอย่างยั่งยืน เป็นแบบมาตรวัดประเมินค่า 5 ระดับ และ ตอนที่ 3 แบบสอบถามวัดปัจจัยท่ีส่งผลต่อความเป็นพลเมืองโลกอย่างย่ังยืนตามการรับรู้ของตนเอง ลกั ษณะเคร่ืองมอื เป็นแบบมาตรวดั ประเมินค่า 5 ระดับ วเิ คราะห์ข้อมลู โดยใช้โปรแกรมสาเรจ็ รปู ใน การวิเคราะห์หาค่าเฉลี่ย และส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน (S.D) และวิเคราะห์หาค่าสัมประสิทธิ สหสัมพันธ์ของเพียร์สัน ตัวแปรท่ีศึกษาได้แก่ ความรู้เชิงลึก ยึดม่ันประชาธิปไตย ใส่ใจ สิ่งแวดล้อม ความยุติธรรม และความรับผิดชอบต่อสังคม การวิเคราะห์ข้อมูลใช้โปรแกรมสาเร็จรูป วิเคราะห์สถิติเชิงบรรยาย ได้แก่ ร้อยละ ค่าเฉล่ีย ส่วนเบ่ียงเบนมาตรฐาน และสัมประสิทธิ์ สหสัมพันธ์ของเพียร์สัน ผลการวิจัย พบว่า 1) ระดับความเป็นพลเมืองโลกอย่างย่ังยืนของนักเรียน อย่ใู นระดับปานกลาง 2) ตัวแปรทกุ ตวั มีความสมั พันธ์ทางบวกโดยมีคา่ สมั ประสิทธิ์สหสัมพันธ์ (r) อยู่ ระหว่าง 0.263 ถึง 0.869 แสดงให้เห็นว่าลักษณะความสัมพันธ์ของตัวแปรที่ศึกษาเป็นความสัมพันธ์ เชิงเส้นตรง เมื่อพิจารณาค่าสัมประสิทธ์ิสหสัมพันธ์ระหว่างตัวแปรสังเกตได้ท่ีสัมพันธ์กันในตัวแปร แฝงเดยี วกนั พบวา่ คู่ที่มคี า่ สัมประสิทธิ์สหสัมพนั ธ์สูงสดุ ไดแ้ ก่ ความยตุ ิธรรมกับยึดมั่นประชาธิปไตย 1

มีคา่ สมั ประสิทธสิ์ หสัมพันธ์ (r) เทา่ กบั 0.869 เม่ือพจิ ารณาค่าสัมประสทิ ธิ์สหสัมพันธ์ระหว่างตัวแปร สงั เกตของความเป็นพลเมืองโลกอย่างย่ังยืน พบวา่ ตัวแปรยึดมน่ั ประชาธปิ ไตย กับความรับผิดชอบต่อ สังคมโลก มีความสัมพันธ์กันในระดับมาก มีค่าสัมประสิทธ์ิสหสัมพันธ์ (r) เท่ากับ .613 อย่างมี นัยสาคัญท่ีระดับ .01 ABSTRACT The objective of this study was to 1) Study level of Sustainable Global Citizenship of PhontongPattanaWittaya School’s students. 2) Study relationship between causal factors of hypothesis model were developed for Sustainable Global Citizenship of students. The collecting data is analyze with computer programming. The research sample consisted of 396 students of PhontongPattanaWittaya School. All data recorded including secondary school location and populations were selected by multi-stage random sampling. The instrument was divided into 3 parts namely; a checklist, questionnaires to measures the level of Sustainable Global Citizenship behavior., and questionnaires to measure factors that influence Sustainable Global Citizenship as perceived by themselves. The instrument was rated 5 scales. The data analysis program was used to determine the theoretical model conformance of the empirical model with the empirical data that showed the relationship between the observation variable and the latent variable by confirmatory factor analysis. Using questionnaire and construct hypothesis model based on variables from review on theories and researches. The variable factors that affect the Sustainable Global Citizenship of students consisted of 3 factors namely; (1) In-depth knowledge adhere to democracy caring for the environment, (2) Justice, and (3) Social responsibility. Data analysis was used by software packages. Determining descriptive statistics analysis are including of percentage, mean, standard deviation, and Pearson’s correlation coefficient. The research findings were as follows: 1. The level of Sustainable Global Citizenship of students at the Sustainable Global Citizenship of students at PhontongPattanaWittaya School. Secondary Administration Service Area Office 27 is at a moderate level. 2. All variables were positively correlated with the correlation coefficient (r) between 0.263 – 0.869, indicating that the relationship characteristics of the variables 2

studied were linear relations. The considering correlation coefficient between observed variables in the same latent variable were found that the pair with the highest correlation coefficient is justice and democracy with correlation coefficient (r) equal to 0.869. Considering the correlation coefficient between observed variables of sustainable global citizenship found that democratic variables adhere with responsibility to the world society in a high level of relevance with the correlation coefficient (r) equal to .613. Significantly at the level of .01 Keywords : Sustainable Global Citizenship, Global Citizenship บทนา แ ล ะ ส ร้ า ง จิ ต ส า นึ ก ส า ธ า ร ณ ช น ต ล อ ด จ น ส่งเสรมิ คา่ นยิ มท่เี หมาะสม การพัฒนาการศึกษาเป็นกลไกสาคัญ ของการพัฒนาเพ่ือให้เกิดความย่ังยืน ดังที่ องค์กรยูเนสโกยังระบุว่าการศึกษา ประชุมสหประชาชาติ ณ นครนิวยอร์ค เ พื่ อ ค ว า ม เ ป็ น พ ล เ มื อ ง โ ล ก ( Global ประเทศสหรัฐอเมริกา มีมติประกาศให้ ปี Citizenship Education ห รื อ GCED) เ ป็ น 2548-2558 เป็นทศวรรษแห่งการศึกษาเพื่อ หนึ่งในแผนยุท ธ ศ าส ตร์โ คร ง ก า ร ด้ า น การพฒั นาท่ีย่งั ยนื (United Nations Decade การศึกษาประจาปี 2557-2560 ของยูเนสโก of Education for Sustainable ซ่ึงมีเป้าหมายต้องการให้ผู้เรียนรู้ในทุกช่วงวัย Development-DESD) และไดเ้ ชิญชวนให้ มีความรแู้ ละทกั ษะซ่ึงมรี ากฐานและการซึมซับ ประเทศสมาชิกองค์การสหประชาชาติ ได้ เอาการเคารพในสิทธิมนุษยชน ความเป็น ร่วมกันบูรณาการแนวคิดการพัฒนาอย่าง ธรรมในสังคม ความหลากหลาย ความเสมอ ย่ั ง ยื น เ ข้ า กั บ ร ะ บ อ บ ก า ร ศึ ก ษ า ข อ ง ช า ติ ภาคทางเพศ และความย่ังยืนด้านสิ่งแวดล้อม ตลอดจนจัดทาแผนปฏิบัติการทศวรรษแห่ง เข้าไปด้วย เพื่อเป็นการเสริมพลังให้ผู้เรียนรู้ การศึกษาเพ่ือการพัฒนาที่ย่ังยืนในระดับ เ ป็ น พ ล เ มื อ ง ข อ ง โ ล ก ท่ี มี ค ว า ม รั บ ผิ ด ช อ บ นานาชาติ โดยมีเป้าหมายหลักคือ เพ่ือสร้าง นอกจากน้ียังมีกลุ่มประชาสังคมต่างๆ ให้การ เครือข่ายการศึกษาและการเรียนรู้ที่ส่งเสริม สนับสนุน อาทิ สมาพันธ์เอ็นจีโอ 2,600 การพัฒนาอย่างย่ังยืน เปิดโอกาสให้ประเทศ องค์กร ในยุโรปซึ่งรวมตัวกันในนามสมาพันธ์ ต่างๆมีส่วนร่วมในการปฏิรูปหรือจัดระบบ คองคอร์ด (CONCORD) สมาคมโซคาสากล การศึกษาให้สอดคล้องกับบริบทของการ (SGI) และสานักข่าวอินเตอร์เพรสเซอร์วิส ซ่ึง พฒั นาอย่างยัง่ ยนื โดยใช้การเรียนรู้ทุกรูปแบบ เป็นการประชุมหารือเพื่อสร้างแบบแผนและ องค์ประกอบสาคัญสาหรับการศึกษาเพ่ือ 3

ความเป็นพลเมืองโลก ซ่ึงในความหมายของ แง่ของการแบ่งสรรทรัพยากรระหว่างสมาชิก ยูเนสโก หมายถงึ \"ความรสู้ ึกร่วมเป็นส่วนหนึ่ง ในสงั คม การพัฒนาสังคมควบคู่กบั ส่ิงแวดล้อม ของชุมชนในระดับใหญ่และร่วมเป็นส่วนหนึ่ง ก่อให้เกิดการพ่ึงพาซึ่งกันและกัน ผู้คนรักษา ของมนุษยชาติ\" อาทิ ความเข้าใจทาง ปกป้องสิ่งแวดล้อมได้ดีก็จะใช้ประโยชน์จาก วัฒนธรรม สานักพลเมืองโลกแบบศตวรรษที่ ส่ิงแวดล้อมได้นาน การพัฒนาเศรษฐกิจ 21 ที่มีเร่ืองของสิทธิมนุษยชน สันติภาพ และ ควบคู่ไปกับสิ่งแวดล้อมจะทาให้เกิดความ ความเสมอภ าคร่ว มด้วย ท้ังนี้แนว คิด สมดุล ดงั น้ันการพัฒนาท่ียัง่ ยนื ไดด้ ว้ ย 3 สาขา การศึกษาของยูเอ็นยังมีโอกาสขยายผลไปถึง คือ เศรษฐกิจ สงั คม และ สง่ิ แวดล้อม จะทา การศึกษาของประเทศต่าง ๆ ซ่ึงถือเป็นหน่ึง ให้เราสามารถมีเศรษฐกิจที่เจริญเติบโต สังคม ในปรัชญาการศกึ ษาเพอื่ ความเป็นพลเมืองโลก ท่ีเป็นสุข และส่ิงแวดล้อมท่ีดี [1] การพัฒนา ที่ต้องการทาให้คนได้มีส่วนร่วมมากขึ้น อีก ประเทศมุ่งเน้นให้เกิดการพัฒนาทั้งระบบของ ท้ั ง ข้ อ ต ก ล ง ข อ ง โ ล ก แ ห่ ง อ ง ค์ ก า ร สั ง ค ม แ ล ะ ใ ห้ ค ว า ม ส า คั ญ กั บ ก า ร พั ฒ น า สหประชาชาติ เร่ิมต้นครั้งแรก ในปี ค.ศ. ทรัพยากรมนุษย์ สถานศึกษาซึ่งถือว่าเป็น 1999 โดยนายโคฟีอันนัน ในขณะท่ีดารง ระบบหน่ึงของสงั คมในฐานะทเ่ี ป็นหนว่ ยงานที่ ตาแหน่งเลขาธิการสหประชาชาติกาหนดเป็น มีหนา้ ท่ีจดั การศึกษาแก่ประชาชนโดยตรงและ ข้อตกลงท่ีมีจุดมุ่งหมายเพื่อการสนับสนุนทั่ว เป็นหน่วยงานหลักของระบบการศึกษาเพราะ โลกให้ดาเนินธุรกิจแบบย่ังยืน และ ได้เริ่มต้น ความต้องการจาเป็นของสังคม จึงมีผลทาให้ ต้งั แตป่ ี ค.ศ. 2000 เป็นต้นมา ไดม้ กี ารร่วมมือ เกิดระบบโรงเรียนโดยอาศัยความร่วมมือจาก ในการทาข้อตกลงจากบรรษัทพลเมือง และ ห ล า ย ฝ่ า ย ซ่ึ ง มี ค ว า ม รั บ ผิ ด ช อ บ แ ล ะ มี องค์กรต่าง ๆ โดยมีประเด็นหลัก 4 ประเด็น วัตถุประสงค์ร่วมกัน มีความตั้งใจที่จะ ใหญ่ ได้แก่ (1) สิทธิมนุษยชน (Human ปฏิบัติงานให้สาเร็จตามวัตถุประสงค์โรงเรียน Rights) (2) มาตรฐานแรงงานสากล (Labor ตอ้ งเปลยี่ นแปลงคล้อยตามสังคม โรงเรียนจึง Force) (3) สง่ิ แวดล้อม (Environment) และ ต้องทาหน้าที่เป็นผู้นาทางสังคม และคงสภาพ (4) การต่อต้านการทุจริต (Anti Corruption) ทางสังคมตลอดจนพัฒนาสังคมให้เจริญงอก จะเห็นได้ว่าแนวคิดการพัฒนาที่ยั่งยืน หรือ งาม [2] ซง่ึ การศกึ ษาหาความรู้ใหมจ่ ากแหล่ง Triple bottom line : TBL เป็นการสร้าง ความรู้นอกห้องเรียนด้วยการวิจัย การทานุ สมดุลให้เกิดขึ้นระหว่างสิ่งแวดล้อมกับการ บารุงวัฒนธรรมเป็นเครื่องมือรับผิดชอบต่อ พัฒนาในศตวรรษท่ี 21 โดยครอบคลุมการ สังคม ซ่ึงเป็นบทบาทสาคัญของสถาบัน เพื่อ พฒั นาทัง้ 3 ด้าน ด้วยเศรษฐกิจ สังคม และ นาประเทศไปส่สู ังคมที่พึงปรารถนาในท่สี ุด ไม่ สิ่งแวดล้อม ซึ่งแนวคิดการพัฒนาอย่างยั่งยืน ว่าองค์กรธุรกิจ เอกชน หรือองค์กรของรัฐ หรือ 3BL จะทาให้เกิดความเท่าเทียมกันใน และหน่วยงานทางการศึกษา ต่างมีบทบาท 4

สาคัญในการ่วมกันพัฒนาคน ชุมชน และ เปล่ียนแปลงและปัจจัยเสี่ยงในอนาคตท่ีคาด สังคมโดยต้องความรับผิดชอบต่อสังคม และ ว่าจะเป็นอุปสรรคสาคัญในการพัฒนาคน การ พัฒนาสังคมไปสู่ความเป็นพลเมืองโลก จึงจะ ยึดหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงเป็น ถือได้ว่าองค์กรประสบความสาเร็จอย่างย่ังยืน แนวทางในการดาเนินชีวิตจะสามารถดาเนิน นอกจากน้ีการรายงานผลการดาเนินกิจการ ชีวิตอย่างสมดุลทุกด้าน จึงจาเป็นต้องสร้าง ยังสามารถการจัดทารายงานสู่ความยั่งยืน ภูมิคุ้มกันให้คนไทยและสังคมไทย ในประเด็น (Sustainability report) โดยใชก้ รอบของ สาคัญ คือ คนไทยมีการเรียนร้ตู ลอดชีวิต ให้ Global Reporting Inititive : GRI เพอ่ื มีการเรียนรู้อย่างต่อเนื่องท้ังในเรื่องการศึกษา เผยแพร่ผลการดาเนินงาน ทั้งในมิติด้าน ทักษะการทางาน และการดาเนินชีวิต เพื่อ เศรษฐกิจ สังคมวัฒนธรรม และสิ่งแวดล้อม เป็นภูมิคุ้มกันสาคัญในการดารงชีวิตและ ซ่ึงนับว่าเป็นการพัฒนาสู่ความยั่งยืน [3] การ ปรับตัวให้ทันกับการเปล่ียนแปลงของโลกใน จัดการศึกษาของ โดยกระทรวงศึกษาธิการ ยคุ ศตวรรษท่ี 21 ได้วางแนวทางปฏิรูปการศึกษาและการเรียนรู้ อย่างเป็นระบบ ศึกษาประเด็นปัญหาหลักใน วตั ถุประสงคข์ องการวจิ ยั การศึกษาและการเรียนรู้ท่ีเช่ือมโยงกันใน ประเด็นหลัก 3 ประการ คือ 1) คุณภาพและ 1) เพ่อื ศกึ ษาระดับปจั จัยเชงิ มาตรฐานการศึกษาและเรียนรู้ของคนไทย สาเหตุและระดับความเป็นพลเมืองโลกอย่าง โอกาสทางการศึกษาและเรียนรู้ เพื่อพัฒนา ย่ังยืนของนักเรียนโรงเรียนโพนทองพัฒนา ผู้ เ รี ย น ส ถ า น ศึ ก ษ า แ ห ล่ ง เ รี ย น รู้ วิ ท ย า ส า นั ก ง า น เ ข ต พ้ื น ท่ี ก า ร ศึ ก ษ า สภาพแวดล้อม หลักสูตรและเนื้อหา พัฒนา มัธยมศึกษา เขต 27 วิชาชีพครูให้เป็นวิชาชีพที่มีคุณค่า สามารถ ดงึ ดูดคนเก่ง ดีและมีใจรัก มาเป็นครูคณาจารย์ 2) เพอ่ื ศึกษาความสัมพนั ธ์ ได้อย่างยั่งยืน ภายใต้ระบบบริหารจัดการท่ีมี ระหว่างปัจจัยเชิงสาเหตุกับความเป็นพลเมือง ประสิทธิภาพ 2) เพิ่มโอกาสการศึกษาและ โลกอย่างย่ังยืนของนักเรียนโรงเรียนโพนทอง เรียนรู้อย่างท่ัวถึงและมีคุณภาพ เพ่ือให้ พัฒนาวิทยา สานักงานเขตพื้นที่การศึกษา ประชาชนทุกคน ทุกเพศ ทุกวัยมีโอกาส มัธยมศกึ ษา เขต 27 เข้าถึงการศึกษาและเรียนรู้อย่างต่อเน่ือง ตลอดชีวิต 3) ส่งเสริมการมีส่วนร่วมของทุก สมมติฐานของการวิจยั ภาคส่วนของสังคม ในการบริหารและจัด การศกึ ษา โดยเพม่ิ บทบาทของผ้ทู ี่อยภู่ ายนอก จ า ก ผ ล ก า ร ศึ ก ษ า แ ล ะ สั ง เ ค ร า ะ ห์ ระบบการศึกษา จากสถานการ ณ์ ก า ร เอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง ผู้วิจัยจึง กาหนดสมมติฐาน ของการวจิ ยั ดังน้ี 5

1) ระดบั ปัจจยั เชงิ สาเหตุและ จ า ก นั้ น จึ ง สุ่ ม ตั ว อ ย่ า ง แ บ บ ห ล า ย ขั้ น ต อ น ระดับความเป็นพลเมืองโลกอย่างยั่งยืนของ เพือ่ ให้ไดก้ ลุ่มตัวอย่าง จานวน 396 คน นั ก เ รี ย น โ ร ง เ รี ย น โ พ น ท อ ง พั ฒ น า วิ ท ย า สานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 2) ตวั แปรทใ่ี ช้ในการศกึ ษา 27 อยูใ่ นระดับมาก การศึกษาครั้งน้ี อธิบายความสัมพันธ์ระหว่าง ความสัมพันธ์เชิงสาเหตุแบบเส้นตรงระหว่าง 2) ความสมั พนั ธร์ ะหวา่ งปัจจยั เชงิ ตั ว แ ป ร ท่ี เ ป็ น ส า เ ห ตุ ท่ี ส่ ง ผ ล ต่ อ ค ว า ม เ ป็ น สาเหตุกับความเป็นพลเมืองโลกอย่างยั่งยืน พลเมืองโลก การศกึ ษาตัวแปรท่ีใช้ในการวิจัย ของนักเรียนโรงเรียนโพนทองพัฒนาวิทยา ครั้งน้ีผู้วิจัย ได้วิเคราะห์และสังเคราะห์ สานักงานเขตพ้ืนที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต เอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง โดยจัดกลุ่ม 27 มคี วามสมั พนั ธ์ในทางบวก ตัวแปรท่ีใช้ในการศึกษาดังน้ี ความเป็น พลเมืองโลก (Global Citizenship) ความรู้ ขอบเขตของโครงการวิจัย เ ชิ ง ลึ ก (Depth Knowledge) ค ว า ม ประชากร รับผิดชอบต่อสังคม (Social Responsibility) ประชากรท่ีใช้ศึกษาเป็นนักเรียน ยึดถือหลักประชาธิปไตย (Democracy ) ความยุติธรรมทางสังคมทางสังคม (Social โรงเรียนโพนทองพัฒนาวิทยา สังกัด Movement) ก า ร ใ ห้ ค ว า ม ส า คั ญ กั บ สานักงานเขตพื้นท่ีการศึกษามัธยมศึกษา เขต ส่งิ แวดล้อม (Environment) 27 จงั หวดั รอ้ ยเอ็ด ปีการศึกษา 2561 จานวน 2,744 คน นยิ ามศัพท์เฉพาะ 1) ความเป็นพลเมืองโลก (Global การวิจัยครงั้ นี้ ผวู้ ิจัยได้กาหนด ขอบเขตของการวิจยั ไว้ดงั น้ี Citizenship) หมายถึง การมีส่วนร่วมเป็น ส่วนหนึ่งของชุมชนในระดับใหญ่และร่วมเป็น 1) ประชากรและกลมุ่ ตวั อย่าง ส่วนหน่ึงของ มนุษยชาติ มีความเข้าใจทาง นักเรยี นโรงเรยี นโพนทองพฒั นาวทิ ยา สงั กัด วัฒนธรรม สานึกพลเมืองโลกแบบศตวรรษที่ สานักงานเขตพ้ืนท่ีการศึกษามัธยมศึกษา เขต 21 ท้ังด้านการเป็นพลเมืองของรัฐตาม 27 จังหวดั รอ้ ยเอด็ ปกี ารศกึ ษา 2561 จานวน กฎหมาย และการคานึงถึงสิทธิมนุษยชน 2,744 คน ทน่ี ามาเป็นหนว่ ยวเิ คราะห์ข้อมูล สันติภาพ ความเสมอภาค และระบอบการ (Unit of Analysis) อีกท้ังการวิจัยคร้ังนี้เป็น ปกครองท่ีเป็นสากลในฐานะการเป็นส่วนหน่ึง การศึกษารูปแบบสมการโครงสร้างเชิงเส้น ที่ ของสังคมโลก ต้องวิเคราะห์ข้อมูลด้วยสถิติขั้นสูง ท่ีมี ความสัมพันธ์ระหว่างตัวแปร ผู้วิจัยจึงได้ 2) ความรเู้ ชงิ ลึก (Depth กาหนดขนาดกลุ่มตัวอย่างตามเกณฑ์ดังกล่าว Knowledge) หมายถึง พฤติกรรมของ นักเรียนโรงเรียนโพนทองพัฒนาวิทยาท่ีแสดง 6

ให้เห็นถึงความรู้ ความสามารถ ทักษะและ พฒั นาวิทยา ท่แี สดงออกถึงการใหค้ วามสาคัญ ความชานาญ ก่อให้เกิดทักษะด้านการคิด ที่ กับสภาพแวดล้อมทางธรรมชาติ รวมท้ัง จ า เ ป็ น ต่ อ ก า ร ป รั บ ตั ว สู่ สิ่ ง แ ว ด ล้ อ ม ที่ แนวความคิดเก่ียวกับศักยภาพด้านทรัพยากร เปล่ียนแปลงไป และเพ่ิมพูนสิ่งที่เป็นความรู้ และสิ่งแวดล้อมทางสงั คม ใหม่ ๆ นาไปสู่การแก้ปญั หาอย่างสร้างสรรค์ วิธดี าเนินการวจิ ยั 3) ความรบั ผิดชอบต่อสงั คม (Social Responsibility) หมายถึง ประชากรและกลมุ่ ตัวอย่าง พ ฤ ติ ก ร ร ม ข อ ง นั ก เ รี ย น โ ร ง เ รี ย น โ พ น ท อ ง ประชากรในการศึกษาครั้งน้ี คือ พัฒนาวิทยาท่ีแสดงออกถึงการมุ่งเน้นการ นั ก เ รี ย น โ ร ง เ รี ย น โ พ น ท อ ง พั ฒ น า วิ ท ย า สร้างสรรค์ประโยชน์ให้กับสังคม ส่ิงแวดล้อม สานักงานเขตพื้นท่ีการศึกษามัธยมศึกษา เขต และผู้มีส่วนได้เสีย เพ่ือให้เกิดการพัฒนาอย่าง 27 สานักงานคณะกรรมการการศึกษาข้ัน ย่ังยืน ท้ังมิติทางด้านเศรษฐกิจ สังคม พ้ืนฐาน ปีการศึกษา 2561 จานวน 2,744 คน วัฒนธรรม และสง่ิ แวดล้อม กลุ่มตัวอย่างท่ีใช้ในการศึกษาคร้ังนี้ คือ นักเรียนโรงเรียนโพนทองพัฒนาวิทยา ใน 4) ยดึ ถือหลักประชาธิปไตย สั ง กั ด ส า นั ก ง า น เ ข ต พ้ื น ที่ ก า ร ศึ ก ษ า (Democracy ) หมายถึง การให้การยอมรับ มัธยมศึกษามัธยมศึกษา เขต 27 สานักงาน และปฏิบัติตนตามกฎหมาย ภายใต้ของการ คณะกรรมการการศึกษาข้ันพ้ืนฐาน ปี ปกครองในระบอบประชาธิปไตย มีสิทธิ การศึกษา 2561 จานวน 396 คน โดยทาการ เสรีภาพ หน้าท่ีความรับผิดชอบ และเคารพ สุ่มตัวอย่างโดยวิธีการสุ่มแบบหลายข้ันตอน สทิ ธมิ นษุ ยชน (Multi-Stage Random Sampling) 5) ความยตุ ิธรรมทางสงั คม เครอื่ งมือท่ีใชใ้ นการวิจยั (Justice) หมายถงึ การเคลื่อนไหวทางสังคม แบบใหม่ที่เก่ียวข้อง อาทิ การกีดกันแบ่งแยก เคร่ืองมือท่ีใช้ในการวิจัยคร้งั นี้ เปน็ จากการนับถือศาสนาและเช้ือชาติ ความ แบบสอบถาม แบ่งออกเปน็ 3 ตอน ดังนี้ ตน่ื ตัวเรอ่ื งส่งิ แวดล้อม การต่อสู้เรยี กร้องสิทธิ ของกลุ่มผู้มีความหลากหลายทางเพศ การ ตอนท่ี 1 แบบสอบถามข้อมูลท่วั ไป มี แบ่งขั้วทางการเมืองซา้ ย-ขวา ความเท่าเทียม ลักษณะเป็นแบบตรวจสอบรายการ (Check ทางเพศ การต่อสู้สิทธิและความเท่าเทียมของ List) ได้แก่ เพศ และระดบั ช้ัน คนผวิ ดา การคุกคามทางเพศ เปน็ ตน้ ตอนที่ 2 แบบสอบถามวัดระดับ 6) การใหค้ วามสาคญั กับ พฤติกรรมความเป็นพลเมืองโลกอย่างยั่งยืน สิ่ ง แ ว ด ล้ อ ม (Environment) ห ม า ย ถึ ง เป็นแบบมาตรวัดประเมินค่า (Rating Scale) พ ฤ ติ ก ร ร ม ข อ ง นั ก เ รี ย น โ ร ง เ รี ย น โ พ น ท อ ง 7

5 ระดับคือ ทุกครั้ง บ่อยคร้ัง บางครั้ง นานๆ การวเิ คราะห์โดยใชส้ ถิตเิ พื่อตรวจสอบอิทธิพล ที และไม่เคยเลย ให้ผู้ตอบเลือกตอบเพียง ของตวั แปรทีส่ นใจ ซ่งึ แบ่งออกเป็น 2 ส่วน ระดับเดียว โดยครอบคลุมความเป็นพลเมือง ไดแ้ ก่ การวเิ คราะหข์ ้อมูลเบอ้ื งตน้ ของกลุม่ โลกอย่างยั่งยืน ผู้วิจัยสังเคราะห์ข้ึนโดย ตัวอย่าง และการวเิ คราะหส์ ถิติพ้นื ฐานของตัว จัดเรียงเนื้อหาข้อคาถาม ตามลาดับของ แปรโดยใช้โปรแกรมสาเรจ็ รูป รายละเอยี ดแต่ องค์ประกอบที่นามาศึกษา มีทั้งหมด 5 ละสว่ นมดี งั น้ี องค์ประกอบ โดยจัดเรียงเน้ือหา ข้อคาถาม ตามลาดับของปัจจัยที่นามาศึกษา ดังนี้ เป็น 1) การวเิ คราะห์ข้อมูลเบือ้ งตน้ ของ เลิศทางวิชาการ ส่ือสารอย่างน้อยสองภาษา กลุ่มตัวอยา่ งการวเิ คราะหใ์ นขั้นนเี้ ปน็ การ ลา้ หน้าทางความคิด ผลิตงานอยา่ งสร้างสรรค์ วิเคราะห์เพ่ือให้ทราบลักษณะภูมิหลงั ของกลมุ่ รว่ มกนั รบั ผิดชอบต่อสงั คมโลก ตัวอย่าง ไดแ้ ก่ เพศ ระดบั ชน้ั โดยใช้ คา่ ความถี่และคา่ รอ้ ยละ ตอนท่ี 3 แบบสอบถามวัดปัจจัยที่มี อิทธิพลต่อความเป็นพลเมืองโลกอย่างยั่งยืน 2) การวิเคราะห์ขอ้ มลู เพื่อตอบ ตามการรับรู้ของตนเอง ลักษณะเคร่ืองมือเปน็ วัตถุประสงค์การวิจยั การวเิ คราะห์ในข้ันนเ้ี ปน็ แบบมาตรวัดประเมินค่า (Rating Scale) 5 การวิเคราะห์เพื่อตอบวัตถุประสงค์การวิจัย 2 ระดับ โดยใช้เกณฑ์การพิจารณาจากระดับ ข้อ ได้แก่ (1) การวิเคราะห์ระดับความเป็น พ ฤ ติ ก ร ร ม ข อ ง นั ก เ รี ย น โ ร ง เ รี ย น โ พ น ท อ ง พลเมืองโลกอย่างยั่งยืน ระดับปัจจัยท่ีมี พัฒนาวิทยา ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อความเป็น อิทธิพลต่อความเป็นพลเมืองโลกอย่างย่ังยืน พลเมืองโลกอย่างย่ังยืน มีท้ังหมด 5 ปัจจัย ของนักเรียนโรงเรียนโพนทองพัฒนาวิทยา โดยจัดเรียงเน้ือหา ข้อคาถาม ตามลาดับของ สานักงานเขตพ้ืนที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต ปัจจัยท่ีนามาศึกษา ดังนี้ ความรู้เชิงลึก 27 รายละเอียดใน แต่ละส่วน ได้แก่ การ (Depth Knowledge) ความรับผดิ ชอบตอ่ วิเคราะห์ระดับความเป็นพลเมืองโลกอย่าง สงั คม (Social Responsibility) ย่ั ง ยื น แ ล ะ ปั จ จั ย ที่ มี อิ ท ธิ พ ล ต่ อ ค ว า ม เ ป็ น ประชาธปิ ไตย (Democracy ) ความยตุ ิธรรม พลเมืองโลกอย่างย่ังยืนของนักเรียนโรงเรียน (Justice) สงิ่ แวดล้อม (Environment) โพนทองพัฒนาวิทยา การวิเคราะห์ในขั้นน้ี เป็นการวิเคราะห์เพ่ือหาค่าเฉล่ีย และค่าส่วน การวิเคราะห์ขอ้ มูล เ บ่ี ย ง เ บ น ม า ต ร ฐ า น แ ล ะ ( 2 ) ศึ ก ษ า การวเิ คราะห์ข้อมลู เบอ้ื งตน้ เป็นการ ความสัมพันธ์ระหว่างตัวแปร และระหว่าง ปัจจัยเชิงสาเหตุ กับความเป็นพลเมืองโลก วิเคราะห์เพ่ือศึกษาลักษณะของข้อมลู แตล่ ะ อย่างย่ังยืนของนักเรียนโรงเรียนโพนทอง ตวั แปร ตรวจสอบขอ้ ตกลงเบ้ืองต้นของสถติ ิท่ี พัฒนาวิทยา โดยการวิเคราะห์ค่าสัมประสิทธ์ิ จะใช้วิเคราะห์เพ่ือตอบคาถามการวจิ ัย และ 8

สหสัมพันธ์ของเพียร์สัน ซึ่งสามารถสรุป ประชาธปิ ไตย พบว่า นักเรียนโรงเรยี นโพน ผลการวจิ ยั ได้ดังนี้ ทองพฒั นาวทิ ยา ยดึ มน่ั ประชาธปิ ไตยอยู่ใน ระดับ มาก เมอ่ื พจิ ารณาตัวแปรสังเกต พบวา่ ผลการวจิ ัยและสรุปผลการวิจัย ด้านการมีส่วนรว่ ม อยใู่ นระดับมาก ด้านสิทธิ เสรภี าพอยู่ในระดับปานกลาง 1. ผลการวเิ คราะหร์ ะดบั ความเปน็ พลเมอื งโลกอย่างยั่งยนื ของนักเรียนโรงเรยี น เม่ือพิจารณาตัวแปรแฝงด้านใส่ใจ โพนทองพัฒนาวิทยา สานักงานเขตพนื้ ท่ี สิ่งแวดล้อม พบว่า นักเรียนโรงเรียนโพนทอง การศึกษามธั ยมศกึ ษา เขต 27 พัฒนาวิทยามีความใส่ใจส่ิงแวดล้อมอยู่ใน ระดับมาก เมื่อพิจารณาตัวแปรสังเกต พบว่า จากการวิเคราะห์ระดับความเป็น การเรียนรู้เก่ียวกับส่ิงแวดล้อม อยู่ในระดับ พลเมืองโลกอย่างยั่งยืนของนักเรียนโรงเรียน มาก การมีส่วนร่วมดาเนนิ งานด้านส่งิ แวดล้อม โพนทองพัฒนาวิทยา สานักงานเขตพื้นที่ อยู่ในระดับมาก และการปฏิบัติเกี่ยวกับ การศกึ ษามธั ยมศกึ ษา เขต 27 พบวา่ นกั เรียน สงิ่ แวดลอ้ ม อยูใ่ นระดบั ปานกลาง โรงเรียนโพนทองพัฒนาวิทยา มีระดับการ แสดงออกของความเป็นพลเมืองโลกอย่าง เมื่อพิจารณาตัวแปรแฝงด้านความ ยั่งยนื อยใู่ นระดับปานกลาง เม่อื พจิ ารณาตาม ยุติธรรม พบว่า นักเรียนโรงเรียนโพนทอง ตัวแปรสังเกต พบว่า ด้านความเป็นเลิศทาง พัฒนาวิทยา มีความยุติธรรม อยู่ในระดับปาน วิชาการ อยู่ในระดับปานกลาง ด้านสื่อสาร กลาง เม่ือพิจารณาตัวแปรสังเกต พบว่า ด้าน อย่างน้อยสองภาษา อยู่ในระดับปานกลาง กระบวนการ อยู่ในระดับปานกลาง ด้าน ด้านล้าหน้าทางความคิด อยู่ในระดับปาน ก า ร ป ฏิ บั ติ ต่ อ บุ ค ค ล อ ยู่ ใ น ร ะ ดั บ ป า น ก ล า ง กลาง ด้านผลิตงานอย่างสร้างสรรค์ อยู่ใน ดา้ นผลลัพธอ์ ยู่ในระดบั ปานกลาง ท่ีเป็นเชน่ น้ี ระดับปานกลาง และด้านร่วมกันรับผิดชอบ อาจเนื่องมาจากมีการจัดการศึกษาให้ผู้เรียน ต่อสังคมโลก อย่ใู นระดับปานกลาง สามารถนาไปใช้ใน ชีวิตประจาวัน มีความ ตระหนักในการแก้ปัญหาของสังคม ซ่ึง เมื่อพิจารณาตัวแปรแฝงด้านความรู้ สอดคลอ้ งกบั [4] ทกี่ ารศกึ ษาเพ่ือเป็นพลเมือง เชิงลึกพบว่านักเรียนโรงเรียนโพนทองพัฒนา โลกได้กล่าวไว้ว่า การศึกษาเพื่อความเป็นพล วิทยา มีความรู้เชิงลึก อยู่ในระดับมาก เมื่อ โลกสามารถใช้เป็น ระบบการสอนได้วิธีการ พิ จ า ร ณ า ตั ว แ ป ร สั ง เ ก ต พ บ ว่ า ด้ า น เพ่ือสร้างความตระหนักของนักเรียนต่อระดับ ประสบการณ์ อยู่ในระดับมาก รองลงมาคือ โลก ปัญหาและวิธีท่ีพวกเขาสามารถจัดการ ด้านการสร้างองค์ความรู้ อยู่ในระดับมาก กับจริยธรรมที่แตกต่างกัน ปัญหาที่อาจ ด้านทักษะ อยู่ในระดับมาก และ ด้านความ เกิดข้ึนในชีวิตประจาวัน ทั่วโลก การศึกษา เชี่ยวชาญ อยใู่ นระดบั มาก ตามลาดบั เกี่ยวกับพลเมืองหมายถึงการให้นักเรียนด้วย เมอ่ื พิจารณาตัวแปรแฝงดา้ นยึดมน่ั 9

การเรียนการสอนเกี่ยวกับคุณค่าและทักษะ แสดงให้เห็นว่าลักษณะความสัมพันธ์ของตัว ต่างๆเพื่อสร้างส่ิงท่ีดีขึ้น โลกซ่ึงโดดเด่นด้วย แปรท่ศี ึกษาเปน็ ความสัมพนั ธ์เชิงเส้นตรง เมื่อ สันติภาพ ความยุติธรรม ความม่ันคง และ พิจารณาค่าสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์ระหว่างตัว คุณลักษณะเชงิ บวกอืน่ ๆ การถา่ ยทอดความรู้ แปรสังเกตได้ท่ีสัมพันธ์กันในตัวแปรแฝง ท่ีเก่ยี วขอ้ งคณุ ธรรมจรยิ ธรรมในสถาบัน เดียวกัน พบว่าคู่ที่มีค่าสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์ การศึกษาและพื้นท่ีการศึกษา เช่น โรงเรียน สงู สดุ ไดแ้ ก่ ความยุตธิ รรม (JUST) กับยดึ ม่ัน และมหาวิทยาลัยอาจส่งผลดีต่อท้ังบุคคลและ ประชาธิปไตย(DEMO) มีค่าสัมประสิทธิ์ ชุมชน สหสัมพันธ์ (r) เท่ากับ 0.869 ส่วนคู่ที่มีค่า สัมประสิทธ์ิสหสัมพันธ์ต่าสุด ได้แก่ ความ เม่ือพจิ ารณาตวั แปรแฝงดา้ นความ ยุตธิ รรม (JUST) กับความเปน็ เลศิ ทางวิชาการ รบั ผิดชอบต่อสงั คม พบว่า นักเรยี นโรงเรยี น (ACAD) มคี า่ สมั ประสทิ ธิส์ หสมั พันธ์ (r) เทา่ กบั โพนทองพัฒนาวิทยา มีความรบั ผดิ ชอบตอ่ 0.263 สังคมอยู่ในระดับมาก เมอื่ พิจารณาตัวแปร สังเกต พบว่า ดา้ นสนองประเดน็ ความย่ังยืน เ มื่ อ พิ จ า ร ณ า ค่ า สั ม ป ร ะ สิ ท ธ์ิ อยู่ในระดบั มาก สร้างผลกระทบเชงิ บวก อยู่ สหสัมพันธ์ระหว่างตัวแปรสังเกตของความ ในระดับมาก เป็นพลเมืองโลกอย่างยั่งยืนทั้ง 5 ตัวแปร ได้แก่ เป็นเลิศทางวิชาการ (Academic: 2. ผลการวเิ คราะหค์ วามสมั พนั ธ์ ACAD) สื่ อ ส า ร อ ย่ า ง น้ อ ย ส อ ง ภ า ษ า ระหว่างตัวแปรและระหว่างปัจจัยเชงิ สาเหตุ (Communicate: COMM) ล้ า ห น้ า ท า ง กับความเป็นพลเมืองโลกอย่างยัง่ ยืนของ ความคิด (Thinking: THIN) ผลิตงานอย่าง นักเรียนโรงเรยี นโพนทองพัฒนาวิทยา ส ร้ า ง ส ร ร ค์ (Creative: CREA) ร่ ว ม กั น รับผิดชอบต่อสังคมโลก (Responsibility: จ า ก ผ ล ก า ร วิ เ ค ร า ะ ห์ ค่ า RESP) พบว่าตัวแปรยดึ มนั่ ประชาธิปไตย กับ สัมประสิทธ์ิสหสัมพันธ์อย่างง่ายระหว่างตัว ความรับผิดชอบต่อสังคมโลก มีความสัมพันธ์ แปรสังเกตของปัจจัยเชิงสาเหตุและตัวแปร กันในระดับมาก มีค่าสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์ สังเกตของความเป็นพลเมืองโลกอย่างยั่งยืน (r) เท่ากับ .613 อย่างมีนัยสาคัญที่ระดับ .01 การวิเคราะห์ค่าสัมประสิทธ์ิสหสัมพันธ์อย่าง ส่วนคู่ท่ีมีค่าสัมประสิทธ์ิสหสัมพันธ์ต่าสุด ง่ายระหว่างตวั แปรสังเกตของปัจจัยเชิงสาเหตุ ได้แก่ ความยุติธรรม กับความเป็นเลิศทาง และตัวแปรสังเกตของความเป็นพลเมืองโลก วิชาการ มีความสัมพันธ์กันในระดับน้อย มีค่า อ ย่ า ง ยั่ ง ยื น โ ด ย ใ ช้ วิ ธี ข อ ง เ พี ย ร์ สั น สมั ประสิทธิส์ หสมั พนั ธ์ (r) เท่ากบั .263 อยา่ ง (Pearson’s product moment correlation มนี ัยสาคัญท่ีระดับ .01 coefficient) พ บ ว่ า ตั ว แ ป ร ทุ ก ตั ว มี ความสัมพันธ์ทางบวกโดยมีค่าสัมประสิทธ์ิ เม่อื พจิ ารณาค่าสัมประสิทธ์ิ สหสัมพันธ์ (r) อยู่ระหว่าง 0.263 ถึง 0.869 10

สหสัมพันธ์ระหว่างตัวแปรสังเกตของตัวแปร มาก มีค่าสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์ (r) เท่ากับ แฝงความเป็นพลเมืองโลกอย่างยั่งยืน ที่ .613 อย่างมีนัยสาคัญทีร่ ะดับ .01 สมั พนั ธ์กนั ในตัวแปรแฝง 5 ตัว ได้แก่ ความรู้ เชิงลึก (Depth Knowledge: DEPT) ยึดม่ัน อภปิ รายผล ประชาธิปไตย (Democracy: DEMO) ใส่ใจ จากการศึกษาระดั บคว า ม เ ป็ น สิ่งแวดล้อม (Environment: ENVI) ความ ยุติธรรม (Justice: JUST) และ รับผิดชอบ พลเมืองโลกอย่างย่ังยืนของนักเรียนโรงเรียน ต่ อ สั ง ค ม (Social Responsibility: SRES) โพนทองพัฒนาวิทยา สานักงานเขตพ้ืนที่ พบว่าเป็นเลิศทางวิชาการ (Academic: การศึกษามัธยมศึกษา เขต 27 ผลการวิจัย ACAD) กบั ใสใ่ จสิง่ แวดล้อม (Environment: พบว่า พบว่านักเรียนโรงเรียนโพนทองพัฒนา ENVI) มีความสัมพันธ์กันปานกลาง มีค่า วิทยา มีระดับการแสดงออกของความเป็น สัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์ (r) เท่ากับ.413 อย่าง พลเมืองโลกอย่างย่ังยืน อยู่ในระดับปานกลาง มีนัยสาคัญที่ระดับ .01 ส่ือสารอย่างน้อยสอง เมื่อพิจารณาตามตัวแปรสังเกต พบว่า ด้าน ภาษา (Communicate: COMM) กับ ใส่ใจ ความเป็นเลิศทางวิชาการ อยู่ในระดับปาน ส่ิ ง แ ว ด ล้ อ ม (Environment: ENVI) มี กลาง ด้านสื่อสารอย่างน้อยสองภาษา อยู่ใน ความสัมพันธ์กันปานกลาง มีค่าสัมประสิทธ์ิ ระดบั ปานกลาง ดา้ นล้าหน้าทางความคดิ อยู่ สหสัมพันธ์ (r) เท่ากับ .568 อย่างมีนัยสาคัญ ในระดับปานกลาง ด้านผลิตงานอย่าง ท่ีระดับ .01 ลา้ หนา้ ทางความคดิ (Thinking: สร้างสรรค์ อยู่ในระดับปานกลาง และด้าน THIN) กั บ ยึ ด ม่ั น ป ร ะ ช า ธิ ป ไ ต ย ร่วมกันรับผิดชอบต่อสังคมโลก อยู่ในระดับ (Democracy: DEMO) มีความสัมพันธ์กัน ปานกลาง ที่เป็นเช่นนี้อาจเน่ืองมาจากการ ปานกลาง มีค่าสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์ (r) จัดการศึกษาในยุคโลกาภิวัฒน์นั้นต้องมีการ เท่ากับ .562 อย่างมีนัยสาคัญท่ีระดับ .01 พัฒนาศักยภาพ ของผู้เรียนในทุกด้านและ ผลิตงานอย่างสร้างสรรค์ (Creative: CREA) พัฒนาผู้เรียนให้สามารถอยู่ร่วมกันในฐานะ กั บ ยึ ด มั่ น ป ร ะ ช า ธิ ป ไ ต ย (Democracy: เป็นพลโลก ซ่ึงสอดคล้องกับ Asia Society DEMO) มีความสัมพันธ์กันปานกลาง มีค่า (2008) ทกี่ ลา่ วถึงความสาเรจ็ ทางการศึกษาใน สัมประสิทธ์ิสหสัมพันธ์ (r) เท่ากับ .588 โลกยุคโลกาภิวัตน์ ได้แก่ การเตรียมความ อ ย่ า ง มี นั ย ส า คั ญ ที่ ร ะ ดั บ . 0 1 ยึ ด มั่ น พร้อมนักเรียนเพื่อให้เทียบเคียงนานาชาติได้ , ประชาธิปไตย (Democracy: DEMO) กับ การออกแบบใหม่ให้โรงเรียนเพื่อความเสมอ ร่ ว ม กั น รั บ ผิ ด ช อ บ ต่ อ สั ง ค ม โ ล ก ภาค ความเป็นเลิศ และความสามารถระดับ (Responsibility: RESP) มีความสัมพันธ์กัน โลกให้นักเรียนทุกคน, สารวจความรู้ของครู และผ้บู รหิ ารด้านความเปน็ สากล , สรา้ งความ เข้มแขง็ ทางภาษา ตัง้ แตร่ ะดับประถมถึงระดับ 11

วิทยาลัย , มีโครงการแลกเปล่ียนเรียนรู้กับ ความเป็นพลเมอื งโลก ส่งเสริมกิจการนกั เรยี น นานาชาติ และสอดคล้องกับ [5] ที่กล่าว่า มีการจัดหลักสูตรที่ส่งเสริมกับความเป็นพล ค ว า ม เ ป็ น พ ล เ มื อ ง โ ล ก ข อ ง นั ก เ รี ย น โลกให้กับผู้เรียน สอดคล้องกับ [6] ได้มี ประกอบด้วย 2 องค์ประกอบ คือ 1) ด้าน ข้อเสนอเชิงนโยบายในการสร้างพลเมือง สมั พนั ธ์ทางสงั คม ได้แก่ การวเิ คราะห์ขา่ วสาร ระดับมัธยมศึกษาเนน้ ความรูท้ ักษะและเจตคติ ข้ อ มู ล เ ห ตุ ก า ร ณ โ ล ก ก า ร คิ ด อ ย่ า ง มี เพ่ือเป็นฐานของการประกอบอาชีพ หรือ วิจารณญาณ การเคารพสิทธิ เสรีภาพและ ก า ร ศึ ก ษ า ต่ อ แ ล ะ ก า ร ด า ร ง ชี วิ ต ในวิถี ความเสมอภาค การใช้ทรัพยากรธรรมชาติ ประชาธปิ ไตยสาระวชิ าที่ควรเรยี นร้ไู ดแ้ ก่ สทิ ธิ เพ่อื การพัฒนาทีย่ ่ังยนื การทางานร่วมกับผู้อ่ืน หน้าท่ีและ ความรับผิดชอบของความเป็น การเข้าร่วมกิจกรรมทางการเมืองในระดับต่าง พลเมืองที่บูรณาการกับคุณธรรมจริยธรรม ๆ และการมีจิตสาธารณะ 2) ด้านคณุ ลกั ษณะ ภาษา คณิตศาสตร์ วิทยาศาสตร์ สังคมและ ภายในบุคคล ได้แก่ การมีความรับผิดชอบต่อ วัฒนธรรม เพศศึกษา การงานและอาชีพ โดย ตนเอง ความซื่อสัตย์ การยอมรับคุณค่าใน เน้นทักษะการคิดวิเคราะห์นวัตกรรมและการ ความหลากหลาย และการมองเห็นและเข้าถึง เรียนรู้ ทักษะชีวิตและอาชีพ สารสนเทศ ส่ือ ปัญหาในฐานะของสมาชิกโลก และสอดคล้อง และเทคโนโลยี และสอดคลองกับแนวคิด ของ กับแนวทางการศึกษาเพ่ือให้เกิดการพัฒนาท่ี [7] ท่ีกล่าวถึงแนวคิดองค์ประกอบความเป็น ยั่งยืนในอนาคตที่เน้นผลลัพธ์ด้านผู้เรียน และ พ ล โ ล ก ที่ ส่ ง เ ส ริ ม พั ฒ น า นั ก เ รี ย น ใ ห้ มี ความรู้ที่จาเป็น ทักษะและค่านิยม หลักสตู ร คุณลักษณะท่ีพึงประสงค์ ของพลโลกใน ความย่ังยืนมีความเป็นไปได้สาหรับความ ศตวรรษท่ี 21 รวมถึง ทั้งน้ี [8] ยังกล่าวถึง ร่วมมือระหว่างผู้เรียนและความพยายามใน คุณลักษณะความเป็นพลเมืองเพ่ือสร้างให้เกิด โลกของความเป็นจริงซึ่ง การบริการด้วย สังคมพลเมือง (Civil Society) ท่ีนักเรียนใน เป้าประสงค์เชิงคุณธรรม การมุ่งม่ันที่จะ ปัจจุบันควรได รับการฝึกฝนเรียนรู พัฒนา เปลี่ยนแปลงบริบทในทุกระดับ การสร้าง ตนเองให้สามารถอยูร่ ว่ มกนั ได้ในสังคมและพร ความสามารถแนวข้าง ผ่านเครือข่าย การ อมท่ีจะเติบโต เป็นคนที่มีประสิทธิภาพ สามารถตรวจสอบได้เชิงปัญญา และ นอกจากน้ันตัวแปรเหล่านี้ยังสอดคล้องกับ ความสัมพันธ์ในแนวต้ัง ครอบคลุมการสร้าง งานวิจยั ของผู้วิจยั อีกหลายทา่ นอาทิ [9], [10], ความสามารถและความรับผดิ ชอบ การเรียนรู้ และ[11] ซึ่งทักษะในการดารงชีวิตใน แบบเชิงลึก การมีพันธะผูกพันแบบทวิภาคี ศตวรรษท่ี 21 ที่ทุกคนต้องเรียนรู้ตลอดชีวิต กับผลระยะสั้นและระยะยาว การสร้างพลัง ประกอบด้วยการเรียนรู ู3R x 7C 3R คือ ครบวงจร อีกทงั้ โรงเรียนมีการดาเนินงานตาม Reading (อ่านออก), (W)Riting (เขียนได้) นโยบายของกระทรวงศึกษาธิการและพัฒนา และ (A) Rithemetics (คิดเลขเป็น) และ 7C 12

ไดแก ทักษะด้านการคิดอย่างมีวิจารณญาณ สังเกตของความเป็นพลเมืองโลกอย่างยั่งยืน แ ล ะ ทั ก ษ ะ ใ น ก า ร แ ก้ ปั ญ ห า ( Critical โดยใช้วิธีของเพียร์สัน (Pearson’s product Thinking and Problem Solving) ทั ก ษ ะ moment correlation coefficient) พบว่า ด้านการสร้างสรรค์ และ นวัตกรรม ตัวแปรทุกตัวมีความสัมพันธ์ทางบวกโดยมีค่า ( Creativity and Innovation) ทั ก ษ ะ ด้ า น สัมประสิทธ์ิสหสัมพันธ์ (r) อยู่ระหว่าง 0.263 ความเขา้ ใจความต่างทางวฒั นธรรม ถึ ง 0.869 แ ส ด ง ใ ห้ เ ห็ น ว่ า ลั ก ษ ณ ะ ตา่ งกระบวนทัศน์(Cross- ค ว า ม สั ม พั น ธ์ ข อ ง ตั ว แ ป ร ท่ี ศึ ก ษ า เ ป็ น culturalnderstanding) ทักษะดา้ นความ ความสัมพันธ์เชิงเส้นตรง เมื่อพิจารณาค่า ร่วมมือ การทางานเปน็ ทีม และภาวะผู้นา สัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์ระหว่างตัวแปรสังเกต (Collaboration, Teamwork and ได้ที่สัมพันธ์กันในตัวแปรแฝงเดียวกัน พบว่าคู่ Leadership) ทักษะดา้ นการ สอ่ื สาร ท่ีมีค่าสัมประสิทธ์ิสหสัมพันธ์สูงสุด ได้แก่ สารสนเทศ และรูเท่าทันสือ่ ความยุตธิ รรม (JUST) กับยดึ มั่นประชาธิปไตย (Communications, Information, and (DEMO) มีค่าสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์ (r) Media Literacy) ทักษะด้านคอมพวิ เตอร์ เ ท่ า กั บ 0.869 แ ล ะ เ ม่ื อ พิ จ า ร ณ า ค่ า และเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร สัมประสิทธ์ิสหสัมพันธ์ระหว่างตัวแปรสังเกต (Computing and ICT Literacy) ทกั ษะ ของความเป็นพลเมืองโลกอยา่ งย่ังยืนท้ัง 5 ตัว อาชีพ และทักษะการเรียนรู Career and แ ป ร ไ ด้ แ ก่ เ ป็ น เ ลิ ศ ท า ง วิ ช า ก า ร Learning Skills) และองคป์ ระกอบดา้ น (Academic: ACAD) ส่ือสารอย่างน้อยสอง พฤติกรรมของการเปน็ พลเมืองนน้ั มตี ัวบ่งชี้ ภ า ษ า (Communicate: COMM) ล้ า ห น้ า ได้แก่ การมีส่วนร่วมเพื่อ พัฒนาสังคม การใช้ ทางความคิด (Thinking: THIN) ผลิตงาน สทิ ธแิ ละปฏิบัตติ ามหนา้ ที่ของตนเองท่มี ตี ่อ อย่างสร้างสรรค์ (Creative: CREA) ร่วมกัน สังคม และความรับผิดชอบต่อตนเองและ รับผิดชอบต่อสังคมโลก (Responsibility: สังคม ซ่งึ ตวั บง่ ชีก้ ารมีส่วนร่วมเพ่ือพฒั นา RESP) พบว่าตวั แปรยดึ ม่ันประชาธิปไตย กับ สงั คม และ ตัวบ่งชกี้ ารใชส้ ทิ ธิและปฏบิ ัตติ าม ความรับผิดชอบต่อสังคมโลก มีความสัมพันธ์ หน้าทีข่ องตนเองท่มี ี ต่อสังคม กันในระดับมาก มีค่าสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์ (r) เท่ากับ .613 อย่างมีนัยสาคัญท่ีระดับ .01 จากผลการวิเคราะห์ค่าสัมประสิทธิ์ ท่ีเป็นเช่นนี้อาจเน่ืองมาจากความเป็นพลเมอื ง สหสัมพนั ธ์อยา่ งง่ายระหว่างตัวแปรสังเกตของ โลกมีความหลากหลายและแตกต่างดังน้ันการ ปัจจัยเชิงสาเหตุและตัวแปรสังเกตของความ พัฒนานักเรียนให้มีความรับผิดขอบต่อสังคม เป็นพลเมืองโลกอย่างยั่งยืน การวิเคราะห์ และสร้างผลกระทบเชิงบวกให้กับสังคมโลก ค่าสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์อย่างง่ายระหว่างตัว นั้นเกิดจากการยอมรับคว ามแตกต่า ง แปรสังเกตของปัจจัยเชิงสาเหตุ และตัวแปร 13

หลากหลายและมีส่วนร่วมในสังคม ซึ่งเป็น ใช้ ของชุมชนอย่างไร และเหตุผลท่ีมีการ หลักการของประชาธิปไตย สอดคล้องกับ ตัดสินใจอย่างไรส่งผลกระทบต่อโลกและ [12] ที่กล่าวว่า คุณลักษณะของพลเมืองไทย สิ่งมีชีวิต ดังน้ัน พลเมืองโลก จึงหมายถึง ในระบอบ ประชาธิปไตยน้ัน ประกอบด้วย 1) ความรับผิดชอบของคนทั่วโลกเร่ืองที่เกย่ี วข้อง การเป็นผู้มีความรู้ มีการศึกษา สามารถ กับสังคม เก่ียวข้องกับสิทธิมนุษยชน และ มองเห็นและเข้าใจสังคมของตนเองและสังคม ความยุตธิ รรมทางสงั คม โลก เฉกเช่นเป็นสมาชิกของสังคม 2) ยึดถือ ประโยชน์ส่วนรวมและสังคมเป็นหลัก 3) มี ข้อเสนอแนะ ความรักในเสรีภาพและความรับผิดชอบ 4) เคารพความเสมอภาค ความยุติธรรม 5) มี 1. ขอ้ เสนอแนะเกยี่ วกับการนา ความสามารถคิดวิเคราะห์อย่างเป็นเหตุเป็น ผลการวจิ ยั ไปใช้ประโยชน์ ผลการวิจัยพบว่า ผล 6) มีความเข้าใจเร่ืองสิทธิมนุษยชน และ คา่ สมั ประสิทธ์สิ หสัมพนั ธ์ระหว่างตวั แปร ยอมรับความแตกต่างในความเป็นพหุสังคม พบว่าความยุตธิ รรมกับการยึดมน่ั 7) เคารพกฎหมายและยึดหลักนิติรัฐ 8) มี ประชาธปิ ไตยมีความสัมพันธ์กันมากทส่ี ุด ความรู้ความเข้าใจการเปล่ียนแปลงทางสังคม ดงั นนั้ โรงเรียนควรใหค้ วามรดู้ ้านสทิ ธิเสรภี าพ และการเมือง(Political Literacy) และ เข้า และจดั ทาหลักสตู รเกยี่ วกบั การสง่ เสริม ไ ป มี ส่ ว น ร่ ว ม ท า ง ก า ร เ มื อ ง (Political ประชาธปิ ไตยในโรงเรยี น ซงึ่ มคี วามสมั พนั ธ์ Participation) ทุกระดับ ตั้งแต่ระดับชุมชน กบั องค์ประกอบของความเป็นพลเมืองโลกที่ ท้องถน่ิ ระดบั ชาตแิ ละนานาชาติ 9) ยึดม่ันใน จาเป็นตอ่ การเป็นโรงเรียนมาตรฐานสากล หลักสนั ติวธิ ี ไมใ่ ช้ความรนุ แรงในการแก้ปญั หา ด้านความรับผดิ ชอบต่อสงั คมโลก ความขัดแย้ง และสอดคล้องกับ [8] ท่ีกล่าว ว่ า พ ล เ มื อ ง ม น ร ะ บ อ บ ป ร ะ ช า ธิ ป ไ ต ย 2. ขอ้ เสนอแนะเกย่ี วกบั ประเดน็ ประกอบด้วยลักษณะ 6 ประการ คือ คือ ปัญหาทค่ี วรศึกษาวจิ ัย 1) มีอิสรภาพและพึ่งตนเองได้ 2) เห็นคนเท่า เทียมกัน 3) ยอมรับความแตกต่าง 4) เคารพ 2.1 ควรมกี ารศึกษาวิจยั ต่อไป สิทธิอ่ืน 5) รับผิดชอบต่อสังคม อีกทั้งการ เพ่อื พัฒนารูปแบบความเปน็ พลเมืองโลกของ ด า ร ง ต น ใ น สั ง ค ม โ ล ก มี ก า ร รั บ รู้ ถึ ง ค ว า ม นักเรยี นในโรงเรยี นทีเ่ ขา้ รว่ มโครงการโรงเรยี น เชื่อมโยงระหว่างกัน ทั่วโลกและความเข้าใจ มาตรฐานสากลและโรงเรยี นท่ัวไป เกี่ยวกับประเด็นปัญหา ที่ส่งผลกระทบต่อ บุคคลและชวี ติ ยงั สอดคลอ้ งกับ [13] ทก่ี ล่าว 2.2 ควรมกี ารศึกษาปัจจัยทส่ี ่งผล วา่ ทุกประเทศท่ัวโลกไดร้ ับการกาหนดว่าต้อง ตอ่ ความเป็นพลเมืองโลกควบคไู่ ปกับการเกบ็ รวบรวมข้อมูลเพ่ือยืนยันโดยการสมั ภาษณ์ การสนทนากลุ่ม เป็นต้น เพื่อให้ผลการวิจยั มี ความนา่ เชื่อถือมากยง่ิ ข้นึ 14

ปัจจยั ส่คู วามสาเรจ็ 4. สง่ เสรมิ พัฒนาศักยภาพ ความรู้ โครงการวิจยั นด้ี าเนินการระหวา่ ง ทกั ษะ และความเชี่ยวชาญให้เกิดขน้ึ อยา่ ง ต่อเน่อื ง รวมทั้งทานุบารงุ ใหม้ ีการใช้ความรู้ ปีการศกึ ษา 2560-2561 โดยพฒั นาตอ่ นัน้ อย่เู สมอ ๆ ยอดจากโครงการวจิ ยั ดษุ ฎบี ัณฑติ การปรับคุณภาพเพือ่ มุ่งพัฒนาต่อไป ครู และผบู้ รหิ าร การพฒั นาต่อยอดชุดฝกึ อบรม และ 1. ม่งั ม่ันและพัฒนาตนเองอยู่เสมอ 2. นาความร้ทู ี่ไดจ้ ากการพฒั นา ค่มู อื ในการพัฒนาความเปน็ พลโลกของ ตนเอง มาใช้ในการพัฒนาการเรยี นการสอน นักเรียน อยา่ งเป็นระบบ (กระบวนการวจิ ัย) 3. ใช้ระบบการคุณภาพ (PDCA) การเผยแพร่ พัฒนาผลการปฏิบัติงานหรือการเรียนการ 1. การประเมนิ โรงเรยี นที่มีระบบ สอน 4. ไดร้ บั ทุนสนับสนุนการวิจยั การบรหิ ารจดั การตามเกณฑร์ างวัลคุณภาพ สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขน้ั พ้ืนฐาน OBECQA ณ หอ้ งประชุม 3 โรงเรยี นโพนทอง และกระบวนการช่วยเหลือในการกากับ พัฒนาวิทยา วันท่ี 28 มถิ นุ ายน พ.ศ. 2562 ตดิ ตาม ผ้เู ชย่ี วชาญตรวจสอบคณุ ภาพและ เคร่อื งมือที่ใช้การวจิ ัย และเวทีวชิ าการ ในการ 2. นทิ รรศการและแสดงผลงานใน แลกเปล่ียนเรียนรูแ้ ละเผยแพรผ่ ลงาน วนั ที่ 1 กรกฎาคม พ.ศ. 2562 ณ ฝา่ ยบริหาร โรงเรยี น และ มหาวิทยาลยั ราชภฏั ร้อยเอ็ด ในการนาเสนอ หน่วยงานตน้ สงั กดั ผลงานการปฏบิ ัติที่เปน็ เลศิ (Best Practices) 1. การใหก้ ารสนับสนุน เหน็ ด้านการพฒั นาการเรยี นร้ตู ามแนวทางการ ความสาคัญ ประเมนิ นักเรียนร่วมกบั นานาชาติ (PISA) 2. สรา้ งเสรมิ โอกาสใหน้ าผลงาน ดา้ นการรเู้ รือ่ งคณิตศาสตรก์ บั หลักสูตร การจัดการเรยี น นวัตกรรมเข้ารว่ มการ แกนกลางการศึกษาข้นั พน้ื ฐาน แลกเปล่ียนเรียนร้เู วทีวชิ าการตา่ ง ๆ 3. สนบั สนนุ วสั ดุอุปกรณ์ 3. การศึกษา การประชุมวชิ าการ งบประมาณอย่างเพียงพอ ระดบั ชาติ โดยสานักวิจยั และพฒั นานวัตกรรม ทางการศึกษา ณ โรงแรมริเวอร์ไซด์ กรุงเทพมหานคร 20-21 กรกฎาคม 2562 15

บรรณานกุ รม [1] พิพัฒน์ นนทนาธรณ.์ (2553). การจัดการความรับผดิ ชอบ ต่อสงั คมขององค์กร การสร้างข้อ ได้เปรยี บในการแขง่ ขนั อยา่ งยัง่ ยืน. นนทบรุ :ี ธงิ ค์ บยี อนด์ บุ๊กส์. [2] สมคดิ สกลุ สถาปัตย์. (2552). รปู แบบภาวะผู้นาการเปล่ียนแปลงท่ีมีประสิทธผิ ลต่อการปฏิรปู การศกึ ษาอยา่ งยง่ั ยืน. วิทยานพิ นธ์ ปร.ด (การบริหารการศกึ ษา). มหาวิทยาลยั ศิลปากร. [3] ภาวชิ ทองโรจน.์ (2555). สภาสถาบันอดุ มศกึ ษากับการพัฒนาอุดมศึกษา. (ออนไลน)์ . พฤษภาคมแหล่งทมี่ า: http://www.dusit. ac.th/course/standard/No–3.pdf. [4] Raouia Manseur. Ethics of Global Citizenship in Education for Creating a Better World. American Journal of Applied Psychology. 6(5): 118-122. [5] เบญจมาศ บุดศรี และ จตุภูมิ เขตจัตรุ สั (2560). การพัฒนาโมเดลการวดั ความเปน็ พลโลก ของนักเรยี น มธั ยมศึกษาตอนต้น. กรุงเทพฯ [6] สานกั งานเลขาธิการสภาการศึกษา. (2559). รายงานการวจิ ยั เพ่ือจดั ทาข้อเสนอเชงิ นโยบาย การพัฒนาการศกึ ษาเพ่อื สร้างความเปน็ พลเมอื ง. กรุงเทพฯ: พรกิ หวานการพิมพ์. [7] Cogan and Derricott (2000). Citizenship for the 21st Century: An International Perspective on Education. British. [8] ปรญิ ญา เทวานฤมิตรกุล. (2555). การศึกษาเพอ่ื สร้างพลเมือง. กรุงเทพฯ : นานมบี ุ้คส์ [9] ศริ เิ พ็ญ บูรณศิริ (2532). สถาบนั สงิ่ แวดลอ้ มไทย. (2550). รายงานประจาปี 2550. กรุงเทพฯ: สถาบนั สิง่ แวดลอ้ มไทย. [10] สริวริ รณ ศรพีหล. (2551). โครงการพฒั นาชุดฝกึ อบรมทางไกล เรื่องการจดั การเรยี น การสอนเพ่ือการพัฒนาลกั ษณะความเปน็ พลโลกของนักเรียนสาหรับครูสังคมศึกษา. นนทบรุ ี : มหาวิทยาลัยสโุ ขทัยธรรมาธิราช. [11] ปาจรยี รตั นานุสนธ์ิ. (2556). การพฒั นาตวั บ่งช้ีคณุ ลักษณะความเปน็ พลโลกของนักเรียน ระดับมัธยมศกึ ษา. วารสารอเิ ลก็ ทรอนิกส์ทางการศกึ ษา (OJED). 9(2): 686-698. [12] ทพิ ย์พาพร ตันติสนุ ทร. (2554). การศึกษาเพื่อสร้างความเปน็ พลเมือง : กรงุ เทพฯ. [13] Hashman et al (2015) The Citizens' Right to Information : Law and Policy in the EU and its Member States. (Online). Available: http://www.europarl.europa.eu/RegData/etudes/etudes/join/2012/462467/IPO L-LIBE_ET(2012)462467_EN.pdf 16

การพัฒนาความสามารถการคดิ แกป้ ญั หาทางวิทยาศาสตร์ ในวิชาการศึกษาค้นคว้าอิสระ (IS) ของนกั เรียนช้ันมธั ยมศกึ ษาปที ่ี 2 โดยใช้แบบฝกึ ทักษะ และการจดั การเรียนรู้ตามแนว Active Learning Quaxi-Experimental Research on the Independent Study Active Learning Package Development for Developing Science Cognitive Preference Ability of Secondary Students 1ครู โรงเรยี นโพนทองพฒั นาวทิ ยา สานักงานเขตพื้นทก่ี ารศึกษามธั ยมศึกษา เขต 27 โทรศัพทม์ อื ถอื 083-662-7110/E-Mail [email protected] บทคัดย่อ การวิจัยคร้ังน้ีมีวัตถุประสงค์เพ่ือ 1) พัฒนาแบบฝึกทักษะการแก้ปัญหาทางวิทยาศาสตร์ และการเรียนรู้ตามแนว Active Learning วิชาการศึกษาค้นคว้าอิสระ (IS) สาหรับนักเรียนช้ัน มัธยมศึกษาปีท่ี 2 ที่มีประสิทธิภาพตามเกณฑ์มาตรฐาน 2) เปรียบเทียบความสามารถการคิด แก้ปัญหาทางวิทยาศาสตร์เป็นรายบุคคล และเป็นกลุ่มกับเกณฑ์ที่กาหนด 3) เปรียบเทียบ ความสามารถด้านการอ่านตามแนวทางการประเมินผลนักเรียน (PISA) ก่อนเรียน หลังเรียน และ หลังเรียน 2 สัปดาห์ รูปแบบการวิจัยก่ึงทดลอง 2 แบบคือ แบบ Two-groups Posttest Design และแบบ Pretest-Posttest with Equivalent Group Design กลุ่มตัวอย่างนักเรียน 88 คน ได้มาโดยการแบบกลุ่ม เก็บรวบรวมข้อมูลโดยใช้ 1) แบบฝึก 7 ชุด 2) แผนการจัดการเรียนรู้ 14 แผน 3) แบบทดสอบอัตนัยประยุกตว์ ัดความสามารถการคิดแกป้ ญั หาทางวทิ ยาศาสตร์ จานวน 20 ข้อ ค่าอานาจจาแนก (B) ระหว่าง 0.47 – 0.97 และค่าความยากง่าย (P) มีค่าระหว่าง 0.44- 0.71 ค่าความเชอ่ื มน่ั เทา่ กบั 0.77 และ 4) แบบทดสอบวัดความสามารถการรู้เรื่องการอ่านตามแนว PISA วิเคราะห์ข้อมลู เปรียบเทียบรายคู่ และทดสอบสมมตฐิ านโดยใช้สถติ ิ (1) Bonferroni (2) F-test (One way ANCOVA และTwo Way Repeated Measure ANOVA) ผลการวิจัยพบวา่ 1) แบบฝึกทักษะที่ผู้วิจัยสร้างขึ้นมีประสิทธิภาพ 76.00 / 76.67 สูงกว่าเกณฑ์มาตรฐานท่ีกาหนด นักเรียนมีคะแนนเฉลี่ยหลงั เรียนแตกต่างอย่างมีนัยสาคัญทางสถิติ โดยลักษณะการฝกึ และเพศลว้ น ส่งอิทธิพลทางตรงหรือมีความสัมพันธ์ เชิงเส้นกับความสามารถการคิดแก้ปัญหาทางวิทยาศาสตร์ 17

คะแนนเฉล่ยี การฝึกเป็นรายบุคคลสงู กว่าการฝึกแบบกลมุ่ อยา่ งมนี ัยสาคัญ 2) ความสามารถดา้ นการ รู้เรื่องการอ่านตามแนวทางการประเมินผลนักเรียน (PISA) ก่อนเรียน หลังเรียน แตกต่างกันอย่างมี นัยสาคญั คะแนนเฉลยี่ หลงั เรยี นสงู กว่าก่อนเรยี นอยา่ งมนี ยั สาคัญ และคะแนนเฉลยี่ หลงั เรียนจบ 2 สัปดาห์สูงกวา่ กอ่ นเรียนอย่างมนี ัยสาคัญทางสถิติที่ระดับ .05 แตค่ ะแนนเฉลยี่ หลงั เรยี นกับหลังเรียน จบ 2 สัปดาหไ์ ม่แตกต่างกัน แสดงว่านักเรียนมีความสามารถด้านการรู้เรื่องการอ่านตามแนวทางการ ประเมนิ ผลนกั เรียน (PISA) สงู ขน้ึ และเกิดความคงทนในการเรียนรู้ Abstract The purposes of this study was to 1) Develop standard Independent Study (IS) and Active Learning Instruction Package for Mathayom Suksa II students 2) Compare pre and post learning of students’ science cognitive preference ability with standard criteria. 3) Compare pre, post, and follow learning of students’ reading literacy (PISA). The research design consisted of two types namely; (1) Two-groups Posttest Design (2) Pretest-Posttest with Equivalent Group Design. Collection data was done through 88 students acquired by cluster random sample and multiple instruments namely; (1) 7 Science Problem Solving Skills Training, (2) 14 Instruction plans, (3) A apply subjective test of learning Achievement with 20 items, discriminating values (r) ranging 0.47-0.97, difficulties ( p) ranging 0.44-0.71 and a reliability of 0.77. (4) A test of reading literacy (PISA) Achievement. Then data were analyzed by Bonferroni, F-test (One way ANCOVA, and Two Way Repeated Measure ANOVA). The research findings were summarized as follows: 1) Independent Study (IS) and Active Learning Instruction Package for Mathayom Suksa II students with the efficacy value 76.00/76.67 which is higher than the criterion prescribed and gains learning. The mean of individual practice students were significantly higher than group practice after learning. Individual practice and sex of students are main effect to science cognitive preference ability. 2) The pre, post, and follow learning of students’ reading literacy (PISA) were significantly different. The mean of posttest were significantly higher than pretest with the level of .05, and the mean of follow were significantly higher than pretest with the level of .05 too. But the mean of posttest and follow were not different. Shown that Independent Study 18

(IS) and Active Learning Instruction Package and implementation research process had been made the students to be able to develop reading literacy and retention learning. คาสาคญั : ความสามารถการคิดแกป้ ัญหาทางวทิ ยาศาสตร์, การแก้ปัญหาทางวทิ ยาศาสตร์, การ จัดการเรียนรตู้ ามแนว Active Learning Keyword: Science Cognitive Preference Ability, Science Problem Solving, Active Learning บทนา ทางการเรียนวิทยาศาสตร์ คณิตศาสตร์ และ มีผลสัมฤทธ์ิการรู้เร่ืองการอ่าน (Reading การจัดการเรียนการสอนคณิตศาสตร์ Literacy) ตามแนวทางการประเมินผล วิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยี เนน้ กระบวนการ นักเรียน (PISA) ผลการทดสอบในระดับ ท่นี ักเรียนเป็นผ้คู ิด ลงมือปฏบิ ตั ิ ศึกษาคน้ คว้า นานาชาติท่ีไม่ น่าพอใจ และค่อนข้างต่า อย่างเป็นระบบด้วยกิจกรรมที่หลากหลาย ไม่อาจเทียบกับมาตรฐานการเรียนรู้ของเด็ก ตลอดจนได้พัฒนาทักษะการคิด กระบวนการ ชาตอิ ืน่ ๆ ได้ เมอื่ พิจารณาผลสมั ฤทธิท์ างการ เรียนรู้ พัฒนาเจตคติทางวิทยาศาสตร์และ เรียนวิทยาศาสตร์ในระดับประเทศที่พบว่า มี คุณธรรม จริยธรรม แต่ปัญหาท่ีเป็นอุปสรรค คะแนนเฉลี่ยตา่ กว่าร้อยละ 50 อย่างมากต่อการเรียนการสอนคือ ตัวครูซ่ึง เป็นผู้เกี่ยวข้องโดยตรงที่ทาให้การสอนมี สานักงานคณะกรรมการการศึกษาข้ัน ประสิทธิภาพ เนื่องจากครูส่วนมากยังยึด พื้นฐานได้นาโครงการโรงเรียนมาตรฐานสากล ตัวเองเป็นศูนย์กลางในการเรียนการสอน ไม่ มาใช้เป็นมาตรการเร่งด่วน และเป็นนวัตกรรม ปรับปรุงการสอนของตนแม้ว่าจะมีพัฒนา การจัดการศึกษาท่ีในการยกระดับคุณภาพ หลักสูตรให้ดีเพียงใด แต่ไม่สาคัญเท่า การศึกษา เพ่ือให้ผู้เรียนมีคุณภาพเทียบเท่า พฤติกรรมของครูซ่ึงเป็นผู้ปฎิบัติ จึงเป็น มาตรฐานสากลหรือมาตรฐานของประเทศท่ีมี สาเหตุสาคัญประการหน่ึงท่ีทาให้เมื่อถึงวัย คุณภาพการศึกษาสูง โดยมีเป้าหมายสาคัญใน ผู้ใหญ่ แต่สภาพการจัดการเรียนการสอน การพัฒนาคุณภาพผู้เรียน คือ เป็นเลิศทาง วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ของประเทศไทย วิชาการ ส่ือสารสองภาษา ล้าหน้าทางความคิด ยังไม่สามารถผลักดันให้ประเทศไทยเป็นผู้นา ผลิตงานอยา่ งสร้างสรรค์ และรว่ มกนั รบั ผิดชอบ ด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี คณิตศาสตร์ ต่อสังคมโลก และได้ดาเนินการขับเคลื่อน ในภูมิภาคได้ ด้วยนักเรียนไทยขาดทักษะ โรงเรียนโครงการมาตรฐานสากลมาต้ังแต่ 19

ปี 2553 เป็นต้นมาเพื่อพัฒนาให้โรงเรียนมี จากความสาคัญของวิชาคณิตศาสตร์ มาตรฐานระดับประเทศที่ใกล้เคียงกัน รวมท้ัง วิทยาศาสตร์ เทคโนโลยีที่มีต่อสังคมโลกใน ได้มาตรฐานระดบั สากล และส่งเสริมให้เด็กไทย ปัจจุบันดังกล่าวมาแล้วข้างต้นและสภาพ เกิดทักษะทางวิชาการ ทักษะอาชีพและทักษะ ปัญหาด้านการเรียนการสอนในโรงเรียน ชีวิตด้วยการจัดการเรียนการสอนบันได 5 ข้ัน มาตรฐานสากล ผู้ศึกษาในฐานะท่ีเป็น ของการพัฒนาผู้เรียน สู่มาตรฐานสากล จาก ครูผู้สอน เห็นควรว่าควรเร่งพัฒนาการเรียน แนวคิดดังกล่าวกระทรวงศึกษาธิการจึงมีการ การสอนวิชาการศึกษาอิสระ ( IS) ตาม ทบทวนและปรับปรุงหลักสูตรการศึกษาข้ัน โครงการโรงเรียนให้เป็นรูปธรรมเพื่อแก้ไข พื้นฐาน และ ได้ประกาศใช้หลักสูตรแกนกลาง ปัญหาดังกล่าว ผู้ศึกษาเห็นว่า แบบฝึกทักษะ การศึกษาขั้นพ้ืนฐาน พุทธศักราช 2551 เพื่อ การคิดแก้ปัญหาทางวิทยาศาสตร์ตามแนว เป็นกรอบทิศทางใน การพัฒนาเยาวชนของ Active Learning เป็นสื่อท่ีช่วยแก้ปัญหา ชาตเิ ขา้ ส่โู ลกยุคศตวรรษที่ 21 และเปน็ ไปตาม ดังกล่าวได้ดี และนอกจากน้ีถ้าได้นาทักษะ ปฏิญญาว่าด้วยการจัดการศึกษาของ UNESCO กระบวนการทางวิทยาศาสตร์ ผนวกเข้ากับ อย่างไรก็ตามผลการติดตามการดาเนินงานของ ชุ ด ก า ร เ รี ย น ก า ร สอ น ก็ น่ าจ ะ ส าม ารถ โรงเรียนในโครงการโรงเรียนมาตรฐานสากล ใน เสริมสร้างทักษะการคิดแก้ปัญห าท าง ปีการศกึ ษา 2553-2554 พบปญั หาอปุ สรรคใน วิทยาศาสตร์ให้กับนักเรียน และยังช่วยให้ การปฏิบัติบางประการ ได้แก่ การใช้คาบางคา ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนและผลสัมฤทธิ์ด้าน อาจทาให้เกิดการเข้าใจผิดว่ามีความซ้าซ้อนกับ ทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ของ หลกั สตู รบางหลกั สตู ร และการจัดสาระเพิ่มเติม นักเรียนสูงข้ึน ผู้ศึกษาจึงสนใจท่ีจะพัฒนาชดุ ใ น ห ลั ก สู ต ร ข อ ง ส ถ า น ศึ ก ษ า ห ล า ย แ ห่ ง ยั ง ไม่ การเรียนการสอนวิชาการศึกษาค้นคว้าอิสระ สอดคล้องกับโครงสร้างเวลาเรียนที่กาหนดใน ท่ีเน้น ทักษะกระบวนการคิดแก้ปัญหาทาง ห ลั ก สู ต ร แ ก น ก ล า ง ก า ร ศึ ก ษ า ขั้ น พื้ น ฐ า น วิทยาศาสตร์ สาหรับนักเรียนช้ันมัธยมศึกษา พุทธศักราช 2551 นอกจากน้ันเสียงสะท้อน ปีท่ี 2 ขนึ้ โดยหวงั วา่ ชดุ การเรยี นการสอนที่มี ของสังคมท่ัวไปบ่งช้ีให้เห็นว่า ทักษะและ ประสิทธิภาพ สามารถช่วยแก้ไขปัญหาการ ความสามารถท่ีจาเป็นท่ีจะช่วยทาให้เด็กและ จัดการเรียนการสอนการศึกษาค้นคว้าอิสระ เยาวชนไทยสามารถพัฒนาตนเองไปสู่ความเป็น ตามโครงการโรงเรียนมาตรฐานสากลทมี่ ีอยู่ใน สากล ได้แก่ ทักษะและความสามารถในการคิด ปัจจุบนั วเิ คราะห์ การคดิ สรา้ งสรรค์ การแสวงหาความรู้ ดว้ ยตนเอง รวมถงึ ทักษะและความสามารถด้าน ผศู้ ึกษาให้ความสนใจท่จี ะพฒั นาแบบ เทคโนโลยี และทักษะและความสามารถในการ ฝึ ก ทั ก ษ ะ ก า ร เ รี ย น รู้ ต า ม แ น ว Active ทางานรว่ มกบั ผ้อู ่ืน ยงั ไมอ่ ย่ใู นระดบั ทนี่ า่ พอใจ Learning กระบวนการในการทางานอย่าง เป็นระบบ ทักษะการคิดแก้ปัญหาทาง 20

วิทยาศาสตร์ในการจัดการเรียนการสอน วธิ ดี าเนนิ งาน ก า ร ศึ ก ษ า ค้ น ค ว้ า อิ ส ร ะ ข อ ง นั ก เ รี ย น ช้ั น มัธยมศึกษาปีท่ี 2 โรงเรียนโพนทองพัฒนา 1 . ป ร ะ ช า ก ร แ ล ะ ก ลุ่ ม ตั ว อ ย่ า ง วิ ท ย า ส า นั ก ง า น เ ข ต พ้ื น ท่ี ก า ร ศึ ก ษ า ประชากร ไดแ้ ก่ นกั เรียนช้ันมัธยมศึกษาปีท่ี 2 มัธยมศึกษา เขต 27 โดยมีจุดมุ่งหมายและ ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2561 โรงเรียน เปา้ หมายการดาเนนิ การดังนี้ โพนทองพัฒนาวิทยา สานักงานเขตพื้นท่ี การศึกษามัธยมศึกษาเขต 27 จานวน 4 จุดมุ่งหมาย และเป้าหมายของการ ห้องเรียน จานวน 304 คน กลุ่มตัวอย่าง ดาเนินการ ได้แก่ นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีท่ี 2 ภาคเรียน ที่ 1 จานวน 2 ห้องเรียน จานวน 88 คน 1. เพื่อพัฒนาแบบฝึกทักษะการ ได้มาโดยการเลือกแบบเจาะจง (Purpose แก้ปัญหาทางวิทยาศาสตร์และการเรียนรู้ตาม Sampling) แล้ว นาคะแนนการทดสอบวัด แนว Active Learning วชิ าการศึกษาค้นคว้า ความสามารถการเรียนรู้ ด้วยแบบทดสอบ อิสระ (IS) สาหรับนักเรียนช้ันมัธยมศึกษาปีท่ี กลางการรู้เรื่องการอ่าน (Reading Literacy) 2 ที่มีประสิทธิภาพตามเกณฑ์มาตรฐาน ตามแนวทางการประเมินผลนักเรียน (PISA) มาเปรียบเทียบค่าเฉล่ียของแต่ละห้อง โดยใช้ 2. เพอ่ื เปรียบเทียบความสามารถการ คา่ สถิติ One-Way ANOVA พบว่า ผลสัมฤทธิ์ คิดแก้ปัญหาทางวิทยาศาสตร์ของนักเรียนช้ัน ทางการเรียนรู้ของนักเรียนไม่แตกต่างกัน มัธยมศึกษาปที ่ี 2 ทเ่ี รยี นโดยใช้แบบฝึกทักษะ ผู้วิจัยสุ่มห้องเรียนโดยวิธีการสุ่มแบบแบ่งกลุ่ม การแก้ปัญหาทางวิทยาศาสตร์และการเรียนรู้ (Cluster Random Sampling)ได2้ หอ้ งเรียน ตามแนว Active Learning ท่ีได้รับการฝึก สุ่มกลุ่มทดลอง 1 กลุ่มทดลอง 2 โดยวิธีการ เป็นรายบุคคล และเป็นกลุ่มกับเกณฑ์ท่ี จับสลาก เนื้อหาท่ีใช้ใน การวิจัยครั้งน้ี คือ กาหนด ก า ร จั ด ก า ร เ รี ย น รู้ Active Learning ใ น วิชาการศึกษาค้นคว้าอิสระ (IS) โดยใช้แบบ 3. เพื่อเปรียบเทียบผลสัม ฤ ทธิ์ ฝึกทักษะการคิดแก้ปัญหาทางวิทยาศาสตร์ ทางการเรียนการอ่าน (Reading Literacy) ของนักเรียนช้ันมัธยมศึกษา ปีที่ 2 ที่ผู้วิจัย ตามแนวทาง การประเมินผลนักเรียน (PISA) สร้างขึ้น โดยแบ่งออกเป็น 7 เรื่องย่อย ดังน้ี ของนักเรียนช้ันมัธยมศึกษาปีท่ี 2 ท่ีเรียนโดย (1) ทักษะที่จาเป็นในการฝึกคิดแก้ปัญหา ใช้แบบฝึกทักษะการคิดแก้ปัญหาก่อนและ (2) ระบุปัญหาที่สงสัยหรือต้องการ (3) การ หลังการเรียน วางแผนออกแบบการแก้ปัญหา (4) ขั้นการ เสนอแนวทางแก้ปัญหา (5) ดาเนินการตาม แผน และการตรวจสอบ (6) สรุปผลการ 21

แก้ปัญหา/แนว ทางการแก้ปัญหาห รื อ วิจยั 2 แบบคอื 1) แบบท่ี 1 แผนการวจิ ัย นวัตกรรม (7) การสร้างแฟ้มสะสมผลงาน แบบ Two-groups Posttest Design 2) ผ่าน Google Site และการนาเสนอ แบบที่ 2 แผนการวิจัยแบบ Pretest- Posttest with Equivalent Group Design 2. แบบแผนการวิจยั การวจิ ัยครั้งน้ี [5] สาหรับวดั การรู้เรอื่ งการอ่าน (Reading เปน็ การวิจยั ก่งึ ทดลอง (Quasi Literacy) ตามแนวการประเมินนักเรยี น PISA Experimental Design) ผู้วิจัยใช้แผนการ ดงั ตารางที่ 1 และ 2 ดงั น้ี ตาราง 1 แบบแผนการทดลองท่ี 1 Two-groups Posttest Design กล่มุ การจัดสภาพการทดลอง สอบหลงั เรยี น E1 X1 TE1 E2 X2 TE2 โดยกาหนดตัวแปรแทนสัญลักษณ์ ดังน้ี E1 แทน กลุ่มทดลอง 1 E2 แทน กลุ่มทดลอง 2 T แทน การทดสอบวดั ความสามารถการคดิ แก้ปญั หาทางวทิ ยาศาสตร์ X1 แทน ลกั ษณะวธิ ีการฝกึ เปน็ กลุ่ม X2 แทน ลกั ษณะวธิ กี ารฝกึ เป็นรายบคุ คล 22

ตาราง 2 แบบแผนการวิจยั แบบ Pretest-Posttest with Equivalent Group Design กลมุ่ สอบก่อนเรยี น การจัดสภาพการทดลอง สอบหลงั เรยี น สอบหลังเรยี น 2 สปั ดาห์ Exp1 T1 X1 T2 T3 Exp2 T1 X2 T2 T3 โดยกาหนดตัวแปรแทนสญั ลักษณ์ ดังนี้ Exp1 แทน กลมุ่ ทดลอง 1 Exp2 แทน กล่มุ ทดลอง 2 T แทน การทดสอบวัดการอ่าน (Reading Literacy) ตามแนว PISA X1 แทน ลกั ษณะวิธีการฝกึ เปน็ กล่มุ X2 แทน ลกั ษณะวธิ กี ารฝกึ เปน็ รายบคุ คล T1 แทน การทดสอบก่อนเรยี น (Pre-test) T2 แทน การทดสอบหลังเรียน (Post-test) T3 แทน การทดสอบหลังเรียน 2 สปั ดาห์ (Follow-test) 3. การวิเคราะห์ข้อมูล โดยใช้ (1) Measure ANOVA) โดยใชโ้ ปรแกรมวเิ คราะห์ สถิติพื้นฐาน (2) สถิติ One-Way ANOVA ข้อมูลสาเรจ็ รูป ในการวิเคราะห์คะแนนการทดสอบการรู้เร่ือง การอ่านของนักเรียนก่อนเรียน (3) การ เคร่อื งมอื ทใ่ี ชใ้ นการดาเนินงาน วิเคราะหค์ วามแปรปรวนหลายทาง แบบวดั ซ้า เคร่ืองมือที่ใช้ในการศึกษามี 4 One-Way Repeated Measure ANOVA หลังการเรียน และ (4) วิเคราะห์ข้อมูล ชนิด ได้แก่ 1) แบบฝึกทักษะการเรียนรู้ตาม เปรียบเทียบรายคู่ และทดสอบสมมติฐานโดย แนว Active Learning วชิ าการศกึ ษาค้นคว้า ใช้สถิติ 1) Bonferroni 2) F-test (One อิสระ ชน้ั มธั ยมศึกษาปที ี่ 2 จานวน 7 ชุด 2) way ANCOVA แ ล ะ Two Way Repeated แผนการจัดการเรียนรู้ประกอบแบบฝึกทักษะ 23

การเรียนรู้ตามแนว Active Learning วิชา 2561 ผลคะแนน ครั้งที่ 1 (Pretest)ครั้งที่ 2 การศึกษาค้นคว้าอิสระชั้นมัธยมศึกษาปีท่ี 2 (Posttest) ครงั้ ที่ 3 (Follow) จานวน 14 แผน 3) แบบทดสอบอัตนัย ประยุกตว์ ดั ความสามารถการคดิ แกป้ ญั หาทาง ผลการดาเนินงาน วิทยาศาสตร์ จานวน 20 ข้อ ค่าอานาจ 1. แบบฝึกทักษะการเรียนรู้ตามแนว จาแนก (B) ระหว่าง 0.47 – 0.97 และ ค่าความยากง่าย (P) มีค่าระหว่าง 0.44-0.71 Active Learning ในวิชาการศึกษาค้นคว้า ค่าความเชื่อมน่ั เทา่ กับ 0.77 4) การทดสอบ อิสระ (IS1) นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 ท่ีมี การรู้เรื่องการอ่าน (Reading Literacy) ตาม ประสิทธิภาพตามเกณฑ์มาตรฐาน นาเสนอ แนวทางการประเมินผลนักเรียน (PISA) ของ ดังตารางท่ี 3 นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีท่ี 2 ปีการศึกษา ตาราง 3 ประสทิ ธิภาพของแบบฝึกทักษะการแก้ปญั หาทางวทิ ยาศาสตรแ์ ละการเรยี นรู้ตามแนว Active Learning วชิ าการศึกษาคน้ ควา้ อสิ ระ (IS) ช้ันมธั ยมศึกษาปที ่ี 2 รายการ จานวน คะแนนเต็ม คะแนนเฉล่ยี ร้อยละ นกั เรยี น ประสทิ ธิภาพของกระบวนการ (E1) 88 100 76.00 76.00 ประสทิ ธภิ าพของผลลัพธ์ (E2) 88 30 23.00 76.67 จากตาราง 3 พบว่าประสิทธิภาพ ท่ีเรียนโดยใช้แบบฝึกทักษะการเรียนรู้ตาม แบบฝึกทักษะการแก้ปัญหาทางวิทยาศาสตร์ แ น ว Active Learning พ บ ว่ า นั ก เ รี ย น มี และการเรียนรู้ตามแนว Active Learning พัฒนาการความสามารถการคิดแก้ปัญหาใน วชิ าการศกึ ษาค้นควา้ อสิ ระ ช้ันมธั ยมศึกษาปีที่ แต่ละทักษะและโดยรวมกับเกณฑ์ท่ีกาหนด 2 ที่ผู้ศึกษาสร้างข้ึนมีประสิทธิภาพเท่ากับ ผลการวิเคราะห์ลักษณะการฝึกพบว่าค่า sig. 76.00 / 76.67 ซง่ึ เป็นไปตามเกณฑ์มาตรฐาน เท่ากับ .000 ซึ่งน้อยกว่าระดับนัยสาคัญท่ี ทกี่ าหนด กาหนด (.05) จึงมีนัยสาคัญทางสถิติ แสดงว่า ลั ก ษ ณ ะ ก า ร ฝึ ก มี อิ ท ธิ พ ล ท า ง ต ร ง ต่ อ 2. ผลการเปรียบเทียบความสามารถ ค ว า ม ส า ม า ร ถ ก า ร คิ ด แ ก้ ปั ญ ห า ท า ง การคดิ แก้ปัญหาทางวิทยาศาสตร์ของนักเรียน วทิ ยาศาสตร์ ผลการวิเคราะหเ์ พศของนักเรียน 24

ชั้นมัธยมศึกษาที่ 2 พบว่าค่า sig. เท่ากับ ระดับนัยสาคัญที่กาหนด (. 05) จึงไม่มี .011 ซงึ่ น้อยกวา่ ระดบั นยั สาคญั ท่ีกาหนด นัยสาคัญทางสถิติ แสดงว่าไม่มีปฏิสัมพันธ์ (.05) จึงมีนัยสาคัญทางสถิติ แสดงว่าเพศมี ระหว่างลักษณะการฝึก และเพศ ซึ่งเป็นไป อิ ท ธิ พ ล ท า ง ต ร ง ต่ อ ค ว า ม ส า ม า ร ถ ก า ร คิ ด ตามข้อตกลงเบ้ืองต้น ผู้วิจัยจึงดาเนินการ แกป้ ญั หาทางวิทยาศาสตร์เชน่ กัน แต่ผลการ วิเคราะห์ความแปรปรวนร่วมทางเดียว (One วิเคราะห์ลักษณะการฝึกและเพศของนักเรียน Way ANCOVA) นาเสนอดังตารางท่ี 4 ดังนี้ พบว่าค่า ค่า sig. เท่ากับ .418 ซ่ึงมากกว่า ตาราง 4 การเปรยี บเทยี บความสามารถการแกป้ ัญหาทางวิทยาศาสตรข์ องนักเรียนที่เรียนโดยใช้ แบบฝึกทักษะการแกป้ ญั หาทางวิทยาศาสตรแ์ ละการเรยี นรู้ตามแนว Active Learning จาแนกตาม ลักษณะการฝึก และเพศ ตวั แปรอิสระ Sum of Mean F sig Squares Square 1. ลกั ษณะการฝึก 19.472 .000* 2. เพศ 133.819 133.819 6.813 .011* *มีนัยสาคัญทางสถิตทิ ่ีระดบั .05 46.819 46.819 จากตาราง 4 ผลการวเิ คราะห์ ทางวทิ ยาศาสตร์และการเรียนรู้ตามแนว ลักษณะการฝึกพบว่าค่า sig. เท่ากบั .000 ซง่ึ Active Learning ดว้ ยลักษณะการฝกึ และ น้อยกว่าระดบั นยั สาคัญท่กี าหนด (.05) จงึ มี เพศท่ีแตกต่างกนั มผี ลสัมฤทธิ์เร่ืองการคิด นัยสาคญั ทางสถิติ แสดงวา่ นักเรียนทีไ่ ดร้ บั แก้ปัญหาทางวทิ ยาศาสตร์แตกตา่ งกันอยา่ งมี วธิ กี ารฝึกโดยใชแ้ บบฝกึ ทักษะการแก้ปญั หา นัยสาคัญทางสถิติทีร่ ะดับ .05 25

ภาพประกอบ 1 แสดงเปรียบเทียบการคิดแกป้ ัญหาทางวิทยาศาสตรข์ องนักเรียน จาแนกตามลักษณะการฝกึ และเพศ 3. วิเคราะห์ผลสัมฤทธ์ิผลสัมฤทธ์ิ นัยสาคัญทางสถิติท่ีระดับ .05 แสดงว่าแบบ ท า ง ก า ร เ รี ย นด้ า นก า รรู้ เร่ื อ งก ารอ่าน ฝึกทักษะการแก้ปัญหาทางวิทยาศาสตร์ และ ( Reading Literacy) ต า ม แ น ว ท า ง ก า ร การจัดการเรียนรู้ตามแนว Active Learning ประเมินผลนักเรียน (PISA) ก่อนและหลังการ ที่ผู้วิจัยพัฒนาขึ้นมีผลต่อผลสัมฤทธ์ิด้านการรู้ เรียน ผลการวิเคราะห์ความแตกต่างของ เ ร่ื อ ง ก า ร อ่ า น ( Reading Literacy) ต า ม ค่าเฉล่ียที่ได้จากการวัดซ้า ในกรณีน้ีมีค่า F แนวทางการประเมินผลนักเรียน (PISA) ของ เท่ากับ 19.597 เท่ากันทุกวิธี มีค่า Sig. น้อย นักเรยี นชั้นมธั ยมศึกษาปที ี่ 2 ตามระยะเวลาที่ กว่าค่าระดับนัยสาคัญท่ีกาหนด (.05) อย่างมี นักเรียนได้รับการฝึกด้วย ซ่ึงผู้วิจัยจะ นัยสาคัญ แสดงว่าผลการวัดค่าการรู้เร่ืองการ ดาเนินการทดสอบรายคู่ต่อไป ดังนาเสนอใน อ่านแต่ละคร้ัง มีความแตกต่างกันอย่างมี ตาราง 5 ดังน้ี 26

ตาราง 5 เปรียบเทียบค่าเฉล่ียผลสมั ฤทธิ์ดา้ นการรู้เรื่องการอ่าน (Reading Literacy) ตามแนวทาง การประเมนิ ผลนกั เรียน (PISA) ของนักเรียนชั้นมัธยมศกึ ษาปีท่ี 2 กอ่ นใชแ้ บบฝกึ หลงั ใชแ้ บบฝึก และ หลงั การใชแ้ บบฝกึ จบ 2 สัปดาห์ การร้เู รือ่ งการอ่านตามแนว Std. Error Siga ความแตกต่าง ทางการประเมนิ ผลนักเรียน (PISA) 1.034 คา่ เฉล่ีย (I-j) กอ่ นใช้แบบฝึกทักษะ (Pretest) 1.047 หลงั ใช้แบบฝึกทกั ษะ (Posttest) 1.216 .000 -4.932* กอ่ นใช้แบบฝึกทักษะ (Pretest) หลังเรยี นจบ 2 สปั ดาห์ (Follow) .000 -4.739* หลังใช้แบบฝกึ ทกั ษะ (Posttest) หลงั เรียนจบ 2 สัปดาห์ (Follow) 1.000 .093 *มนี ยั สาคัญทางสถิติท่ีระดับ .05 จากตาราง 5 พบวา่ 1) คะแนนการทดสอบ ทดสอบหลังเรยี นจบ 2 สปั ดาห์ ไมแ่ ตกตา่ งกนั หลงั เรยี นสูงกวา่ กอ่ นเรียนอย่างมีนยั สาคัญ แสดงว่านักเรียนท่เี รยี นดว้ ยแบบฝึกทกั ษะการ ทางสถิตทิ รี่ ะดบั .05 2) คะแนนการทดสอบ แก้ปัญหาทางวิทยาศาสตร์และการเรยี นรูต้ าม หลงั เรยี นจบ 2 สัปดาหส์ ูงกว่าก่อนเรยี นอยา่ ง แนว Active Learning ท่ผี วู้ ิจัยสร้างขน้ึ มี มนี ัยสาคญั ทางสถิตทิ ีร่ ะดับ .05 และ 3) ความคงทนในการเรยี นรู้ ผลการวิเคราะห์ คะแนนการทดสอบหลังเรยี นกับคะแนนการ นาเสนอดงั ภาพประกอบ 2 ดังนี้ 27

ภาพประกอบ 2 แสดงเปรียบเทียบการคิดแกป้ ัญหาทางวิทยาศาสตร์ของนักเรียน ก่อนใชแ้ บบฝึก หลงั ใชแ้ บบฝกึ และหลงั ใชแ้ บบฝกึ 2 สัปดาห์ อภิปรายผลการดาเนินการ 2. การวิเคราะห์ประสิทธิภาพใน การเรียนของนักเรียนที่เกิดจากการพัฒนา 1. แบบฝึกทักษะการแก้ปัญหา ผลสมั ฤทธิท์ างการเรียน วิชาการศกึ ษาค้นคว้า ทางวิทยาศาสตร์และการเรียนรู้ตามแนว อิสระ (IS) สาหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีท่ี Active Learning วิชาการศึกษาค้นคว้าอิสระ 2 นักเรียนช้ันมัธยมศึกษาส่วนใหญ่ท่ีได้รับ (IS) สาหรับนักเรียนช้ันมัธยมศึกษาปีที่ 2 ท่ี การฝึกโดยใช้แบบฝึกทักษะการแก้ปัญหาทาง ผู้วิจัยพัฒนาขึ้นมีค่าประสิทธิภาพตามเกณฑ์ วิทยาศาสตร์และการเรียนรู้ตามแนว Active ม า ต ร ฐ า น เ ป็ น ไ ป ต า ม ส ม ม ติ ฐ า น ท่ี ตั้ ง ไ ว้ Learning ท้ังรายบุคคล และรายกลุ่ม มี เน่ืองจากผู้วิจัยศึกษากรอบแนวคิดทฤษฎีการ ค ว า ม ส า ม า ร ถ ก า ร คิ ด แ ก้ ปั ญ ห า ท า ง จั ด ก า ร เ รี ย น รู้ Active Learning มี วิทยาศาสตร์ระดับปานกลาง สูง และสูงมาก ประสบการณ์ในการจัดการเรียนการสอนตาม สูงกว่าเกณฑ์ท่ีกาหนด และมีความสามารถ แนว Active Learning เป็นอย่างดี และมี การคิดแก้ปัญหาทางวิทยาศาสตร์สูงขึ้นใน พ้ืนฐานองค์ความรู้จากการวิจัยในเรื่องที่ ระดับท่นี ่าพอใจ เนือ่ งจากกิจกรรมมีการสร้าง เก่ียวข้อง จึงทาให้จัดทาแบบฝึก และกิจกรรม ความรู้พื้นฐานวิชาวิทยาศาสตร์ แรงจูงใจใฝ่ ได้อย่างมีประสิทธิภาพสูงกว่าเกณฑ์ และ สัมฤทธ์ิ มโนภาพเกี่ยวกับตนเองของนักเรียน สมมตฐิ านท่ีตง้ั ไว้ 28

จัดกิจกรรมส่งเสริมทักษะกระบวนการทาง 5. การวิเคราะห์ผลสัมฤทธิ์ วทิ ยาศาสตร์ เจตคติตอ่ วชิ าวิทยาศาสตร์ และ ผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนด้านการรู้เรื่องการ มีความต้ังใจเรียนดีจึงมีความสัมพันธ์ทางบวก อ่าน (Reading Literacy) ตามแนวทางการ กับความสามารถในการแก้โจทย์ปัญหาทาง ประเมินผลนักเรียน (PISA) ก่อนและหลังการ วิทยาศาสตร์สอดคล้องกับนงค์นุช คชา [1]; เรียน นกั เรยี นที่ได้รบั วธิ กี ารฝกึ โดยใชแ้ บบฝึก ปนดั ดา เทย่ี งโยธา [2] ทักษะการแก้ปัญหาทางวิทยาศาสตร์และการ เ รี ย น รู้ ต า ม แ น ว Active Learning มี 3. การนาแบบฝึกทักษะการ ผลสัมฤทธิ์ผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนด้านการรู้ แก้ปัญหาทางวิทยาศาสตร์และการเรียนรู้ตาม เ ร่ื อ ง ก า ร อ่ า น ( Reading Literacy) ต า ม แ น ว Active Learning นั ก เ รี ย น ชั้ น แนวทางการประเมินผลนักเรียน (PISA) มัธยมศึกษาปีที่ 2 ทั้งฝึกเป็นรายบุคคล และ แตกต่างกันอย่างมีนัยสาคัญทางสถิติ คะแนน เป็นกลุ่ม ที่พบว่าความสามารถการแก้ปัญหา การทดสอบหลังเรียนสูงกว่าก่อนเรียนอย่างมี ทางวิทยาศาสตร์ของนักเรียนหลังการเรียน นัยสาคัญทางสถิติ คะแนนการทดสอบหลัง แตกต่างอย่างมีนัยสาคัญทางสถิติ สอดคล้อง เรียนจบ 2 สัปดาห์สูงกว่าก่อนเรียนอย่างมี กับสมมติฐาน นักเรียนมีความสามารถในการ นัยสาคัญทางสถิติ คะแนนการทดสอบหลัง แก้ปัญหาทางวิทยาศาสตร์ด้านการระบุปัญหา เรียนกับคะแนนการทดสอบหลังเรียนจบ 2 แตกต่างกันอย่างมีนัยสาคัญทางสถิติ และ สัปดาห์ไมแ่ ตกต่างกัน แสดงวา่ นกั เรียนที่เรียน นักเรียนที่ได้เรียนโดยใช้แบบฝึกทักษะการ ด้ ว ย แ บ บ ฝึ ก ทั ก ษ ะ ก า ร แ ก้ ปั ญ ห า ท า ง แก้ปัญหาทางวิทยาศาสตร์และการเรียนรู้ตาม วิทยาศาสตร์และการเรียนรู้ตามแนว Active แนว Active Learning ฝึกเป็นรายบุคคลมี Learning ที่ผู้วิจัยสร้างขึ้นมีความคงทนใน คะแนนเฉล่ียความสามารถการคิดแก้ปัญหา การเรียนร้นู นั้ เพราะผูว้ ิจยั มีการพัฒนาแบบฝึก ทางวทิ ยาศาสตร์ สงู กว่าการฝึกแบบกลุ่มอย่าง ความคิดสร้างสรรค์ทางวิทยาศาสตร์โดยใช้ มนี ัยสาคญั ทางสถิติ ท่ีระดบั .05 ปั ญ ห า เ ป็ น ฐ า น ก ลุ่ ม ส า ร ะ ก า ร เ รี ย น รู้ วิทยาศาสตร์ เร่ืองชีวิต และสิ่งแวดล้อม 4 . เ พ ศ ที่ แ ต ก ต่ า ง กั น มี ส า ห รั บ นั ก เ รี ย น ชั้ น มั ธ ย ม ศึ ก ษ า ใ ห้ มี ผ ล สั ม ฤ ท ธ์ิ เ ร่ื อ ง ก า ร คิ ด แ ก้ ปั ญ ห า ท า ง ป ร ะ สิ ท ธิ ภ า พ แ ล ะ จั ด กิ จ ก ร ร ม ส่ ง วิทยาศาสตร์แตกต่างกันอย่างมีนัยสาคัญทาง ค ว า ม ส า ม า ร ถ ใ น ก า ร โ ต้ แ ย้ ง แ ล ะ ก า ร คิ ด ส ถิ ติ โ ด ย เ พ ศ ห ญิ ง มี ค ะ แ น น เ ฉ ลี่ ย วิพากษ์วิจารณ์จากการเรียน ประเด็นปัญหา ค ว า ม ส า ม า ร ถ ก า ร คิ ด แ ก้ ปั ญ ห า ท า ง สังคมท่ีเกี่ยวข้องกับการใช้วิทยาศาสตร์โดยใช้ วิทยาศาสตร์ สูงกว่านักเรียนชายอย่างมี นัยสาคัญทางสถติ ิ ทร่ี ะดับ .05 29

รูปแบบผสมผสานตามวิธีปัญหาเป็นฐาน แบบ ครู ผสมผสานตามวิธีวัฏจักรการเรียนรู้ 5 ข้ัน สอดคล้องกับทักษิณา งามประดับ [3] และ 1. มง่ั ม่นั และพฒั นาตนเองอยู่เสมอ จาปา สบื สุนทร [4] ไดเ้ ปน็ อย่างดี 2. นาความรู้ท่ีได้จากการพัฒนา ตนเอง มาใช้ในการพัฒนาการเรียนการสอน ประโยชน์ทไ่ี ดร้ บั /นวัตกรรม อยา่ งเปน็ ระบบ (กระบวนการวจิ ยั ) 3. ใชร้ ะบบการคณุ ภาพ (PDCA) ใน 1. ได้แบบฝึกทักษะการคิดแกป้ ญั หา พัฒ น าผ ล การ ปฏิ บัติ งา น ห รื อ ก าร เรี ย น ก า ร ทางวทิ ยาศาสตร์ทีม่ ปี ระสิทธภิ าพตามเกณฑ์ สอน 4. ได้รับทุนสนับสนุนการวิจัย 2. ได้แนวทางในการจัดกระบวนการ สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพ้ืนฐาน เรียนรูต้ ามแนว Active Learning เพื่อพฒั นา แ ล ะ ก ร ะ บ ว น ก า ร ช่ ว ย เ ห ลื อ ใ น ก า ร ก า กั บ ทักษะการคิดแก้ปัญหาทางวิทยาศาสตร์ของ ติดตาม ผู้เช่ียวชาญตรวจสอบคุณภาพและ นักเรียน ช้ันมัธยมศึกษาปีท่ี 2 และพัฒนา เครือ่ งมอื ทีใ่ ชก้ ารวจิ ัย และเวทวี ชิ าการ ในการ ค ว า ม ส า ม า ร ถ ก า ร คิ ด แ ก้ ปั ญ ห า ท า ง แลกเปล่ียนเรียนรู้และเผยแพรผ่ ลงาน วทิ ยาศาสตรโ์ ดยการลงมือปฏบิ ตั จิ ริง ผบู้ รหิ าร โรงเรยี น และหน่วยงาน 3. ได้แนวทางในการพัฒนาทักษะการ ต้นสังกัด คิด/นวัตกรรม/การจัดการคว ามรู้เชิง นวัตกรรมในการพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการ 1. การให้การสนั บสนุ น เห็น เรียน ด้านความสามารถการคิดแก้ปัญหาให้ ความสาคญั สูงขึ้น 2. สร้างเสริมโอกาสให้นาผลงาน ปจั จยั สคู่ วามสาเร็จ การจัดการเรียน นวัตกรรมเข้าร่วมการ แลกเปล่ียนเรียนรู้เวทีวิชาการต่าง ๆ ตาม โครงการวิจัยน้ีดาเนินการระหว่าง โอกาส ปีการศึกษา 2560-2561 โดยพัฒนาต่อ ยอดจากโครงการวิจัย ท่ีได้รับทุนสนับสนุน 3 . ส นั บ ส นุ น วั ส ดุ อุ ป ก ร ณ์ การวิจัยประเภทท่ัวไป (วช.) ปีงบประมาณ งบประมาณอยา่ งเพียงพอ 2553 4. ส่งเสริมพัฒนาศักยภาพ ความรู้ ทักษะ และความเช่ียวชาญให้เกิดข้ึนอย่าง ต่อเน่ือง รวมทั้งทานุบารุงให้มีการใช้ความรู้ นน้ั อย่เู สมอ ๆ 30

2.8 การปรบั คุณภาพเพื่อมุง่ พฒั นาตอ่ ไป ราชภัฏร้อยเอ็ด ในการนาเสนอผลงานการ ปฏิบัติท่ีเป็นเลิศ (Best Practices) ด้านการ การพัฒนาต่อยอดจากหน่วยการ พัฒนาการเรียนรู้ตามแนวทางการประเมิน เรียนรู้ สู่หลักสูตรการเรียนการสอนรายวิชา นักเรียนร่วมกับนานาชาติ (PISA) ด้านการรู้ การศึกษาค้นคว้าอิสระ (IS) แบบ Spiral เ ร่ื อ ง ค ณิ ต ศ า ส ต ร์ กั บ ห ลั ก สู ต ร แ ก น ก ล า ง Curriculum การศกึ ษาขั้นพืน้ ฐาน การเผยแพร่ 3. ครูและบุคลากรทางการศึกษา ของโรงเรยี น สหวิทยาเขต สานกั งานเขตพ้ืนที่ 1. การประเมินโรงเรียนท่ีมีระบบ การศกึ ษา การประชุมวชิ าการระดบั ชาติ โดย การบริหารจัดการตามเกณฑ์รางวัลคุณภาพ สานักวิจัยและพฒั นานวัตกรรมทางการศกึ ษา OBECQA ณ ห้องประชุม 3 โรงเรียนโพนทอง ณ โรงแรมริเวอร์ไซด์ กรงุ เทพมหานคร 20- พฒั นาวทิ ยา วนั ท่ี 28 มถิ ุนายน พ.ศ. 2562 21 กรกฎาคม 2562) 2. นิทรรศการและแสดงผลงานใน วันท่ี 1 กรกฎาคม พ.ศ. 2562 ณ มหาวิทยาลัย บรรณานุกรม [1] นงค์นุช คชา. ศึกษาเปรยี บเทียบผลสัมฤทธ์ทิ างการเรียน การคิดวเิ คราะห์และการคดิ แกป้ ัญหาทางวทิ ยาศาสตรข์ องนักเรยี นช้ันประถมศึกษาปที ่ี 6 ระหวา่ งการจัดกจิ กรรม การเรยี นรแู้ บบสบื เสาะหาความรูร้ ่วมกับเทคนคิ เมตาคอคนชิ ่นั และการจัดการเรียน เรยี นรู้แบบปกติปริญญาการศึกษามหาบัณฑติ สาขาวชิ า หลกั สูตรและการสอน มหาวิทยาลยั มหาสารคาม, 2553. [2] ปนัดดา เทยี่ งโยธา. ปจั จยั ท่ีมีอทิ ธพิ ลความสามารถในการแกป้ ัญหาวชิ าฟิสิกสข์ องนักเรียน ชน้ั มธั ยมศึกษาปที ี่ 5 สานักงานเขตพื้นทกี่ ารศกึ ษามัธยมศึกษามหาสารคามเขต 2 ปรญิ ญาการศกึ ษามหาบณั ฑติ สาขาวชิ า การวิจัยการศึกษา มหาวทิ ยาลัยมหาสารคาม, 2555. 31

[3] ทักษิณา งามประดับ. พัฒนาแบบฝึกความคิดสรา้ งสรรคท์ างวิทยาศาสตรโ์ ดยใช้ปญั หา เป็นฐานกลมุ่ สาระการเรียนรู้วทิ ยาศาสตร์ เรอ่ื งชวี ิตและสิ่งแวดลอ้ ม สาหรบั นกั เรียน ชั้นมัธยมศกึ ษาปีที่ 3 ปรญิ ญาการศึกษามหาบัณฑิต สาขาวิชา การวิจยั การศึกษา มหาวทิ ยาลัยมหาสารคาม, 2555. [4] จาปา สืบสุนทร. การเปรยี บเทียบความสามารถในการโตแ้ ยง้ และการคดิ วิพากษ์วิจารณ์จาก การเรยี น ประเดน็ ปญั หาสงั คมที่ข้องกับการใชว้ ิทยาศาสตรโ์ ดยใช้รปู แบบผสมผสาน ตามวธิ ปี ญั หาเป็นฐานแลผสมผสานตามวิธีวัฏจกั รการเรยี นรู้ 5 ข้นั ของนกั เรยี น ชั้นมธั ยมศึกษาปที ี่ 4 ท่ีมคี วามเข้าใจทางด้านวทิ ยาศาสตรต์ ่างกัน ปรญิ ญาการศึกษา มหาบัณฑติ สาขาวิชา วิทยาศาสตรศึกษา มหาวิทยาลยั มหาสารคาม, 2555. [5] อรพินทร์ ชชู ม. (2552). “การวิจัยกง่ึ ทดลอง (Quasi-Experimental Research),” วารสาร พฤติกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยศรีนรินทรวโิ รฒ. 1(15): กันยายน. 32

ภาคผนวก แบบฝกึ ทกั ษะการแก้ปัญหาทางวิทยาศาสตร์ และการเรยี นรตู้ ามแนว Active Learning ตัวอย่างผลงานการเรยี นรตู้ ามแนว Active Learning ของนักเรยี น 33

การใชท้ ักษะการเขียนภาษาองั กฤษเพ่ือพัฒนาการคดิ วิเคราะห์ความรใู้ นรายวิชา สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม สาระภมู ิศาสตร์ เรอ่ื ง ความหมายและความสาคัญของเศรษฐศาสตร์ สาหรับนักเรียนระดับชนั้ มัธยมศึกษาปที ี่ 1 โรงเรยี นโพนทองพัฒนาวิทยา อาเภอโพนทอง จงั หวัดร้อยเอ็ด Using English Writing Skills To Develop Thinking, Analyze Knowledge in Social Studies, Religion and Culture Courses Geography of the Meaning and Importance of Economics For Mathayom 1 students, Phon Thong Phatthana Witthaya School, Phon Thong District, Roi Et Province ยอดรัก ศรบี ุญเรอื ง1, ปัทมาวดี ขันธ์ดวง2, และอนสุ ทิ ธ์ิ ศรฤี าชา3 1-3ครู โรงเรียนโพนทองพัฒนาวิทยา สานกั งานเขตพืน้ ท่ีการศกึ ษามัธยมศกึ ษาเขต 27 บทคัดยอ่ การศกึ ษาวิจยั นม้ี ีวตั ถุประสงคเ์ พื่อ 1) การใชท้ กั ษะการเขียนภาษาอังกฤษ ในการพฒั นาการ คิดวิเคราะห์ความรู้ในรายวิชา สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม สาระภูมิศาสตร์ เร่ือง ความหมาย และความสาคัญของเศรษฐศาสตร์ สาหรับนักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 โรงเรียนโพนทอง พัฒนาวิทยา อาเภอโพนทอง จังหวัดร้อยเอ็ด 2) เพื่อยกระดับผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนรายวชิ าสังคม ศกึ ษา ศาสนา และวฒั นธรรม และรายวชิ าภาษาต่างประเทศ ชั้นมธั ยมศึกษาปีท่ี 1 โรงเรียนโพนทอง พัฒนาวิทยา อาเภอโพนทอง จังหวัดร้อยเอ็ด การดาเนินการวิจัย มี 7 ขั้นตอน คือ (1) กาหนด ปัญหาที่จะดาเนินการวิจัย (2) กาหนดวัตถุประสงค์การวิจัย (3) กาหนดประชากรและวิธีการสุ่ม ตัวอย่าง โดยเลือกกลุ่มตัวอย่างแบบเจาะจง กับนักเรียนช้ันมัธยมศึกษาปีท่ี 1/1 จานวน 44 คน (4) สร้างเคร่ืองมือและหาประสิทธิภาพของเครื่องมือ โดยเคร่ืองมือในการวิจัยคือ แบบทดสอบก่อน และ แบบทดสอบหลังเรียน (5) การรวมรวมข้อมูล (6) การวิเคราะห์ข้อมูล และ (7) การนาเสนอ ผล โดยการเสนอรายงานการวิจัย ผลการวิจัยพบว่า นักเรียนช้ันมัธยมศึกษาปีท่ี 1 โรงเรียนโพนทอง พัฒนาวิทยา มีการพัฒนาทักษะการเขียนภาษาอังกฤษดีขึ้นกว่าเดิม โดยการใช้แบบทดสอบก่อน เรียนและหลังเรียน และใบงานการพัฒนาการเขียนภาษาอังกฤษรายบุคคลเพ่ือพัฒนาการคิด 34

วเิ คราะหค์ วามรใู้ นรายวชิ า สงั คมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม สาระภมู ศิ าสตร์ เรอื่ ง ความหมายและ ความสาคัญของเศรษฐศาสตร์ ซึ่งจากการที่ครูผู้สอนได้มีการเสริมแรงโดยการกล่าวคาชมเชย ให้ คาแนะนาเกี่ยวกบั เทคนิควิธกี ารเขียนภาษาอังกฤษอย่างถูกต้องแก่นักเรยี นเป็นเวลาหลายช่วั โมง โดย จากการตรวจแบบทดสอบก่อนเรียนและหลังเรียน การตรวจใบงานเป็นรายบุคคลที่ผ่านมา พบว่า นักเรียนมีคะแนนจากการทาแบบทดสอบหลังเรียนเพิ่มสูงข้ึน คิดเป็นร้อยละ 19.55 และมีคะแนน จากการทาใบงานการพัฒนาการเขียนภาษาอังกฤษรายบุคคลเพื่อพัฒนาการคิดวิเคราะห์ความรู้ใน รายวิชา สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม สาระภูมิศาสตร์ เร่ือง ความหมายและความสาคัญของ เศรษฐศาสตร์ อย่ใู นระดับ ดมี าก Abstract The purposes of this study were 1) Using English writing skills In developing thinking, analyzing knowledge in social studies, religion and culture courses Geography of the meaning and importance of economics For grade 1/1 students Phon Thong Phatthana Witthaya School, Phon Thong District, Roi Et Province 2) To Raise the level of academic achievement in social studies, religion and culture and foreign language courses Matayom 1/1 Phon Thong Pattana Witthaya School, Phon Thong District, Roi Et Province There are 7 steps to conduct research. (1)Determine the problems that will be researched. (2) Determine the research objectives. (3) Determine the population and sampling methods. Example by selecting a sample group that is specific with 44 Mathayomsuksas 1 students (4) Instruction tools and find the efficiency of the tools. The research tools are pre-test and post-test. (5) Data integration (6) Data analysis and 7. Presentation of results by presenting the research report The research found that Mathayom Suksa 1 plus students at Phon Thong Pattana Witthaya School Improved English writing skills by using the test before class and after study And the work of individual English writing development to develop thinking, analyzing knowledge in social studies, religion and culture courses Geography of the meaning and importance of economics Which the teachers have reinforcement by praising Providing advice on how to write English correctly for many hours. By checking the test before class and 35

after study Individual work examinations pas Found that students had higher scores from post-test tests And have scores from making work, developing individual English writing to develop thinking, analyzing knowledge in social studies, religion and culture courses Geography Regarding the meaning and importance of economics at a good level คาสาคัญ; ทกั ษะการเขยี นภาษาองั กฤษ, การคดิ วิเคราะหค์ วามรู้ Keyword; English Writing Skills, Think Skills บทนา วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี รวมท้ังความรู้ ความเขา้ ใจและประสบการณ์ เรอื่ งการจัดการ ก า ร จั ด ก า ร ศึ ก ษ า ต้ อ ง ยึ ด ห ลั ก ว่ า การบารุงรักษาและการใช้ประโยชน์จาก ผเู้ รยี นทกุ คนมีความสามารถเรียนร้แู ละพัฒนา ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมอย่าง ตนเองได้ และถือว่าผู้เรียน มีความสาคัญที่สุด สมดุลย่ังยืน (3) ความรู้เกี่ยวกับศาสนา ศิลปะ ก ร ะ บ ว น ก า ร จั ด ก า ร ศึ ก ษ า ต้ อ ง ส่ ง เ ส ริ ม ใ ห้ วัฒนธรรม การกีฬา ภูมิปัญญาไทย และการ ผู้เรียนสามารถพัฒนาตามธรรมชาติและเต็ม ประยุกต์ใช้ภูมิปัญญา (4) ความรู้ และทักษะ ตามศักยภาพ การจัดการศึกษา ท้ังการศึกษา ด้านคณิตศาสตร์ และด้านภาษา เน้นการใช้ ในระบบ การศึกษานอกระบบ และการศึกษา ภาษาไทยอย่างถูกต้อง (5) ความรู้ และทักษะ ตามอัธยาศัย ต้องเน้นความสาคัญทั้งความรู้ ในการประกอบอาชีพและการดารงชีวิตอย่าง คุณธรรม กระบวนการเรียนรู้ และบูรณาการ มีความสุข [1] ตามความเหมาะสมของแต่ละระดับการศึกษา ในเร่ืองต่อไปน้ี (1) ความรู้เร่ืองเกี่ยวกับตนเอง การจัดการเรียนรู้แบบสะเต็มศึกษา และความสัมพันธ์ของตนเองกับสังคม ได้แก่ ถือเป็นการเตรียมความพร้อมเด็กไทยในโลก ครอบครัว ชุมชนชาติ และสังคมโลก รวมถึง แห่งศตวรรษท่ี 21 ให้สามารถเป็นบุคคลแห่ง ความรูเ้ ก่ียวกบั ประวัติศาสตร์ความเป็นมาของ การเรียนรู้ ก้าวทันการเปล่ียนแปลงในโลกยุค สังคมไทยและระบบการเมืองการปกครองใน โลกาภิวฒั น์เขา้ สู่สังคมข่าวสารข้อมูลเปา้ หมาย ระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์ ของการเรียนการสอนแบบ STEM คือ ทรงเป็นประมุข (2) ความรู้และทักษะด้าน Sciences Literacy ค ว า ม รู้ ค ว า ม เ ข้ า ใ จ 36

เกี่ยวกับเนื้อหาวิชาวิทยาศาสตร์ สามารถ เคราะห” มีความหมายวาใครครวญ แยกออก เช่ือมโยงความเกี่ยวเน่ืองเนื้อหาสาระระหว่าง เปนสวนๆ เพอ่ื ศึกษาใหถองแทดังนน้ั คาวา คดิ ส า ร ะ วิ ช า แ ล ะ มี ทั ก ษ ะ ใ น ก า ร ป ฏิ บั ติ เ ชิ ง วิเคราะหจงึ มคี วามหมายวา เปนการใครครวญ วิทยาศาสตร์ มีทักษะในการคิดที่เป็นเหตุผล ตรึกตรองอยางละเอียด รอบคอบ แยกเปนส Mathematics Literacy ส า ม า ร ถ ค้ น ห า วน ๆ ในเร่ืองราวตาง ๆ อยางมีเหตุผลโดยหา ความรู้และแก้ปัญหาอย่างเปน็ ระบบ สามารถ จุดเดน จุดดอยของเรื่องนั้น ๆ และเสนอแนะ ตัดสินใจโดยใช้ข้อมูลท่ีหลากหลายและมี สิ่งที่เหมาะสมอยางมีความเปนธรรม และเป ประจักษพ์ ยานท่ีตรวจสอบได้ มคี วามสามารถ นไปได [3] การพัฒนารูปแบบการสอนทักษะ ในการวิเคราะห์ ใช้เหตุผลและการประยุกต์ ก า ร เ ขี ย น ภ า ษ า อั ง ก ฤ ษ ส า ห รั บ นั ก เ รี ย น แนวคิดทางคณิตศาสตร์ เพื่อสร้างอธิบายและ มัธยมศึกษาตอนต้นเพื่อช่วยให้นักเรียนมี ทานายปรากฏการณ์ต่างๆภายใต้บริบทที่ พ้ืนฐานการเขียนที่ดี สามารถส่ือสารด้วย แตกต่างกัน รวมถึงตระหนักถึงบทบาทของ ประโยค และคาศัพท์ที่ถูกต้องตรงตามความ คณิตศาสตร์และสามารถใช้คณิตศาสตร์ช่วย ต้องการ มุ่งเน้นให้นักเรียนเกิดความคิด ใ น ก า ร วิ นิ จ ฉั ย แ ล ะ ก า ร ตั ด สิ น ใ จ ท่ี ดี วิเคราะห์ คิดอย่างมีวิจารณญาณ และ Technology Literacy ค ว า ม เ ข้ า ใ จ แ ล ะ สร้างสรรค์งานเขียนได้อย่างมีคุณภ าพ ความสามารถในการใช้งาน จดั การ และเข้าถึง สามารถนาการเขียนภาษาอังกฤษไปใช้ใน เทคโนโลยี (กระบวนการหรือส่ิงประดิษฐ์ที่ ชีวิตประจาวัน และเกิดการเรียนรู้ด้วยตนเอง สร้างข้ึนเพ่ือตอบสนองความต้องการของ อย่างต่อเน่ือง [4] ในปัจจุบันโลกได้มีการ มนุษย์) Engineering Literacy ความเข้าใจ พัฒนาและเปลี่ยนแปลงไปอย่างรวดเร็ว โดย การพัฒนาหรือการได้มาของเทคโนโลยีโดย ได้มีการพัฒนาท้ังทางด้านวิทยาศาสตร์และ การประยุกต์ความรู้คณิตศาสตร์ วิทยาศาสตร์ เทคโนโลยีสมัยใหม่ ด้านเศรษฐกิจและสังคม และเทคโ นโ ลยีท่ีมีอยู่กับกระบว นการ ด้านการติดต่อส่ือสารต่างๆ จนพัฒนานาไปสู่ ออกแบบ เชิงวิศวกรรม เพื่อสร้างเคร่ืองใช้ การเป็นโลกยุคโลกาภิวัฒน์ และประเทศไทย หรอื วธิ กี ารเพือ่ พัฒนาคุณภาพชวี ิต [2] ในปัจจุบันก็เช่นเดียวกัน นับว่ากาลังมีการ ตามพจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. พัฒนาในด้านต่างๆอย่างรวดเร็ว ไม่ว่าจะเป็น 2552 [3] ไดใหความหมายคาวา “คดิ ” หมาย ด้านเศรษฐกิจ ด้านการค้าและการลงทุน ด้าน ความวา ทาใหปรากฏเปนรุป หรือประกอบให การติดต่อส่ือสาร ด้านสังคมและวัฒนธรรม เปนรูป หรือเปนเรื่องข้ึนในใจ ใครครวญ ไตร น อ ก จ า ก น้ี ยั ง พ บ ว่ า วั ฒ น ธ ร ร ม จ า ก ตรอง คานวณ มุง จงใจ ต้ังใจ สวนคาวา “วิ ต่างประเทศได้มีการเผยแพร่เข้ามาในประเทศ 37

ไทยอย่างหลากหลายและจนเป็นสังคมพหุ เพ่ือให้นักเรียนสามารถเขียนภาษาอังกฤษได้ วัฒนธรรม ในด้านการติดต่อสื่อสารกันก็ อย่างถูกต้องและมีประสิทธิภาพ ดังน้ัน เชน่ เดียวกนั จะเหน็ ได้ว่า ได้มีการใช้เทคโนโลยี ครูผู้สอนจะต้องมีการจัดการเรียนการสอนที่ สมัยใหม่ในการพัฒนาให้การส่ือสารในโลกใบ มุ่งพัฒนาให้นักเรียนมีความรู้ความเข้าใจ น้ี มีความเจริญก้าวหน้าและมีความทันสมัย เกี่ยวกับการเขียนภาษาอังกฤษอย่างถูกวิธี เพิ่มมากยิ่งขึ้น ถือเป็นอานวยความสะดวก สามารถเขียนได้ถูกต้องตามหลักไวยากรณ์ ให้กับมนุษย์เป็นอย่างมาก ภาษาที่ใช้ในการ และมีความเป็นสากล โดยอาจจะนาไปบูรณา ติดต่อส่ือสารกันในปัจจุบันก็มีความจาเป็น การกับการจัดการเรียนรู้ในรายวิชาต่างๆได้ อย่างยิ่ง เพื่อจะช่วยให้การติดต่อสื่อสาร ตามความเหมาะสม ซึ่งถ้าหากนักเรียน ร ะ ห ว่ า ง กั น นั้ น เ กิ ด ค ว า ม เ ข้ า ใ จ ม า ก ข้ึ น สามารถพัฒนาทักษะการเขียนภาษาอังกฤษ ภาษาอังกฤษจึงถือเป็นภาษาท่ีมีความจา ได้อย่างมีประสิทธิภาพ ก็ย่อมจะช่วยทาให้ เป็นมากในปัจจุบัน เพราะเป็นภาษาสากลที่ นั ก เ รี ย น ส า ม า ร ถ น า ก ร ะ บ ว น ก า ร เ ขี ย น ค น ท่ั ว โ ล ก ใ ช้ เ ป็ น ภ า ษ า ก ล า ง ใ น ก า ร ภาษาอังกฤษไปใช้ในการเขียนส่ือสารใน ติดต่อสื่อสารระกว่างกันและกัน ซึ่งในโลกยุค ชีวิตประจาวนั ได้อยา่ งถกู ตอ้ งตอ่ ไป ปั จ จุ บั น น อ ก จ า ก จ า เ ป็ น จ ะ ต้ อ ง พู ด ภาษาองั กฤษเป็นแลว้ มีความจาเปน็ อยา่ งยิ่งท่ี ดังนั้นทางคณะผู้วิจัยจึงได้เล็งเห็นถึง จะต้องใช้ทักษะการเขียนภาษาอังกฤษเป็นอีก ความสาคัญของการพัฒนาทักษะการเขียน เช่นเดียวกัน เพ่อื จะทาใหก้ ารติดต่อสอื่ สารเกิด ภาษาอังกฤษให้เกิดขึ้นกับนักเรียน ทักษะการ ความเขา้ ใจและเป็นไปได้อยา่ งมปี ระสทิ ธิภาพ เขียนภาษาอังกฤษเป็นทักษะที่มีความจาเป็น อย่างมากในยุคโลกาภิวัฒน์ เพราะนอกจาก น อ ก จ า ก ก า ร ทั ก ษ ะ ก า ร เรียนรู้ นักเรียนจะพูดภาษาอังกฤษเป็นแล้วแต่น่ันก็ เ ก่ี ย ว กั บ ก า ร พู ด แ ล ะ ก า ร อ อ ก เ สี ย ง ยังไม่เพียงพอในการเรียนรู้ในยุคปัจจุบัน แต่ ภาษาอังกฤษเป็นส่ิงที่มีความสาคัญและมี นักเรียนจะต้องมีทักษะการเขียนภาษาอังกฤษ ความจาเป็นอย่างมากต่อนักเรียนในปัจจุบัน ท่ี ถู ก ต้ อ ง ด้ ว ย เ พ ร า ะ ทั ก ษ ะ ก า ร เ ขี ย น แล้ว การพฒั นาทกั ษะการเขยี นภาษาอังกฤษก็ ภาษาอังกฤษสามารถนาไปใช้เป็นเคร่ืองมือ ถื อ เ ป็ น ทั ก ษ ะ ที่ ส า คั ญ อี ก อ ย่ า ง ห น่ึ ง ส า คั ญ ใ น ติ ด ต่ อ สื่ อ ส า ร ใ น ยุ ค ปั จ จุ บั น เช่นเดียวกันที่ครูผู้สอนจะต้องมุ่งเน้นพัฒนา คณะผู้วิจัยจึงมีความสนใจท่ีจะนาทักษะการ นักเรียนให้เกิดความรู้และความเข้าใจเกี่ยวกับ เขียนภาษาอังกฤษซึ่งเป็นทักษะสาคัญต่อการ ทักษะและเทคนิควิธีการเขียนภาษาอังกฤษ เรียนรู้ในรายวิชาภาษาอังกฤษ กลุ่มสาระการ 38

เรียนรู้ภาษาต่างประเทศ มาใช้ในการจัดการ ความสาคญั ของการวจิ ัย เรียนรู้แบบบูรณาการกับรายวิชาสังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม สาระเศรษฐศาสตร์ 1. ได้แบบทดสอบที่มีประสิทธิภาพ เรื่อง ความหมายและความสาคัญของ เ พ่ื อ พั ฒ น า ค ว า ม ส า ม า ร ถ ก า ร เ ขี ย น เศรษฐศาสตร์ โดยนักเรียนที่จัดการเรียนการ ภาษาอังกฤษ สาหรับนักเรียนระดับชั้น ส อ น ใ น ค รั้ ง นี้ คื อ นั ก เ รี ย น ร ะ ดั บ ชั้ น มัธยมศึกษาปที ่ี 1 ทมี่ ปี ระสิทธิภาพ มัธยมศึกษาปีท่ี 1/1 โรงเรียนโพนทองพัฒนา วิทยา อาเภอโพนทอง จังหวัดร้อยเอ็ด 2. นกั เรยี นมคี วามรูค้ วามสามารถการ สานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต เรียนรู้ในการเขียนภาษาอังกฤษและพัฒนา 27 ความสามารถในการคิด และการพัฒนาการ พัฒนาการคิดวิเคราะห์ความรู้ในรายวิชา วัตถปุ ระสงค์งานวจิ ัย สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม สาระ ภูมิศาสตร์ เรื่อง ความหมายและความสาคัญ 1 . ก า ร ใ ช้ ทั ก ษ ะ ก า ร เ ขี ย น ของเศรษฐศาสตร์ ภาษาอังกฤษ ในการพัฒนาการคิดวิเคราะห์ ความรู้ในรายวิชา สังคมศึกษา ศาสนาและ 3. การขยายผลการศึกษาและการ วัฒนธรรม สาระภูมิศาสตร์ เรื่อง ความหมาย พัฒนาต่อยอดเพื่อพัฒนาความสามารถในการ และความสาคัญของเศรษฐศาสตร์ สาหรับ เรยี นรูข้ องผู้เรยี นในระดับต่อๆไป นักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 โรงเรียน โพนทองพัฒนาวิทยา อาเภอโพนทอง จังหวัด ขอบเขตการวจิ ัย รอ้ ยเอด็ กลุ่มเป้าหมาย กลุ่มเป้าหมายของ 2. เพื่อยกระดับผลสัมฤทธิ์ทางการ ก า ร ศึ ก ษ า ค ร้ั ง นี้ เ ป็ น นั ก เ รี ย น ที่ ศึ ก ษ า ใ น เรียนรายวิชาสังคมศึกษา ศาสนา และ ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีท่ี 1/1 โรงเรียนโพน วัฒนธรรม และรายวิชาภาษาตา่ งประเทศ ช้นั ทองพัฒนาวิทยา สังกัดสานักงานเขตพื้นท่ี มัธยมศึกษาปีที่ 1 โรงเรียนโพนทองพัฒนา การศึกษามัธยมศึกษา เขต 27 จานวน 44 วทิ ยา อาเภอโพนทอง จังหวดั รอ้ ยเอด็ คน ปกี ารศึกษา 2561 39

วิธดี าเนนิ การวิจัย (METHODS) หมายถึง ความคงที่ในการวัดเม่ือวัดซ้า ๆ กนั หลายครั้งจะให้ค่าเหมือนเดมิ หรอื ใกลเ้ คยี งกัน การใช้ทักษะการเขียนภาษาอังกฤษ การหาค่าความเชอื่ มนั่ มหี ลายวิธีการดังน้ี เพื่อพัฒนาการคิดวิเคราะห์ความรู้ในรายวิชา สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม สาระ 4.3 มีอานาจจาแนก ภูมิศาสตร์ เรื่อง ความหมายและความสาคัญ (Discrimination) เคร่อื งมือการวจิ ยั ทด่ี ตี ้อง ของเศรษฐศาสตร์ สาหรับนักเรียนระดับชั้น สามารถจาแนกสิ่งตา่ ง ๆ ออกตามคณุ ลักษณะ มัธยมศึกษาปีที่ 1/1 โรงเรียนโพนทองพัฒนา ท่ีต้องได้ วิทยา อาเภอโพนทอง จังหวัดร้อยเอ็ด คณะผู้วิจัยไดม้ กี ารดาเนนิ การ ดังตอ่ ไปนี้ 4.4 มีประสิทธภิ าพ (Effciency) เครื่องมือการวิจัยที่มีประสิทธิภาพ หมายถึงมี 1. กาหนดปัญหาทจี่ ะดาเนนิ การวจิ ยั ประสิทธิภาพในการใช้ได้ง่ายสะดวก รวดเร็ว และประหยัดค่าใช้จ่ายการสร้างเคร่ืองมือให้มี 2. กาหนดวตั ถุประสงคก์ ารวิจยั ประสิทธิภาพในการใช้งานจึงต้องพิจารณา กลุ่มเป้าหมายว่าจะใช้เคร่ืองมือกับกลุ่มใด 3. กาหนดประชากรและวิธีการสุ่ม ธ ร ร ม ช า ติ ห รื อ ลั ก ษ ณ ะ พ้ื น ฐ า น ข อ ง ตั ว อ ย่ า ง เ ลื อ ก ก ลุ่ ม ตั ว อ ย่ า ง แ บ บ เ จ า ะ จ ง กลุ่มเป้าหมายเปน็ เชน่ ไร (นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีท่ี 1/1 จานวน 44 คน) 5. การรวมรวมข้อมลู 4. สรา้ งเครอ่ื งมือและหา 6. การวิเคราะห์ข้อมลู ประสทิ ธภิ าพของเคร่อื งมือ เคร่อื งมือในการ วิจัยคือ แบบทดสอบก่อน และ หลงั เรียน 7. การนาเสนอผล ( การเสนอ กาหนดดังนี้ รายงานการวิจัย) 4.1 มีความเทย่ี งตรง (Validity) สรุปและอภิปรายผล หมายถึง ความสามารถวดั ได้ตรงกบั สงิ่ ท่ี ต้องการจะวดั และ วัดไดค้ รอบคลุมพฤติกรรม การใช้ทักษะการเขียนภาษาอังกฤษ ลักษณะท่ตี ้องการการกาหนดความเทย่ี งตรง เพ่ือพัฒนาการคิดวิเคราะห์ความรู้ในรายวิชา ตามเนอื้ หา นน้ั จะต้องกาหนดนิยามตาม สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม สาระ ทฤษฎีและแปลงเปน็ นิยามเชิงปฏิบัติการ เพ่ือ ภูมิศาสตร์ เร่ือง ความหมายและความสาคัญ หาตัวชว้ี ดั ของเศรษฐศาสตร์ สาหรับนักเรียนระดับชั้น มัธยมศึกษาปีท่ี 1 โรงเรียนโพนทองพัฒนา 4.2 มีความเชื่อมัน่ (Reliability) 40

วิทยา อาเภอโพนทอง จังหวัดร้อยเอ็ดnm 1. การพัฒนาการคิดวิเคราะห์ความรู้ ผลการวิจัยพบว่า นักเรียนช้ันมัธยมศึกษาปีท่ี ในรายวิชา สังคมศกึ ษา ศาสนาและวัฒนธรรม 1/1 โรงเรียนโพนทองพัฒนาวิทยา มีการ สาระภูมิศาสตร์ เรื่อง ความหมายและ พัฒนาทักษะการเขียนภาษาอังกฤษดีข้ึน ความสาคัญของเศรษฐศาสตร์ สาหรับ กวา่ เดมิ โดยการใชแ้ บบทดสอบกอ่ นเรียนและ นักเรียนระดับช้ันมัธ ยมศึกษาปีที่ 1/1 หลังเรียน และใบงานการพัฒนาการเขียน โรงเรียนโพนทองพัฒนาวิทยา อาเภอโพนทอง ภ า ษ า อั ง ก ฤ ษ ร า ย บุ ค ค ล เ พื่ อ พั ฒ น า ก า ร คิ ด จังหวัดร้อยเอ็ด สรุปผลการวิจัยพบว่า วิเคราะห์ความรู้ในรายวิชา สังคมศึกษา นักเรียนช้ันมัธยมศึกษาปีที่ 1/1 โรงเรียนโพน ศาสนาและวัฒนธรรม สาระภูมิศาสตร์ เร่ือง ทองพัฒนาวิทยา มีการพัฒนาทักษะการเขียน ความหมายและความสาคัญของเศรษฐศาสตร์ ภาษาอังกฤษมีผลสัมฤทธ์ิรายวิชาสังคมศึกษา ซ่ึงจากการที่ครูผู้สอนได้มีการเสริมแรงโดย ศ า ส น า แ ล ะวั ฒ น ธ ร ร ม แ ล ะร า ย วิ ช า การกล่าวคาชมเชย ให้คาแนะนาเก่ียวกับ ภาษาต่างประเทศ ช้ันมัธยมศึกษาปีที่ 1 ดี เทคนิควิธีการเขียนภาษาอังกฤษอย่างถูกต้อง ข้ึนกว่าเดิม โดยการใช้แบบทดสอบก่อนเรียน แก่นักเรียนเป็นเวลาหลายช่ัวโมง โดยจากการ และหลังเรียน และใบงานการพัฒนาการเขยี น ตรวจแบบทดสอบก่อนเรียนและหลังเรียน ภาษาอังกฤษรายบุคคลเพื่อพัฒนาการคิด การตรวจใบงานเปน็ รายบุคคลท่ผี า่ นมา พบวา่ วิเคราะห์ความรู้ในรายวิชา สังคมศึกษา นักเรียนมีคะแนนจากการทาแบบทดสอบหลงั ศาสนาและวัฒนธรรม สาระภูมิศาสตร์ เร่ือง เรียนเพิ่มสูงขึ้น และมีคะแนนจากการทาใบ ความหมายและความสาคัญของเศรษฐศาสตร์ งานการพัฒนาการเขียนภาษาอัง ก ฤษ ซึ่งจากการท่ีครูผู้สอนได้มีการเสริมแรงโดย รายบุคคลเพื่อพัฒนาการคิดวิเคราะห์ความรู้ การกล่าวคาชมเชย ให้คาแนะนาเก่ียวกับ ในรายวิชา สงั คมศกึ ษา ศาสนาและวฒั นธรรม เทคนิควิธีการเขียนภาษาอังกฤษอย่างถูกต้อง สาระภูมิศาสตร์ เร่ือง ความหมายและ แก่นักเรียนเป็นเวลาหลายช่ัวโมง โดยจากการ ความสาคญั ของเศรษฐศาสตร์ อยู่ในระดบั ดี ตรวจแบบทดสอบก่อนเรียนและหลังเรียน การตรวจใบงานเป็นรายบคุ คลท่ีผ่านมา พบว่า อภปิ รายผล นักเรียนมีคะแนนจากการทาแบบทดสอบหลัง เรียนเพ่ิมสูงข้ึน และมีคะแนนจากการทาใบ จากผลการวจิ ยั มีประเดน็ ท่ีนา่ สนใจนามา งานการพัฒนาการเขียนภาษาอัง ก ฤษ อภปิ รายผล ดังน้ี รายบุคคลเพ่ือพัฒนาการคิดวิเคราะห์ความรู้ ในรายวชิ า สังคมศึกษา ศาสนาและวฒั นธรรม 41

สาระภูมิศาสตร์ เรื่อง ความหมายและ ภาษาตา่ งประเทศ ช้ันมัธยมศกึ ษาปีท่ี 1 ดขี น้ึ ความสาคัญของเศรษฐศาสตร์ อยู่ในระดับ ดี กว่าเดิม โดยการใช้แบบทดสอบก่อนเรียนและ ซึ่งสอดคล้องผลงานวิจัยของ [4] ผลการวิจัย หลังเรียน และใบงานการพัฒนาการเขียน พ บ ว่ า รู ป แ บ บ ก า ร ส อ น ทั ก ษ ะ ก า ร เ ขี ย น ภาษาอังกฤษรายบุคคลเพ่ือพัฒนาการคิด ภาษาอังกฤษที่สามารถพัฒนาทักษะการเขียน วิเคราะห์ความรู้ในรายวิชา สังคมศึกษา ของนักเรียนอย่างมีประสิทธิภาพ คือ “การ ศาสนาและวัฒนธรรม สาระภูมิศาสตร์ เร่ือง สอนทักษะการเขียนภาษาอังกฤษด้วยรูปแบบ ความหมายและความสาคัญของเศรษฐศาสตร์ การสอนท่ีเน้นกระบวนการ” และพบว่ากลุ่ม ซึ่งจากการท่ีครูผู้สอนได้มีการเสริมแรงโดย ตัวอย่างที่ไดร้ ับการเรยี นการสอนตามแผนการ การกล่าวคาชมเชย ให้คาแนะนาเกี่ยวกับ เ รี ย น รู้ เ ร่ื อ ง ก า ร ส อ น ทั ก ษ ะ ก า ร เ ขี ย น เทคนิควิธีการเขียนภาษาอังกฤษอย่างถูกต้อง ภาษาอังกฤษด้วยรูปแบบการสอนท่ีเน้น แก่นักเรียนเป็นเวลาหลายชั่วโมง โดยจากการ ก ร ะ บ ว น ก า ร มี ผ ล สั ม ฤ ท ธิ์ ท า ง ก า ร เ ขี ย น ตรวจแบบทดสอบก่อนเรียนและหลังเรียน ภาษาอังกฤษภายหลังการเรียนสูงกว่าก่อน การตรวจใบงานเป็นรายบุคคลทผ่ี ่านมา พบว่า เรียนอย่างมีนัยสาคัญทางสถิติ ผู้สอน และ นักเรียนมีคะแนนจากการทาแบบทดสอบหลงั นักเรียนมีความพึงพอใจต่อการเรียนการสอน เรียนเพ่ิมสูงข้ึนคิดเป็นร้อยละ 19.55 และมี ทักษะการเขียนภาษาอังกฤษด้วยรูปแบบการ คะแนนจากการทาใบงานการพัฒนาการเขียน สอนท่ีเน้นกระบวนการโดยรวม และรายด้าน ภาษาอังกฤษรายบุคคลเพ่ือพัฒนาการคิด อยู่ในระดับมาก วิเคราะห์ความรู้ในรายวิชา สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม สาระภูมิศาสตร์ เรื่อง 2. เพ่ือยกระดับผลสัมฤทธ์ิทางการ ความหมายและความสาคัญของเศรษฐศาสตร์ เรียนรายวิชาสังคมศึกษา ศาสนา และ อยู่ในระดับ ดี สอดคล้องกับงานวิจัยของ [5] วัฒนธรรม และรายวชิ าภาษาตา่ งประเทศ ชน้ั จากการตรวจสอบผลการดาเนินการทดลอง มัธยมศึกษาปีท่ี 1 ผลการวิจัยพบว่า นักเรียน ในแตละดานของทักษะการคิดวิเคราะหพบวา ช้ันมัธยมศึกษาปีท่ี 1/1 โรงเรียนโพนทอง ผลของคาเฉล่ียในแตละดานสูงขึ้น แตยังมี พัฒนาวิทยา มีการพัฒนาทักษะการเขียน นักเรยี นบางสวนยังขาดทกั ษะการเขยี น ดงั นัน้ ภาษาอังกฤษและมีผลสัมฤทธ์ิรายวิชาสังคม ควรจัดสอน เพิ่มเติมเพ่ือพัฒนาทักษะการ ศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม และรายวิชา เขยี นซึ่งเปนเครอ่ื งมือในการเรยี นรู 42

บรรณานกุ รม [1] พระราชบญั ญตั ิการศกึ ษาแห่งชาต,ิ 2552 เลม่ ท่ี 16 ตอนที่ 74 ก วนั ท่ี 19 สงิ หาคม พ.ศ. 2552. [2] สถาบันสง่ เสริมวทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลย,ี การจดั การเรยี นรแู้ บบสะเต็มศึกษา. กรงุ เทพมหานคร, มปป. [3] พจนานกุ รมฉบบั ราชบัณฑติ ยสถาน พ.ศ. 2552 (2546: 251 ,1071). [4] สุวรรณา ตนั ตยานสุ รณ์, การพฒั นารูปแบบการสอนทักษะการเขียนภาษาอังกฤษสาหรบั นักเรียน มธั ยมศึกษาตอนต้น สืบคน้ ได้จาก : http://journal.human.cmu.ac.th. (23/02/2562). [5] ดลยา แตงสมบูรณ การศึกษาผลการพฒั นาการคดิ วเิ คราะห์โดยใชกจิ กรรมการแสวงหา และคนพบความรูดวยตนเอง ประกอบการประเมนิ ตามสภาพจรงิ สาหรับนักเรยี นช้ัน ประถมศึกษาปที่ 3.สบื คน้ จาก : http://thesis.swu.ac.th/swuthesis/Ed_Mea/Donlaya_T.pdf. (23/02/2562) 43

หมดราคาญ ร้ฉู ับไว ด้วย LED และภูมปิ ญั ญาไทยดกั หนู เด็กหญงิ ภทั รภร เฮี้ยนฮะ1/เดก็ ชายกรี ติ มาสูงเนนิ 2/เดก็ ชายกฤษณชัย สีทาหล่อน3 นางสรุ ินธร วงั คะฮาด นายสิทธพิ ร ผกากลบี ครูท่ปี รกึ ษาโครงงาน นักเรยี นชน้ั มัธยมศึกษาปีท่ี 2/7 โรงเรยี นโพนทองพัฒนาวิทยา สานักงานเขตพื้นท่กี ารศึกษามัธยมศึกษา เขต 27 บทคัดยอ่ โครงงานสะเต็มศึกษาเร่ือง หมดราคาญ รูฉ้ ับไว ด้วย LED และภูมิปัญญาไทยดักหนู มี วตั ถปุ ระสงค์การศึกษาเพื่อ 1) ศึกษา รวบรวมข้อมลู ออกแบบประดษิ ฐ์เครื่องดักหนูของภมู ปิ ัญญา และเขียนแบบรา่ งเคร่ืองดักหนูได้ 2) ศึกษาแนวคิดและประยกุ ต์ใช้ข้อมูลออกแบบประดิษฐ์เคร่อื ง เครื่องดักหนูท่สี ามารถร้ทู นั ทีได้ 3) ศึกษา และทดสอบประสิทธิภาพเคร่อื งดักหนใู ชง้ านไดจ้ ริง 4) ศึกษาความพึงพอใจของผใู้ ช้ และปรบั ปรุงประสทิ ธภิ าพเครอ่ื งดกั หนู ซึ่งในการคดิ คน้ และประดิษฐม์ ี ขัน้ ตอนสาคัญ 1) การศกึ ษา รวบรวมข้อมลู ออกแบบประดิษฐ์เคร่อื งดกั หนูของภูมิปัญญา 2) การศึกษาแนวคิด และประยกุ ตใ์ ชข้ อ้ มูลออกแบบประดิษฐเ์ คร่ืองเครอื่ งดักหนูทสี่ ามารถรู้ทนั ทไี ด้ และ เขยี นแบบรา่ งเครื่องดักหนู 3) การศกึ ษา และทดสอบประสิทธิภาพเครอ่ื งดกั หนใู ชง้ านได้จรงิ 4) การศึกษาความพึงพอใจของผู้ใช้ และปรับปรงุ ประสิทธิภาพเครื่องดักหนู ผลการดาเนินการพบวา่ เครอ่ื งดักหนูที่พัฒนาขึ้นมปี ระสิทธภิ าพ และใชง้ านได้จริง ผ้ใู ช้มีความพึงพอใจในระดับมากทสี่ ุด Abstract The STEM Education Project title “Be annoyed Immediately Know With LED and Thai Wisdom Mouse Trap”. The purposes of this study was to 1) To study and create Thai Wisdom Mouse Trap Engine and develop temporary new Mouse Trap Engine. 2) To study and apply concept for new Mouse Trap Engine evidence. 3) To study and efficiency check temporary new Mouse Trap Engine. 4) To develop 44

and evaluate user satisfaction on Mouse Trap Engine. The project operation design consisted of 4 types namely; (1) Studying and collecting data to create new Mouse Trap Engine. (2) Studying and applying concept to create Mouse Trap Engine according to the immediately know situation. (3) Studying and Testing Mouse Trap Engine for using in every life. (4) Developing and evaluating user satisfaction on Mouse Trap Engine. The finding found that “Mouse Trap Engine” we developed had been more efficiency to immediately know and appropriate for using in every life with the most satisfaction on Mouse Trap Engine from users. คาสาคัญ: โครงงานสะเต็มศึกษา, การจัดการเรียนรูต้ ามแนว Active Learning Keyword: STEM Education project, Science Problem Solving, Active Learning ความสาคัญของผลงาน ประสิทธิภาพ โดยปัจจุบันผลิตภัณฑ์เหยื่อ กาจัดหนูส่วนมากเป็นกลุ่ม anti-coagulant “หนู” ขยายพันธ์ุอย่างรวดเร็ว สร้าง ซึ่งจะออกฤทธิ์ให้หนูตาย โดยยับยั้งการ ความราคาญ กัดเสื้อผ้า สิ่งของให้ได้รับความ แข็งตัวของเลือด ซงึ่ กระบวนการดังกลา่ วต้อง เสียหาย บางครั้งอาศัยอยู่บนฝ้าเพดาน ว่ิงไล่ ใช้เวลาประมาณ 3-4 วัน สารกลุ่ม Anti- กันสนุกสนาน ท้ังยังถ่ายอุจาระส่งกลิ่นเหม็น coagulants แบ่งออกเปน็ 2 แบบคือ Single น่าราคาญ บ้างก็กัดแทะข้าวสาร อาหารท่ีเก็บ dose เม่ือได้รับสารเพียงคร้ังเดียวแล้วตาย ไว้ ปสั สาวะหรอื ฉี่ของหนูอาจทาใหเ้ กดิ โรคร้าย Multi dose การไดร้ ับสารมากกวา่ 1 คร้ังแลว้ “โรคฉ่ีหนู” หากรักษาไม่ทันกาลมีอันตรายถึง ตาย สาหรับผลิตภัณฑ์เหย่ือกาจัดหนูแบบ ชีวิตได้ หนู เป็นพาหนะนาเชื้อโรคมาสู่คน ได้รับสารออกฤทธ์ิคร้ังเดียวคือ ตายหลังจาก สร้างความเสียหายให้แก่ส่ิงของเคร่ืองใช้ สร้าง การกินเหยื่อกาจัดหนูเพียงคร้ังเดียว ซ่ึงใช้ ความราคาญมาเป็นเวลาชา้ นาน เวลาหลายวนั (ประมาณ 4-6 วัน) ก่อนจะตาย ในขณะทีส่ ารกลุม่ ที่ต้องรบั มากกว่า 1 ครัง้ หนู ภูมิปัญญาไทยมีการสร้างเครื่องมือ จะกินอาหารมากกว่า 1 คร้ังและสะสม สาร เคร่ืองใช้ในการดักหนูหลายแบบ การจัดการ ออกฤทธ์ิและค่อย ๆ ตายใน 4-6 วัน เช่นกัน หนูโดยใช้อาหารเป็นเหยื่อกาจัดวางอย่างถูก (วิทยาการเพ่ือสิ่งแวดล้อม, ออนไลน์) แต่ก่อน วิธีตามทางเดินที่หนูเดินเป็นวิธี การที่มี 45

จะตายหนูทีได้รับสารวิ่งหรือเดินไปได้ และ เทคโนโลยีที่เกย่ี วข้องออกแบบประดิษฐ์เคร่ือง อาจไปหลบอยู่ ณ ที่บางแห่งแล้วถึงตาย เช่น ดกั หนูของภูมปิ ัญญา และเขียนแบบร่างเครื่อง ภายในซอกตู้ ตู้แอร์ มุมมืด ๆ ของบ้าน ดกั หนู เจ้าของบ้านจะทราบก็ต่อเม่ือหนูท่ีได้รับสาร ตาย เน่าและส่งกล่ินเหม็น ทาให้เกิดความ ตอนที่ 2 ประยุกต์ใช้ข้อมูลออกแบบ ยุ่งยากในการทาความสะอาด น่าราคาญ และ ประดิษฐ์เคร่ืองดักหนูตามข้อจากัด และ เป็นพาหะของเชื้อโรค ดังน้ัน คณะผู้จัดทาจึง เง่อื นไขท่กี าหนดให้คือสามารถร้ทู ันทีได้ เล็งเห็นความสาคัญของการดักหนู ให้รู้ทันทีท่ี โดนกับดัก โดยพฒั นาต่อยอดเครือ่ งดักหนูของ ตอนที่ 3 กาหนดขนั้ ตอน วิธกี าร และ ภู มิ ปั ญ ญ า ไ ท ย ที่ มี ใ ช้ กั น ทั่ ว ไ ป ใ น ภ า ค ทดสอบประสิทธิภาพเคร่ืองดักหนูใช้งานได้ ตะวันออกเฉียงเหนือ โดยมีวัตถุประสงค์ของ จริง การทาโครงงานดังน้ี ตอนที่ 4 ผู้ใช้มีความศึกษาความพึง วตั ถุประสงคก์ ารศึกษา พอใจต่อ ประสิทธิภาพเครื่องดักหนูในระดับ มาก 1 . เ พ่ื อ ศึ ก ษ า ร ว บ ร ว ม ข้ อ มู ล ออกแบบประดิษฐ์เครื่องดักหนูของภูมิปัญญา นิยามปฏบิ ตั ิการ และเขยี นแบบร่างเครอื่ งดักหนูได้ 1. หมดราคาญ รู้ฉับไว ด้วย LED 2. เพ่ือศึกษาแนวคิดและประยุกต์ใช้ และภูมิปัญญาไทยดักหนู หมายถึง เคร่ืองดัก ข้อมูลออกแบบประดิษฐ์เครื่องเครื่องดักหนูที่ หนูท่ีคณะผู้จัดทาพัฒนาข้ึน เพื่อใช้ดักหนูตาม สามารถร้ทู นั ทไี ด้ บ้านเรือน 3 . เ พ่ื อ ศึ ก ษ า แ ล ะ ท ด ส อ บ 2. LED หมายถึง ชุดคิดตรวจจับ ประสทิ ธภิ าพเครื่องดักหนใู ช้งานไดจ้ รงิ ความชนื้ ดว้ ยแสงสวา่ ง และสญั ญาณเสยี ง 4. เพ่ือศึกษาความพึงพอใจของผู้ใช้ 3. ภูมิปัญญาไทย หมายถึง เครื่องดัก และปรับปรงุ ประสิทธิภาพเครื่องดักหนู หนูของภูมิปัญญาภาคอีสานที่ทาด้วยกระบอก ไมไผ่ และกลไก ใชข้ า้ สารเปน็ เหยื่อล้อ สมมติฐานการศึกษา 4. หนู หมายถึง หนูท่ัว ไปต า ม ตอนที่ 1 สามารถรวบรวมข้อมูล บ้านเรือน การศึกษาครั้งสนใจศึกษา หนู แนวคิดทางวิทยาศาสตร์ คณิตศาสตร์ และ ท้องขาวนิยมบริโภค เพราะสามารถขายและ สรา้ งรายได้ระหวา่ งเรยี น 46

5. เหยื่อล้อ หมายถึง ข้าวสาร และ ตัวแปรทีศ่ ึกษา การวางในเสน้ ทางท่ีหนูเดนิ ในบา้ น ตอนที่ 1 ตัวแปรต้น เครื่องดักหนู ขอบเขตการศึกษา ของภูมปิ ัญญาภาคตะวันออกเฉยี งเหนือ ตัวแปรตาม แบบร่างเครื่องดกั หนู ๑. ดา้ นเน้ือหา ตามหลกั สูตร ตอนท่ี 2 แกนกลางการศึกษาขั้นพ้ืนฐาน ฉบับปรุงปรุง ตัวแปรต้น เครื่องดักหนูต้นแบบ พ.ศ. 2560 ชั้นมัธยมศึกษาปที ่ี 2 ตามขอ้ จากดั และเงื่อนไขทก่ี าหนด 1.1 วทิ ยาศาสตร์ ตัวแปรตาม ประสิทธิภาพในการดัก ว 2.2 ม.2/1-2 แรงและการ หนู และรู้ทนั ทเี ม่อื หนโู ดนกบั ดัก เคลอื่ นทข่ี องวตั ถุ ตอนที่ 3 ตัวแปรต้นเคร่ืองดกั หนู ว 2.2 ม.2/5-6 พลังงานกล ตัวแปรตาม ประสิทธิภาพเคร่ืองดัก ว 4.1 ม.2/3 การวิเคราะห์ หนใู ชง้ านได้จริง เปรียบเทียบ ออกแบบแนวทางการ แก้ปัญหา ตอนที่ 4 ก า ร ก า ห น ด ขั้ น ต อ น ก า ร ท า ง า น ก่ อ น ก า ร ตวั แปรต้นเครื่องดกั หนู แกป้ ญั หา ตัวแปรตามความศึกษาความพึง ว 4.2 ม. 2/4 การทดสอบ และ พอใจของผใู้ ช้ตอ่ ประสิทธิภาพเครือ่ งดักหนู ประเมนิ ผลช้ินงาน ขอ้ ตกลงเบอ้ื งตน้ 1.2 คณติ ศาสตร์ 1. โครงงานน้ีจะคานึงถึงหนูบริเวณ ค 2.1 ม.2/1-2 พื้นที่ผิว และ ตามบา้ นเรือนเทา่ นนั้ ปรมิ าตร 2. เคร่ืองดักหนูน้ีศึกษาเฉพาะเหย่ือ ค 2.2 ม.2/1-5 พ้ืนที่ผิว ปริมาตร ล้อคือ ข้าวสาร และการวางที่ตาแหน่งหนุเดิน การสร้างทางเรขาคณิต เส้นขนานการ ในบา้ นอย่างเหมาะสมเท่านน้ั เปลีย่ นแปลงทางเรขาคณติ และการเท่ากันทุก ประการ 47


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook