Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore เครื่องเจาะและงานรีอเมอร์

เครื่องเจาะและงานรีอเมอร์

Published by r.u.reda40, 2020-05-15 01:47:24

Description: หน่วยที่ 3

Search

Read the Text Version

หน่วยที่ 3 เคร่ืองเจาะและงานรีมเมอร์ วชิ า งานเคร่ืองมือกลเบ้ ืองตน้ รหสั วชิ า 20100-1007

หน่วยท่ี 3 เคร่ืองเจาะและรีมเมอร์ เครือ่ งเจาะแบบต้งั โต๊ะ เครื่องเจาะแบบต้งั โตะ๊ เป็ นเคร่ืองเจาะขนาดเล็กเจาะรขู นาดไม่ เกิน 13มม. การสง่ กาลงั โดยทวั่ ไปจะใชส้ ายพานและปรบั ความเร็ว รอบดว้ ยลอ้ สายพาน 2 – 3ขน้ั งานเคร่อื งมือกลเบอ้ื งตน้ วทิ ยาลยั เทคนคิ บูรพาปราจีน ผสู้ อน นายศริ ศิ กั ดิ์ ทพิ มาลา

หน่วยที่ 3 เคร่ืองเจาะและรีมเมอร์ เครื่องเจาะต้งั พ้ นื (Plan Vertical Spindle Drilling Machine) เป็ นเครื่องเจาะขนาดใหญ่ การสง่ กาลงั ปกติจะใชช้ ุดเฟื อง ทด จงึ สามารถปรบั ความเร็วรอบไดห้ ลายระดบั และรบั แรงบิดไดส้ งู งานเครื่องมอื กลเบ้ืองต้น วิทยาลัยเทคนคิ บรู พาปราจีน ผสู้ อน นายศิริศกั ดิ์ ทิพมาลา

หน่วยท่ี 3 เคร่ืองเจาะและรีมเมอร์ เครื่องเจาะแบบรศั มี (Radial Drilling Machine) เป็ นเคร่อื งเจาะขนาดใหญก่ วา่ เคร่อื งเจาะแบบต้งั พ้ ืน โดยที่หวั จบั ดอกสวา่ นจะเล่ือนไป – มาบนแขนเจาะ การสง่ กาลงั ปกติจะใชช้ ุดเฟื องทด งานเครือ่ งมอื กลเบอื้ งต้น วทิ ยาลัยเทคนิคบูรพาปราจีน ผสู้ อน นายศริ ศิ ักด์ิ ทิพมาลา

หน่วยที่ 3 เคร่ืองเจาะและรีมเมอร์ เคร่ืองเจาะหลายหวั (Multiple-spindle or Gang-type Drilling Machine) เป็ นเคร่ืองเจาะสาหรบั การทางานอุตสาหกรรม เครือ่ งเจาะจะมหี ลายหวั จบั ดอกสวา่ น ไดห้ ลายขนาด หรอื จบั เคร่ืองมือตดั อื่น ๆ เชน่ รีมเมอร์ หรอื หวั จบั ทาเกลียวใน จึงทางานไดอ้ ยา่ งรวดเรว็ งานเครอ่ื งมือกลเบ้อื งตน้ วิทยาลยั เทคนคิ บรู พาปราจนี ผูส้ อน นายศริ ศิ ักด์ิ ทิพมาลา

หน่วยที่ 3 เคร่ืองเจาะและรีมเมอร์ เคร่อื งเจาะแนวนอน (Horizontal Drilling Machine) เป็ นเครือ่ งเจาะที่สามารถทางาน ไดห้ ลายลกั ษณะ ท้งั การเจาะรู การควา้ นรู การกดั และการกลึง มกั จะพบในโรงงานอุตสาหกรรม ขนาดใหญ่ งานเครอื่ งมือกลเบอื้ งต้น วทิ ยาลยั เทคนคิ บรู พาปราจีน ผสู้ อน นายศิริศกั ดิ์ ทิพมาลา

หน่วยที่ 3 เครื่องเจาะและรีมเมอร์ ส่วนประกอบต่าง ๆ ของเคร่อื งเจาะต้งั โตะ๊ ชุดหวั เครอื่ ง เสาเครอื่ งเจาะ (Drilling Head) (Column) โตะ๊ งาน ฐานเคร่ือง (Table) (Base) งานเครอื่ งมอื กลเบื้องตน้ วทิ ยาลยั เทคนิคบรู พาปราจีน ผสู้ อน นายศิรศิ กั ดิ์ ทพิ มาลา

หน่วยที่ 3 เครื่องเจาะและรีมเมอร์ ส่วนประกอบต่าง ๆ ของเครือ่ งเจาะต้งั พ้ ืน โตะ๊ งาน ชุดหวั เครือ่ ง (Table) (Drilling Head) ฐานเคร่อื ง วิทยาลยั เทคนิคบูรพาปราจีน เสาเครอื่ งเจาะ (Base) (Column) งานเครือ่ งมือกลเบอื้ งตน้ ผสู้ อน นายศริ ิศกั ด์ิ ทิพมาลา

หน่วยที่ 3 เคร่ืองเจาะและรีมเมอร์ ส่วนประกอบตา่ งๆ ของเครือ่ งเจาะแบบรศั มี ชุดหวั เครื่อง เสาเคร่อื งเจาะ (Drilling Head) (Column) แขนรศั มี ฐานเครือ่ ง (Base) (Radial Arm) งานเครื่องมอื กลเบอ้ื งต้น แกนเพลา (Spindle) โตะ๊ งาน วทิ ยาลยั เทคนิคบูรพาปราจีน (Table) ผู้สอน นายศริ ศิ กั ดิ์ ทพิ มาลา

หน่วยที่ 3 เครื่องเจาะและรีมเมอร์ เครอ่ื งมือและอุปกรณท์ ่ีใชก้ บั เครอ่ื งเจาะ ดอกสวา่ น (Drill) รปู รา่ งลกั ษณะและชื่อเรยี ก งานเครอ่ื งมือกลเบ้อื งตน้ วิทยาลัยเทคนคิ บูรพาปราจีน ผ้สู อน นายศริ ิศกั ดิ์ ทพิ มาลา

หน่วยที่ 3 เคร่ืองเจาะและรีมเมอร์ เคร่อื งมอื และอุปกรณท์ ี่ใชก้ บั เครือ่ งเจาะ กา้ นจบั และรอ่ งคายเศษโลหะ สวา่ นกา้ นตรง สวา่ นกา้ นตรงแบบมีกนั่ สวา่ นกา้ นจบั เรยี ว สวา่ นกา้ นจบั ส่ีเหลี่ยม งานเครอื่ งมอื กลเบอื้ งตน้ วิทยาลัยเทคนิคบูรพาปราจีน ผู้สอน นายศริ ศิ กั ด์ิ ทพิ มาลา

หน่วยท่ี 3 เครื่องเจาะและรีมเมอร์ เครอื่ งมือและอุปกรณท์ ่ีใชก้ บั เครอ่ื งเจาะ เสน้ แกนสวา่ น (WEB) งานเครือ่ งมอื กลเบอื้ งต้น วิทยาลยั เทคนิคบรู พาปราจีน ผู้สอน นายศริ ศิ ักด์ิ ทิพมาลา

หน่วยที่ 3 เครื่องเจาะและรีมเมอร์ มุมคมตดั ดอกสวา่ น 1. มุมคมตดั 2. มุมหลบ 3. มุมคายเศษ 4. มุมจิก งานเครือ่ งมือกลเบอ้ื งต้น วิทยาลัยเทคนคิ บูรพาปราจีน ผู้สอน นายศริ ศิ กั ด์ิ ทพิ มาลา

หน่วยท่ี 3 เคร่ืองเจาะและรีมเมอร์ หวั จบั ดอกสวา่ น (Drill Chuck) ประแจขนั หวั จบั ดอกสวา่ น (Key Chuck) งานเครอ่ื งมือกลเบื้องต้น วิทยาลัยเทคนคิ บรู พาปราจีน ผสู้ อน นายศิรศิ ักดิ์ ทิพมาลา

หน่วยท่ี 3 เคร่ืองเจาะและรีมเมอร์ แสดงการจบั ดอกสวา่ นกา้ นตรงดว้ ยหวั จบั งานเครื่องมอื กลเบือ้ งตน้ วิทยาลัยเทคนิคบูรพาปราจีน ผ้สู อน นายศริ ศิ ักด์ิ ทพิ มาลา

หน่วยท่ี 3 เคร่ืองเจาะและรีมเมอร์ ปลอกจบั สวา่ นกา้ นเรยี ว งานเคร่อื งมอื กลเบือ้ งต้น วิทยาลยั เทคนิคบรู พาปราจนี ผู้สอน นายศริ ิศกั ด์ิ ทิพมาลา

หน่วยที่ 3 เคร่ืองเจาะและรีมเมอร์ แสดงการถอดหวั จบั ดอกสวา่ นออก งานเครอ่ื งมอื กลเบอื้ งต้น วทิ ยาลัยเทคนิคบูรพาปราจีน ผ้สู อน นายศริ ิศกั ด์ิ ทิพมาลา

หน่วยที่ 3 เครื่องเจาะและรีมเมอร์ ดอกเจาะนาศนู ย์ (Center Drill) งานเครื่องมือกลเบื้องตน้ วทิ ยาลัยเทคนิคบูรพาปราจนี ผู้สอน นายศิรศิ ักด์ิ ทิพมาลา

หน่วยที่ 3 เคร่ืองเจาะและรีมเมอร์ เหล็กตอกนาศนู ย(์ Center Punch) งานเครอ่ื งมือกลเบอ้ื งต้น วิทยาลัยเทคนคิ บูรพาปราจนี ผ้สู อน นายศิรศิ กั ด์ิ ทพิ มาลา

หน่วยที่ 3 เครื่องเจาะและรีมเมอร์ อุปกรณจ์ บั ยดึ ปากกาจบั งานเจาะ (Vise) ซี -แคล็มป์ (C-Clamp) งานเครื่องมอื กลเบือ้ งต้น วทิ ยาลยั เทคนิคบรู พาปราจนี ผู้สอน นายศริ ศิ กั ดิ์ ทพิ มาลา

หน่วยที่ 3 เคร่ืองเจาะและรีมเมอร์ แท่งขนาน (Parallels) แคล็มป์ แบบคอหา่ น (Gooseneck Clamp) แคล็มป์ แบบแบน (Plain or Flat) ยู – แคล็มป์ (U-Clamp) งานเคร่อื งมอื กลเบอ้ื งต้น วทิ ยาลยั เทคนคิ บูรพาปราจนี ผสู้ อน นายศิริศักดิ์ ทิพมาลา

หน่วยที่ 3 เคร่ืองเจาะและรีมเมอร์ เหล็กข้นั บนั ได (Step Block) ชุด ว-ี บล็อก(V-Block) เหล็กมุมฉาก (Angle Plate) แจ็คสกร(ู Jack Screw) สกรยู ดึ แบบตวั ที (T-Slot) งานเคร่ืองมอื กลเบื้องต้น วิทยาลยั เทคนคิ บูรพาปราจีน ผู้สอน นายศิรศิ กั ดิ์ ทิพมาลา

หน่วยที่ 3 เคร่ืองเจาะและรีมเมอร์ ข้นั ตอนการทางานของเคร่ืองเจาะ 1. ศึกษาการทางานของเคร่ืองเจาะใหเ้ ขา้ ใจ 2. นาช้ นิ งานมาร่างแบบใหถ้ กู ตอ้ งและใชเ้ หล็กตอกนาศนู ย์ 3. นาช้ นิ งานมาจบั ยดึ บนเครื่องเจาะใหแ้ น่น 4. นาดอกสวา่ นที่ตอ้ งการเจาะจบั ยดึ บนเครื่องเจาะ 5. ปรบั ระยะหา่ งระหวา่ งช้ นิ งานกบั ปลายดอกสวา่ นใหเ้ หมาะสม 6. ปรบั ความเร็วรอบใหถ้ กู ตอ้ ง 7. ทาการป้อนเจาะงานตามความลึกท่ีตอ้ งการเจาะ งานเคร่อื งมือกลเบอ้ื งตน้ วทิ ยาลัยเทคนคิ บูรพาปราจีน ผูส้ อน นายศิรศิ ักด์ิ ทิพมาลา

หน่วยที่ 3 เครื่องเจาะและรีมเมอร์ การคานวณความเรว็ ในงานเจาะ การคานวณความเรว็ ในงานเจาะ จะมคี วามเรว็ ท่ีสาคญั อยู่ 2 ชนิดคอื ความเรว็ รอบ และความเรว็ ตดั สูตรการคานวณความเรว็ รอบ n= 1000V รอบ/นาที d งานเคร่ืองมอื กลเบื้องตน้ วทิ ยาลยั เทคนคิ บูรพาปราจนี ผสู้ อน นายศิริศกั ด์ิ ทพิ มาลา

หน่วยที่ 3 เคร่ืองเจาะและรีมเมอร์ สูตรการคานวณความเรว็ ตดั dn 1000 V= เมตร/นาที สตู รการคานวณกาหนดให้ V = ความเรว็ ตดั งานเจาะ เมตร/นาที n = ความเรว็ รอบดอกสวา่ น รอบ/นาที d = ความยาวเสน้ ผ่าศนู ยก์ ลางดอกสวา่ น มม.  = 3.1416 งานเครอ่ื งมือกลเบื้องต้น วิทยาลยั เทคนคิ บูรพาปราจนี ผสู้ อน นายศริ ิศกั ด์ิ ทิพมาลา

หน่วยที่ 3 เคร่ืองเจาะและรีมเมอร์ ตวั อยา่ ง จงคานวณหาความเร็วตดั ที่เจาะงานดว้ ยดอกสวา่ นมคี วามยาว เสน้ ผ่าศนู ยก์ ลาง 10 มม. ดว้ ยความเร็วรอบ 800 รอบ/นาที วธิ ีทา  d n V = เมตร/นาที 1000 3.1416 x 10 x 800 = 1000 ความเร็วตดั ที่ใชเ้ จาะงาน = 25.13 เมตร/นาที งานเครือ่ งมอื กลเบือ้ งต้น วทิ ยาลยั เทคนิคบูรพาปราจนี ผสู้ อน นายศริ ศิ กั ดิ์ ทพิ มาลา

หน่วยท่ี 3 เครื่องเจาะและรีมเมอร์ การป้อนเจาะงานของดอกสวา่ น อตั ราป้อนเจาะงาน หมายถึง การป้อนลึกลงไปในงาน ต่อการหมุนของดอกสวา่ น 1 รอบ ขนาดดอกสว่าน อตั ราป้อนตอ่ รอบ น้ ิว มม. น้ ิว มม. เล็กกว่าถึง 1/8 เลก็ กว่าถึง 3 0.001 – 0.002 0.02 – 0.05 1/8 – 1/4 3 - 6 0.002 – 0.004 0.05 - 0.10 1/4 – 1/2 6 - 13 0.004 – 0.007 0.10 – 0.18 1/2 - 1 13 - 25 0.007 – 0.015 0.18 – 0.38 งานเคร่อื งมอื กลเบอื้ งต้น วิทยาลยั เทคนคิ บรู พาปราจีน ผสู้ อน นายศิริศกั ด์ิ ทิพมาลา

หน่วยที่ 3 เครื่องเจาะและรีมเมอร์ ความปลอดภยั ในการใชเ้ ครื่องเจาะ 1. กอ่ นใชเ้ ครอื่ งทุกครง้ั จะตอ้ งตรวจดู ความพรอ้ มของเคร่ืองกอ่ นใชง้ านเสมอ 2. จบั ยึดช้ นิ งานใหแ้ น่นและถกู วธิ ี 3. ศึกษาขน้ั ตอนการใชเ้ ครอ่ื งเจาะและวธิ ีการทางานใหถ้ กู ตอ้ ง 4. จะตอ้ งแต่งกายใหร้ ดั กุมถูกตอ้ งตามกฎความปลอดภยั 5. จะตอ้ งสวมแวน่ ตานิรภยั ป้องกนั เศษโลหะกระเด็นเขา้ ตา งานเครื่องมือกลเบ้ืองต้น วทิ ยาลยั เทคนิคบรู พาปราจนี ผูส้ อน นายศริ ิศักด์ิ ทิพมาลา

หน่วยท่ี 3 เครื่องเจาะและรีมเมอร์ แสดงการจบั ยดึ ช้ นิ งานไมแ่ น่นพอ แสดงการจบั ดอกสวา่ นไมแ่ น่นพอ งานเครอ่ื งมือกลเบื้องต้น วิทยาลัยเทคนคิ บรู พาปราจนี ผูส้ อน นายศริ ศิ ักด์ิ ทพิ มาลา

หน่วยท่ี 3 เครื่องเจาะและรีมเมอร์ แสดงการแต่งกายไมเ่ หมาะสม แสดงการทาความสะอาดท่ีไมถ่ ูกตอ้ ง งานเคร่ืองมอื กลเบอ้ื งต้น วทิ ยาลัยเทคนคิ บรู พาปราจีน ผูส้ อน นายศิริศกั ดิ์ ทพิ มาลา

หน่วยที่ 3 เครื่องเจาะและรีมเมอร์ แสดงการแต่งกายไมเ่ หมาะสมสาหรบั งานเจาะ งานเคร่ืองมอื กลเบือ้ งตน้ วิทยาลยั เทคนคิ บรู พาปราจนี ผ้สู อน นายศิรศิ กั ด์ิ ทิพมาลา

หน่วยท่ี 3 เครื่องเจาะและรีมเมอร์ การบารุงรกั ษาเคร่ืองเจาะ 1. จะตอ้ งตรวจสอบระบบไฟฟ้าใหอ้ ยใู่ นสภาพที่สมบรู ณ์ตลอดเวลา 2. จะตอ้ งตรวจสอบช้ นิ ส่วนตา่ ง ๆ ของเคร่อื งใหพ้ รอ้ มใชง้ านตลอด 3. กอ่ นใชง้ านจะตอ้ งหยอดน้ามนั หล่อลื่นในสว่ นที่เคลื่อนที่ 4. ควรมแี ผนการบารุงรกั ษาเป็ นระยะเวลาท่ีกาหนด 5. หลงั เลิกใชง้ านจะตอ้ งทาความสะอาดและชโลมดว้ ยน้ามนั งานเครื่องมือกลเบอ้ื งต้น วทิ ยาลยั เทคนคิ บูรพาปราจนี ผ้สู อน นายศริ ศิ กั ดิ์ ทพิ มาลา

หน่วยที่ 3 เคร่ืองเจาะและรีมเมอร์ งานรมี เมอร์ (Reamers) รีมเมอรม์ อื (Hand Reamers) แบง่ ออกเป็ น 3 ชนิด คือ แบบขนาดตายตวั แบบปรบั ขนาดได้ แบบเรียว งานเคร่อื งมอื กลเบื้องตน้ วทิ ยาลัยเทคนิคบรู พาปราจีน ผสู้ อน นายศิริศักด์ิ ทพิ มาลา

หน่วยที่ 3 เครื่องเจาะและรีมเมอร์ รีมเมอรเ์ ครื่อง (Machine reamers) แบง่ ออกเป็ น 2 ชนิด คอื แบบขนาดตายตวั แบบปรบั ขนาดได้ งานเครือ่ งมอื กลเบอื้ งต้น วทิ ยาลยั เทคนิคบรู พาปราจีน ผสู้ อน นายศริ ศิ กั ด์ิ ทิพมาลา

หน่วยที่ 3 เครื่องเจาะและรีมเมอร์ รีมเมอรแ์ บบปรบั ขนาดได้ รมี เมอรแ์ บบเรียว วทิ ยาลยั เทคนคิ บรู พาปราจีน ผูส้ อน นายศิริศกั ด์ิ ทิพมาลา งานเครอ่ื งมือกลเบอ้ื งต้น

หน่วยที่ 3 เครื่องเจาะและรีมเมอร์ ส่วนประกอบของรีมเมอร์ ประกอบดว้ ยสว่ นสาคญั 3 ส่วนใหญ่ ๆ คือ งานเครอ่ื งมอื กลเบอื้ งตน้ วทิ ยาลัยเทคนคิ บรู พาปราจนี ผูส้ อน นายศริ ศิ กั ด์ิ ทิพมาลา

หน่วยที่ 3 เครื่องเจาะและรีมเมอร์ หลกั การทางานรมี เมอร์ 1. เจาะรดู ว้ ยดอกสวา่ นกอ่ นและใหไ้ ดข้ นาดรเู จาะเล็กกวา่ ขนาดของรมี เมอร์ 2. ควรมีการหล่อล่ืนและหล่อเยน็ เพ่ือไมใ่ หม้ เี ศษโลหะอุดตนั และลดแรง เสียดทาน ทาใหผ้ ิวเรยี บมากข้ นึ ขนาดรีมเมอร์ (d) ระยะเผ่ือ (Z)  เล็กกว่า 5 มม. 0.1 - 0.2  5 - 20 มม. 0.2 - 0.3  21 - 50 มม. 0.3 - 0.5  โตกว่า 50 มม. 0.5 - 1 งานเครือ่ งมือกลเบอ้ื งต้น วทิ ยาลัยเทคนคิ บรู พาปราจนี ผสู้ อน นายศิริศกั ด์ิ ทิพมาลา

หน่วยท่ี 3 เคร่ืองเจาะและรีมเมอร์ ข้นั ตอนการควา้ นละเอียดดว้ ยมอื 1. เจาะรูใหเ้ ล็กกวา่ ขนาดจริงดว้ ยเครอื่ งเจาะหรือเครื่องกลึง 2. จบั ยึดช้ นิ งานดว้ ยปากกา 3. ทาการควา้ นละเอียดดว้ ยมอื 4. ตรวจสอบแนวฉากดว้ ยฉาก 5. หล่อลื่นช้ นิ งานดว้ ยน้ามนั งานเคร่ืองมอื กลเบอ้ื งต้น วิทยาลัยเทคนคิ บรู พาปราจีน ผ้สู อน นายศิรศิ กั ดิ์ ทิพมาลา

หน่วยท่ี 3 เครื่องเจาะและรีมเมอร์ การบารุงรกั ษาดอกรมี เมอร์ 1. ตดั เฉื่อนผิวงานออกบาง ๆ ประมาณ 0.05 มม.เพื่อรกั ษาคมตดั 2. ตอ้ งหมุนดอกรมี เมอรไ์ ปทางเดียวกบั คมตดั 3 .เลือกขนาดของรีมเมอรใ์ หถ้ ูกตอ้ ง 4 .การถอดดอกรีมเมอรใ์ หห้ มุนในทิศทางเดียวกนั กบั การป้อนดอกรมี เมอรพ์ รอ้ มกบั ยก ดอกรมี เมอรข์ ้ นึ 5 .ถา้ หมุนดอกรมี เมอรก์ ลบั ทิศทางอาจทาใหด้ อกรีมเมอรเ์ สียหายได้ 6. แยกดอกรมี เมอรอ์ อกจากเครื่องมอื อื่น ชะโลมน้ามนั เกบ็ ใส่กล่องเฉพาะ งานเคร่อื งมอื กลเบอ้ื งต้น วิทยาลัยเทคนคิ บูรพาปราจนี ผ้สู อน นายศิรศิ กั ดิ์ ทิพมาลา

หน่วยที่ 3 เคร่ืองเจาะและรีมเมอร์ ดอกเจาะผายปากรู (Counter Sinks) ดอกเจาะผายปากรเู ป็ นดอกเจาะท่ีใช้ ภายหลงั ที่ใชส้ วา่ นเจาะแลว้ จะทาใหป้ ากรเู ป็ นรปู ทรงกรวย มุม 60° สาหรบั ผายปากรลู บคม มุม 75° สาหรบั งานยา้ หมุด มุม 90° สาหรบั ผายปากรลู บคมและฝังหวั สกรลู บคม มุม 120° สาหรบั งานยา้ หมุด งานเครือ่ งมอื กลเบอ้ื งต้น วิทยาลยั เทคนิคบูรพาปราจีน ผู้สอน นายศริ ิศกั ด์ิ ทพิ มาลา

หน่วยท่ี 3 เคร่ืองเจาะและรีมเมอร์ ดอกผายปากรูชนิดต่าง ๆ งานเครื่องมอื กลเบ้ืองตน้ วทิ ยาลัยเทคนคิ บรู พาปราจีน ผสู้ อน นายศิริศักด์ิ ทิพมาลา

หน่วยที่ 3 เครื่องเจาะและรีมเมอร์ ดอกเจาะผายปากรลู บคม 1. สาหรบั ผายปากรลู บคมรเู จาะ 2. มีจานวนคมตดั มากกวา่ ดอกเจาะฝังหวั สกรทู รงกระบอก 3. ใชค้ วามเรว็ รอบตา่ กวา่ ดอกสวา่ นประมาณ 25 – 30 % งานเครอ่ื งมอื กลเบ้ืองต้น วทิ ยาลัยเทคนิคบูรพาปราจีน ผ้สู อน นายศริ ิศกั ด์ิ ทิพมาลา

หน่วยที่ 3 เครื่องเจาะและรีมเมอร์ ดอกเจาะผายปากรฝู ังหวั สกรูทรงกรวย ผายปากรูเป็ นทรงกรวยเพอื่ ฝังหวั สกรหู รอื ยา้ หมุดใชค้ วามเรว็ รอบตา่ กวา่ ดอกสวา่ นประมาณ 50% งานเครอื่ งมอื กลเบอ้ื งตน้ วิทยาลัยเทคนคิ บูรพาปราจีน ผูส้ อน นายศริ ิศักดิ์ ทพิ มาลา

หน่วยท่ี 3 เคร่ืองเจาะและรีมเมอร์ ดอกเจาะรฝู ังหวั สกรู (Counter Bore) ดอกเจาะ ฝังหวั สกรูเป็ นดอกเจาะควา้ นขนาดรใู หโ้ ตข้ นึ สาหรบั ใชฝ้ ังหวั สกรูเขา้ ไปในเน้ ือผิวงาน งานเครือ่ งมอื กลเบ้ืองต้น วทิ ยาลัยเทคนิคบูรพาปราจนี ผ้สู อน นายศิรศิ ักด์ิ ทิพมาลา

หน่วยที่ 3 เคร่ืองเจาะและรีมเมอร์ การเจาะรฝู ังหวั สกรูทรงกระบอก การเจาะรฝู ังหวั สกรทู รงกระบอก เพือ่ ใหห้ วั สกรยู ดึ ช้ นิ สว่ นไมใ่ หโ้ ผล่ออกนอกผิวช้ นิ งาน เชน่ สกรูยดึ เครอ่ื งมอื กลช้ นิ ใหญ่ ๆ งานเครอ่ื งมอื กลเบื้องตน้ วิทยาลยั เทคนิคบรู พาปราจีน ผสู้ อน นายศริ ิศกั ดิ์ ทพิ มาลา

หน่วยที่ 3 เคร่ืองเจาะและรีมเมอร์ ปฏิบตั ิการเจาะรฝู ังหวั สกรทู รงกระบอก 1. ใชค้ วามเร็วรอบตา่ กวา่ ดอกสวา่ นประมาณ 50% 2. มีปลายนาเจาะสาหรบั ประคองศนู ย์ 3. ท่ีปลายดอกเจาะจะมีคมตดั สาหรบั เจาะรฝู ังหวั สกรู งานเครื่องมือกลเบ้อื งตน้ วทิ ยาลัยเทคนิคบรู พาปราจนี ผู้สอน นายศริ ิศักด์ิ ทพิ มาลา


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook