Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore ความสัมพันธ์ของสิ่งมีชีวิตในระบบนิเวศ

ความสัมพันธ์ของสิ่งมีชีวิตในระบบนิเวศ

Published by Prapatsron Gertnimit, 2021-07-12 08:27:13

Description: ความสัมพันธ์ของสิ่งมีชีวิตในระบบนิเวศ

Search

Read the Text Version

Summary หนว่ ยการเรียนรู้ที่ ๗ ระบบนิเวศ ระบบนเิ วศ คอื กล่มุ สิ่งมีชวี ติ ทอ่ี าศัยอยูใ่ นบริเวณ ของระบบนิเวศ เดียวกันและมีความสัมพันธ์กันและ สมั พนั ธ์กับสง่ิ ไม่มีชวี ติ ในส่งิ แวดล้อม องค์ประกอบที่มชี ีวิต นั้นๆ อยา่ งเป็นระบบ “ผผู้ ลิต”พชื องค์ประกอบท่ีไม่มชี ีวติ “ผู้บรโิ ภค” อนินทรียสาร ผบู้ ริโภคพืช เชน่ กระต่าย ผ้บู รโิ ภคสตั ว์ เชน่ เสือ - แรธ่ าตุ เช่น N, P, K ผบู้ รโิ ภคทัง้ พืชและสัตว์ เชน่ มนุษย์ ผู้บริโภคซากสตั ว์ เชน่ แร้ง - แก๊สต่างๆ เช่น CO2, O2, N2 - น้า “ผู้ยอ่ ยสลายสารอินทรยี ์” อนิ ทรียสาร รา แบคทีเรีย - ซากพืชซากสตั ว์ สภาพแวดล้อมทางกายภาพ - แสงสว่าง - อุณหภูมิ - ความเป็นกรด-เบส - ความชืน้ - ความเคม็ - กระแสลม

ระดบั ของสิ่งมชี ีวิต (Levels of Organization) สง่ิ มชี วี ิตชนิดต่างกนั ทีม่ าอยรู่ วมกนั จะมีความสมั พนั ธ์ ในรปู แบบใดรูปแบบหนึ่ง ระบบนิเวศ กล่มุ ส่ิงมชี วี ติ ประชากร (Ecosystem) (Community) (Population) หน่วยความสัมพันธ์ระหว่าง ส่ิงมีชีวิตหลายชนิดมาอาศัย ส่งิ มีชวี ิตชนิดเดยี วกันมาอาศยั ส่ิงมีชีวิตกับสิ่งแวดล้อม ท้ังที่ อ ยู่ ใ น แ ห ล่ ง ที่ อ ยู่ เ ดี ย ว กั น อยู่รว่ มกนั ในบรเิ วณเดยี วกัน เป็นสิง่ มชี ีวิตและสง่ิ ไม่มชี วี ิต และมคี วามสัมพันธก์ ัน และชว่ งเวลาเดยี วกนั

ความสมั พนั ธร์ ะหว่างสิง่ มีชีวิต ในระบบนิเวศ

สิง่ มีชีวิตมีการแพร่กระจายตัวที่แตกต่างกันไปในแต่ละพื้นที่ทาให้ สิ่งมีชีวิตมีวิถีชีวิตเฉพาะ (niche) หรือความจาเปน็ ข้ันพื้นฐานของสิ่งมีชีวิตที่ แตกต่างกัน เช่น แหล่งที่อยู่อาศัย และแหล่งอาหาร เป็นต้น ซึ่งหลีกเลี่ยง ไม่ได้ที่สิ่งมีชีวิตจะเกิดปฏิสัมพันธ์ระหว่างกัน สามารถแบ่งระดับ ความสัมพันธ์ของสิ่งมีชีวิตได้เป็น 2 ระดับ คือ ปฏิสัมพันธ์ระหว่าง สิ่งมีชีวิตชนิดเดียวกัน (intraspecific relationship) และปฏิสัมพันธ์ระหว่าง สิ่งมีชีวิตต่างชนิดกนั (interspecific relationship)

ความสัมพันธร์ ะหว่างสิ่งมีชีวิตชนิดเดียวกนั ในระบบนิเวศ การอาศัยอยู่รวมกันของสิ่งมีชีวิตชนิดเดียวกันในระบบนิเวศ ทา ให้เกิดปฏิสัมพันธ์ระหว่างกันท้ังทางตรงและทางอ้อม โดยการแข่งขันเป็น ปฏิสัมพันธ์ที่หลีกเลี่ยงไม่ได้ เนื่องจากทรัพยากรที่จาเป็นต่อวิถีชีวิตเฉพาะ มีอยู่อย่างจากัด จึงเกิดรูปแบบการกระจาย (dispersion) ของสิ่งมีชีวิต เพื่อให้ได้มาซึง่ ทรัพยากรเหล่าน้นั

รปู แบบการกระจาย หมายถึง ความหนาแน่นของประชากรใด ประชากรหนึ่งในพื้นที่ใดพื้นที่หนึ่งและช่วงเวลาใดเวลาหนึ่งต่อหนึ่ง หน่วยพื้นที่เท่านนั้ โดยรูปแบบการกระจายสามารถเปลี่ยนแปลงได้เสมอ ตามสภาพแวดล้อม เพือ่ ประโยชน์ในการดารงชีวิตและการสืบพันธ์ุ

การกระจายแบบกล่มุ (Clumped Dispersion) การกระจายตัวของประชากรที่ ไม่สม่าเสมอท่ัวท้ังบริเวณ โดยมีการ กระจุกตัวเป็นกลุ่ม ๆ อยู่บริเวณใด บริเวณหนึ่ง ซึ่งการกระจายตัวแบบ กลุ่มเป็นรูปแบบประชากรที่พบเห็นได้ มากที่สุดในธรรมชาติ โดยเฉพาะอย่าง ยิ่งในพวกสัตว์ต่าง ๆ ซึ่งมีพฤติกรรมการ อย่รู ่วมกนั เป็นกล่มุ หรือสงั คม

การกระจายแบบสมา่ เสมอ (Uniform Dispersion) การกระจายตัวของประชากรที่มีการจัดระเบียบ จากปัจจัยการดารงชีวิตที่มีอยู่ อย่างค่อนข้างจากัด แต่กระจายอยู่ท่ัวทั้งบริเวณอย่างสม่าเสมอ ซึ่งส่งผลให้สิ่งมีชีวิต จึงเป็นต้องจัดระเบียบการอย่รู ่วมกนั เพือ่ ให้สามารถเข้าถึงปัจจัยต่าง ๆ ได้อย่างทว่ั ถึง

การกระจายแบบสมุ่ (Random Dispersion) การกระจายตัวของประชากรที่ ปราศจากแบบแผนใด ๆ เนื่องจากเป็น บริเวณที่มีปัจจัยที่จาเป็นเพียงพอต่อทุก ชีวิต อีกท้ังยังมีการกระจายตัวอย่าง สม่าเสมอ ส่งผลให้สิ่งมีชีวิตสามารถอยู่ อาศัยได้ในทุกอาณาบริเวณ การแก่งแย่ง แข่งขนั จึงไม่สูงนักในกลุ่มประชากร

ความสัมพนั ธร์ ะหว่างสิ่งมีชีวิตตา่ งชนิดกันในระบบนิเวศ ทา่ ไมต้นไม้ 2 ตน้ จึงเจริญเติบโตแตกตา่ งกนั

รปู แบบความสัมพันธร์ ะหวา่ งสิง่ มีชีวิตในระบบนิเวศ ฝา่ ยหนง่ึ ไดร้ บั ประโยชน์ อีกฝา่ ยหนง่ึ ไมไ่ ด้รับ ต่างฝา่ ยตา่ งได้รบั ประโยชน์ ฝ่ายหนงึ่ ได้รบั ประโยชน์ อีกฝ่ายหน่ึง ตา่ งฝา่ ยตา่ งเสียประโยชน์ และไมเ่ สียประโยชน์ (+,+) เสียประโยชน์ (-,-) (+,0) (+,-) • ภาวะองิ อาศยั • ภาวะการไดร้ ับประโยชน์ • ภาวะประสิต • ภาวะการแกง่ แย่งแขง่ ขนั รว่ มกัน • ภาวะการล่าเหย่ือ • ภาวะพงึ่ พากัน

ภาวะอิงอาศัย (commensalism) เปน็ ความสมั พนั ธข์ องสิง่ มีชีวิต 2 ชนิด ที่มาอยูร่ วมกัน โดยฝา่ ยทีข่ อองิ อาศัยจะไดร้ ับประโยชน์ (+) สว่ นอกี ฝา่ ยที่ เปน็ ผใู้ ห้อาศยั จะไม่ได้รบั และไมเ่ สียประโยชน์ (0) ตวั อยา่ งเช่น ปลาฉลาม (0) เหาฉลามกับปลาฉลาม เหาฉลาม (+) เหาฉลามกินเศษอาหารที่เหลือจากปลาฉลาม และ เหาฉลาม ไม่ได้สร้างความเดือดร้อนให้กับปลาฉลาม จึงอาศัยอยู่ ร่วมกันได้ เหาฉลาม เปน็ ปลากระดูกแขง็ ลาตัวเพรียวยาว บริเวณส่วนหัวดา้ นบนของหวั มอี วยั วะสาหรบั ดดู ติด ลาตัวมสี ีเทาอมดาขอบตาสีขาวพาดตามความ ยาวตัวตั้งแตห่ ัวถงึ หาง

ภาวะอิงอาศัย (commensalism) เปน็ ความสมั พันธข์ องสิ่งมีชีวิต 2 ชนิด ที่มาอยู่รวมกัน โดยฝ่ายทีข่ อองิ อาศยั จะได้รับประโยชน์ (+) สว่ นอกี ฝา่ ยที่ เปน็ ผูใ้ หอ้ าศัยจะไมไ่ ดร้ บั และไมเ่ สียประโยชน์ (0) ตัวอย่างเช่น นก (+) ต้นไม้ (0) นกทา้ รังบนตน้ ไม้ นกทำรังบนท่ีสูงโดยอำศัยควำมสูงของต้นไม้ เพื่อป้องกัน อันตรำยจำกสัตว์ใหญ่ โดยนกไม่ได้สร้ำงควำมเสียหำยให้กับ ตน้ ไม้ จงึ อำศยั อย่รู ่วมกันได้

ภาวะพึง่ พากัน (mutualism) เปน็ ความสมั พันธข์ องสิง่ มีชีวิต 2 ชนิด ทีม่ าอยูร่ วมกนั แล้วพึง่ พาซึ่งกันและกัน ไม่สามารถแยกจากกันได้ ต้องอย่รู ว่ มกันไปตลอดชีวิต ตวั อยา่ งเชน่ โพรโทซวั ในลาไส้ปลวก (+) (Trichonympha sp.) ปลวก (+) โพรโทซัวในลา่ ไสป้ ลวก ไทรโคนมิ าา Trichonympha sp. ปลวกกินไม้เป็นอาหารได้ เนื่องจากในลาไส้ปลวกมีโพรโทซัว ชนิดไทรโคนิมฟา ท่ีสร้างเอนไซม์เซลลูเลสมาช่วยย่อยไม้ และ โพรโทซวั จะได้รบั สารอาหารจากการย่อยไมเ้ ปน็ อาหาร

ภาวะพึ่งพากนั (mutualism) เปน็ ความสมั พันธข์ องสิง่ มีชีวิต 2 ชนิด ที่มาอยูร่ วมกัน แล้วพึ่งพาซึง่ กันและกัน ไม่สามารถแยกจากกนั ได้ ตอ้ งอยรู่ ว่ มกันไปตลอดชีวิต ตวั อยา่ งเช่น รา (+) สาหร่าย (+) ไลเคนหรือรากับสาหร่าย สาหรา่ ยสามารถสร้างอาหารเองได้ด้วยการ สังเคราะหด์ ้วยแสง ส่วนราให้ความชื้นแก่ สาหร่าย และดูดซึมอาหารจากสาหร่าย

ภาวะการไดร้ ับประโยชนร์ ่วมกนั (cooperation) เปน็ ความสมั พันธ์ของสิ่งมชี ีวติ 2 ชนิด ที่มาอยูร่ วมกัน แลว้ ตา่ งฝ่ายต่างได้รับประโยชนร์ ่วมกนั สามารถแยกจากกันได้ โดยไมส่ ่งผลกระทบกบั การด่ารงชีวติ ตัวอยา่ งเชน่ นกเอ้ียง (+) ดอกไม้ (+) ผีเสือ้ (+) ดอกไม้กบั ผีเสื้อ ควำย (+) ผีเสื้อดูดน้าหวานจากดอกไม้เป็นอาหาร และดอกไม้ ควายกับนกเอี้ยง ได้รบั ประโยชน์จากผีเสื้อในการช่วยผสมเกสร นกเอี้ยงช่วยกินเห็บ หมัด บนผิวหนังควายเป็นอาหาร ส่วนควายไดน้ กเอ้ียงช่วยกาจัดปรสติ บนผวิ หนงั

ภาวะปรสิต (Parasitism) เปน็ ความสัมพันธข์ องสิ่งมชี ีวติ ที่มาอยรู่ วมกัน แลว้ ฝ่ายหนึง่ ไดร้ ับประโยชน์ เรียกว่า ปรสิต (parasite) สว่ นฝา่ ยเสีย ประโยชน์ เรียกวา่ ผูถ้ ูกอาศยั (host) ตวั อย่างเชน่ ปรสิตภายใน คอื ปรสิตท่อี าศัยและเกาะกนิ โควิด 19 (+) ผถู้ กู อาศยั (host) ภายในร่างกาย ตวั อย่าง เช่น พยาธิ ปอดของคน (-) ตวั ตืด พยาธิใบไม้ตับ จุลินทรยี ์บางชนดิ เช่น แบคทีเรียใน กระเพาะอาหารของคน รวมถงึ ไวรสั ที่สามารถเพิ่มจานวนได้ พยาธิใบไม้ตับ (+) ในทอ่ น้าดีของคน (-) พยาธิตัวตืด (+) ในลาไส้ใหญ่ของคน (-) ปรสิตภายใน

ภาวะปรสติ (Parasitism) กาฝาก (+) กับ ปรสิตภายนอก คอื ปรสิตทีอ่ าศัย ต้นไม้ (-) ตวั อยา่ งเชน่ และเกาะกนิ ผถู้ กู อาศยั (host) ภายนอก เพลี้ย (+) กบั รา่ งกาย ตวั อย่าง เช่น ไร เหบ็ หมดั เหา ซ่งึ เป็น ปรสิตภายนอก ต้นไม้ (-) ปรสิตของคนและสัตว์ และ เพลยี้ และกาฝากเปน็ ปรสิตของพืช เพลี้ย เปน็ ปรสติ ทม่ี ีปากเป็นงาวง สามารถเจาะเข้าไปยังทอ่ ลาเลียงอาหารของพืช เพือ่ ดดู กินนา้ เลี้ยง และ กาฝาก เป็นปรสิตทใ่ี ช้ รากแทงลงไปในเปลือกไม้จนถงึ ทอ่ ลาเลียงนา้ และ ธาตุอาหารของพืช

ภาวะปรสติ (Parasitism) ตวั อย่างเช่น เหบ็ (+) เหบ็ เปน็ ปรสิตขนาดเล็กทเ่ี กาะบน สนุ ขั (-) ผิวหนงั สตั ว์ เปน็ ปรสิตภายนอกดูดเลือดสตั ว์เปน็ อาหาร หากบนร่างกายของสตั ว์มีเหบ็ จานวนมาก จะสง่ ผลให้บรเิ วณผิวหนังอักเสพ เป็นแผล และ ติดเชื้อ นอกจากนีน้ ้าลายของเห็บและหมัดมีสารท่ี กอ่ ให้เกิดการแพ้ ทาให้สัตว์มอี าการคนั และขนรว่ ง

ภาวะการลา่ เหยื่อ (predation) เปน็ ความสมั พันธ์ของสิง่ มชี ีวติ ทีม่ าอยรู่ วมกัน แล้วฝา่ ยหนึ่งไดร้ บั ประโยชน์ เรียกวา่ ผลู้ า่ (predator) ส่วนฝา่ ย เสียประโยชน์ เรียกวา่ เหยือ่ (prey) ตัวอยา่ งเชน่ หมีสีนา้ ตาล (+) สิงโต (+) ปลา (-) ม้าลาย (-) หมีสีน่้าตาลลา่ ปลาเป็นอาหาร สิงโตล่ามา้ ลายเปน็ อาหาร

ภาวะการแกง่ แย่งแขง่ ขัน (Competition) เปน็ ความสมั พันธข์ องสิ่งมชี ีวติ 2 ฝ่าย ทีต่ ้องการทรพั ยากรเดียวกนั ท่าใหเ้ กิดการแกง่ แย่งกัน แบง่ ออกเป็น 2 แบบ ดังน้ี การแก่งแย่งแข่งขันระหว่างสิง่ มชี ีวติ ชนิดเดียวกนั การแก่งแยง่ แขง่ ขนั ระหว่างสิง่ มชี ีวติ ตา่ ง (intraspecific competition) ชนิดกัน(interspecific competition) หมีต่อสู้กันเพื่อแย่ง หมีต่อสู้กับหมาปา่ อาหาร เพื่อแยง่ อาณาเขต กวางตอ่ สู้กันเพื่อแย่ง หมาในและแรง้ แย่ง อาณาเขต กนั กนิ ซากสง่ิ มีชวี ิต

ความสัมพันธ์ ในระบบนิเวศ รปู แบบ ลกั ษณะ ตวั อยา่ ง ความสัมพนั ธ์ ความสมั พนั ธ์ ความสัมพันธ์ , ควำมสัมพนั ธข์ องสง่ิ มีชวี ิต 2 ชนดิ ที่ไดร้ บั ประโยชน์ • ไลเคน (รำกับสำหรำ่ ย) รว่ มกัน ขำดจำกกนั ไม่ได้ • โพรโทซวั ในลำไสป้ ลวก ภาวะพึ่งพากัน • แบคทีเรยี ในปมรำกถว่ั (mutualism) ควำมสัมพนั ธข์ องส่งิ มีชวี ติ 2 ชนิด ฝ่ำยหนึ่งได้รบั ประโยชน์ (ผูอ้ ำศยั ) อีกฝำ่ ยหนง่ึ ไม่ได้รับและไม่เสยี ประโยชน์ • เหำฉลำมกับปลำฉลำม , (ผูใ้ หอ้ ำศยั ) • นกทำรงั บนต้นไมใ้ หญ่ • กลว้ ยไม้กบั ตน้ ไมใ้ หญ่ ภาวะองิ อาศยั ควำมสมั พนั ธ์ของส่งิ มชี วี ติ 2 ชนิด ฝ่ำยปรสติ (parasite) (commensalism) ได้รบั ประโยชน์อำจอยภู่ ำยนอกหรอื อยภู่ ำยในอีกฝ่ำย • พยำธใิ นลำไส้ใหญ่มนุษย์ หนงึ่ ซง่ึ เปน็ ผถู้ ูกอำศัย (host) จะเสยี ประโยชน์ • กำฝำกกับต้นไม้ใหญ่ , • เห็บและหมดั บนตัวสุนขั ควำมสัมพนั ธข์ องส่ิงมีชีวิต 2 ชนิด ฝำ่ ยทเ่ี ปน็ ผูล้ ่ำ ภาวะปรสติ (predator) ไดร้ ับประโยชน์ ส่วนอกี ฝ่ำยท่เี ป็นเหยอ่ื • เสือลำ่ กวำง (parasitism) (prey) จะเสยี ประโยชน์ เพรำะเปน็ อำหำรของผ้ลู ำ่ • นกกนิ หนอน • ตน้ กำบหอยแครงกับแมลง , ภาวะการล่าเหยื่อ (predation)

แบบฝึกหัดทบทวน คา่ ชี้แจง : ให้นกั เรียนตอบคาถามต่อไปน้ใี ห้ถูกต้อง ลงในสมดุ บันทึกรายวิชาวิทยาศาสตร์ (คะแนนเต็ม ๕ คะแนน) ๑. จงบอกความหมายของความสัมพันธ์ระหว่างสิ่งมีชีวิตในระบบนิเวศ พร้อมยกยกตัวอย่าง ความสัมพนั ธ์ ดงั นี้ ๑.๑ ภาวะอิงอาศยั ๑.๒ ภาวะพึ่งพากัน ๑.๓ ภาวะการได้รับประโยชน์ร่วมกนั ๑.๔ ภาวะปรสิต ๑.๕ ภาวะล่าเหยื่อ ๑.๖ ภาวะการแก่งแย่งแข่งขนั

แบบฝึกหัดทบทวน คา่ ชีแ้ จง : ให้นักเรียนตอบคาถามต่อไปน้ใี ห้ถูกต้อง ลงในสมดุ บนั ทึกรายวิชาวิทยาศาสตร์ (คะแนนเตม็ ๕ คะแนน) ๒. นกั เรียนคิดว่าถ้าในระบบนิเวศขาดผ้ลู ่าจะส่งผลอย่างไรต่อระบบนิเวศ ๓. กาฝากกับต้นไม้ใหญ่ และ พลดู ่างกบั ต้นไม้ใหญ่ มีความสัมพนั ธ์เหมือนกันหรือไม่ อย่างไร ๔. เครื่องหมาย + , - และ 0 มีความหมายถึงอะไร


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook