Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore การสร้างคำและโคลงสี่

การสร้างคำและโคลงสี่

Published by ladylukpla21, 2021-01-30 08:50:18

Description: การสร้างคำและโคลงสี่

Search

Read the Text Version

การสรา้ งคาในภาษาไทย • คามูล • คาประสม • คาซอ้ น • คาซา 1

คามูล หมายถงึ คาทเี่ ป็นคาเดิม อาจเป็นคาไทยแท้ หรือคาทีม่ าจากภาษาอ่นื และเปน็ คาพยางค์เดียวหรือคาหลายพยางค์กไ็ ด้

คามูลพยางค์เดียว ไดแ้ ก่ คาพยางคเ์ ดยี ว ซึง่ มีความหมายชดั อย่ใู นตวั อาจเปน็ คาไทยแท้หรอื คาทม่ี า จากภาษาอ่ืนกไ็ ด้ เชน่ ไก่ ขา้ ว เดก็ ตา เธอ พา ดู ทา นั่ง 3

คามลู หลายพยางค์ ไดแ้ ก่ คามูลที่ออกเสยี งตงั แต่ ๒ พยางค์ ขึนไป มลี ักษณะอยา่ งใดอยา่ งหนึง่ ดงั นี ๑. ประกอบด้วยพยางค์ที่ไมม่ ี ความหมาย เช่น จงิ จก 4

๒.ประกอบดว้ ยพยางค์ทม่ี คี วามหมายเพยี ง บางพยางค์ เชน่ จิปาฐ ๓. ประกอบด้วยพยางค์ท่ีมคี วามหมาย แต่ ความหมายของคานนั ไมม่ ีเค้าความหมาย ของแตล่ ะพยางค์ เชน่ นาที 5

ตวั อยา่ งคามูลหลายพยางค์ กระจง กุยเฮง กะลาสี กระจัดกระจาย ขมนิ คะแนน จิงหรีด โซดา ดเุ หวา่ แซยดิ 6

คาประสม หมายถึง คาทเี่ กิดจากคามูลตังแต่ ๒ คาขนึ ไปมาประสมกนั ทาให้เกิดคาใหม่ขึนมา แต่ยังคงมเี คา้ ความหมายเดมิ อยู่ 7

ลกั ษณะสาคัญของคาประสม ๑. เกิดจากคามูลตังแตส่ องคาขนึ ไป เช่น ทอ้ งฟ้าจาลอง ดาวเทียม แปรงสีฟัน เงนิ เดือน ผา้ ห่มนอน กฎหมาย ยาดับกล่นิ 8

๒. เกิดจากคามลู ท่มี าจากภาษา ใดกไ็ ด้ • คาไทยแท้ เชน่ ม้าเรว็ ลกู นา แม่ครวั • คาไทยแท้กบั คาทม่ี าจากภาษาอืน่ เชน่ การเล่น ราชวัง ผลไม้ ถา่ ยรปู • คามาจากภาษาอนื่ เชน่ การศกึ ษา การแพทย์ ผลผลิต ยานอวกาศ 9

๓. เกิดจากคามูลซึง่ มเี นือความตา่ งๆ กนั เมอ่ื รวมกนั แลว้ เกดิ ความหมายใหมต่ า่ งกบั คามูลเดมิ แต่ยังมีเค้าเดิม เชน่ ม้าเร็ว ดาวเทียม ลูกหาบ 10

๔. สว่ นมากเกิดจากคามูลท่ีมคี วามหมาย หลกั หรือ ที่เรยี กวา่ คาตัง อยตู่ ้น คามูล ที่ เป็นคาขยาย อยหู่ ลงั เชน่ ผลผลิต การ คลงั ความจา 11

๕. เกดิ จากคามูลชนิดต่างๆ และทาหน้าที่ได้ ตา่ งๆกนั เชน่ นาม สรรพนาม กริยา วเิ ศษณ์ หรอื บุพบท 12

ตวั อยา่ งคาประสมบางคา ๑. คาประสมท่ีเกิดจากคานามกบั คานาม เช่น รถไฟ นาตา นาปลา แมน่ า เรอื อวน ขนั หมาก นาก้งุ เรอื นหอ สวนสตั ว์ ไฟฟ้า ขนมครก กลว้ ยแขก ลกู เขย 13

๒. คาประสมที่เกดิ จากคานาม กับคากริยา หรอื คากริยา กับคานาม เชน่ กลว้ ยปงิ้ ขา้ วตาก ไขท่ อด ยาถ่าย ไม้สอย ตังใจ ตายใจ หักหนา้ เสียหนา้ กนิ ใจ 14

๓. คาประสมทเ่ี กดิ จากคานาม กบั คา วเิ ศษณ์ เช่น มดแดง รถเรว็ นาแขง็ รถด่วน ใจนอ้ ย ใจอ่อน ใจง่าย ใจแข็ง หูเบา มา้ มืด ปอดบวม ปากหวาน ยาแดง ปลาเคม็ นาหวาน 15

๔. คาประสมท่เี กดิ จากคากริยากบั คากริยา เชน่ เท่ียวเดนิ ใหห้ า ตดิ ตงั บกุ เบกิ พดั โบก รวบรัด ตพี ิมพ์ รอ้ ยกรอง ค้นควา้ เทย่ี วลอ่ ง ถกเถยี ง เรยี งพิมพ์ 16

๕. คาประสมทเ่ี กิดจากคานามกบั คาบพุ บท เชน่ เมอื งนอก ฝ่ายใน ฝา่ ยหนา้ ความใน เบยี บน เบียล่าง ภาคเหนือภาคใต้ นาเหนอื ของกลาง 17

๖. คาประสมที่เกดิ จากคากริยากบั คาบุพบท เช่น กนิ ใน เป็นกลาง นง่ั ใน เสมอนอก ๗. คาประสมที่เกิดจากคากรยิ ากบั คาวเิ ศษณ์ เชน่ ร้มู าก วงิ่ เร็ว เดนิ ชา้ 18

๘. คาประสมที่เกิดจากคาบุพบท กบั คานาม เชน่ นอกใจ นอกคอก นอกเมือง กลางเมอื ง ในเมอื ง เหนือเมฆ 19

๙. คาประสมที่เกิดจากคาวเิ ศษณ์ กบั คานาม หรือ คาวิเศษณ์กบั คาวิเศษณ์ เช่น แข็งใจ ออ่ นใจ นอ้ ยใจ ดใี จ น้อยหน้า หนกั หนา้ หวานเยน็ เขียวหวาน 20

๑๐. ใช้คาภาษาตา่ งประเทศประสมกับคาไทย เช่น เหยือกนา โคถึก พลเมือง พวงหรดี ตักบาตร นาดานาปรงั เกง๋ จีน เรอื แจว 21

สานวนไทยร้ไู วไ้ ดป้ ระโยชน์ หายเข้ากลบี เมฆ หมายถงึ หายลบั ไปไมไ่ ดพ้ บอกี 22

คาซ้อน คาซ้อน คอื คาทเ่ี กิดจากคามลู ตงั แต่ ๒ คา ขึนไปซึง่ มคี วามหมายเหมอื นกันหรือไปใน ทานองเดียวกันหรือมีความหมายตา่ งกันใน ลกั ษณะตรงข้าม มารวมกันทาใหเ้ กดิ คาใหม่ ขึนมา 23

ตัวอยา่ ง นามกบั นาม เช่น เนอื้ ตวั เรือ แพ ลูกหลาน เสอ่ื สาด หูตา กริยากับกริยา เชน่ ทดแทน ชมเชย เรยี กร้อง ว่ากลา่ ว สงั่ สอน วิเศษณก์ บั วเิ ศษณ์ เช่น เข้มงวด แข็งแกร่ง ฉับพลัน ซีดเซียว เด็ดขาด 24

ตวั อย่าง • คาไทยกบั คาไทย เช่น ผกั ปลา เลียบ เคียง อ่อนนุ่ม ออ้ นวอน คาไทยกบั คาเขมร เช่น แบบฉบบั พง ไพร หวั สมอง แจ่มจรัส คาไทยกบั คาบาลสี ันสกฤต เช่น เขตแดน โชคลาง พรรคพวก ศรีสง่า หม่คู ณะ 25

ตวั อย่าง คาเขมรกบั คาเขมร เชน่ ขจดั ขจาย เฉลิมฉลอง คาบาลีสนั สกฤตกบั คาบาลีสันสกฤต เชน่ สรงสนาน ตรสั ประภาษ เสบียง อาหาร 26

คาซา คอื การนาคามลู มากล่าวซา ๒ ครงั เมอ่ื เขยี นนยิ มใชไ้ มย้ มกแทนคาหลงั ความหมายของค้าซ้าอาจเหมอื นค้ามูลเดมิ หรอื อาจมีนา้ หนักมากข้ึนหรือเบาลง หรือแสดง ความเปน็ พหูพจน์ เช่น เขยี ว ๆ แดง ๆ ไกล ๆ มาก ๆ นอ้ ย ๆ ชา้ ๆ เร็ว ๆ ดัง ๆ ถี่ ๆ ห่าง ๆ จรงิ ๆ เพอื่ น ๆ หลาน ๆ ฯลฯ 27

ตวั อยา่ งคาซาในคาซ้อน • ผวั ๆ เมยี ๆ (ความหมายเทา่ ผัวเมีย) • สวย ๆ งาม ๆ (ความหมายเท่าสวยงาม) • ดกึ ๆ ด่ืน ๆ (ความหมายหนักกวา่ ดกึ ดนื่ ) • ด้อม ๆ มอง ๆ (ความหมายเบาลงกวา่ ดอ้ มมอง) • ลกู ๆ หลาน ๆ (ความหมายแสดงจา้ นวนมากกว่า ลกู หลาน) • 28

รูปลักษณข์ องคาซา • เขยี นเหมอื น • อา่ นเหมอื น - ความหมายเหมอื น - เปน็ ค้าชนดิ เดียวกนั - ท้าหนา้ ท่เี ดียวกนั - อยู่ในประโยคเดยี วกนั 29

ตัวอย่างประโยคทีม่ ีรูปลกั ษณข์ องคาซา • ฉันมีเพื่อน ๆ เปน็ คนตา่ งจงั หวดั • ลูก ๆ ของพระยาพิชัยรับราชการทกุ คน • ฉนั เห็นเธอพดู ๆ อยูน่ ่นั แหละ • พวกเราเขา้ ไปน่ัง ๆ ฟังเสียหนอ่ ย เกรงใจเจ้าภาพ • ฉันไมไ่ ดต้ ้ังใจดเู ขาหรอกแต่รูส้ กึ ว่าเขามีผวิ สีดา้ ๆ 30

หลกั การแต่ง คาประพนั ธ์ประเภท โคลง

หลกั การแต่งโคลง เป็นคาประพนั ธ์ท่ีบงั คบั เอกโท โคลงท่ีดีจะตอ้ ง ประกอบดว้ ย รสคา และรสความ

แผนผงั โคลง ชนิดต่าง ๆ

โคลงสองสุภาพ บทหน่ึงมี ๑๔ คา แบ่งเป็น ๒ บาท บาทแรกมี ๒ วรรค วรรคละ ๕ คา บาทท่ีสองมี ๑ วรรค วรรคละ ๔ คา อาจมีคาสร้อย ๒ คา ในวรรคท่ี ๒ ของบาทที่ ๒ สมั ผสั บงั คบั ไดแ้ ก่ คาสุดทา้ ยของวรรคท่ี ๑ บาทท่ี ๑ สมั ผสั กบั คาสุดทา้ ยของวรรคที่ ๒ บาทที่ ๑ บทหน่ึงมีคาเอก ๓ คา และคาโท ๓ คา

ตวั อย่าง

โคลงสามสุภาพ บทหน่ึงมี ๑๙ คา แบ่งเป็น ๒ บาท บาทหน่ึงมี ๒ วรรค บาทแรก แบ่งเป็นวรรคละ ๕ คา ส่วนบาทท่ี ๒ วรรคแรกมี ๕ คา วรรคท่ี ๒ มี ๔ คา และอาจมีคาสร้อย ๒ คา ทา้ ยบาทที่ ๒ สมั ผสั บงั คบั ไดแ้ ก่ คาสุดทา้ ยของวรรคที่ ๑ บาทท่ี ๑ สมั ผสั กบั คาที่ ๑ ๒ หรือ ๓ ของวรรคที่ ๒ และคาสุดทา้ ยของวรรคท่ี ๒ บาทที่ ๑ สมั ผสั กบั คาสุดทา้ ยของวรรคท่ี ๑ บาทที่ ๒ นอกจากน้ี มีคาเอก ๓ คา และคาโท ๓ คา

ตวั อย่าง

โคลงกระทู้ คาที่เป็นกระทจู้ ะเขียนไวต้ น้ บาท ผเู้ ขียนจะตอ้ งตีความ กระทใู้ หเ้ ขา้ ใจ และเขียนอธิบายความหมายของกระทู้ ภายใน โคลงบทน้นั โคลงกระทูม้ ีต้งั แต่ ๑-๔ คา ตวั อยา่ ง โคลงกระทู้ ๑ คา เสีย สินสงวนศกั ด์ิไว้ วงศห์ งส์ เสีย ศกั ด์ิสูป้ ระสงค์ สิ่งรู้ เสีย รู้เร่งดารง ความสตั ย์ ไวน้ า เสีย สัตยอ์ ยา่ เสียสู้ ชีพมว้ ยมรณา ฯ

โคลงส่ีสุภาพ บทหน่ึงมี ๓๐ คา แบ่งเป็น ๔ บาท แต่ละบาทมี ๒ วรรค วรรคหนา้ มี ๕ คา วรรคหลงั มี ๒ คา ยกเวน้ ในบาทที่ ๔ วรรคหลงั มี ๔ คา อาจมีคาสร้อย ๒ คา ทา้ ยบาทที่ ๑ และ ๓ สมั ผสั บงั คบั ไดแ้ ก่ คาสุดทา้ ยของบาทที่ ๑ สมั ผสั กบั คาสุดทา้ ยของ วรรคหนา้ ในบาทท่ี ๒ และ ๓ และคาสุดทา้ ยของบาทท่ี ๒ สมั ผสั กบั คาสุดทา้ ย ของวรรคหนา้ ในบาทที่ ๔ นอกจากน้ี มีคาเอก ๗ คา และคาโท ๔ คา

ตวั อย่าง

ศิลปะการแต่งโคลงส่ีสุภาพ ๒. คาจบบทตอ้ งใช้ ๑. ใชค้ าตายในตาแหน่งท่ี เสียงสามญั หรือเสียง บงั คบั วรรณยกุ ตเ์ อกได้ จตั วา ๓. ทุกบาทควรมีสัมผสั พยญั ชนะที่ คาสุดทา้ ยของวรรคหนา้ กบั คาแรก ของวรรคหลงั เช่น เอียงอกเทออกอ้าง อวดองค์ อรเอย

๔.สลบั ตาแหน่งเอก โทของ คาท่ี ๔ และ ๕ ในบาทแรกได้ ๕.การใชก้ ลบทจะทาใหโ้ คลงไพเราะ ยงิ่ ข้ึน เช่น กลบทววั พนั หลกั ลมหนาวกรรโชกช้ืน ชาทรวง ทรวงครากจากนุชตวง แต่เศร้า ๖.การใชภ้ าพพจนแ์ ละกลวธิ ีการแต่งคาประพนั ธ์ ต่างๆ ทาใหโ้ คลงมีความงามมากข้ึน

๗. คาสร้อยในโคลง ควรใชเ้ ม่ือใจความของ โคลงในบทน้นั ยงั ไม่สมบูรณ์ ๘. ควรหลีกเลี่ยงการใช้ คาเอกโทษ โทโทษ ๙. การใชก้ ระทจู้ ะทาใหโ้ คลงมีความไพเราะ และน่าสนใจยงิ่ ข้ึน

คาเอก คาโท คอื คาเอก คอื พยางคห์ รือคาท่ีปรากฏรูปวรรณยกุ ตเ์ อก และรูปวรรณยกุ ตโ์ ท ใชใ้ นคาประพนั ธ์ประเภทโคลง ลกั ษณะของคาเอก พยางคห์ รือคาท่ีปรากฏรูปวรรณยกุ ตเ์ อก เช่นคาวา่ แต่ ขอ่ ย เฟื่ อง ก่อ บ่าย ท่าน พี่ ช่วย บ่ คู่ อยู่ ฯลฯ คาเอก รวมถึงการอนุโลมใหใ้ ชค้ าตายแทนได้ (คาตาย คือ คาท่ีประสมดว้ ย สระเสียงส้ันและไม่มีตวั สะกด หรือคาท่ีมีตวั สะกดในมาตราตวั สะกดแม่ กก แม่ กด แม่ กบ) เช่นคาวา่ พระ ตราบ ออก ปะทะ จกั ร ขาด บดั ฯลฯ คาโท คอื พยางคห์ รือคาท่ีปรากฏรูปวรรณยกุ ตโ์ ท เช่น ค้า ขอ้ ง ไซร้ ท้งั รู้ ไท้ เพ้ยี ง ฯลฯ

เอกโทษ โทโทษ เอกโทษ คือ คาที่มีความหมายและกากบั ดว้ ยรูป วรรณยกุ ตโ์ ท แต่มีความจาเป็นที่ตอ้ งแปลงใหเ้ ป็นคาท่ีมีรูป วรรณยกุ ตเ์ อก แมว้ า่ คาที่มีรูปวรรณยกุ ตเ์ อกท่ีไดเ้ ปลี่ยนจากคาท่ี มีรูปวรรณยกุ ตโ์ ทแลว้ น้นั ไดค้ าที่มีไม่มีความหมายแต่ยงั คงใหม้ ี ความหมายเหมือนคาที่มีรูปวรรณยกุ ตโ์ ทกากบั อยเู่ ดิม เช่น สิ้นเลือด แปลงเป็น ซิ่นเลือด ภพหล้า แปลงเป็น ภพล่า

เอกโทษ โทโทษ โทโทษ คือ คาท่ีมีความหมายและกากบั ดว้ ยรูป วรรณยกุ ตเ์ อก แต่มีความจาเป็นที่ตอ้ งแปลงใหเ้ ป็นคาที่มีรูป วรรณยกุ ตโ์ ท แมว้ า่ คาที่มีรูปวรรณยกุ ตโ์ ทท่ีไดเ้ ปล่ียนจากคาท่ีมี รูปวรรณยกุ ตเ์ อกแลว้ น้นั ไดค้ าท่ีมีไม่มีความหมายแต่ยงั คงใหม้ ี ความหมายเหมือนคาท่ีมีรูปวรรณยกุ ตเ์ อก กากบั อยเู่ ดิม เช่น เล่าเรื่อง แปลงเป็น เหล้าเรื่อง ค่าจา้ ง แปลงเป็น ข้าจา้ ง

การฝึกแต่งโคลงอาจเริ่มตน้ ดว้ ยการเขียนถึงสิ่งต่าง ๆ ในชีวิตประจาวนั โดยไม่จาเป็นตอ้ งใชศ้ พั ทช์ ้นั สูง เม่ือชานาญ ฉนั ทลกั ษณ์แลว้ จะสามารถแต่งโดยใชศ้ พั ทแ์ สงช้นั สูงได้ ไพวรินทร์ ขาวงาม กวซี ีไรต์ พ.ศ. ๒๕๓๘ ไดเ้ คยให้ ขอ้ สงั เกตเก่ียวกบั การแต่งโคลงวา่ ในยคุ ท่ีโคลงกาลงั จะตาย หาก ปรุงชีวติ ชีวาใหม่ ๆ ใหโ้ คลง ลดและหลีกเล่ียงศพั ท์ เขยี นถึงส่ิงท่ี อยากเขียนถึง อาจเป็นสุนขั มด แมลง กรวด หิน ดิน ทราย โคลงก็ อาจจะเป็นคาประพนั ธท์ ี่มีผสู้ นใจศึกษาและอนุรักษใ์ หค้ งอยตู่ ่อไป


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook