Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore การตั้งค่าจาน ku

การตั้งค่าจาน ku

Published by นวดล จันทรเสนา, 2019-07-03 00:49:46

Description: การตั้งค่าจาน ku

Search

Read the Text Version

การตดิ ตงั้ จานรับสัญญาณดาวเทยี ม ระบบ KU-Band บนดาวเทียมไทยคม5 1. ต้องร้กู ่อนวา่ ตาแหนง่ ท่เี ราจะทาการตดิ ตงั้ จาน อยู่ ณ ตาแหนง่ Latitude (Lat.) และ Longitude (Long.) ทเี่ ทา่ ไร เพือ่ จะหาคา่ มุมกวาด (Azimuth: AZ ) และมมุ เงย (Elevation: EL) ในการติดตั้งจานเพื่อรบั สญั ญาณจากดาวเทียมไทยคม5 2. เมื่อทราบสามารถหาตาแหน่ง Latitude และ Longitude แล้วสามารถหาค่าคา่ มมุ กวาด (AZ ) และมุมเงย (EL)ไดจ้ าก Website: http://tcns.thaicom.net/AZEL.asp โดยใสค่ ่า Lat. และ Long. และ เลือกดาวเทยี ม ไทยคม 5 แล้วกด Calculate 3. หากไมท่ ราบตาแหน่ง Latitude และ Longitude ของสถานท่ีตดิ ตัง้ จาน สามารถใช้คา่ Latitude และ Longitude ของจังหวัดทต่ี ิดต้งั แทน ใน Website: http://tcns.thaicom.net/AZEL.aspและ และ และ เลือก ดาวเทยี มไทยคม 5 แล้วกด Calculate จะไดค้ ่ามมุ กวาด (AZ ) และมุมเงย (EL) ______________________________________________________________________________ *หมายเหต:ุ ทาการคานวนเพือ่ ทจี่ ะหามมุ Azimuth (มุมกวาด) และมุม Elevation (มุมเงย) ไวใ้ ชใ้ นการ Point จาน สามารถใชส้ ูตรคานวน ดังนี้ สตู รการคานวนหามุม Azimuth (AZ) AZ = tan-1 θ = Latitude ของท่ีจะตดิ ตง้ั จาน Φ = Longitude (ดาวเทียม) – Longitude (ทต่ี ิดตง้ั จาน) สูตรการคานวนหามุม Elevation (EL) θ = Latitude ของท่ีจะตดิ ตั้งจาน EL = tan-1 Φ = Longitude (ดาวเทยี ม) – Longitude (ทีต่ ดิ ตั้งจาน) R = รศั มีโลก (มีค่าเทา่ กบั 6,370 Km.) H = ระยะระหวา่ งดาวเทยี มกับพ้นื โลก (35,680 Km.) ______________________________________________________________________________________

4. สารวจทิศทางมมุ (ที่ไดจ้ ากการคานวนจากข้อที่ 2 หรือ 3 ทจี่ ะหนั หนา้ จานไปรบั สญั ญาณจากดาวเทียม ไทยคม5 วา่ ตอ้ งไม่มีสงิ่ กดี ขวางบดบังการรับสัญญาณ ดงั รปู การติดตงั้ จาน ผดิ วธิ ี การติดตง้ั จาน ถกู วธิ ี 5. เมอื่ ไดต้ าแหน่งติดตัง้ จานท่ไี ม่มสี ิ่งบดบงั แล้ว ก็เร่มิ ทาการตดิ ตง้ั เสาโดยตอ้ งตดิ ตั้งให้ทามุม90 องศา ท้ัง 4ดา้ น หากไมไ่ ด้ 90 องศา ใหใ้ ช้แหวนรองน็อต รองใตแ้ ป้นเหลก็ เพือ่ ปรับองศาของผนงั ยดึ 6. ติดตัง้ จานเขา้ กบั เสาโดยหันหน้าจานไปทางทิศทางท่ไี ดท้ าการคานวน (คอื มมุ กวาด (AZ ) และมมุ เงย (EL)) ไว้ในข้อท่ี 2 หรอื 3 ซึ่งการติดต้งั ในประเทศไทยนั้นหากรบั สญั ญาณจากดาวเทียมไทยคม5 เรา สามารถปรับจานรบั สัญญาณจากดาวเทยี มให้มี มุมกวาด (AZ) ประมาณเทา่ กบั 240 องศา และมี มมุ เงย (EL) ประมาณ 60 องศา โดยประมาณใแลว้ คอ่ ยมาทาการปรับแตง่ ละเอยี ดอีกครั้งภายหลงั เพื่อรบั สัญญาณไดแ้ รงมากทสี่ ดุ *หมายเหต:ุ ตาแหน่งการตดิ ตัง้ จานโดยการใช้สตู รคานวนเป็นตาแหนง่ ทร่ี บั สญั ญาณไมแ่ รงท่ีสดุ จงึ มคี วาม จาเปน็ ต้องปรับแตง่ ละเอยี ดอีกครั้งเพอ่ื ใหไ้ ดร้ บั สัญญาณได้แรงที่สดุ โดยหากสามารถรบั สญั ญาณได้แรงทส่ี ดุ จะทาใหม้ ี Link Margin สูงสดุ และสามารถทนฝนไดเ้ ปน็ ระยะเวลานานกอ่ นทจี่ ะรบั สัญญาณไมไ่ ดก้ รณฝี นตก หนกั มาก 6. ประกอบตัว LNB เขา้ กับแขนจบั LNB และหนั หนา้ เขา้ หาจานแล้วบิดขวั้ ใส่สายสัญญาณของLNB ไป ทที่ ิศทางประมาณ 4 -5 นาฬกิ า 7. เขา้ หวั F-Type กับสาย RG6 8. ทาการต่อสายสัญญาณและอุปกรณต์ า่ งๆ เพอ่ื เริ่มการปรับแตง่ มมุ จานใหไ้ ดร้ ับสญั ญาณทดี่ สี ุด ซึ่งจะ อธบิ ายในหวั ขอ้ “วิธีการปรับจานดาวเทยี มให้ไดส้ ัญญาณทแ่ี รงทีส่ ดุ ” (หัวข้อถดั ไป)

วิธกี ารปรบั จานดาวเทียมใหไ้ ดส้ ญั ญาณทแี่ รงทส่ี ุด มีการต่ออุปกรณ์ 2 วิธี 1. การปรับจานดาวเทยี ม โดยเครอ่ื ง Receiver เป็นวธิ ีการตอ่ เข้ากับ Receiver ทีเ่ ราจะใช้ทั่วไป โดยเราจะหาคุณภาพสัญญาณที่แรงท่ีสุดได้จาก ตวั เลขบอกเปอร์เซน็ ตท์ ี่สามารถเรียกดไู ด้ จากเครื่อง Receiver นนั้ ๆ 2. การปรบั จานดาวเทยี ม โดยใช้เครื่อง Spectrum Analyzer เป็นวิธีการนาสัญญาณมาแยกเขา้ Receiver ท่เี ราใช้รบั และเขา้ เครื่อง Spectrum Analyzer โดยเรา จะสามารถดูสญั ญาณ L-Band แบบ Real time จากเครอื่ ง Spectrum Analyzer ทาใหส้ ญั ญาณที่ไดม้ คี ุณภาพ สญั ญาณสูงที่สดุ และง่ายตอ่ การปรับไมใ่ หเ้ กิด Cross POL จากการปรับหวั Feed และLNB 1. การปรับจานดาวเทียม โดยเครือ่ ง Receiver (สาหรบั Receiver ของ True Visions) Receiver True Vision แผนผงั การตอ่ อปุ กรณเ์ พอื่ TEST หาคณุ ภาพ 1. เซตเคร่ือง Receiverสใัญหญ้รับาณสัญญาณจากดาวเทียมไทยคม5 ดงั รายละเอียดตอ่ ไปน้ี  Frequency : 12.562 GHz. (Transponder ท่ี 4H)  Symbol Rate: 25.776 Msym/s.  FEC : 2/3  Polarization : Horizontal  LNB Frequency : 11.300 GHz. (เซตใหม้ ีค่า Local Freq. ตรงกบั ค่าของ LNB ท่ีเราใชง้ าน อย่จู รงิ )

2. หาตาแหนง่ ของจานดาวเทยี มไทยคม 5 กรณที ่ีทาการตดิ ตัง้ จานในประเทศไทย 2.1 ให้ใชเ้ ขม็ ทศิ หาทศิ ตะวนั ตกเฉียงใต้ หรอื มมุ ประมาณ 240 องศาจากทางทิศเหนอื 2.2 ทาการปรบั มุมเงยให้ได้ประมาณ 60 องศา(มี Scale บอกทข่ี า้ งจาน) เมอ่ื เทยี บกับพน้ื ดนิ 2.3 หนั หัว LNB ให้มองเข้าไปท่ีหนา้ จาน (ใหด้ คู ู่มอื ตดิ ตงั้ ของจานนั้นๆประกอบด้วย) การหนั หนา้ จานไปทางทศิ ตะวนั ตกเฉยี งใต้ Scale องศามุมกม้ -เงย การหมุนปลาย Connect LNB ให้ชไี้ ปตาแหนง่ 4 นาฬกิ า

 เรมิ่ ทาการส่ายหนา้ จานทั้งซ้าย-ขวา และ ก้ม-เงย ช้าๆ พร้อมดูระดบั คณุ ภาพสัญญาณควบคู่ ไปดว้ ย หาตาแหนง่ ที่ระดับคณุ ภาพสัญญาณสงู ที่สดุ แล้วลอ็ กนอ๊ ต ซ้าย-ขวา และ กม้ -เงย เพือ่ ไมใ่ หจ้ านเคลอื่ นที่ได้ แตย่ งั ไมต่ ้องแนน่ มากนกั ส่ายหนา้ จาน ซา้ ย-ขวา ปรบั มุม กม้ -เงย ระดบั สญั ญาณได้ 99% คณุ ภาพสัญญาณ ได้ 97 % รปู อธบิ าย การส่ายหนา้ จาน พรอ้ ม ระดบั คุณภาพสญั ญาณของเครอ่ื งรบั 3. ปรบั จานแบบละเอยี ด เพอ่ื ใหต้ าแหนง่ ของจานตรงกบั ตาแหน่งของดาวเทยี มใหม้ ากทสี่ ุด  ส่ายหนา้ จานซา้ ย-ขวา ชา้ ๆ พร้อมสงั เกตุระดบั คุณภาพสัญญาณ โดยปรับให้ไดร้ ะดับ คุณภาพมากทสี่ ุดแล้วทาการลอ็ กมุมส่าย (ล๊อกขาจบั ยดึ เสา) ใหแ้ น่น ปรบั มุมกวาด ซ้าย-ขวา น๊อตท่ยี ดึ สาหรบั ปรับมมุ กวาด ซ้าย-ขวา รูปอธบิ ายการปรับจาน ซา้ ย-ขวา

 ปรบั มุมก้มเงยของหน้าจานชา้ ๆ พร้อมกับการสังเกตรุ ะดบั คุณภาพ (Quality) โดยปรบั ให้ ได้ระดบั คุณภาพมากที่สดุ แลว้ ทาการล็อกมมุ เงยใหแ้ น่น ปรับมุม ก้ม-เงย น๊อตทยี่ ดึ สาหรบั ปรับมุมกม้ -เงย รปู อธบิ ายการปรบั จาน กม้ -เงย ผลการปรบั ตามขน้ั ตอนที่ 3 ระดบั สญั ญาณได้ 99% คณุ ภาพสัญญาณ ได้ 100%

4. ทาการCheck โพลาไรเซซน่ั ว่าเกดิ การ Cross Pol กนั หรือไม่  กดเปลยี่ นค่า Polarization จาก Horizontal เป็น Vertical เพ่อื ดูว่ามสี ัญญาณทางฝัง่ Pol Ver เขา้ มารึเปลา่ *หมายเหต:ุ การเปลีย่ นเปน็ Pol Ver จะต้องเข้าไป set คา่ Polarization จาก Horizontal เปน็ Vertical ดเู อกสารแนบ 1 Polarization Horizontal Polarization Vertical ระดบั สัญญาณได้ 99% คณุ ภาพสัญญาณ ได้ 100 % ระดบั สัญญาณได้ 87% คุณภาพสญั ญาณ ได้ 34% *หมายเหต:ุ Cross Pol คือการทสี่ ัญญาณฝั่ง Pol ตรงข้ามเขา้ มากวน Pol ทีเ่ ราต้องการรบั (เชน่ สัญญาณ Pol Ver อาจกวนแบบ Cross Pol ไปยงั Pol. Hor ได้หากมี Transponder ท้ังสอง Pol. ท่ีความถเี่ ดียวกนั ) ซึ่งมสี าเหตมุ าจากการหมนุ หวั LNB ไมเ่ หมาะสม ทาให้ LNB สามารถรบั สญั ญาณจาก Pol ตรงข้ามมา ดว้ ย ในกรณี Transponder 4H ไมม่ ี Transponder ตรงกันข้าม แต่ถ้าปรบั Feed ไม่ดี (คอื รับสัญญาณ Pol. Hor. ได้ไมแ่ รงทส่ี ดุ ) จะทาให้มี Link Margin ไม่มากและไมส่ ามารถทนฝนไดเ้ ปน็ ระยะเวลานาน ดังนนั้ เม่ือฝนตกไม่หนกั มากกจ็ ะรับสญั ญาณไมไ่ ด้ 5. ทาการปรับหมนุ หวั LNB หมนุ ทลี ะนดิ ไปตามเขม็ นาฬกิ า หรือทวนเขม็ นาฬิกาจนทาใหค้ ณุ ภาพ สญั ญาณของ Pol Ver ลดลงจนมีคา่ เทา่ กับ 0 %

 (เนื่องจาก Transponder ที่ 4H บนดาวเทยี มไทยคม5 ในปัจจบุ นั มเี พยี งแค่ Pol Hor อยา่ ง เดียว เมือ่ ปรบั ไป Pol Ver ตอ้ งไดค้ ุณภาพสญั ญาณตา่ สุด) โดยหากสญั ญาณคุณภาพของ Pol. Ver ยังสูงอยู่แสดงวา่ ยงั ปรับ Feed ไดไ้ มด่ ี โดยจานยงั รบั สญั ญาณจาก Pol. Hor มา จึงควรปรับให้ค่าคณุ ภาพสญั ญาณของ Pol. Ver ตา่ สดุ (จากตัวอย่างสามารถปรบั จากค่า 34% เป็น 0% ) ปรับหมุนหัว LNB ไปตามเข็ม หรอื ทวนเข็มนาฬกิ า Polarization Horizontal Polarization Vertical ระดบั สญั ญาณได้ 99% คณุ ภาพสญั ญาณ ได้ 100 % ระดับสัญญาณได้ 77% คุณภาพสญั ญาณ ได้ 0 % 6. ปรบั Pol กลบั มาที่ Pol Hor. และ ลองทาการ Tune รับชอ่ งรายการทวี ตี า่ งๆ ถอื เปน็ อนั เสร็จสน้ิ กระบวนการ Point จานอยา่ งถกู ต้อง ในหวั ข้อตอ่ ไปจะเป็นการ Point จาน โดยใชเ้ คร่อื ง Spectrum Analyzer จะทาใหเ้ ขา้ ใจเรื่อง Cross Pol มากยิ่งขนึ้

2. การปรบั จานดาวเทยี มโดยใช้ Spectrum Analyzer Receiver True Vision Splitter Spectrum Analyzer แผนผงั การต่ออปุ กรณเ์ พื่อ TEST หาคณุ ภาพสัญญาณ โดยใช้ Spectrum Analyzer ในกรณีท่ีมี Spectrum Analyzer เราสามารถปรบั จานโดยดรู ูปสัญญาณแคเรียรข์ องดาวเทียมไดเ้ ลย ซง่ึ มขี ้นั เหมือนการปรับกับเคร่ือง Receiver รับสญั ญาณจากดาวเทียม 1. เซตเครือ่ ง Receiver ใหร้ บั สัญญาณจากดาวเทียมไทยคม5 ดังรายละเอียดต่อไปน้ี  Frequency : 12.562 GHz. (Transponder ท่ี 4)  Symbol Rate: 25.776 Msym/s.  FEC : 2/3  Polarization : Horizontal  LNB Frequency : 11.300 GHz. (เซตให้มีคา่ Local Freq. ตรงกบั คา่ ของ LNB ที่เราใชง้ าน อยจู่ รงิ ) 2. ส่ายหน้าจาน ซา้ ย-ขวา และ ก้ม-เงย พรอ้ มกับดู Carrier ของสญั ญาณที่ Spectrum analyzer เมอ่ื เจอ สญั ญาณดาวเทียมแล้ว ใหล้ ็อกจานแบบหลวมๆ ก่อน

สา่ ยหนา้ จาน ซา้ ย-ขวา ปรบั มุม ก้ม-เงย Carrier ของสญั ญาณจากดาวเทยี มไทยคม 5 Pol Hor รูปแสดง การสา่ ยหนา้ จาน – Carrier Ku band *หมายเหต:ุ - Carrier ของสญั ญาณเสน้ สฟี า้ เปน็ สญั ญาณ Maximum ที่เราไดท้ าการกดปุ่ Function Track ไวก้ อ่ น เพือ่ ทาใหเ้ รารูว้ า่ ทเี่ ราลองทาการปรับจานสัญญาณทด่ี ีสดุ อยตู่ รงไหน - Carrier ของสญั ญาณเส้นสเี หลือง เปน็ สัญญาณทีร่ บั อยู่จริง ณ ปัจจุบนั เป้าหมาย : ตอ้ งปรบั จานใหส้ ญั ญาณทรี่ บั ไดใ้ กล้เคยี ง หรอื ทับเสน้ สฟี ้าพอดี a. เมอื่ เจอสัญญาณดาวเทียมแลว้ ใหท้ าการปรับแบบละเอียด โดยเริ่มจากการปรบั จานซา้ ย- ขวา ช้าๆ พรอ้ มกบั ดู carrier ให้มีค่า carrier/noise (C/N) มากที่สุด (อาจกดป่มุ Function จากเครื่อง Spectrum Analyzer Track คา่ Max และ Min ของสัญญาณกอ่ นหนา้ นเี้ พอื่ งา่ ย ต่อการเปรยี บเทยี บกับการปรบั จานปจั จุบัน) จากนั้นจึงล๊อกมมุ ซ้าย-ขวา ใหแ้ นน่ ปรับมุมกวาด ซ้าย-ขวา นอ๊ ตทีย่ ดึ สาหรบั ปรับมมุ กวาด ซ้าย-ขวา รูปแสดงการปรบั จานซา้ ย-ขวา พร้อม Carrier

b. ปรบั มุมกม้ -เงย พร้อมดสู ัญญาณ carrier/noise (C/N) จาก Spectrum Analyzerใหไ้ ด้ ค่าสูงสุด จึงทาการล๊อกมมุ กม้ -เงยใหแ้ น่น ปรบั มุม กม้ -เงย น๊อตท่ียดึ สาหรับ ปรับมุมก้ม-เงย รูปแสดงการปรับมุมกม้ -เงย พรอ้ ม carrier c. ปรบั แอลเอ็นบีใหไ้ ดส้ ัญญาณสงู สุด โดยเรม่ิ หมนุ ชา้ ๆ ไปทศิ ทางใดทิศทางหนงึ่ กอ่ น พร้อมดูรปู C/N ที่ Spectrum Analyzer โดยปรับใหแ้ อลเอ็นบีอยูใ่ นตาแหนง่ ท่ีค่า C/N สูงสดุ ปรบั หมนุ หัว LNB ไปตามเข็ม หรอื ทวนเขม็ นาฬกิ า รูปแสดงการปรบั แอลเอน็ บี พรอ้ มCarrier

เมอ่ื เราทาการปรับตามข้อ 2 a – c แลว้ เราก็จะได้สญั ญาณเสน้ สเี หลอื งทที่ ับกบั สญั ญาณเสน้ สี ฟ้า หรือ สูงกวา่ สญั ญาณเส้นสฟี ้า ดังรูป คา่ สญั ญาณท่แี รงที่สดุ ของ Horizontal Polarization d. การใช้ Spectrum Analyzer ปรบั จาน จะทาให้การปรับแอลเอน็ บีงา่ ยขน้ึ ซงึ่ สามารถปรับ X-Pol หรือ โพลตรงขา้ ม ให้น้อยท่สี ุดได้ โดยดจู ากรูป Carrier โดยหลังจากปรับตาแหน่ง แอลเอน็ บีจนไดร้ ูปสัญญาณสูงสดุ แลว้ ให้ปรบั Receiver เปน็ Vertical Polarization เพื่อดู สญั ญาณโพลแนวตง้ั ซ่ึงจะมีรูป carrier ทีต่ ่างจากโพลแนวนอน รปู แสดง carrier pol ver ขณะทีป่ รับ pol ไมด่ ี

e. ทาการหมนุ แอลเอ็นบชี ้าๆ โดยให้รปู สญั ญาณจากโพลแนวนอนมากวนโพลแนวตั้งให้ น้อยท่สี ุด ผลลัพทท์ ไี่ ด้ ดงั รปู สัญญาณ Vertical Polarization ทถ่ี ูกตอ้ ง ของดาวเทยี มไทยคม 5 *หมายเหตุ จะเห็นวา่ สญั ญาณที่ Transponder ท่ี 4 เป็นตน้ ไปจะต้องไม่มี แต่จากรูปจะเหน็ วา่ สัญญาณเหล่าน้นั ไม่เรยี บเท่าที่ควรเหมือนจะเป็น Cross Polarization ซง่ึ จากการทดลอง ผลลัพท์ที่ไดน้ ี้ คือค่าสญั ญาณทเี่ รยี บท่ีสดุ แลว้ สาเหตุทีส่ ญั ญาณตั้งแต่ Transponder ท่ี 4 ไม่เรยี บเท่าท่ีควรเกดิ มาจากหลาย สาเหตุ ได้แก่ ตวั Splitter, สายนาสญั ญาณ หรอื หัว Feed LNB เป็นต้น f. แล้วล็อกแอลเอน็ บีให้แนน่ ปรับ Receiver เป็น Horizontal Polarization และตรวจดู สัญญาณอีกคร้งั สัญญาณ Horizontal Polarization รปู แสดง Carrier ver ที่ปรบั X-Pol แล้ว

เอกสารแนบ 1 ขั้นตอนการ Set คา่ ตา่ งๆในอปุ กรณ์ True Vision Receiver 1. กดปมุ่ Menu บน Remote เลือกขอ้ [3] ดงั รปู Figure 1. 2. ใส่รหัสผ่าน คอื 2321 ดังรูป Figure 2. Figure 1. Figure 2.

3. กดเลอื ก “การตั้งคา่ LNB” ดงั รูป Figure 3. Figure 3. 4. Set Parameter ต่างๆ ใหเ้ หมอื น ดังรปู Figure 4. Figure 4.

5. กดป่มุ Exit บน Remote 1 ที เพ่อื มา กดเลอื ก “[2] ปรบั ค่าดาวเทียม” ดังรปู Figure 5. Figure 5. 6. Set คา่ Parameter ตา่ งๆ ดงั รูป Figure 6. Figure 6. *หมายเหตุ หนา้ นจ้ี ะเปน็ หนา้ หลักสาหรบั การดูคุณภาพของสัญญาณ ซง่ึ จะขนึ้ อยู่กบั การ Point จาน


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook