Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore รายงานประจำปี 2557 คณะวิทยาการสารสนเทศ

รายงานประจำปี 2557 คณะวิทยาการสารสนเทศ

Published by local library, 2019-12-10 20:58:51

Description: รายงานประจำปี 2557 คณะวิทยาการสารสนเทศ มหาวิทยาลัยบูรพา

Keywords: รายงานประจำปี,คณะวิทยาการสารสนเทศ,มหาวิทยาลัยบูรพา,จดหมายเหตุ มหาวิทยาลัยบูรพา

Search

Read the Text Version

สารจากคณบดี คณะวิทยาการสารสนเทศได้ดาเนินกิจกรรมตามพันธกิจ และแผนยทุ ธศาสตรค์ รบรอบหนึง่ ปอี กี วาระหน่ึงแล้ว จากผลการ ดาเนินการในรายงานประจาปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๕๗ ฉบับนี้ จะเห็นได้ว่า คณะวิทยาการสารสนเทศได้มีความมุ่งมั่นในการ ดาเนินกิจกรรมท้ังทางด้านการผลิตบัณฑิต ด้านบริการวิชาการ ด้านงานวิจัย อย่างจริงจัง ทาให้มีผลการดาเนินการท่ีดีข้ึนกว่าใน รอบปีท่ีผ่านมา อย่างไรก็ตามคณะวิทยาการสารสนเทศก็มิได้ ละเลยพันธกิจทางด้านทานุบารุงศิลปวัฒนธรรม ยังคงให้ ความสาคัญและมีการดาเนินการอย่างสม่าเสมอ ซึ่งการ ดาเนินการกิจกรรมท้ังหมดจะเกิดขึ้นไม่ได้เลยถ้าไม่ได้รับความ ร่วมมือรว่ มใจจาก นิสิต คณาจารย์ เจ้าหน้าที่สายสนับสนุน และ ผู้บริหารคณะ ขอขอบคุณความทุ่มเทของทุกท่านมา ณ โอกาส นี้ คณะวิทยาการสารสนเทศหวังเป็นอย่างยิ่งว่า รายงาน ประจาปีฉบับนี้จะเป็นเอกสารที่ผู้สนใจสามารถใช้ในการอ้างอิง รขูป้อมแูลบดบ้ากนาตร่าดงาๆเนขินอกงคิจณกระรไดม้เขปอ็นงอคยณ่า–งะดเพี ต่ือลเอปด็นจแนนผวู้สทนาใงจใอนากจาใชร้ ดาเนินการกิจกรรมของตนได้ ท้ายสุดนี้หวังว่าการดาเนินกิจกรรมในรอบปีท่ีผ่านมา ของคณะวิทยาการสารสนเทศจะได้สร้างคุณประโยชน์ให้แก่ วงการศึกษา สงั คม และประเทศไทยไมม่ ากกน็ ้อย (ผูช้ ่วยศาสตราจารยส์ วุ รรณา รัศมขี วญั ) คณบดีคณะวิทยาการสารสนเทศ

สารบญั สารจากคณบดี ๑ ความเป็นมาคณะวิทยาการสารสนเทศ.................................................................................................. ๒ ปรัชญา วิสยั ทศั น์ พันธกิจ..................................................................................................................... ๖ ดา้ นการบริหาร ..................................................................................................................................... ๑๗ ดา้ นการปรบั ปรงุ และพัฒนาคุณภาพการศึกษา ..................................................................................... ๒๖ ด้านผลิตบัณฑติ .................................................................................................................................... ๓๕ ด้านการวจิ ัย.......................................................................................................................................... ๓๘ ด้านการบริการวิชาการ ......................................................................................................................... ๔๖ ด้านการทานุบารุงศลิ ปวฒั นธรรม ......................................................................................................... ๔๗ ภาพกจิ กรรมและโครงการ ....................................................................................................................

คณะวิทยาการสารสนเทศ ความเปน็ มา คณะวทิ ยาการสารสนเทศ มหาวิทยาลยั บูรพา จดั ตงั้ ข้ึน อยา่ งเป็นทางการเมอ่ื วันท่ี ๙ ธันวาคม พ.ศ. ๒๕๕๒ โดยยกฐานะจากภาควิชาวทิ ยาการคอมพวิ เตอร์ คณะวิทยาศาสตร์ ทไี่ ด้รบั จัดตั้งข้นึ เม่ือวันที่ ๔ ตุลาคม พ.ศ. ๒๕๓๖ ทาหนา้ ท่ใี ห้การศึกษา พฒั นา คน้ คว้า วิจยั และผลิตบัณฑิตในสาขาวชิ าวิทยาการคอมพิวเตอร์ สาขาวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศ และสาขาวิชาวศิ วกรรมซอฟต์แวร์ การดาเนนิ กจิ กรรมดงั กล่าวเปน็ ไปในทิศทางทีส่ อดคล้องกับนโยบายของภาครฐั ท่ตี ้องการกระจาย แหลง่ การเรียนการสอนในระดบั อุดมศกึ ษาทางดา้ นวิทยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยีมาสู่ภาคตะวนั ออก เพือ่ รองรับ การขยายตวั ทางเศรษฐกจิ สังคม และอุตสาหกรรมของภาคตะวนั ออก ตลอดระยะเวลาทผ่ี า่ นมา คณะวทิ ยาการสารสนเทศได้ทาหน้าท่ีในการจดั การเรียนการสอนท้ังใน ระดบั ปรญิ ญาตรี และบณั ฑิตศึกษา โดยในระดับปริญญาตรีคณะฯ ได้จัดการเรยี นการสอนในรายวิชาศกึ ษา ทัว่ ไปสาหรับนสิ ติ ชั้นปี ๑ (ทั้งมหาวิทยาลัย) รายวชิ าบรกิ ารเฉพาะสาหรับนสิ ิตในบางสาขาวชิ าที่ต้องการ ความร้พู ื้นฐานดา้ นการโปรแกรมคอมพวิ เตอร์ และรายวชิ าเอกของหลกั สูตรในความรบั ผิดชอบของคณะฯ ซ่ึงในระดบั ปริญญาตรี ประกอบด้วยหลักสูตรต่าง ๆ ดังนี้ ๑. พ.ศ. ๒๕๓๖ เปดิ สอนหลกั สูตรวทิ ยาศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาวิทยาการคอมพวิ เตอร์ ปจั จุบนั เปน็ หลกั สูตรปรับปรงุ พ.ศ. ๒๕๕๔ (ตามกรอบมาตรฐาน TQF) ๒. พ.ศ. ๒๕๕๓ เปิดสอนหลักสูตรใหม่วทิ ยาศาสตรบัณฑติ สาขาวชิ าวิศวกรรมซอฟตแ์ วร์ (ตามกรอบมาตรฐาน TQF) ๓. พ.ศ. ๒๕๕๔ เปิดสอนหลกั สตู รใหมว่ ทิ ยาศาสตรบัณฑติ สาขาวิชาเทคโนโลยสี ารสนเทศ (ตามกรอบมาตรฐาน TQF) ในระดบั บัณฑิตศึกษา คณะวทิ ยาการสารสนเทศได้มีการจัดการเรียนการสอนในหลักสตู รตา่ ง ๆ ดงั นี้ ๑. พ.ศ. ๒๕๔๗ เปิดสอนหลักสตู รวทิ ยาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศ เน้นการ พัฒนาซอฟต์แวร์ประยุกต์ ปจั จบุ ันเป็นหลักสตู รปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๕๔ (ตามกรอบมาตรฐาน TQF) ๒. พ.ศ. ๒๕๕๐ เปิดสอนหลักสูตรปรชั ญาดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชาวทิ ยาการคอมพิวเตอร์ (หลักสูตร ปรญิ ญาเอกรว่ มสถาบัน: หลักสตู รภาษาอังกฤษ) โดยความรว่ มมือกับมหาวิทยาลัยของรัฐ ๑๑ มหาวทิ ยาลัย ปัจจุบนั เปน็ หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๕๕ (ตามกรอบมาตรฐาน TQF) โดยความรว่ มมือกบั มหาวิทยาลัยของรฐั ๑๕ มหาวิทยาลยั 1

๓. พ.ศ. ๒๕๕๔ เปิดสอนหลักสูตรใหมว่ ทิ ยาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาวทิ ยาการคอมพิวเตอร์ (ตาม กรอบมาตรฐาน TQF) ปจั จบุ นั คณะวทิ ยาการสารสนเทศ ได้เปิดการสอนทง้ั หมด ๖ หลกั สตู ร (ทง้ั ภาคปกติและภาคพเิ ศษ) มีนสิ ติ ทงั้ ส้ิน ๑,๔๕๓ คน (ขอ้ มลู ณ วนั ที่ ๒๘ กนั ยายน พ.ศ. ๒๕๕๖) และมกี ารสอนวิชาศกึ ษาท่วั ไปและ วิชาบริการ (ท้งั ภาคปกติและภาคพเิ ศษ) อีกปกี ารศึกษาละประมาณ ๑๐,๐๐๐ คน ปรัชญามหาวิทยาลยั สร้างเสริมปญั ญา ใฝ่หาความรู้ คคู่ ณุ ธรรม ชน้ี าสังคม ปณธิ านมหาวทิ ยาลัย ๑. ผลติ บัณฑิตให้มีปญั ญา ใฝห่ าความร้แู ละคุณธรรม ๒. สร้างองค์ความรู้ใหม่ เพอ่ื ความเปน็ เลิศทางวชิ าการ ๓. เป็นทพ่ี ่ึงทางวชิ าการ สืบสานวัฒนธรรม ช้ีนาแนวทาง การพฒั นาแก่สังคม โดยเฉพาะภาคตะวันออก 2

วิสยั ทศั น์คณะวิทยาการสารสนเทศ สร้างอารยบัณฑิต มุง่ แนวคิดสากล นาพาสงั คมอยา่ งย่ังยนื ดว้ ยวิทยาการสารสนเทศ สรา้ งอารยบัณฑติ หมายถึง การผลติ บัณฑติ ทมี่ คี วามรู้ความสามารถดา้ นวิทยาการสารสนเทศ ประกอบกบั เป็นผู้ทีม่ ศี ลี ธรรมและจรรยาบรรณ สร้างคุณคา่ และประโยชน์ให้กบั ชมุ ชนของตน สังคมโดยรวม ประเทศชาติ หรือระดบั โลก ไดใ้ นทสี่ ุด แนวคิดสากล หมายถงึ การดาเนินกิจกรรมต่าง ๆ ดา้ นวทิ ยาการสารสนเทศ บนพนื้ ฐานของการใช้ บรรทัดฐาน มาตรฐานในระดับโลกหรือระดบั สากล นาพาสังคมอยา่ งย่ังยนื ด้วยวิทยาการสารสนเทศ หมายถึง การผลิตองค์ความรู้ ผลงานวจิ ยั หรือ งานบรกิ ารวชิ าการ ดา้ นวทิ ยาการสารสนเทศ ทีส่ ามารถนาไปชว่ ยในการพัฒนาสังคมได้อย่างมคี ณุ คา่ และ ต่อเนื่อง พันธกิจคณะวิทยาการสารสนเทศ ๑. สร้างอารยบัณฑติ ทางวทิ ยาการสารสนเทศ ให้สอดคลอ้ งกับการพฒั นาประเทศ ๒. ผลิตงานวจิ ัยทางวทิ ยาการสารสนเทศสูร่ ะดับสากล ๓. นาพาสังคมดว้ ยบริการวิชาการทางวทิ ยาการสารสนเทศ เพ่ือสรา้ งสังคมอุดมปัญญา ๔. พัฒนาและสง่ เสริมด้านทานบุ ารงุ ศิลปวัฒนธรรม ๕. สรา้ งระบบงานบรหิ ารตามหลักธรรมาภบิ าล ด้วยเทคโนโลยสี ารสนเทศทีท่ ันสมยั 3

ประเดน็ ยทุ ธศาสตร์คณะวิทยาการสารสนเทศ ๑. ผลิตบัณฑิตท่ีมีคุณภาพ โดยเร่งปรับกระบวนการการเรียนการสอนอยา่ งต่อเนื่อง เพอื่ ใหเ้ กดิ สงั คม การเรยี นรู้ทนี่ ิสิตสามารถนาไปประยกุ ต์ใช้ไดใ้ นระดบั ท้องถ่ินและสากล ๒. ผลิตงานวิจยั พัฒนาองค์ความรู้ทางวิทยาการสารสนเทศในระดบั ชาตแิ ละระดับสากล สามารถ บูรณาการกบั ศาสตร์อืน่ ๓. บริการวิชาการทางวทิ ยาการสารสนเทศ เพื่อกาหนดทศิ ทางหรือตอบสนองความตอ้ งการของ สงั คม โดยคานงึ ถึงการใช้ประโยชนต์ ่อยอด การลดตน้ ทนุ และการนากลับมาใชใ้ หม่ ๔. สรา้ งกจิ กรรมที่ตอบรบั ตอ่ ประเพณวี ัฒนธรรมอันดงี ามและอนุรักษส์ ่งิ แวดลอ้ ม ๕. เพิ่มพนู ประสิทธภิ าพ และประสทิ ธิผลของการบรหิ ารงานตามกรอบธรรมาภิบาล เป้าประสงค์ ๑. คณะเป็นองคก์ รช้ันนาในการผลติ บณั ฑติ ดา้ นวทิ ยาการสารสนเทศตามมาตรฐานสากล มีภาวะ ผนู้ า มสี ุขภาวะ และมีคณุ ธรรม ๒. คณะมีผลงานวิจัยและนวัตกรรมทางวิทยาการสารสนเทศท่ีก่อให้เกดิ องค์ความรู้ ที่เปน็ ประโยชน์ ในการพฒั นาทอ้ งถน่ิ และประเทศ ๓. คณะเปน็ ผ้นู าการให้บริการวิชาการทางวิทยาการสารสนเทศแก่ชมุ ชน ท้องถิ่น ประเทศ และ ภูมภิ าคอาเซียน ๔. คณะมบี ณั ฑิตและบคุ ลากรที่มจี ติ สาธารณะ ตระหนักถึงคุณค่า และพร้อมในการทานุบารุง ศลิ ปวฒั นธรรมและอนุรักษส์ ง่ิ แวดล้อมให้อยคู่ ูส่ งั คมสืบตอ่ ไป ๕. คณะมกี ารบรหิ ารจดั การครบตามหลักธรรมาภบิ าลด้วยเทคโนโลยสี ารสนเทศ 4

ผลการดาเนนิ งาน 5

ดา้ นการบรหิ าร โครงสร้างการแบ่งหน่วยงานภายใน คณะวทิ ยาการสารเทศ มหาวิทยาลัยบูรพา แบ่งโครงสรา้ งองค์กรออกเป็น ๓ หน่วยงานภายใน ประกอบดว้ ย สานกั งานคณบดี สานกั งานจดั การศกึ ษา และเขตอตุ สาหกรรมซอฟต์แวร์ภาคตะวนั ออก มหาวิทยาลัยบูรพา คณะวทิ ยาการสารสนเทศ สานักงานคณบดี สานกั งานจดั การศกึ ษา เขตอุตสาหกรรมซอฟตแ์ วร์ ภาคตะวนั ออก กากับดูแลโดย กากับดแู ลโดย หวั หน้าสานกั งานคณบดี หวั หน้าสานกั งานจัดการศกึ ษา มหาวิทยาลัยบูรพา - งานบริหารงานทวั่ ไป ๑ สาขาวิชาวิทยาการคอมพวิ เตอร์ กากับดแู ลโดย - งานนโยบายและแผน - หลักสูตรวิทยาศาสตรบัณฑิต ผ้อู านวยการเขตอุตสาหกรรม - งานการบรกิ ารการศึกษา หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๕๔ ซอฟตแ์ วร์ภาคตะวนั ออก - งานห้องปฏิบัตกิ าร - หลกั สูตรวทิ ยาศาสตรมหาบัณฑติ มหาวทิ ยาลัยบรู พา - งานบริการวชิ าการ หลักสตู รใหม่ พ.ศ. ๒๕๕๔ - งานประกนั คณุ ภาพ - หลกั สตู รปรชั ญาดุษฎีบณั ฑิต - งานสง่ เสริมการวจิ ยั หลักสตู รปรบั ปรงุ พ.ศ. ๒๕๕๕ - งานกจิ การนสิ ิต - งานการเงนิ และพสั ดุ ๒ สาขาวชิ าเทคโนโลยสี ารสนเทศ - งานวิเทศสัมพนั ธ์ ประชาสมั พนั ธ์ และ - หลักสตู รวิทยาศาสตรบัณฑติ หลักสูตรใหม่ พ.ศ. ๒๕๕๔ กิจการพิเศษ - หลกั สตู รวิทยาศาสตรมหาบณั ฑิต หลกั สตู รปรบั ปรงุ พ.ศ. ๒๕๕๔ ๓ สาขาวิชาวิศวกรรมซอฟตแ์ วร์ - หลกั สูตรวิทยาศาสตรบัณฑิต หลกั สูตรใหม่ พ.ศ. ๒๕๕๓ 6

สานักงานคณบดี มหี นา้ ทีค่ วามรับผิดชอบในการสนับสนุนการปฏบิ ัตภิ ารกิจหลักของคณะวทิ ยาการ สารสนเทศให้สามารถดาเนนิ ไปได้อยา่ งมีประสทิ ธิภาพ ประสทิ ธิผล ประสานงานระหว่างหนว่ ยงาน บรหิ าร จัดการทรัพยากรใหเ้ กดิ ประโยชนส์ ูงสดุ พัฒนาระบบเทคโนโลยีสารสนเทศทเี่ อ้ือตอ่ การบรหิ ารงานทุกพันธกจิ สานกั งานจดั การศึกษา มหี นา้ ที่ความรบั ผิดชอบในการสนับสนุนภารกจิ ด้านวชิ าการ อันเป็นภารกิจ ทส่ี าคญั ของคณะวทิ ยาการสารสนเทศ โดยใหบ้ รกิ ารแก่อาจารย์ นสิ ิต ตลอดจนบุคคลทวั่ ไป โดยเฉพาะการ ให้บริการแก่นสิ ิตตลอดกระบวนการศกึ ษา คอื ต้ังแต่การคัดเลือกนิสิต การรับนิสิตเข้าศึกษา ขณะกาลงั ศึกษา และสาเร็จการศึกษา ตลอดจนใหค้ าปรกึ ษาแนะนา ชว่ ยเหลอื และแก้ไขปัญหาต่าง ๆ ให้กบั นิสิต ทง้ั ยงั เป็นสว่ น ที่สนับสนุนดา้ นการจัดการเรียนการสอนให้มีประสิทธภิ าพ เพอื่ ปฏบิ ัติภารกิจและการพัฒนางานใหส้ อดคล้อง กับวสิ ัยทศั น์ พนั ธกิจของคณะวิทยาการสารสนเทศ เขตอตุ สาหกรรมซอฟตแ์ วร์ภาคตะวันออก มหาวทิ ยาลัยบรู พา เปน็ หนว่ ยงานในกากับของ คณะวทิ ยาการสารสนเทศทส่ี นบั สนนุ ส่งเสรมิ อตุ สาหกรรมซอฟตแ์ วร์ในภูมิภาคตะวนั ออก เปน็ ศนู ยก์ ลาง ถา่ ยทอดความรเู้ ทคโนโลยซี อฟตแ์ วร์ เพื่อสร้างความเข้มแข็งใหก้ ับผ้ปู ระกอบการดา้ นธุรกิจซอฟต์แวร์ใน ภมู ิภาคตะวันออก ตลอดจนเป็นศูนย์กลางในการฝึกปฏิบตั ิงานของนสิ ิต นกั ศึกษาอีกด้วย 7

โครงสร้างการบรหิ ารของคณะวทิ ยาการสารสนเทศ คณบดีคณะวิทยาการสารสนเทศ คณะกรรมการประจาคณะวิทยาการสารสนเทศ คณะกรรมการบรหิ ารคณะวทิ ยาการสารสนเทศ รองคณบดี - ฝุายบรหิ าร - ฝุายวิชาการ - ฝุายแผนงาน วิจยั และบรกิ ารวชิ าการ - ฝาุ ยประกันคณุ ภาพและสหกจิ ศกึ ษา - ฝาุ ยกจิ การนิสิตและกจิ การพเิ ศษ หวั หนา้ สานักงานคณบดี หวั หน้าสานกั งานจดั การศึกษา ผอู้ านวยการ เขตอตุ สาหกรรมซอฟต์แวร์ ภาคตะวนั ออก มหาวิทยาลัยบูรพา ประธานสาขาวชิ า - สาขาวิชาวิทยาการคอมพวิ เตอร์ - สาขาวชิ าเทคโนโลยสี ารสนเทศ - สาขาวิชาวศิ วกรรมซอฟตแ์ วร์ 8

รายนามคณะกรรมการประจาคณะวทิ ยาการสารสนเทศ ผศ.ดร.สุวรรณา รัศมขี วัญ คณบดีคณะวิทยาการสารสนเทศ ผศ.ดร.วโิ รจน์ เรอื งประเทืองสุข นายเสรี ชิโนดม ศ.ดร.ชิดชนก เหลือสนิ ทรัพยก์ รรมการ กรรมการประเภทผทู้ รงคณุ วุฒิ กรรมการประเภทผทู้ รงคณุ วฒุ ิ ประเภทผู้ทรงคณุ วุฒิ นายภสู ติ กุลเกษม น.ส.เบญจภรณ์ จันทรกองกลุ นายประจักษ์ จติ เงนิ มะดนั ดร.คนึงนิจ กโุ บลา กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ 9

รายนามคณะกรรมการประจาคณะวทิ ยาการสารสนเทศ นางอธติ า ออ่ นเออื้ น ดร.อุรรี ฐั สขุ สวสั ดิ์ชน ผศ.ดร.กฤษณะ ชินสาร กรรมการ กรรมการ กรรมการ ผศ.นวลศรี เดน่ วัฒนา ดร.ณัฐนนท์ ลีลาตระกลู ดร.โกเมศ อมั พวัน กรรมการ กรรมการ กรรมการ ผศ.ดร.กฤษณะ ชินสาร กรรมการและเลขานุการ 10

รายนามคณะกรรมการบริหารคณะวทิ ยาการสารสนเทศ ผศ.ดร.สวุ รรณา รศั มีขวัญ คณบดคี ณะวิทยาการสารสนเทศ นายภูสติ กลุ เกษม ดร.คนงึ นจิ กโุ บลา ผศ.ดร.กฤษณะ ชนิ สาร รองคณบดฝี ุายบริหาร รองคณบดฝี ุายแผนงานและบริการวิชาการ รองคณบดฝี ุายวชิ าการและวิจยั นางสาวเบญจภรณ์ จนั ทรกองกุล นายประจักษ์ จติ เงินมะดนั รองคณบดฝี าุ ยประกนั คณุ ภาพและสหกิจศึกษา รองคณบดฝี าุ ยกิจการนิสติ และกจิ การพิเศษ ผศ.ดร.กฤษณะ ชนิ สาร ดร.อรุ รี ัฐ สุขสวสั ดช์ิ น นางอธติ า อ่อนเออ้ื น ประธานสาขาวิชาวิทยาการคอมพวิ เตอร์ ประธานสาขาวชิ าเทคโนโลยสี ารสนเทศ ประธานสาขาวิชาวศิ วกรรมซอฟตแ์ วร์ 11

คณาจารย์และบุคลากร ปัจจยั ท่สี าคญั ในการพฒั นาองค์กร คือ บคุ ลากร ผ้เู ป็นตัวจกั รสาคัญในการขับเคล่ือนองคก์ รใหเ้ กดิ ความก้าวหน้าและบรรลุตามพนั ธกจิ ทตี่ ้งั ไว้ คณะวทิ ยาการสารสนเทศมีบคุ ลากรซง่ึ ปฏบิ ัตหิ นา้ ที่ภายในคณะฯ ดงั รายละเอียดต่อไปนี้ รายชอื่ คณาจารย์ในคณะวิทยาการสารสนเทศ ลาดับ ชอ่ื - นามสกลุ ตาแหน่ง ๑ ผศ.ดร.กฤษณะ ชินสาร อาจารย์ประจาสาขาวชิ าวทิ ยาการคอมพิวเตอร์ ๒ อาจารยก์ ันทิมา อ่อนละออ อาจารย์ประจาสาขาวิชาเทคโนโลยสี ารสนเทศ ๓ ดร.โกเมศ อัมพวนั อาจารยป์ ระจาสาขาวชิ าวทิ ยาการคอมพวิ เตอร์ ๔ ดร.คนึงนิจ กุโบลา อาจารย์ประจาสาขาวชิ าวิทยาการคอมพวิ เตอร์ ๕ ดร.จักริน สขุ สวสั ด์ชิ น อาจารย์ประจาสาขาวิชาวทิ ยาการคอมพวิ เตอร์ ๖ อาจารย์จรรยา อน้ ปนั ส์ อาจารย์ประจาสาขาวชิ าวทิ ยาการคอมพวิ เตอร์ ๗ ดร.ณัฐนนท์ ลลี าตระกูล อาจารย์ประจาสาขาวชิ าเทคโนโลยีสารสนเทศ ๘ ดร.ทศั นยี ์ เจรญิ พร อาจารยป์ ระจาสาขาวชิ าวศิ วกรรมซอฟต์แวร์ ๙ ผศ.นวลศรี เด่นวฒั นา อาจารยป์ ระจาสาขาวชิ าวิศวกรรมซอฟต์แวร์ ๑๐ อาจารย์เบญจภรณ์ จนั ทรกองกลุ อาจารยป์ ระจาสาขาวิชาวิทยาการคอมพวิ เตอร์ ๑๑ อาจารย์ประจักษ์ จติ เงินมะดัน อาจารย์ประจาสาขาวชิ าเทคโนโลยสี ารสนเทศ ๑๒ อาจารย์ประวทิ ย์ บญุ มี อาจารย์ประจาสาขาวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศ ๑๓ อาจารยพ์ รี ะศักดิ์ เพยี รประสิทธ์ิ อาจารยป์ ระจาสาขาวชิ าวิศวกรรมซอฟตแ์ วร์ ๑๔ อาจารยพ์ งษว์ ุฒิ ดวงศรี อาจารยป์ ระจาสาขาวิชาวทิ ยาการคอมพิวเตอร์ ๑๕ อาจารย์ภูสิต กุลเกษม อาจารย์ประจาสาขาวิชาวิทยาการคอมพิวเตอร์ ๑๖ อาจารย์วรวิทย์ วรี ะพนั ธ์ุ อาจารยป์ ระจาสาขาวชิ าเทคโนโลยีสารสนเทศ ๑๗ อาจารยว์ ทิ วสั พนั ธุมจินดา อาจารยป์ ระจาสาขาวชิ าเทคโนโลยสี ารสนเทศ ๑๘ ผศ.ดร.สุนสิ า รมิ เจริญ อาจารยป์ ระจาสาขาวิชาวทิ ยาการคอมพวิ เตอร์ ๑๙ อาจารย์สภุ าวดี ศรีคาดี อาจารย์ประจาสาขาวชิ าเทคโนโลยีสารสนเทศ ๒๐ ผศ.ดร.สรุ างคนา ธรรมลขิ ติ อาจารยป์ ระจาสาขาวิชาเทคโนโลยสี ารสนเทศ ๒๑ ผศ.ดร.สุวรรณา รัศมีขวญั อาจารย์ประจาสาขาวชิ าวทิ ยาการคอมพวิ เตอร์ ๒๒ อาจารย์เหมรัศมิ์ วชิรหัตถพงศ์ อาจารย์ประจาสาขาวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศ ๒๓ อาจารยอ์ ธติ า อ่อนเอ้อื น อาจารยป์ ระจาสาขาวชิ าวิศวกรรมซอฟต์แวร์ 12

ลาดบั ชอ่ื - นามสกลุ ตาแหนง่ ๒๔ ดร.อรุ ีรัฐ สขุ สวัสด์ชิ น อาจารยป์ ระจาสาขาวชิ าเทคโนโลยสี ารสนเทศ ๒๕ อาจารยเ์ อกภพ บุญเพง็ อาจารยป์ ระจาสาขาวิชาวิศวกรรมซอฟต์แวร์ ๒๖ Mr.John Gatewood Ham อาจารยป์ ระจาสาขาวิชาวศิ วกรรมซอฟตแ์ วร์ รายช่อื พนกั งานสนบั สนนุ วชิ าการ ตาแหนง่ ลาดับ ชอื่ - นามสกุล นักวชิ าการศกึ ษา ๑ นางสาวกมลวรรณ แสงระวี นกั วชิ าการศกึ ษา ๒ นายกรสหนนั ท์ ต่อพงษ์พันธุ์ นกั วิชาการศึกษา ๓ นางสาวกลุ ชลี รตั นคร นกั วิชาการคอมพวิ เตอร์ ๔ นายเกรยี งศักดิ์ ปานโพธ์ิทอง นักวจิ ยั ๕ นายจกั รก์ ฤษณ์ บตุ รอาคา เจ้าหนา้ ทบ่ี ริหารงานทั่วไป ๖ นางสาวทัศยา สุขผอ่ ง เจ้าหนา้ ทบี่ รหิ ารงานทั่วไป ๗ นางสาวนิตยา ติรพงษ์พัฒน์ นกั วชิ าการเงินและบัญชี ๘ นางสาวปัทมา วชิรพันธ์ุ นักวิชาการคอมพวิ เตอร์ ๙ นายมาโนชญ์ ใจกว้าง นกั วิชาการโสตทัศนศึกษา ๑๐ นางระวนี ันท์ ชูสนิ ชนิ ภัทร นกั วชิ าการคอมพิวเตอร์ ๑๑ นายศกั ดา บุญภา นักวชิ าการพสั ดุ ๑๒ นางสาวศิรจิ นั ทร์ แซล่ ี้ นกั วชิ าการคอมพวิ เตอร์ ๑๓ นายสิทธชิ ยั สมพนั ธุ์ นกั วิชาการคอมพิวเตอร์ ๑๔ นายสิทธิพงษ์ ฉมิ ไทย พนักงานผลิตทดลอง ๑๕ นายสธุ น ทองปาน คนงาน ๑๖ นางสาวสธุ าทิพย์ ทรัพย์ประเสริฐ เจ้าหน้าท่ีบริหารงานทวั่ ไป ๑๗ นางสุพรรษา ฉนั ทพนั ธ์ุ นักวิชาการเงนิ และบัญชี ๑๘ นางสาวหรรษา รอดเงิน นกั วิเคราะห์นโยบายและแผน ๑๙ นางสาวอรอนงค์ ร้อยทา 13

งบประมาณ ในปงี บประมาณ พ.ศ. ๒๕๕๗ คณะวิทยาการสารสนเทศ ได้จา่ ยงบประมาณเพอื่ การบริหารจดั การ และดาเนินงานตามแผนปฏบิ ัตกิ ารภายใต้แผนยุทธศาสตร์ คณะวิทยาการสารสนเทศ พ.ศ. ๒๕๕๗ – ๒๕๖๑ (ฉบับปรับปรงุ พ.ศ. ๒๕๕๗) ซง่ึ ไดร้ บั เงินอุดหนุนจากรฐั บาลและตัง้ งบเงินรายไดเ้ พอื่ เป็นคา่ ใชจ้ า่ ย จาแนกตาม หมวดรายจ่าย ณ วนั ที่ ๓๐ กันยายน พ.ศ. ๒๕๕๗ รายละเอยี ดดงั นี้ รายรบั ปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๕๗ 0.44% งบบคุ ลากร 1.23% งบดาเนินงาน งบเงนิ อดุ หนุน 18.70% 17.23% งบลงทนุ 35.47% 26.94% งบกลาง งบรายจ่ายอืน่ หมวดเงนิ เงินอุดหนุน เงินรายได้ หน่วย : บาท จากรัฐบาล งบบุคลากร 7,316,800.00 รวม งบดาเนนิ งาน 570,000.00 9,516,892.63 งบเงนิ อุดหนุน 2,815,258.00 14,142,900.00 7,886,800.00 งบลงทนุ 2,097,000.00 7,323,900.00 12,332,150.63 งบกลาง 1,237,042.00 16,239,900.00 งบรายจ่ายอ่ืน 562,500.00 8,560,942.00 - 200,000.00 รวม - 39,062,992.63 562,500.00 6,719,300.00 200,000.00 45,782,292.63 14

รายจ่ายปงี บประมาณ พ.ศ. ๒๕๕๗ งบบุคลากร งบดาเนนิ งาน 0.00% 0.00% งบเงินอุดหนุน 19.14% 20.25% งบลงทุน 30.27% 30.34% งบกลาง งบรายจ่ายอน่ื หมวดเงิน เงินอุดหนุน เงนิ รายได้ หนว่ ย : บาท จากรัฐบาล งบบุคลากร 240,000.00 7,309,933.98 รวม งบดาเนินงาน 2,815,257.44 8,493,635.21 งบเงินอุดหนุน 2,097,000.00 9,184,906.51 7,549,933.98 งบลงทุน 1,237,042.00 5,898,943.50 11,308,892.65 งบกลาง 11,281,906.51 งบรายจ่ายอื่น - - 7,135,985.50 - - รวม 6,389,299.44 30,887,419.20 - - 37,276,718.64 15

รายรบั รวมและรายจ่ายรวม เปรยี บเทียบกบั ปงี บประมาณ พ.ศ. ๒๕๕๕ – ๒๕๕๗ ประเภทงบประมาณ ๒๕๕๕ ๒๕๕๖ ๒๕๕๗ รายรับรวม ๒,๗๘๑,๗๐๐.๐๐ ๓,๑๐๐,๐๐๐.๐๐ 7,886,800.00 ๑๓,๖๐๕,๐๓๔.๘๙ ๑๖,๐๘๙,๕๓๐.๘๖ 12,332,150.63 งบบุคลากร ๑๓,๖๖๕,๙๕๔.๑๔ ๑๖,๐๖๒,๔๖๓.๗๕ 16,239,900.00 งบดาเนินงาน ๔,๒๑๖,๔๖๗.๐๐ ๑๒,๐๓๙,๒๕๖.๐๐ 8,560,942.00 งบเงนิ อุดหนุน ๒,๐๖๔,๗๐๐.๐๐ งบลงทนุ ๘๗๒,๖๓๑.๖๐ 562,500.00 งบกลาง ๑๐๐,๐๐๐.๐๐ ๒๐๐,๐๐๐.๐๐ 200,000.00 งบรายจา่ ยอ่ืน ๓๕,๒๓๑,๗๘๗.๖๓ ๔๙,๕๕๕,๙๕๐.๖๑ 45,782,292.63 รวมรายรับ รายจา่ ยรวม ๒,๓๕๕,๕๔๘.๐๐ ๒,๗๓๙,๑๘๔.๕๐ 7,549,933.98 ๑๐,๗๖๐,๒๓๓.๑๘ ๑๓,๒๓๐,๙๒๐.๓๓ 11,308,892.65 งบบุคลากร ๖,๐๐๙,๖๔๗.๓๓ ๘,๑๑๕,๒๐๒.๔๑ 11,281,906.51 งบดาเนนิ งาน ๔,๑๘๔,๗๕๘.๒๕ ๑๑,๖๒๗,๔๗๗.๕๐ 7,135,985.50 งบเงินอุดหนุน งบลงทนุ ๓๙,๕๙๘.๖๐ - - งบกลาง ๕๐,๙๙๑.๐๐ ๗๔,๖๙๙.๐๐ - งบรายจา่ ยอ่ืน ๒๓,๔๐๐,๗๗๖.๓๖ ๓๕,๗๘๗,๔๘๓.๗๔ 37,276,718.64 รวมรายจา่ ย 16

การปรับปรุงและพฒั นาคณุ ภาพการศึกษา การสง่ เสริมบคุ ลากรไปศกึ ษาตอ่ ฝึกอบรม ดูงาน และการประชุมสมั มนาในประเทศและตา่ งประเทศ ลาดบั ประเภท ในประเทศ ตา่ งประเทศ รวมท้ังหมด คน คร้ัง คน คร้ัง คน ครง้ั ๑. ศกึ ษาต่อ ๓ ๑ - - ๓ ๑ ๒. ฝกึ อบรม ๓๑ ๑๗ - - ๓๑ ๑๗ ๓. ดงู าน ๑๗ ๑ ๒ ๒ ๑๙ ๓ ๔. ประชมุ สัมมนา ๓๗ ๑๒ - - ๓๗ ๑๒ การพัฒนาศักยภาพบคุ ลากร ในการฝกึ อบรม ดูงาน และประชมุ สัมมนาของบุคลากรคณะวิทยาการสารสนเทศ วันเดอื น/ป/ี หัวขอ้ สถานท่ี ผเู้ ข้ารว่ ม ๗ – ๑๑ ต.ค. ๕๖ CCNA (Cisco Certified บจ. เซอรต์ ไิ ฟต์ เทคนคิ ลั ดร.ณฐั นนท์ ลลี าตระกลู ๒๑ ต.ค. ๕๖ Network Associates) เทรนนิง่ เซน็ เตอร์ กรงุ เทพฯ ผศ.ดร.สวุ รรณา รศั มีขวัญ การประชมุ สมั มนาเชิงปฏบิ ัตกิ าร ห้องประชมุ SD506 น.ส.กนั ทิมา ออ่ นละออ เรอื่ ง “การปรบั ปรุงแผนยุทธศาสตร์ อาคารสริ ินธร ผศ.ดร.กฤษณะ ชนิ สาร คณะวิทยาการสารสนเทศ” มหาวิทยาลยั บรู พา ดร.โกเมศ อมั พวัน ดร.คนงึ นิจ กโุ บลา ดร.จักริน สขุ สวสั ด์ชิ น น.ส.เบญจภรณ์ จันทรกองกลุ นายประจักษ์ จติ เงนิ มะดนั นายประวิทย์ บญุ มี นายภสู ติ กุลเกษม น.ส.สภุ าวดี ศรีคาดี นายเหมรศั มิ์ วชริ หัตถพงศ์ นางอธิตา อ่อนเออ้ื น นายเอกภพ บญุ เพ็ง น.ส.กมลวรรณ แสงระวี นายกรสหนันท์ ต่อพงษพ์ ันธ์ุ น.ส.กลุ ชลี รัตนคร นายเกรยี งศกั ด์ิ ปานโพธ์ทิ อง น.ส.ทัศยา สขุ ผ่อง 17

การพัฒนาศักยภาพบุคลากร ในการฝึกอบรม ดงู าน และประชุมสัมมนาของบุคลากรคณะวิทยาการสารสนเทศ วนั เดือน/ป/ี หวั ข้อ สถานท่ี ผเู้ ขา้ รว่ ม น.ส.นิตยา ตริ พงษพ์ ฒั น์ น.ส.ปทั มา วชิรพนั ธ์ุ นายมาโนชญ์ ใจกว้าง นางระวนี ันท์ ชูสนิ ชนิ ภัทร น.ส.ศริ จิ ันทร์ แซ่ล้ี นายสิทธชิ ัย สมพนั ธุ์ นายสทิ ธพิ งษ์ ฉิมไทย นางสพุ รรษา ฉันทพนั ธุ์ น.ส.อรอนงค์ รอ้ ยทา ๒๒ ต.ค. ๕๖ การสัมมนาเชิงปฏบิ ตั กิ าร เรื่อง หอ้ งประชมุ SD506 ผศ.ดร.สวุ รรณา รัศมขี วญั \"การวิพากษแ์ ผนยุทธศาสตร์ อาคารสริ ินธร ผศ.ดร.กฤษณะ ชนิ สาร คณะวิทยาการสารสนเทศ\" มหาวทิ ยาลยั บรู พา น.ส.กันทิมา ออ่ นละออ ดร.โกเมศ อมั พวนั ดร.คนงึ นจิ กุโบลา น.ส.เบญจภรณ์ จนั ทรกองกลุ นายประจักษ์ จติ เงินมะดัน นายประวทิ ย์ บญุ มี นายพงษว์ ฒุ ิ ดวงศรี นายภูสติ กลุ เกษม นายวิทวัส พันธุมจนิ ดา น.ส.สภุ าวดี ศรคี าดี ผศ.ดร.สรุ างคนา ธรรมลขิ ติ นายเหมรศั ม์ิ วชิรหตั ถพงศ์ นางอธิตา ออ่ นเอื้อน นายเอกภพ บุญเพง็ น.ส.กมลวรรณ แสงระวี น.ส.กลุ ชลี รตั นคร นายกรสหนนั ท์ ต่อพงษพ์ นั ธุ์ นายเกรยี งศกั ดิ์ ปานโพธท์ิ อง น.ส.ทัศยา สุขผอ่ ง น.ส.นติ ยา ตริ พงษ์พฒั น์ น.ส.ปทั มา วชิรพันธุ์ 18

การพัฒนาศกั ยภาพบคุ ลากร ในการฝึกอบรม ดงู าน และประชุมสัมมนาของบคุ ลากรคณะวิทยาการสารสนเทศ วันเดือน/ป/ี หัวข้อ สถานท่ี ผู้เข้ารว่ ม ๑๙ – ๒๒ พ.ย. ๕๖ อบรมหลักสตู รการเขยี น iOS อาคาร SM Tower นายมาโนชญ์ ใจกวา้ ง เพือ่ นามาพัฒนาระบบสารสนเทศ กรงุ เทพฯ นางระวีนนั ท์ ชูสินชินภทั ร น.ส.ศิรจิ ันทร์ แซล่ ้ี นายสิทธชิ ัย สมพนั ธ์ุ นายสทิ ธพิ งษ์ ฉิมไทย นางสุพรรษา ฉนั ทพันธุ์ น.ส.อรอนงค์ ร้อยทา นายจักร์กฤษณ์ บตุ รคาอา ๒ – ๕ ธ.ค. ๕๖ 20th Asia-Pacific Software ภาควิชาวิศวกรรมคอมพวิ เตอร์ ผศ.ดร.กฤษณะ ชนิ สาร ๓๐ – ๓๑ ม.ค. ๕๗ Engineering Conference คณะวิศวกรรมศาสตร์ (APSEC2013) ๖ – ๘ ก.พ. ๕๗ โครงการประชมุ วิชาการ 2014-6th จุฬาลงกรณ์มหาวทิ ยาลัย ๑๔ – ๑๖ ก.พ. ๕๗ International Conference on Knowledge and Smart โรงแรม เทา-ทอง ผศ.ดร.สุวรรณา รศั มขี วญั Technology (KST) และ มหาวทิ ยาลยั บูรพา น.ส.กันทมิ า ออ่ นละออ โครงการประชมุ วชิ าการดา้ น Knowledge and Smart ผศ.ดร.กฤษณะ ชินสาร Technology คร้งั ท่ี ๖ (KST-2557) ดร.คนึงนจิ กุโบลา ประจาปี ๒๕๕๗ น.ส.จรรยา อน้ ปนั ส์ โครงการฝกึ อบรมเชิงปฏิบัติการ ดร.ณฐั นนท์ ลลี าตระกูล \"การพฒั นานโยบายและการ จดั การภาครฐั \" หลกั สตู รที่ ๑ น.ส.เบญจภรณ์ จันทรกองกลุ การจดั ทาแผนยุทธศาสตรแ์ ละ นายประจักษ์ จติ เงนิ มะดัน งบประมาณภาครัฐ (ภาคปฏิบตั ิ) นายประวิทย์ บญุ มี ศกึ ษาดงู านบริหารและจดั การคณะ นายภูสติ กลุ เกษม ประเทศเวยี ดนาม ผศ.ดร.สนุ สิ า ริมเจรญิ นางอธิตา อ่อนเอ้อื น โรงแรม เดอะ ทวินทาวเวอร์ น.ส.อรอนงค์ รอ้ ยทา กรุงเทพฯ ประเทศเวยี ดนาม ผศ.ดร.สุวรรณา รัศมขี วญั 19

การพัฒนาศักยภาพบคุ ลากร ในการฝกึ อบรม ดูงาน และประชุมสัมมนาของบคุ ลากรคณะวิทยาการสารสนเทศ วนั เดือน/ป/ี หัวขอ้ สถานท่ี ผูเ้ ข้าร่วม ๒๐ – ๒๑ ก.พ. ๕๗ การประชมุ วิชาการระดับปรญิ ญาตรี มหาวทิ ยาลยั ศรีปทมุ น.ส.กนั ทมิ า ออ่ นละออ ดา้ นคอมพวิ เตอร์ภูมภิ าคอาเซียน วิทยาเขตชลบุรี ผศ.ดร.กฤษณะ ชนิ สาร (the ASEAN Undergraduate ดร.จักรนิ สขุ สวสั ด์ชิ น Conference in Computing: ดร.ณฐั นนท์ ลลี าตระกลู AUCC) นายประจกั ษ์ จติ เงินมะดนั ผศ.ดร.สุนสิ า รมิ เจรญิ ๒๗ – ๒๘ ก.พ. ๕๗ การประชมุ วิชาการระดบั ชาติ โรงแรมทองสมบรู ณ์คลบั ดร.อรุ รี ฐั สขุ สวสั ดิ์ชน ดา้ นเทคโนโลยีสารสนเทศ ครั้งที่ ๖ จังหวดั นครราชสมี า ดร.จกั ริน สุขสวสั ดิช์ น ๑๑ ม.ี ค. ๕๗ The 6th National Conference ๒๐ – ๒๒ ม.ี ค. ๕๗ on Information Technology โรงแรมสวิสโซเทล เลอ นายเกรียงศักดิ์ ปานโพธทิ์ อง (NCIT 2014) คองคอรด์ รัชดา กรงุ เทพฯ น.ส.กนั ทิมา ออ่ นละออ สมั มนางาน Total Data Center มหาวทิ ยาลยั เชียงใหม่ และ ดร.คนึงนจิ กุโบลา solution for build Up Your มหาวทิ ยาลยั แมโ่ จ้ น.ส.เบญจภรณ์ จันทรกองกลุ Business นายประจกั ษ์ จติ เงินมะดัน นายภสู ติ กลุ เกษม โครงการศกึ ษาดูงานเพอื่ พัฒนา ผศ.ดร.สวุ รรณา รัศมีขวัญ ศกั ยภาพพนกั งานสายสนบั สนุน น.ส.กมลวรรณ แสงระวี วชิ าการ นายกรสหนนั ท์ ต่อพงษ์พันธุ์ นายเกรียงศกั ดิ์ ปานโพธ์ิทอง น.ส.กลุ ชลี รตั นคร น.ส.ทัศยา สุขผอ่ ง น.ส.นติ ยา ตริ พงษ์พฒั น์ น.ส.ปทั มา วชริ พันธ์ุ นางระวนี ันท์ ชสู นิ ชินภัทร น.ส.ศิรจิ ันทร์ แซ่ล้ี นายสิทธิพงษ์ ฉิมไทย น.ส.หรรษา รอดเงิน น.ส.อรอนงค์ รอ้ ยทา 20

การพัฒนาศักยภาพบุคลากร ในการฝึกอบรม ดูงาน และประชุมสัมมนาของบุคลากรคณะวิทยาการสารสนเทศ วันเดอื น/ป/ี หัวขอ้ สถานท่ี ผู้เขา้ รว่ ม น.ส.สภุ าวดี ศรคี าดี ๒๔ – ๒๘ เม.ย. ๕๗ อบรมหลักสตู ร Train-The- บจ.ออราเคลิ คอรป์ อเรชั่น Trainer : The Java SE7 กรงุ เทพฯ Fundamental ๒๔ – ๒๕ มี.ค. ๕๗ ประชมุ ระบบสารบรรณ มหาวิทยาลยั บูรพา นายพีระศักด์ิ เพยี รประสทิ ธิ์ อเิ ล็กทรอนกิ ส์ ๒ – ๔ เม.ย. ๕๗ สัมมนาประกันคุณภาพกจิ กรรม โรงแรมแหลมสิงห์ แนชเชอรัล นางระวีนันท์ ชูสินชินภัทร นิสิตประจาปกี ารศกึ ษา ๒๕๕๗ บชี รีสอรท์ จงั หวดั จันทบุรี ๔ เม.ย. ๕๗ โครงการสัมมนาเชงิ ปฎิบัติการ ห้องประชุม ๕๐๖ น.ส.กันทิมา ออ่ นละออ \"จากห้องเรียนสตู่ ารา\" อาคารสริ นิ ธร ผศ.ดร.กฤษณะ ชนิ สาร ดร.คนงึ นจิ กุโบลา น.ส.เบญจภรณ์ จันทรกองกลุ นายประจกั ษ์ จติ เงนิ มะดนั นายประวิทย์ บญุ มี น.ส.สภุ าวดี ศรีคาดี ผศ.ดร.สวุ รรณา รัศมีขวัญ น.ส.กมลวรรณ แสงระวี นายสิทธิพงษ์ ฉมิ ไทย น.ส.นิตยา ติรพงษ์พฒั น์ น.ส.อรอนงค์ รอ้ ยทา ๒๔ เม.ย. ๕๗ โครงการการจัดการความรู้เพ่อื SD319 อาคารสริ นิ ธร น.ส.กันทิมา ออ่ นละออ พัฒนาคณาจารย์และนิสติ ผศ.ดร.กฤษณะ ชินสาร ในการดาเนนิ การวจิ ัยและจดั การ ดร.โกเมศ อมั พวัน เรยี นการสอนวชิ าวทิ ยานิพนธ์ ดร.คนงึ นิจ กุโบลา น.ส.จรรยา อ้นปนั ส์ ดร.ณัฐนนท์ ลลี าตระกูล นายภสู ติ กุลเกษม นายประจกั ษ์ จติ เงนิ มะดัน นายพรี ะศักดิ์ เพยี รประสิทธ์ิ ผศ.ดร.สนุ สิ า ริมเจรญิ น.ส.สภุ าวดี ศรคี าดี ผศ.ดร.สวุ รรณา รัศมขี วัญ ดร.อุรรี ฐั สขุ สวสั ดชิ์ น 21

การพัฒนาศกั ยภาพบุคลากร ในการฝึกอบรม ดงู าน และประชุมสัมมนาของบุคลากรคณะวิทยาการสารสนเทศ วนั เดอื น/ป/ี หวั ขอ้ สถานท่ี ผเู้ ข้าร่วม นางระวนี ันท์ ชสู นิ ชินภทั ร ๗ – ๘ พ.ค. ๕๗ เทคนคิ การสร้างแบรนด์สินคา้ สานกั คอมพวิ เตอร์ น.ส.กุลชลี รัตนคร ๑๒ – ๑๖ พ.ค. ๕๗ ให้นา่ สนใจดว้ ย Photoshop และ มหาวทิ ยาลยั บรู พา ๑๔ – ๑๖ พ.ค. ๕๗ การประชาสัมพันธ์แนวใหม่ ผศ.นวลศรี เด่นวัฒนา ศกึ ษาดูงาน ระบบเข้ารบั Japanese Red Cross การศึกษา Admission System College Of Nursing ดร.คนงึ นิจ กุโบลา ประเทศญี่ปุน ดร.จักรนิ สุขสวสั ดิ์ชน ประชุมวิชาการนานาชาตริ ่วม โรงแรมสยามเบยช์ อร์ ดร.ณฐั นนท์ ลลี าตระกูล สาขาวิทยาการคอมพิวเตอร์และ รสี อรท์ แอนดส์ ปา ผศ.ดร.สนุ สิ า ริมเจรญิ วศิ วกรรมซอฟต์แวร์ ครั้งที่ ๑๑ เมืองพัทยา จงั หวัดชลบรุ ี ดร.อรุ รี ฐั สขุ สวสั ดชิ์ น (JCSSE2014) ผศ.ดร.สวุ รรณา รัศมขี วัญ นายภสู ติ กลุ เกษม ๑๖ พ.ค. ๕๗ สมั มนาแนวทางการพัฒนาบคุ ลากร ศูนยบ์ ณั ฑติ ศึกษา ๒๐ พ.ค. ๕๗ ทางด้านการรักษาความปลอดภยั วทิ ยาลยั นานาชาติ นายเกรยี งศกั ด์ิ ปานโพธ์ทิ อง ๒๒ พ.ค. ๕๗ สารสนเทศสาหรับสถาบันการศึกษา มหาวทิ ยาลยั มหดิ ล ๒๗ พ.ค. ๕๗ ของประเทศไทย ผศ.ดร.สนุ สิ า ริมเจรญิ มหาวทิ ยาลยั เกษตรศาสตร์ ๑๘ – ๒๐ ม.ิ ย. ๕๗ Enterprise Linux System บางเขน น.ส.หรรษา รอดเงิน Administration สถาบนั เทคโนโลยี น.ส.ศริ จิ นั ทร์ แซ่ลี้ พระจอมเกล้าเจา้ คณุ ทหาร โครงการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ ลาดกระบัง ผศ.ดร.สวุ รรณา รศั มขี วัญ เทคนิคการสอนโดยผเู้ รียนเป็น สานักคอมพวิ เตอร์ ผศ.ดร.กฤษณะ ชนิ สาร สาคัญ มหาวทิ ยาลยั บูรพา ดร.จกั ริน สขุ สวสั ดชิ์ น น.ส.จรรยา อน้ ปนั ส์ โครงการเตรยี มความพร้อม โรงแรม เดอะ รอยลั เจมส์ ดร.ณัฐนนท์ ลลี าตระกูล ส่อู าเซียน ประจาปีงบประมาณ กอลฟ์ รสี อรท์ นายประจกั ษ์ จติ เงนิ มะดัน พ.ศ. ๒๕๕๗ (โครงการพัฒนา จังหวดั นครปฐม นายพรี ะศกั ด์ิ เพยี รประสิทธ์ิ กาลงั คนด้าน ICT) หลักสูตร Tips นายภูสติ กุลเกษม & Tricks for Microsoft Excel การฝกึ อบรมเชงิ ปฏิบัติการสหกิจ ศึกษา หลกั สตู รคณาจารย์ นิเทศสหกิจศกึ ษา รุ่นที่ ๒ 22

การพัฒนาศกั ยภาพบุคลากร ในการฝึกอบรม ดงู าน และประชุมสัมมนาของบคุ ลากรคณะวทิ ยาการสารสนเทศ วันเดอื น/ป/ี หวั ข้อ สถานท่ี ผเู้ ข้ารว่ ม ๒๖ – ๒๗ มิ.ย. ๕๗ ๑๘ – ๑๙ ก.ค. ๕๗ การบรหิ ารสารบรรณด้านการ สานักบริการวิชาการ นายวทิ วัส พนั ธุมจินดา ๒๘ ก.ค. ๕๗ จดั เก็บเอกสาร และการทาลาย มหาวิทยาลยั บูรพา ผศ.ดร.สุนสิ า รมิ เจรญิ เอกสาร น.ส.สภุ าวดี ศรคี าดี ๓๑ ก.ค. – ๑ ส.ค. นางสุพรรษา ฉันทพันธ์ุ ๕๗ การเขียนหนังสือราชการ หนังสือ สานกั บรกิ ารวิชาการ น.ส.นติ ยา ติรพงษพ์ ัฒน์ โต้ตอบ เพื่อประสานงานทง้ั ภายใน มหาวทิ ยาลยั บูรพา ๗ ส.ค. ๕๗ น.ส.กมลวรรณ แสงระวี และภายนอกองคก์ รใหม้ ี น.ส.ทัศยา สุขผ่อง ๒๗ – ๒๘ ส.ค. ๕๗ ประสิทธภิ าพ น.ส.ปัทมา วชริ พันธ์ุ การเขยี นผลงานทางวชิ าการ ห้องประชุมโรงแรมเทาทอง นายเหมรศั ม์ิ วชิรหตั ถพงษ์ อย่างไรไม่ละเมดิ ลิขสทิ ธิ์และ ดร.จักรนิ สุขสวสั ดชิ์ น ไมค่ ัดลอกผลงานทางวิชาการ ดร.อุรรี ฐั สขุ สวสั ดิช์ น น.ส.สภุ าวดี ศรีคาดี ปฐมนิเทศพนกั งานและลูกจ้าง องิ ธารรีสอรท์ น.ส.กนั ทมิ า อ่อนละออ มหาวทิ ยาลยั บูรพา ประจาปี จงั หวดั นครนายก น.ส.จรรยา อน้ ปนั ส์ งบประมาณ ๒๕๕๗ น.ส.จรรยา อน้ ปันส์ นายจกั ร์กฤษณ์ บตุ รคาอา ขับเคลอ่ื นองค์กรภาครัฐและ โรงแรมเชอราตัน แกรนด์ น.ส.ทัศยา สุขผ่อง รัฐวิสาหกิจดว้ ยเทคโนโลยขี ้อมลู สขุ ุมวิท กรุงเทพฯ นายมาโนชญ์ ใจกว้าง สารสนเทศเพ่อื กา้ วสู่ความเป็นเลศิ นายศกั ดา บญุ ภา ในโลกเชอ่ื มต่อยคุ ประชาคม โรงแรมฟรู ามา่ กรุงเทพฯ นายสทิ ธชิ ัย สมพันธุ์ เศรษฐกจิ อาเซยี น นางสพุ รรษา ฉันทพนั ธุ์ ดร.ณัฐนนท์ ลีลาตระกลู Intensive EdPEx หมวด ๒ การวางแผนกลยุทธ์ ผศ.ดร.สวุ รรณา รัศมขี วญั ดร.คนงึ นิจ กโุ บลา น.ส.เบญจภรณ์ จนั ทรกองกลุ น.ส.อรอนงค์ ร้อยทา 23

การพัฒนาศักยภาพบุคลากร ในการฝกึ อบรม ดูงาน และประชุมสัมมนาของบคุ ลากรคณะวิทยาการสารสนเทศ วันเดอื น/ป/ี หัวขอ้ สถานที่ ผู้เข้าร่วม ๒๙ ส.ค. ๕๗ ห้องประชมุ โรงแรมเทาทอง การคิดโจทย์วจิ ัยและการสรา้ งแรง น.ส.กนั ทมิ า อ่อนละออ บนั ดาลใจในการดาเนนิ การวิจัย ดร.ทัศนยี ์ เจริญพร ดร.ณัฐนนท์ ลีลาตระกลู การสง่ เสรมิ ทนุ การศึกษาของบคุ ลากร ระดบั การศึกษา ชือ่ ผูร้ ับทุน สาขาวิชา สถาบนั ปรญิ ญาเอก นายวรวิทย์ วรี ะพันธ์ุ วท.ด. วทิ ยาการคอมพิวเตอร์ จุฬาลงกรณม์ หาวทิ ยาลัย และเทคโนโลยีสารสนเทศ มหาวทิ ยาลยั บูรพา ปริญญาโท นายกรสหนนั ท์ ต่อพงษ์พนั ธุ์ คณะวทิ ยาศาสตร์ กศ.ม. การบรหิ ารการศึกษา คณะศึกษาศาสตร์ 24

การประกนั คุณภาพการศกึ ษา คณะวิทยาการสารสนเทศ ได้ตระหนักเห็นความสาคญั ของการประกันคุณภาพทจี่ ะนาไปสูก่ ารพัฒนา และยกระดับการจัดการศึกษาระดับอุดมศึกษาจึงได้ดาเนินการจัดการประเมินตนเอง โดยยึดมาตรฐานตวั บ่งช้ี และเกณฑ์การประเมนิ คณุ ภาพภายในระดบั คณะและประเมินคุณภาพภายนอกรอบสาม ไดน้ าผลการประเมนิ โดยคณะกรรมการประเมินคุณภาพการศึกษาภายใน ซ่ึงแต่งต้ังโดยมหาวิทยาลยั บูรพา ตามคาสง่ั มหาวิทยาลัย บรู พา ท่ี ๑๑๒๙/๒๕๕๗ เรื่อง แต่งตั้งคณะกรรมการประเมินคณุ ภาพการศึกษาภายใน มหาวทิ ยาลัยบรู พา ระดับ สว่ นงาน ลงวนั ที่ ๑๐ มถิ ุนายน พ.ศ. ๒๕๕๗โดยแจง้ ให้คณะกรรมการบรหิ ารคณะฯ ทราบและได้มีการปรับปรุง พฒั นาตนเองอย่างต่อเน่ือง ซ่ึงในวงรอบการประเมนิ ปีการศึกษา ๒๕๕๖ ผลการดาเนินงานของคณะวทิ ยาการ สารสนเทศ มหาวทิ ยาลัยบูรพา ในภาพรวมมีคณุ ภาพอยู่ในระดบั ดี (๔.๑๗ คะแนน) จุดเด่น ๑. มีการปรบั ปรุงแผนยุทธศาตร์ ให้สอดคล้องกบั ภารกจิ หลักของคณะฯ โดยการมสี ว่ นรว่ มของ บคุ ลากร เป็นแนวทางกาหนดทิศทางของคณะฯ ทีช่ ดั เจนขึ้น ๒. มแี ผนยทุ ธศาสตร์และโครงการพฒั นานสิ ิต ตามคุณลกั ษณะบณั ฑติ ท่ีพึงประสงค์ ท้ังในระดบั คณะ ระดับมหาวิทยาลัย ระดบั ชาติและระดบั นานาชาติ ๓. มกี ารบรกิ ารวชิ าการแกส่ งั คมที่หลากหลายและต่อเนื่อง ๔. มกี ารบูรณาการงานด้านทานุบารุงศลิ ปวัฒนธรรมกบั การเรียนการสอนในรายวชิ าได้เปน็ อย่างดี ๕. มกี ารบริหารจดั การด้านการเงินทดี่ ี โปร่งใส และตรวจสอบได้ ๖. บุคลากรของคณะฯ ท้งั ผู้บรหิ ารและผ้ปู ฏิบัติงานมีความตระหนกั และรว่ มมือกนั ดาเนินงานประกนั คุณภาพการศึกษาจนเปน็ ระบบท่ดี ีและมีการเขียนรายงานการประเมนิ ตนเอง (SAR) ท่ีชัดเจนมากขน้ึ จุดที่ควรพฒั นา ๑. จานวนอาจารยป์ ระจาทม่ี คี ุณวุฒิปรญิ ญาเอกและทด่ี ารงตาแหน่งทางวชิ าการน้อย ๒. มผี ลงานวจิ ัยและผลงานทางวิชาการน้อย ประเดน็ เรง่ ดว่ นในการพัฒนา ๑. คณะฯ ควรมีแผนพัฒนาคณาจารยใ์ นดา้ นการส่งเสริมใหค้ ณาจารย์ไปศกึ ษาตอ่ ระดบั ปริญญาเอก หรอื กระตุ้นใหค้ ณาจารย์เขา้ สู่ตาแหนง่ วชิ าการ ๒. ควรมีกลยทุ ธ์ในการสร้างสมดุลของภาระงานดา้ นอื่นกบั ภาระงานวจิ ัย ๓. ควรมกี ารสร้างเครือข่ายการทาวจิ ัยกับกล่มุ วิจยั ทมี่ ีศกั ยภาพสงู ในสถาบันอ่ืน 25

ด้านการผลิตบัณฑติ คณะวทิ ยาการสารสนเทศ มงุ่ เนน้ ผลิตบัณฑิตท่ีมคี ุณภาพ สามารถตอบสนองต่อการพัฒนา อตุ สาหกรรมซอฟตแ์ วร์ของประเทศ ตรงตอ่ ความต้องการของตลาดแรงงาน สอดคลอ้ งกับเทคโนโลยี ทมี่ ีการเปล่ียนแปลงอยา่ งต่อเนือ่ ง และเปน็ ไปตามวสิ ยั ทัศน์ของมหาวทิ ยาลัยบรู พา พ.ศ. ๒๕๕๔ – ๒๕๖๓ หลักสตู ร คณะวิทยาการสารสนเทศ ได้ทาการเปิดการสอนท้ังหมด ๓ สาขาวิชา ได้แก่ สาขาวชิ าวิทยาการ คอมพิวเตอร์ สาขาวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศ และสาขาวิชาวศิ วกรรมซอฟต์แวร์ มีนสิ ติ ท้ังส้ินโดยประมาณ ๑,๖๙๒ คน (ข้อมูล ณ วนั ท่ี ๑๔ ตุลาคม พ.ศ. ๒๕๕๗) และมกี ารสอนวชิ าศึกษาทวั่ ไปและวิชาบริการอีก ปลี ะประมาณ ๑๐,๐๐๐ คน โดยคณะวิทยาการสารสนเทศ ได้เปดิ การสอนทง้ั หมด ๖ หลักสตู ร ดังน้ี ๑. หลักสตู รวิทยาศาสตรบัณฑติ สาขาวชิ าวิศวกรรมซอฟตแ์ วร์ หลักสตู รใหม่ พ.ศ. ๒๕๕๓ ๒. หลกั สูตรวิทยาศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาวทิ ยาการคอมพวิ เตอร์ หลักสตู รปรบั ปรงุ พ.ศ. ๒๕๕๔ ๓. หลกั สูตรวทิ ยาศาสตรบณั ฑิต สาขาวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศ หลักสูตรใหม่ พ.ศ. ๒๕๕๔ ๔. หลักสูตรวิทยาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศ หลกั สูตรปรับปรงุ พ.ศ. ๒๕๕๔ ๕. หลกั สูตรวทิ ยาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวชิ าวทิ ยาการคอมพิวเตอร์ หลักสูตรใหม่ พ.ศ. ๒๕๕๔ ๖. หลกั สตู รปรชั ญาดษุ ฎบี ณั ฑิต สาขาวิชาวิทยาการคอมพวิ เตอร์ หลกั สตู รปรับปรงุ พ.ศ. ๒๕๕๔ สถิตแิ ละจานวนนสิ ิต หนว่ ย: คน จานวนนิสติ ทร่ี ับเขา้ ในปกี ารศกึ ษา ๒๕๕๗ รวม ระดับการศกึ ษา ปริญญาตรี ปรญิ ญาโท ปรญิ ญาเอก สาขาวิชา ๒๐๑ ๑๙๙ ๒ - ๒๔๙ สาขาวชิ าวทิ ยาการคอมพวิ เตอร์ ๒๒๖ ๒๓ - ๑๗๐ สาขาวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศ ๑๗๐ - - ๖๒๐ สาขาวิชาวศิ วกรรมซอฟต์แวร์ ๕๙๕ ๒๕ - รวม 26

สถิตินิสติ ปีการศึกษา ๒๕๕๕ – ๒๕๕๗ หนว่ ย: คน ระดับการศึกษา ปรญิ ญาตรี ปรญิ ญาโท ปริญญาเอก รวม ปกี ารศึกษา ๑,๕๕๔ ๑,๔๒๙ ๑๑๘ ๗ ๑,๔๕๓ ๒๕๕๕ ๑,๓๖๕ ๘๔ ๔ ๑,๖๙๒ ๒๕๕๖ ๑,๖๓๑ ๗๔ ๕ ๒๕๕๗ จานวนนิสติ ท้ังหมดในปีการศกึ ษา ๒๕๕๗ หนว่ ย: คน ระดบั การศกึ ษา ปริญญาตรี ปริญญาโท ปรญิ ญาเอก รวม สาขาวิชา ๕๗๕ ๖๘ - ๖๔๓ สาขาวชิ าวทิ ยาการคอมพิวเตอร์ ๕๖๗ ๖ ๕ ๕๗๘ สาขาวชิ าเทคโนโลยสี ารสนเทศ ๔๗๑ - - ๔๗๑ สาขาวชิ าวศิ วกรรมซอฟต์แวร์ ๑,๖๑๓ ๗๔ ๕ ๑,๖๙๒ รวม จานวนนสิ ติ ทส่ี าเร็จการศกึ ษาในปกี ารศึกษา ๒๕๕๖ หน่วย: คน ระดบั การศกึ ษา ปรญิ ญาตรี ปริญญาโท ปริญญาเอก รวม สาขาวิชา ๑๒๓ ๒ - ๑๒๕ สาขาวชิ าวิทยาการคอมพิวเตอร์ ๙๑ ๒๐ - ๑๑๑ สาขาวิชาเทคโนโลยสี ารสนเทศ - - - สาขาวชิ าวศิ วกรรมซอฟต์แวร์ ๒๑๔ ๒๒ - - ๒๓๖ รวม 27

ทุนการศกึ ษา คณะวทิ ยาการสารสนเทศ ได้มกี ารจัดสรรทนุ การศกึ ษาเพ่อื สนับสนนุ การศกึ ษาให้กับนิสิตท่ีมีผลการ เรยี นดี มคี ณุ ธรรม กิจกรรมเด่น หรอื ขาดแคลนทุนทรัพย์ในการศึกษา ซึ่งในปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๕๗ รายละเอียดการจดั สรรทุนการศกึ ษา ดังน้ี ทุนการศึกษาจากเงินรายไดข้ องคณะวิทยาการสารสนเทศ ประเภททนุ การศึกษา จานวน )ทนุ ( ทุนละ )บาท( รวม )บาท( ทนุ ส่งเสรมิ การศึกษา ๔ ๓,๐๐๐ ๑๒,๐๐๐ ทุนกิจกรรม ๑๒ ๓,๐๐๐ ๓๖,๐๐๐ ทนุ ผลการเรยี นดเี ด่น ๑๔ ๓,๐๐๐ ๔๒,๐๐๐ ทนุ ขาดแคลนทนุ ทรัพย์ ๑๕ ๙,๐๐๐ ๑๓๕,๐๐๐ ทนุ พัฒนาศักยภาพนิสิตทางวิชาการ ๒ ๙,๐๐๐ ๙,๐๐๐ รวม ๔๗ ทุน ๒๔๓,๐๐๐ 28

ผลงานนสิ ิตทไี่ ด้รับรางวัล นิสิตของคณะวทิ ยาการสารสนเทศ ได้สร้างชือ่ เสยี งเกียรตคิ ุณจนได้รบั รางวลั ยกย่อง และเป็นทย่ี อมรบั ของสงั คม ดังนี้ ชอ่ื – นามสกุล รางวัล/ หน่วยงานทมี่ อบ วนั เดือน ปี ชื่อกจิ กรรม/โครงการ ประกาศ น.ส.เสาวคนธ์ ศรบี ตุ รชนิ เกยี รติคณุ เครือขา่ ยสหกจิ ศกึ ษา ๑๓ ก.พ. ๕๗ โครงงานสหกจิ ศึกษา ประเภท ภาคตะวนั ออก โครงงานสายวทิ ยาศาสตร์และ นายอานันท์ ศรสี ันตสิ ุข รางวลั ที่ ๓ ๒๐ – ๒๑ เทคโนโลยี เน่อื งในวนั สหกิจ น.ส.เจนจริ า คงมาก มหาวิทยาลยั ศรีปทุม ก.พ. ๕๗ ศกึ ษาภาคตะวนั ออก คร้ังที่ ๔ น.ส.มาลินี มีโพธิ์ ระดบั ดเี ด่น วิทยาเขตชลบุรี น.ส.จันทกานต์ สพรัง่ ผล ระดับดีเด่น โครงการประชมุ วิชาการปรญิ ญา นายทวศี กั ดิ์ เอ่ยี มสวสั ด์ิ ระดับดีเด่น ตรีดา้ นคอมพวิ เตอร์ภมู ิภาค นายวันปิติ ทงั้ วชั รพงศ์ ระดับดีเดน่ อาเซียน (the ASEAN นายธีรวตั เนตรปยิ ะฉตั ร Undergraduate Conference น.ส.นฤมล รตั นปรยี านชุ ระดับดี in Computing : AUC2 ) น.ส.ณฏั ฐนันท์ แสงสรุ ิย์ ระดบั ดี น.ส.ขวัญแกว้ รอดไพร ระดับดี น.ส.ปรวรวรรณ อาชาภชิ าติ ระดับดี นายธาม แกว้ สนธิ ระดับดี ระดบั ดี ระดบั ดี ระดับดี 29

กิจกรรมพฒั นานิสิต นอกเหนือจากภารกจิ หลักดา้ นการเรยี นการสอน คณะวิทยาการสารสนเทศยงั ได้ส่งเสรมิ และใหก้ าร สนบั สนนุ กจิ กรรมอน่ื ๆ ทเ่ี กี่ยวขอ้ งในการผลติ บัณฑิตให้มีศักยภาพและตรงตามคุณลักษณะบณั ฑติ ที่พึง ประสงค์อกี ด้วย โดยกจิ กรรมทผ่ี ้เู ขา้ ร่วมจะมโี อกาสได้รับการพฒั นาสติปญั ญา สังคม อารมณ์ ร่างกาย และ คณุ ธรรมจรยิ ธรรม สอดคล้องกบั คุณลักษณะของบัณฑิตทพ่ี ึงประสงค์ ๕ ประการ คือ ๑) ความรู้ ๒) ทกั ษะ ทางการคดิ ๓) ทักษะความสัมพันธร์ ะหว่างบุคคลและความรบั ผดิ ชอบ ๔) ทกั ษะการวเิ คราะห์และการสื่อสาร และ ๕) การพฒั นาคุณธรรม จริยธรรม กิจกรรมพฒั นานิสิต จานวนกิจกรรม จานวนนิสติ ผเู้ ข้ารับบริการ ๑. การจดั บรกิ ารแกน่ ิสิต ๒๗ ๒. การสง่ เสรมิ กิจกรรมนิสติ ที่ครบถว้ นและสอดคล้องกับ ๑๗ ๑,๙๕๕ คุณลกั ษณะของบัณฑิตที่พึงประสงค์ ๔,๒๑๖ ลาดบั โครงการ วันทีจ่ ดั ผู้รบั ผิดชอบ งบประมาณ โครงการ )บาท( ๑. โครงการเดก็ ไทยมดี ีใชไ้ อทเี พือ่ ชุมชน นางระวนี ันท์ ชสู ินชนิ ภทั ร ณ ศนู ย์การศกึ ษาและพฒั นาชมุ ชนนครนายก 16 ต.ค.56 นายประจักษ์ จติ เงนิ มะดัน 0 ชุมชนบ้านดง ต.สาริกา จ.นครนายก 24 ต.ค. 56 นางระวีนนั ท์ ชสู นิ ชินภทั ร 0 ๒. โครงการเด็กไทยมดี ใี ชไ้ อทีเพอ่ื ชมุ ชน นายประจักษ์ จติ เงนิ มะดัน ณ โรงเรยี นชมุ ชนบ้านช่องแสมสาร ต.แสมสาร อ.สัตหีบ จ.ชลบรุ ี 7 พ.ย. 56 สาขาวิชาวทิ ยาการคอมพวิ เตอร์ 6,510 ๓. โครงการเสวนาและรับฟังความคดิ เหน็ สาธารณะ 21 พ.ย. 56 ผศ.ดร.กฤษณะ ชนิ สาร 12,900 จากนสิ ติ คณะวทิ ยาการสารสนเทศ ประจาปี การศึกษา ๒๕๕๖ 28 พ.ย. 56 สาขาวิชาเทคโนโลยสี ารสนเทศ 5,360 ๔. โครงการศกึ ษาดูงานดา้ นคอมพิวเตอรข์ องนสิ ิต 4 ธ.ค. 56 สาขาวชิ าวทิ ยาการคอมพวิ เตอร์ 5,000 สาขาวิชาวทิ ยาการคอมพวิ เตอร์ ๕. โครงการการเรยี นรจู้ ากผู้มีความเชย่ี วชาญ “เตมิ ไฟ เติมฝนั ” ๖. โครงการการเรยี นร้จู ากผูม้ ีความเช่ยี วชาญ \"กจิ การกระจายเสยี ง กจิ การโทรทัศน์ และกิจการ โทรคมนาคม\" 30

ลาดบั โครงการ วนั ทจ่ี ดั ผรู้ บั ผิดชอบ งบประมาณ โครงการ )บาท( ๗. โครงการจติ อาสาวิทยาการสารสนเทศ 25 ธ.ค. 56 น.ส.ชนากานต์ แม้นญาติ 13,852 ฟนื้ ฟศู าสนสถาน นางระวีนันท์ ชูสินชินภัทร นายประจักษ์ จติ เงินมะดนั ๘. โครงการศกึ ษาดงู านด้านคอมพิวเตอร์ของนสิ ิต ๑๖ ม.ค. 57 สาขาวชิ าวิศวกรรมซอฟต์แวร์ 25,525 สาขาวชิ าวศิ วกรรมซอฟตแ์ วร์ ณ บริษทั ไทยเพรซิ เดนทฟ์ ูดส์ จากดั (มหาชน) ๙. โครงการศึกษาดงู านด้านคอมพิวเตอร์ของนสิ ิต 16 ม.ค. 57 สาขาวชิ าเทคโนโลยีสารสนเทศ 450 สาขาวชิ าเทคโนโลยสี ารสนเทศ ณ บรษิ ัท ทีโอที จากดั (มหาชน) ๑๐. โครงการศกึ ษาดงู านด้านคอมพิวเตอร์ของนสิ ิต ๓๐ ม.ค. 57 สาขาวชิ าวศิ วกรรมซอฟต์แวร์ 16,205 สาขาวิชาวศิ วกรรมซอฟต์แวร์ ณ มหาวิทยาลยั บูรพา วิทยาเขตสระแกว้ ๑๑. โครงการกฬี าหรือการส่งเสรมิ สขุ ภาพของสาขาวชิ า 19 ม.ค. 57 นายสรธิญ ชลารกั ษ์ 9,013 เทคโนโลยสี ารสนเทศ “IT Games” น.ส.ชนากานต์ แม้นญาติ นายกรสหนันท์ ต่อพงษ์พันธุ์ ดร.อุรรี ัฐ สุขสวสั ดช์ิ น ๑๒. โครงการกฬี าประเพณสี ามวทิ ย์ ครง้ั ท่ี ๓ 18 ม.ค. 57 นายสาธิต ขันธชัย 9,975 (SIA Games #3) นายกรสหนันท์ ต่อพงษ์พันธ์ุ นายประจักษ์ จติ เงินมะดนั ๑๓. โครงการเลอื กตั้งนายกสโมสรนสิ ิต 20 ม.ค. 57 นายชยั วัฒน์ งาสาร 917 นายกรสหนนั ท์ ต่อพงษ์พันธ์ุ นางระวีนันท์ ชสู ินชินภัทร นายประจักษ์ จิตเงนิ มะดัน ๑๔. โครงการการเรยี นรจู้ ากผมู้ ีความเชย่ี วชาญ 23 ม.ค. 57 สาขาวชิ าวิศวกรรมซอฟต์แวร์ 13,687 วิศวกรรมความตอ้ งการจากมุมมองด้านธุรกจิ ๑๕. โครงการการเรยี นรู้จากผูม้ คี วามเชี่ยวชาญ 25 ม.ค. 57 สาขาวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศ 7,800 “ไอทีจเู นยี ร์ สร้างสดุ ยอดนักไอทใี นอนาคต: SysAdmin Junior” ๑๖. กจิ กรรมเตรยี มความพรอ้ มในรายวชิ าสหกิจศึกษา 30 ม.ค. 57 ดร.อุรรี ฐั สุขสวสั ดิ์ชน 5,000 “R&D กับงานราชการ และผู้ประกอบการรนุ่ ใหม”่ น.ส.กันทมิ า ออ่ นละออ 31

ลาดับ โครงการ วันท่จี ดั ผรู้ ับผดิ ชอบ งบประมาณ โครงการ )บาท( ๑๗. โครงการปัจฉมิ นิเทศนสิ ติ ช้นั ปีที่ ๔ 13 ก.พ. 57 Informatics Night นายชยั วัฒน์ งาสาร 123,535 13 ก.พ. 57 นายกรสหนนั ท์ ตอ่ พงษพ์ ันธุ์ ๑๘. โครงการเตรยี มความพร้อมในรายวิชาสหกิจศึกษา นางระวนี นั ท์ ชูสนิ ชนิ ภัทร “การประกวดโครงงานสายวิทยาศาสตรแ์ ละ นายประจกั ษ์ จติ เงนิ มะดนั เทคโนโลยีงานสหกจิ ศกึ ษา ภาคตะวันออก คร้ังที่ ๔” สาขาวิชาวทิ ยาการคอมพวิ เตอร์ 1,300 ๑๙. โครงการสร้างเสรมิ ประสบการณว์ ชิ าการสาหรบั นิสติ เข้าร่วมประชมุ วชิ าการปริญญาตรดี ้าน 20 - 21 รองคณบดฝี าุ ยวิชาการ 26,500 คอมพวิ เตอร์ภมู ภิ าคอาเซียน (the ASEAN ก.พ. 57 Undergraduate Conference in Computing (AUCC)) 20 ก.พ. 57 สาขาวชิ าวทิ ยาการคอมพิวเตอร์ 3,860 ๒๐. โครงการเตรยี มความพร้อมในรายวิชาสหกจิ ศึกษา 22 ก.พ. 57 นายประจกั ษ์ จติ เงนิ มะดัน 7,324 “ฝกึ ทกั ษะการเขยี นจดหมายสมคั รงาน 24 ก.พ. 57 สาขาวิชาวทิ ยาการคอมพิวเตอร์ 1,960 การเขยี นประวตั ิ และการสัมภาษณ์งาน” 6 ม.ี ค. 57 สาขาวชิ าวทิ ยาการคอมพวิ เตอร์ 0 ๒๑. โครงการนานสิ ิตเขา้ ร่วมโครงการอบรมและ เสวนาระบบประกันคณุ ภาพนสิ ติ 8 มี.ค. 57 สาขาวชิ าวิทยาการคอมพวิ เตอร์ 15,040 8 ม.ี ค. 57 สาขาวชิ าเทคโนโลยีสารสนเทศ 22,010 ๒๒. โครงการเตรยี มความพร้อมในรายวชิ าสหกิจศึกษา “แนะนาหลักสูตรอบรมเตรยี มความพรอ้ มใน 10 – 22 รองคณบดีฝาุ ยวชิ าการ 53,029 รายวิชาสหกจิ ศกึ ษาของคณะฯ” ม.ี ค. 57 สาขาวิชาวิทยาการคอมพวิ เตอร์ สาขาวชิ าเทคโนโลยสี ารสนเทศ ๒๓. โครงการเตรยี มความพร้อมในรายวชิ าสหกจิ ศกึ ษา สาขาวชิ าวศิ วกรรมซอฟตแ์ วร์ “การรายงานผลการฝึกปฏบิ ัติงานสหกจิ ศกึ ษาของ นสิ ิตสาขาวิชาวิทยาการคอมพวิ เตอร์ เพอื่ สาขาวิชาวทิ ยาการคอมพิวเตอร์ แลกเปลย่ี นเรยี นร”ู้ สาขาวิชาเทคโนโลยสี ารสนเทศ สาขาวิชาวิศวกรรมซอฟตแ์ วร์ ๒๔. โครงการเตรยี มความในรายวชิ าสหกิจศึกษา “การพัฒนาบุคลกิ ภาพ” ๒๕. โครงการสอบวดั ระดบั ทักษะโปรแกรม (Programming) ระดับตน้ ๒๖. โครงการเข้าอบรมการเตรยี มความพร้อม ในรายวิชาสหกจิ ศึกษา 32

ลาดับ โครงการ วันทจี่ ดั ผ้รู ับผิดชอบ งบประมาณ โครงการ )บาท( ๒๗. โครงการประชุมวชิ าการ The 2014 4th IEEE รองคณบดฝี าุ ยแผนงาน วจิ ัย Thailand Student Conference on Senior 20 ม.ี ค. 57 และบริการวชิ าการ 400 Capstone Project (IEEE SCAP 2014) ๒๘. โครงการค่ายฝึกพัฒนาซอฟต์แวร์ 30 มี.ค. – สาขาวชิ าวศิ วกรรมซอฟตแ์ วร์ 732,293 5 เม.ย. 57 ๒๙. โครงการเตรยี มความพร้อมในรายวชิ าสหกจิ ศึกษา 9 เม.ย. 57 สาขาวชิ าวศิ วกรรมซอฟตแ์ วร์ 15,552 ๓๐. โครงการศกึ ษาดงู านด้านคอมพวิ เตอรข์ องนิสิต 23 เม.ย. 57 สาขาวิชาเทคโนโลยสี ารสนเทศ 24,317 สาขาวชิ าเทคโนโลยสี ารสนเทศ ๓๑. โครงการเตรยี มความพร้อมสหกิจศึกษา 6 พ.ค. 57 สาขาวชิ าเทคโนโลยสี ารสนเทศ 5,000 ๓๒. โครงการสัมมนากจิ กรรมนสิ ติ 17 - 19 นายศรญั ญ์ จนั ทร์หา 70,000 พ.ค. 57 นายกรสหนนั ท์ ต่อพงษพ์ ันธุ์ นางระวีนันท์ ชสู ินชินภทั ร นายประจกั ษ์ จิตเงนิ มะดัน ๓๓. โครงการเตรยี มความพรอ้ มในรายวิชาสหกิจศกึ ษา 22 พ.ค. 57 สาขาวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศ ๑,๘๐๐ ๓๔. โครงการนานสิ ิตเข้ารว่ มประชุมวชิ าการ The 18th 30 ก.ค. - นางคนงึ นจิ กุโบลา 94,674 International Computer Sciences And 1 ส.ค. 57 นายกรสหนนั ท์ ตอ่ พงษ์พันธุ์ Engineering Conference ๓๕. โครงการคณะวทิ ยาการสารสนเทศพบผูป้ กครอง 3 ส.ค. 57 นายประจกั ษ์ จติ เงนิ มะดนั 2,250 นสิ ติ ใหม่ นางระวนี ันท์ ชสู นิ ชินภทั ร นายกรสหนันท์ ตอ่ พงษพ์ ันธ์ุ ๓๖. โครงการเตรยี มความพรอ้ มสาหรบั นสิ ติ ช้นั ปีท่ี ๑ 4 - 5 และ น.ส.ณฐั ชยา สขุ ุมาลพนั ธ์ 50,000 ประจาปกี ารศกึ ษา ๒๕๕๗ 7 ส.ค. 57 ๓๗. โครงการปฐมนเิ ทศนิสติ ใหม่ + ไหวค้ รู + ผกู ขอ้ มอื 8 ส.ค. 57 นายศรณั ญ์ จันทร์หา 50,000 + แรกพบ นายประจกั ษ์ จิตเงนิ มะดนั นางระวีนนั ท์ ชูสินชนิ ภัทร นายกรสหนนั ท์ ต่อพงษพ์ ันธุ์ ๓๘. โครงการเชอ่ื มสัมพันธ์เชยี ร์ คณะวทิ ยาการสารสนเทศ 11 - 31 นายศรณั ญ์ จันทรห์ า 19,700 ส.ค. 57 นายอรรถชยั โพธิ์สรุ นิ ทร์ 33

ลาดบั โครงการ วันทีจ่ ดั ผรู้ ับผิดชอบ งบประมาณ โครงการ )บาท( ๓๙. โครงการ \"เปดิ โลกทศั นส์ ูน่ วัตกรรม IT\" 18 - 20 ผศ.ดร.กฤษณะ ชินสาร 6,416 ส.ค. 57 นายกรสหนนั ท์ ต่อพงษพ์ ันธ์ุ นายวฒุ ิชัย เหลือเรืองรอง Mr.Keovessna Vong นายธนนิ ทร์ เมธิโยธิน น.ส.ณฐั ชยา สขุ มุ าลพันธ์ นายสกุ ฤษฏ์ิ วิโรจนช์ ยั ชาญ น.ส.ปาลชาติ หงสน์ นั ทกลุ ๔๐. โครงการสานสัมพันธ์บณั ฑติ คณะวิทยาการสารสนเทศ 30 ส.ค. 57 นายเมธนิ ทร์ เมธโิ ยธนิ 25,000 ประจาปีการศึกษา ๒๕๕๗ ๔๑. โครงการการเรยี นรู้จากผู้มคี วามเชีย่ วชาญ 4 ก.ย. 57 สาขาวิชาเทคโนโลยสี ารสนเทศ 7,710 “Fronted Engineering – The New Baseline for Front-end Developer” ๔๒. กิจกรรมเตรยี มความพรอ้ มในรายวชิ าสหกจิ ศกึ ษา 4 ก.ย. 57 สาขาวชิ าวทิ ยาการคอมพิวเตอร์ ๑,๘๐๐ \"การรายงานผลการฝกึ ปฏิบตั สิ หกจิ ศึกษา 7,500 ของนิสติ สหกิจศกึ ษาสาขาวชิ าวทิ ยาการคอมพิวเตอร์ 9,000 ภาคฤดรู อ้ น\" ๔๓. โครงการเสวนาและรบั ฟงั ความคิดเห็นสาธารณะ 11 ก.ย. 57 สาขาวชิ าวทิ ยาการคอมพวิ เตอร์ จากนิสติ \"กจิ กรรมนิสติ พบอาจารย์ท่ปี รึกษา สาขาวิชา น.ส.กมลวรรณ แสงระวี วทิ ยาการคอมพวิ เตอร์ คณะวิทยาการสารสนเทศ\" น.ส.ณฐั ชยา สุขมุ าลพนั ธ์ ประจาปกี ารศกึ ษา ๒๕๕๗ น.ส.สมุ าลี อสิ รโิ ยดม ๔๔. กิจกรรมเตรยี มความพร้อมก่อนสอบกลางภาคเรียน 15 - 20 ผศ.ดร.กฤษณะ ชนิ สาร ที่ ๑/๒๕๕๗ ก.ย. 57 นายกรสหนนั ท์ ตอ่ พงษ์พันธ์ุ น.ส.ณัฐชยา สุขุมาลพนั ธ์ น.ส.จามิกรณ์ เขจร นายไพบูลย์ นนั ก้อน นายสฤษด์ิ นุม่ ทองคา นายนันทวัฒน์ ภูทอง 34

ด้านการวิจัย คณะวทิ ยาการสารสนเทศ ให้การสนบั สนนุ และส่งเสรมิ การทาวิจัยของคณาจารย์ บุคลากร และนสิ ติ ของคณะฯ เพื่อพฒั นาความรู้ดา้ นการวจิ ยั และยงั มหี ้องปฏิบัตกิ ารสาหรับสนนุ งานวจิ ยั ได้แก่ ห้องปฏบิ ตั ิการ วจิ ยั เมฆบูรพา (Burapha Linux Laboratory) หอ้ งปฏบิ ตั ิการวิจยั วิศวกรรมระบบสารสนเทศ (Information System Engineering Research Laboratory: ISERL) ห้องปฏิบตั กิ ารวจิ ัย Mobile & Services Computing and Information Mining ห้องปฏบิ ัตกิ ารวจิ ยั Advanced Computer Graphic and Multimedia หอ้ งปฏิบัติการวจิ ยั Computational Innovative Laboratory หอ้ งปฏบิ ตั ิการวิจัย Knowledge and Smart Technology Research Center )KST) และห้องปฏิบัตกิ ารวจิ ัยนวัตกรรมการประมวลผล ท้งั นี้ การสง่ เสริม ด้านการวิจัยของคณะฯ สนองต่อเจตนารมณ์และปณิธานของมหาวทิ ยาลยั ในการก้าวสู่มหาวทิ ยาลยั วิจยั โดยมี รายละเอยี ดดังน้ี โครงการวิจัยจากงบประมาณเงนิ รายได้ของคณะวิทยาการสารสนเทศ ปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๕๗ จานวน ๗ ทนุ เปน็ จานวนเงิน ๗๖๐,๐๐๐ บาท ลาดบั ชื่อโครงการ ผวู้ จิ ัย จานวนเงนิ โครงการเดิม โครงการวิจยั )บาท( ต่อเน่อื ง ปีงบประมาณ ๔๕๐,๐๐๐ ถึงปี ๒๕๕๗ ๒๕๕๗ ๑ การจาแนกเครื่องใชไ้ ฟฟูาโดยใช้ ดร.ณฐั นนท์ ลลี าตระกลู  การตรวจสอบพลงั งานไฟฟูาผ่าน เครอื ข่ายเซ็นเซอรไ์ รส้ ายเพ่อื ช่วย ประหยดั พลงั งานและเพม่ิ ความ ปลอดภยั ในอาคาร ๒ โครงการพัฒนาระบบสาหรับติดตัง้ นางอธิตา ออ่ นเอ้ือน ๒๐๐,๐๐๐  ๑๐๐,๐๐๐  ซอฟต์แวร์ที่เกี่ยวข้องท้ังหมดบน ๑๐๐,๐๐๐  เคร่ืองแม่ข่าย คณะศกึ ษาศาสตร์ ประจาปงี บประมาณ ๒๕๕๗ ๓ การคน้ คืนภาพลายไทยโดยใช้ ๑. นายเหมรัศม์ิ วชิรหัตถพงศ์ มติ แิ ฟร็กทลั และคอรรีโลแกรม ๒. ดร.จักรนิ สุขสวสั ดช์ิ น แบบบล็อก ๓. ดร.อุรรี ฐั สุขสวสั ดช์ิ น ๔ การปรบั ปรุงวธิ กี ารเตมิ ค่าขอ้ มลู ท่ี ๑. ดร.จกั ริน สุขสวสั ดิช์ น หายไปในขนั้ ตอนวธิ กี ารกรองรว่ ม ๒. ดร.อรุ รี ฐั สุขสวสั ดช์ิ น โดยพจิ ารณาจากข้อมูลของผ้ใู ชท้ ง้ั ๓. นายเหมรศั ม์ิ วชริ หัตถพงศ์ ทางตรงและทางอ้อม 35

ลาดับ ชือ่ โครงการ ผู้วจิ ัย จานวนเงนิ โครงการเดมิ โครงการวิจยั )บาท( ต่อเน่อื ง ปีงบประมาณ ๑๐๐,๐๐๐ ถึงปี ๒๕๕๗ ๒๕๕๗ ๕ การพฒั นาอัลกอรทิ ึมสาหรับ ๑. ดร.อุรรี ฐั สุขสวสั ดช์ิ น ๑๐๐,๐๐๐  การวางแผนจัดมอื้ อาหารสาหรับ ๒. ดร.จกั ริน สขุ สวสั ดช์ิ น ๑๐๐,๐๐๐ ๖๐,๐๐๐ ผปู้ วุ ยโรคเบาหวานโดยใช้ข้อมลู ๕๐๐,๐๐๐ ส่วนบุคคล ๓๙๗,๐๐๐ ๖ การเพมิ่ ประสทิ ธภิ าพผลลพั ธ์ ดร.โกเมศ อัมพวัน ๓๕๐,๐๐๐  ๓๐๐,๐๐๐ สาหรบั การค้นหารูปแบบที่ปรากฏ บอ่ ยสุดเคอันดับแรกและปรากฏ อย่างสมา่ เสมอ ๗ ข้นั ตอนวธิ เี ชิงวิวฒั นาการสาหรบั ๑. ดร.ณัฐนนท์ ลีลาตระกูล   การสร้างแบบจาลองลายกนก ๒. ดร.สนุ สิ า รมิ เจรญิ ๓. นายเหมรศั ม์ิ วชิรหตั ถพงศ์ ๘ ระบบสารสนเทศเพอ่ื การจดั การ ๑. นายวิทวสั พันธมุ จินดา การตรวจข้อสอบแบบปรนยั จาก ๒. ดร.จักริน สุขสวสั ดิช์ น ภาพกระดาษคาตอบโดยใช้เทคนคิ ๓. ดร.อุรรี ฐั สุขสวสั ด์ชิ น วิธกี ารประมวลผลภาพดจิ ทิ ลั ๔. นายเหมรศั ม์ิ วชิรหตั ถพงศ์ กรณศี กึ ษา คณะวิทยาการ สารสนเทศ มหาวทิ ยาลยั บรู พา ๙ การตรวจจับการหกล้มของ นายภสู ติ กุลเกษม   ผสู้ งู อายุในหอ้ งพักในบ้านพัก  คนชรา  ๑๐ การตรวจหามะเรง็ เตา้ นมโดยการ ผศ.ดร.กฤษณะ ชินสาร ตรวจหามวลทมี่ รี ูปรา่ งแบบ Spiculation สาหรบั คอมพิวเตอร์ ช่วยการวินจิ ฉยั ในโรงพยาบาล ๑๑ การรู้จาอารมณ์จากเสบี งพดู ที่ นายภูสติ กุลเกษม แสดงความรูส้ กึ ดว้ ยวธิ กี าร แบ่งกลุ่มผสม ๑๒ วธิ กี ารทเ่ี หมาะสมสาหรับการ น.ส.เบญจภรณ์ จันทรกองกลุ แบ่งกลุม่ ขอ้ มลู ทไี่ ม่สมดลุ สูง 36

งานวิจัยท่ีได้รับตพี ิมพ์ในวารสารวชิ าการ งานวิจยั ทไ่ี ด้รบั ตีพิมพใ์ นรายงานสืบเน่อื ง (Proceeding) ระดับชาติ จานวน ๓ เรือ่ ง ชอ่ื ผู้วิจัย ช่ืองานวจิ ัย ชื่อวารสารทต่ี ีพิมพ์/ ปที ่ีพมิ พ์/ฉบบั ทพี่ ิมพ์/วนั เดอื นปที ่ีตพี มิ พ์/หน้าท่ลี งพิมพ/์ ช่ือประเทศ นางอธิตา อ่อนเอ้ือน และ การประยกุ ตซ์ อฟตแ์ วรร์ ะบบจดั การการ ผศ.นวลศรี เด่นวฒั นา ประชุมเพือ่ ใช้เป็นหลักฐานและข้อมลู CIT&UniNOMS2014/ ปีทพี่ ิมพ์ ๒๕๕๗/ นางอธติ า อ่อนเออ้ื น สาหรับงานประกนั คณุ ภาพการศกึ ษา หนา้ ๒๔-๒๘/ประเทศไทย ดร.จกั ริน สุขสวสั ดิ์ชน และ เทคนิคการใช้วดิ เจต็ กับการควบคมุ การ NCCIT2014/ ปที พี่ มิ พ์ ๒๕๕๗/ฉบบั ๑๐/ ดร.อุรรี ฐั สุขสวสั ด์ชิ น จดั การการเปลี่ยนแปลงของซอฟตแ์ วร์ หน้า ๘๖๕-๘๗๐/ประเทศไทย กรณีศกึ ษา: ระบบเพอ่ื การจัดข้อมลู งาน ประกนั คณุ ภาพการศึกษาของสถาบันพระ NCCIT2014/ ปีทพี่ ิมพ์ ๒๕๕๗/ฉบับ ๑๐/ บรมราชชนก PIEiS หนา้ ๕๑๕-๕๒๑/ประเทศไทย การคัดเลือกปัจจยั เด่นและการเปรยี บเทยี บ ประสิทธภิ าพเทคนิคการแยกประเภท งานวจิ ัยทไ่ี ด้รับตีพมิ พ์ในรายงานสืบเนื่อง (Proceeding) ระดบั นานาชาติ จานวน ๒ เรอ่ื ง ชอื่ ผวู้ ิจยั ชอ่ื งานวิจัย ชือ่ วารสารทต่ี ีพิมพ/์ ปีท่ีพิมพ์/ฉบบั ทพ่ี มิ พ์/วนั เดอื นปีท่ีตพี ิมพ์/หนา้ ทีล่ งพิมพ/์ ชื่อประเทศ นางสาวกนั ทมิ า อ่อนละออ และ นายประวิทย์ บญุ มี Conference Management Sysytem for Burapha University International นายธาม แก้วสนั ติ และ Information Technology Academic Conference 2014/ ปที พี่ มิ พ์ ๒๕๕๗/ นายประจักษ์ จิตเงินมะดนั Confence: A SaaS Approach หน้า ๒๖๑-๒๖๘/ประเทศไทย Google Web Speech API TCU International e-Learning Implementation Case Study: English Conference 2014/Vol. 5/ปีท่พี ิมพ์ Skill Online Practice ๒๕๕๗/หน้า ๔๙-๕๓/ประเทศไทย 37

ดา้ นการบรกิ ารวชิ าการ โครงการบริการวชิ าการแกส่ งั คม จากเงนิ รายได้มหาวทิ ยาลัย ปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๕๗ จานวน ๙ โครงการ เป็นจานวนเงนิ ๖๘๙,๕๐๓ บาท ลาดับ โครงการ วันทีจ่ ัด ผรู้ ับผิดชอบ งบประมาณ โครงการ )บาท( ๑. โครงการมหกรรมซอฟตแ์ วรม์ หาวทิ ยาลยั บรู พา 4 ธ.ค. นางอธิตา อ่อนเออื้ น 52,685 (BUU Software Festival) ครง้ั ที่ 1 ๕6 ๒. โครงการอบรมเชงิ ปฏบิ ตั กิ าร การจดั การเอกสาร 20 ธ.ค. เขตอตุ สาหกรรมซอฟตแ์ วร์ 1,320 ยคุ ใหมด่ ว้ ย Google Drive ครั้งท่ี ๑ 56 ภาคตะวันออก มหาวิทยาลัยบรู พา สมาคมสมาพันธ์โอเพนซอรส์ แหง่ ประะเทศไทย ๓. โครงการอบรมเชิงปฏบิ ัติการ การจดั การเอกสาร 8 ม.ค. เขตอตุ สาหกรรมซอฟตแ์ วร์ 1,260 ยุคใหมด่ ว้ ย Google Drive คร้ังท่ี ๒ 57 ภาคตะวนั ออก มหาวิทยาลัยบูรพา สมาคมสมาพนั ธโ์ อเพนซอรส์ แหง่ ประเทศไทย ๔. โครงการอบรมเชงิ ปฏบิ ัติการ เร่อื ง การตดิ ตง้ั และ 25 ม.ค. นางสุพรรษา ฉันทพันธุ์ 4,821 ปรบั แตง่ ซอฟตแ์ วรโ์ อเพนซอรส์ สาหรบั สรา้ งเครื่อง 57 แมข่ า่ ยเสมือน (Proxmox ve) สาหรับผดู้ ูแลระบบ ครั้งท่ี ๑ ๕. โครงการอบรมเชงิ ปฏบิ ตั กิ าร เรื่อง The Go 11 ก.พ. นางสุพรรษา ฉันทพันธ์ุ 1,395 Programming Language for Beginner 57 ๖. โครงการพัฒนาเครือขา่ ยความร่วมมือทางวิชาการ 24 - 25 ผศ.ดร.กฤษณะ ชินสาร 14,482 ระหวา่ งประเทศ เรื่อง การถา่ ยทอดความรดู้ ้าน ก.พ. 57 เทคโนโลยสี ารสนเทศแก่บุคลากรกระทรวงศึกษาธิการ และกีฬา ประเทศสาธารณรฐั ประชาธิปไตย ประชาชนลาว ๗. โครงการบรกิ ารวชิ าการ เร่ือง ธุรกจิ ตดิ ตลาด 16 ส.ค. นางสพุ รรษา ฉนั ทพันธ์ุ 900 ด้วย SEO และ Google Adwords 57 ๘. โครงการจดั การแข่งขนั เขยี นโปรแกรมคอมพวิ เตอร์ 14 ก.ย. ผศ.ดร.กฤษณะ ชินสาร 20,140 ACM-ICPC ประเทศไทย 2557 57 น.ส.นิตยา ติรพงษ์พฒั น์ (ACM-ICPC Thailand National Contest 2014) รอบการแข่งขัน Online 38

ลาดบั โครงการ วนั ทจ่ี ัด ผู้รับผิดชอบ งบประมาณ โครงการ )บาท( ๙. โครงการการแขง่ ขนั พฒั นาโปรแกรมคอมพิวเตอร์ ผศ.ดร.กฤษณะ ชนิ สาร แห่งประเทศไทย ครงั้ ที่ 17 17 ก.ย. นายภสู ิต กุลเกษม 592,500 57 น.ส.เบญจภรณ์ จันทรกองกุล น.ส.นติ ยา ตริ พงษพ์ ัฒน์ โครงการบริการวิชาการแกส่ งั คม เงินสนบั สนุนจากแหลง่ เงนิ ทุนอ่ืน ปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๕๗ จานวน ๒๓ โครงการ เปน็ จานวนเงิน ๑๐,๖๘๓,๐๐๐ บาท (ไมร่ วมโครงการ บรกิ ารวิชาการจากเงินอุดหนุนรฐั บาล ซ่ึงจะใช้ข้อมลู ตามเอกสารงบประมาณรายจา่ ยจากเงินงบประมาณ แผน่ ดนิ และงบประมาณเงนิ รายได้จากเงนิ อุดหนุนรัฐบาล) ลาดับ โครงการ วันทจี่ ดั ผูร้ ับผิดชอบ แหลง่ ทุน งบประมาณ โครงการ )บาท( 178,000 ๑. โครงการประชมุ วิชาการ 2014 - ๓๐ – ๓๑ ผศ.ดร. สวุ รรณา รัศมขี วัญ คา่ ลงทะเบียน 6th International Conference ม.ค. ๕๗ นายภูสติ กลุ เกษม 45,000 on Knowledge and Smart น.ส.เบญจภรณ์ จนั ทรกองกลุ 300,000 Technology (KST) และโครงการ ผศ.ดร.กฤษณะ ชินสาร 550,000 ประชุมวิชาการดา้ น Knowledge and Smart and Technology ครัง้ ที่ ๖ (KST-2557) ๒. โครงการสัมมนาการนาเสนอ 3 – 4 ผศ.ดร.กฤษณะ ชินสาร ค่าลงทะเบียน ระบบลาอิเล็กทรอนิกส์ ก.พ. ๕๗ นางสุพรรษา ฉันทพนั ธุ์ (๑๑ รูปแบบการลา) การลงเวลา นางอธติ า อ่อนเออ้ื น ทางานและการพฒั นาบุคลากร ๓. โครงการปรับปรุงแกไ้ ขซอฟตแ์ วร์ ๑ ต.ค. ๕๖ – ผศ.นวลศรี เดน่ วฒั นา วทิ ยาลยั การ ระบบสารสนเทศ ของวทิ ยาลัย ๓๑ ธ.ค. ๕๗ สาธารณสุขสริ นิ ธร สาธารณสุข จังหวดั ขอนแก่น จังหวัดขอนแกน่ ประจาปงี บประมาณ ๒๕๕๗ ๔. โครงการดแู ลบารุงรักษาระบบ ๑ ต.ค. ๕๖ – ผศ.นวลศรี เดน่ วัฒนา วทิ ยาลยั การ สารสนเทศและระบบเครอ่ื งแมข่ ่าย ๓๑ ธ.ค. ๕๗ สาธารณสขุ สริ ินธร คอมพวิ เตอร์ ของวิทยาลัย จังหวัดขอนแก่น สาธารณสุขสิรินธร จงั หวัดขอนแก่น ประจาปงี บประมาณ ๒๕๕๗ 39

ลาดบั โครงการ วันทจี่ ดั ผ้รู ับผดิ ชอบ แหล่งทุน งบประมาณ โครงการ กรมวชิ าการเกษตร )บาท( ๕. โครงการจดั ทาเอกสารซอฟตแ์ วร์ 10 ก.ย. ๕๖ – ผศ.นวลศรี เดน่ วฒั นา ๑๒๐,๐๐๐ เทคนคิ และทดสอบระบบเช่ือมโยง ๓๑ ธ.ค. ๕๗ ระหว่าง National Single Window กับระบบภายในกรม วชิ าการเกษตร ๖. โครงการตดิ ตงั้ และพัฒนา ๑ ก.พ. ๕๗ – นางอธติ า อ่อนเอื้อน สถาบันบัณฑติ ศึกษา ๖๐๐,๐๐๐ จฬุ าภรณ์ 23,000 ระบบสารสนเทศ ๓๑ ธ.ค. ๕๗ ค่าลงทะเบียน ๗. การประชมุ วชิ าการThe 2014 ๒๐ มี.ค. ๕๗ ผศ.ดร.กฤษณะ ชนิ สาร 4th IEEE Thailand Student Conference on Senior Capstone Project (IEEE SCAP 2014) ๘. โครงการบรกิ ารวิชาการหลกั สตู ร ๒๙ – ๓๐ ผศ.ดร.กฤษณะ ชนิ สาร ค่าลงทะเบียน 439,000 การประยกุ ตใ์ ช้ระบบการจดั การ พ.ค. ๕๗ นางสุพรรษา ฉนั ทพนั ธ์ุ ประชมุ E-Meeting เพื่อสาหรับ นางอธติ า อ่อนเอ้อื น เก็บและค้นหาข้อมลู หลกั ฐานงาน ประกนั คณุ ภาพการศึกษา ๙. โครงการความร่วมมอื สง่ เสรมิ ๑ พ.ค. ๕๗ – ผศ.ดร.กฤษณะ ชินสาร บจ.ไนซสิ โซลูชนั่ ส์ 300,000 ธรุ กิจตามพันธกิจ Software ๓๐ เม.ย. ๕๘ นางสพุ รรษา ฉันทพันธ์ุ Business / ICT New นางอธิตา อ่อนเอ้อื น Entrepreneurs Creation ระหวา่ ง คณะวิทยาการสารสนเทศ เขตอุตสาหกรรมซอฟตแ์ วรภ์ าค ตะวันออก มหาวิทยาลยั บรู พา และบริษทั ไนซสิ โซลชู ่ันส์ จากดั ๑๐. โครงการสัมมนาเชิงปฏบิ ตั ิการ ๑ ก.พ. ๕๗ – ผศ.ดร.กฤษณะ ชนิ สาร คา่ ลงทะเบยี น 450,000 ค่าลงทะเบียน 180,000 ซอฟต์แวร์ระบบงานสารบรรณ ๓๐ ก.ย. ๕๗ นางสพุ รรษา ฉนั ทพนั ธุ์ แบบโอเพนซอรส์ นางอธติ า อ่อนเอ้อื น ๑๑. โครงการสัมมนาการนาเสนอ ๗ – ๘ พ.ค. ผศ.ดร.กฤษณะ ชนิ สาร ระบบลาอิเลก็ ทรอนกิ ส์ ๕๗ นางสพุ รรษา ฉนั ทพันธ์ุ (๑๑ รปู แบบการลา) การลงเวลา นางอธติ า อ่อนเออ้ื น ทางานและการพัฒนาบคุ ลากร 40

ลาดบั โครงการ วันท่ีจดั ผรู้ บั ผดิ ชอบ แหลง่ ทุน งบประมาณ โครงการ บจ.แอพทเวนต้ีโฟร์ )บาท( ๑๒. โครงการความร่วมมอื การพัฒนา ๑ เม.ย. ๕๗ – นายวิทวสั พนั ธุมจนิ ดา 320,000 แอพพลเิ คชัน่ 4dbook บน ๓๑ ก.ค. ๕๗ ระบบปฏิบตั ิการแอนดรอยด์และ ระบบปฏบิ ตั กิ ารไอโอเอช ระหว่างห้องปฏบิ ตั ิการวจิ ัย Mobile & Service Computing and Information Mining and Networking คณะวิทยาการ สารสนเทศ มหาวทิ ยาลยั บรู พา และบริษทั แอพทเวนต้โี ฟร์ จากัด ๑๓. โครงการดแู ลบารุงรักษา ปรบั ปรงุ ๑ ก.พ. ๕๗ – ผศ.นวลศรี เด่นวฒั นา สถาบันพระบรม 350,000 ราชชนก แกไ้ ข และพฒั นาระบบลงบญั ชี ๓๑ ธ.ค. ๕๗ ของสถาบนั พระบรมราชชนก ประจาปงี บประมาณ ๒๕๕๗ ๑๔. โครงการปรับปรุงแก้ไข ดแู ล ๑ ก.พ. ๕๗ – ผศ.นวลศรี เด่นวฒั นา สถาบันพระบรม 700,000 ราชชนก บารุงรกั ษาระบบสารสนเทศ ๓๑ ธ.ค. ๕๗ สนบั สนุนงานบรหิ ารจดั การ (Bฺ ack office) ระบบบคุ ลากรและ ระบบกากับงบประมาณ ของ สถาบันพระบรมราชชนก ประจาปงี บประมาณ ๒๕๕๗ ๑๕. โครงการใหบ้ รกิ ารฟาร์มแม่ข่าย ๑ ก.พ. ๕๗ – นางอธติ า ออ่ นเอ้ือน สถาบันพระบรม 850,000 ราชชนก (Server Farming Service for Pl ๓๑ ธ.ค. ๕๗ Information Systems) ของ สถาบนั พระบรมราชชนก ประจาปี งบประมาณ 2557 ๑๖. โครงการบารุงรกั ษา แกไ้ ขปรบั ปรงุ ๑ ก.พ. ๕๗ – นางอธติ า ออ่ นเออื้ น สถาบนั พระบรม 1,500,000 ราชชนก ระบบ และดแู ลเครอื่ งแม่ข่าย ๓๐ ธ.ค. ๕๗ ระบบสารบรรณอิเลก็ ทรอนิกส์ ของวทิ ยาลัยในสงั กัดฯของสถาบัน พระบรมราชชนก ประจาปีงบประมาณ 2557 41

ลาดบั โครงการ วันท่จี ดั ผู้รบั ผิดชอบ แหล่งทนุ งบประมาณ โครงการ สถาบันพระบรม )บาท( ราชชนก ๑๗. โครงการบรหิ ารจดั การและดูแล ๑ ม.ี ค. ๕๗ – ผศ.นวลศรี เด่นวฒั นา 1,350,000 สถาบันพระบรม บารงุ รกั ษาเครอ่ื งแมข่ า่ ยระบบ ๓๑ ธ.ค. ๕๗ ราชชนก 1,500,000 รับนกั ศึกษาใหม่ ปกี ารศึกษา บจ.แอพทเวนต้ีโฟร์ ๓20,000 2557 ของสถาบันพระบรม คา่ ลงทะเบียน 40,000 ราชชนก เทศบาลตาบล 98,000 บางปลา 180,000 ๑๘. โครงการปรบั ปรงุ แกไ้ ข ดแู ล ๑ ม.ี ค. ๕๗ – ผศ.นวลศรี เดน่ วัฒนา วิทยาลยั พาณิชยนาวี นานาชาติ บารงุ รักษา และพัฒนาศกั ยภาพ ๓๑ ธ.ค. ๕๗ มหาวทิ ยาลยั เกษตรศาสตร์ ระบบสารสนเทศดา้ นการเรียน วิทยาเขตศรรี าชา การสอนของสถาบนั พระบรมราช ชนก ประจาปีงบประมาณ 2557 ๑๙. โครงการความร่วมมอื การพัฒนา ๕ ส.ค. ๕๗ – ดร.จกั ริน สุขสวสั ดิ์ชน แอพพลิเคชัน่ 4dbook บน ๑ ม.ค. ๕๘ นายวทิ วัส พนั ธุมจนิ ดา ระบบปฏบิ ตั ิการแอนดรอยดแ์ ละ นายเหมรัศม์ิ วชริ หัตถพงศ์ ระบบปฏบิ ตั กิ ารไอโอเอส ระยะท่ี 2 ๒๐. โครงการบรกิ ารวิชาการหลกั สูตร ๒๘ – ๒๙ นางอธิตา อ่อนเอ้อื น การประยกุ ตใ์ ชร้ ะบบการจัดการ ส.ค. ๕๗ ดร.คนงึ นิจ กโุ บลา ประชมุ E-Meeting เพื่อสาหรับ นางสุพรรษา ฉนั ทพนั ธ์ุ เก็บและค้นหาข้อมลู หลักฐานงาน ประกนั คณุ ภาพการศึกษา ครงั้ ท่ี 2 ๒๑. โครงการบารงุ รกั ษาและปรบั ปรุง ๑ ต.ค. ๕๖ – ผศ.นวลศรี เด่นวัฒนา แก้ไขระบบสารบรรณเล็กทรอนิกส์ ๓๐ ก.ย. ๕๗ นางอธิตา อ่อนเอื้อน ของเทศบาลตาบลบางปลา นายธวชั ชยั เอย่ี มไพโรจน์ ๒๒. โครงการปรบั ปรงุ ระบบการบริหาร ๑ ก.ย. ๕๗ – ผศ.นวลศรี เดน่ วฒั นา ให้มีประสทิ ธิภาพ วิทยาลยั ๓๑ ธ.ค. ๕๗ พาณชิ ยนาวีนานาชาติ มหาวทิ ยาลยั เกษตรศาสตร์ วทิ ยาเขตศรรี าชา ประจาปงี บประมาณ 2557 42

ลาดบั โครงการ วันทจ่ี ดั ผูร้ บั ผิดชอบ แหล่งทนุ งบประมาณ โครงการ )บาท( ๒๓. โครงการแข่งขนั พฒั นาโปรแกรม คอมพวิ เตอรแ์ หง่ ประเทศไทย ๑ พ.ค. ๕๗ – ผศ.ดร.กฤษณะ ชินสาร ศูนยเ์ ทคโนโลยี ๒๙๐,๐00 ครงั้ ท1่ี 7 (NSC-2015) ๓๐ เม.ย. ๕๘ นายภูสติ กลุ เกษม อเิ ลก็ ทรอนิกสแ์ ละ น.ส.เบญจภรณ์ จนั ทรกองกุล คอมพิวเตอรแ์ ห่งชาติ น.ส.นิตยา ตริ พงษ์พัฒน์ สานกั งานพฒั นา วิทยาศาสตร์และ เทคโนโลยแี ห่งชาติ การไดร้ บั เชิญเปน็ วทิ ยากรและบรรยายพิเศษ บคุ ลากรได้รบั เชญิ เป็นวิทยากรและการบรรยายพเิ ศษ จานวน ๑๙ คน ๑๕ เรอ่ื ง ลาดับ หนว่ ยงานทจี่ ัด เรือ่ ง วนั ท่จี ดั ทา รายชอื่ ผู้ได้รับเชิญเป็น ๑. คณะวทิ ยาศาสตร์และ ศิลปศาสตร์ วทิ ยาเขตจันทบุรี โครงการ วทิ ยากร ๒. โรงเรยี นพนสั พิทยาคาร การพฒั นาโปรแกรมบน ๑๘ – ๒๐ ดร.จกั รนิ สขุ สวสั ดช์ิ น ๓. วิทยาลัยพยาบาลบรมราชชนนี สงขลา ระบบปฏิบตั ิการแอนดรอยด์ ต.ค. ๕๖ ดร.อรุ รี ฐั สขุ สวสั ด์ิชน ๔. วทิ ยาลัยพยาบาลบรมราชชนนี นายวรวทิ ย์ วีระพนั ธ์ุ นครลาปาง โครงการสง่ เสรมิ โอลมิ ปิกวิชาการ ๕ – ๒๒ ดร.จกั ริน สุขสวสั ดิ์ชน สาขาคอมพวิ เตอร์ ค่ายที่ ๑/๒๕๕๖ ต.ค. ๕๖ ดร.อุรรี ัฐ สขุ สวสั ด์ชิ น น.ส.สภุ าวดี ศรีคาดี นายวรวิทย์ วีระพนั ธุ์ ดร.สุนสิ า รมิ เจรญิ นายเหมรัศม์ิ วชิรหตั ถพงศ์ ดร.โกเมศ อัมพวัน การพฒั นาระบบฐานขอ้ มูลสารสนเทศ ๓๐ พ.ย. ๕๖ – ผศ.นวลศรี เด่นวัฒนา ทม่ี ีประสิทธิภาพสู่การขบั เคลอื่ น ๒ ธ.ค. ๕๖ นางอธติ า อ่อนเอ้ือน ทกุ พันธกิจ ประจาปีงบประมาณ นายจกั รก์ ฤษณ์ บตุ รอาคา ๒๕๕๗ นายศกั ดา บุญภา การพฒั นาระบบสารสนเทศเพอ่ื การ ๓ – ๖ นายศักดา บุญภา บรหิ ารจดั การองค์กรอยา่ งมี พ.ย. ๕๖ นายจักร์กฤษณ์ บตุ รอาคา ประสทิ ธภิ าพ 43

ลาดบั หน่วยงานท่ีจดั เรื่อง วันท่จี ดั ทา รายช่ือผไู้ ดร้ บั เชิญเป็น ๕. สถาบันพระบรมราชชนก โครงการ วทิ ยากร ๖. คณะวิทยาการสารสนเทศ รว่ มกับคณะวิทยาศาสตร์ และ การสัมมนาเตรยี มความพรอ้ มการ ๑๔ – ๑๕ ผศ.นวลศรี เดน่ วัฒนา สานกั คอมพิวเตอร์ รบั สมัครและคดั เลอื กบคุ คลเขา้ ศกึ ษา พ.ย. ๕๖ ๗. สถาบนั พระบรมราชชนก หลักสตู รตา่ ง ๆ ของกระทรวง ๘. งานส่งเสรมิ การวิจยั กองบรกิ าร การศกึ ษา มหาวทิ ยาลยั บรู พา สาธารณสุข ประจาปกี ารศกึ ษา ๙. สถาบนั พระบรมราชชนก ๒๕๕๖ ๑๐. สถาบนั พระบรมราชชนก การอบรมความรูเ้ กย่ี วกบั การจดั การ ๒๔ – ๒๕ นายเหมรศั มิ์ วชิรหัตถพงศ์ ๑๑. สถาบนั พระบรมราชชนก เครือขา่ ยคอมพิวเตอร์ และ ก.พ. ๕๗ ๑๒. วิทยาลัยพาณิชยศาสตร์ เทคโนโลยสี ารสนเทศท่จี าเป็น สาหรบั องค์กร การอบรมเชงิ ปฏิบตั ิการฐานข้อมลู ๑๙ – ๒๐ นายพรี ะศกั ดิ์ เพียรประสิทธิ์ วิจยั และผลงานวชิ าการในระบบ พ.ค. ๕๗ บคุ ลากร การนาเสนอผลงานวิจยั แบบ ๓ – ๔ Mr.John Gatewood Ham บรรยาย สาขาวทิ ยาศาสตร์และ ก.ค. ๕๗ ผศ.ดร.กฤษณะ ชนิ สาร เทคโนโลยี การอบรมประมวลผลตดั เลอื กบุคคล ๒๙ ม.ิ ย. ๕๗ – ผศ.นวลศรี เด่นวฒั นา เขา้ ศกึ ษาหลักสูตรต่าง ๆ ของ ๒ ก.ค. ๕๗ นายสทิ ธชิ ัย สมพนั ธ์ุ กระทรวงสาธารณสุข ประจาปี การศึกษา ๒๕๕๗ ระบบสอบกลาง การบริหารยทุ ธศาสตรแ์ บบครบ ๒ – ๔ ผศ.นวลศรี เดน่ วัฒนา วงจรทั้งองค์กรและการพฒั นาระบบ ก.ค. ๕๗ นางสาวทัศนยี ์ เจรญิ พร เทคโนโลยีสารสนเทศเพอ่ื การ นางอธติ า ออ่ นเอื้อน จดั การโครงการและแผนปฏบิ ตั ิการ นายจักร์กฤษณ์ บตุ รอาคา การพฒั นาผบู้ รหิ ารและอาจารยด์ า้ น ๒๐ – ๒๒ ผศ.นวลศรี เด่นวัฒนา บรหิ ารจดั การหลักสตู รของวิทยาลัย ก.ค. ๕๗ นางอธติ า อ่อนเออ้ื น ในสงั กัดสถาบนั พระบรมราชชนก ตามกรอบมาตรฐานคณุ วฒุ ฯิ การใช้โปรแกรมตดั เกรดผ่าน WEB ๒๘ ก.ค. น.ส.กุลชลี รตั นคร สาหรับอาจารยผ์ สู้ อนและโปรแกรม ๕๗ CALLER สาหรบั บุคลากร ๑๓. คณะวทิ ยาศาสตร์และ การพัฒนาแอพพลเิ คชั่นบน ๒๘ – ๓๐ ดร.ณฐั นนท์ ลลี าตระกูล สังคมศาสตร์ ระบบปฏบิ ตั ิการแอนดรอย์ ก.ค. ๕๗ ดร.จักรนิ สุขสวสั ด์ชิ น นายวรวทิ ย์ วีระพนั ธ์ุ 44

ลาดบั หนว่ ยงานทจ่ี ัด เรื่อง วนั ท่จี ดั ทา รายช่ือผู้ไดร้ ับเชิญเป็น โครงการ วิทยากร ๑๔. สถาบนั พระบรมราชชนก การพัฒนาศักยภาพและทักษะ ๒๑ – ๒๓ ผศ.นวลศรี เดน่ วฒั นา อาจารยด์ ้านการจดั การศกึ ษาสาขา ส.ค. ๕๗ นางอธิตา ออ่ นเอ้ือน การแพทยแ์ ผนไทยให้เป็นไปตาม กรอบคณุ วุฒริ ะดบั อดุ มศกึ ษา ครงั้ ที่ ๒ ๑๕. วทิ ยาลัยพยาบาลศรีมหาสารคาม การใช้ระบบสารสนเทศ ๒๓ – ๒๔ ผศ.นวลศรี เด่นวฒั นา ส.ค. ๕๗ นางอธิตา ออ่ นเอือ้ น สถาบันพระบรมราชชนก นายจักรก์ ฤษณ์ บตุ รอาคา นายมาโนชญ์ ใจกว้าง 45

ด้านทานบุ ารุงศิลปวัฒนธรรม คณะวทิ ยาการสารสนเทศ ไดส้ ง่ เสรมิ การทานบุ ารุงศิลปวัฒนธรรมอันดีงาม เพ่ือเป็นการสืบสานความ เป็นไทยและนาไปสู่การสงวนรักษาความแตกต่างทางประเพณีและวัฒนธรรม ตลอดจนการอยู่ร่วมกันอย่างมี เอกลักษณ์ โดยเสริมสร้างวัฒนธรรมและค่านิยมที่พึงประสงค์ให้เกิดขึ้นกับนิสิตและบุคลากรของคณะ วิทยาการสารสนเทศ โครงการทานบุ ารุงศิลปวัฒนธรรม จากเงนิ รายไดม้ หาวิทยาลยั ทุนงบประมาณเงนิ รายได้ จานวน ๕ โครงการ เปน็ จานวนเงนิ ๑๐๑,๔๒๐ บาท ลาดบั ชอ่ื โครงการ วันทีจ่ ดั ทา ผู้รับผดิ ชอบโครงการ งบประมาณ ๑. โครงการทาบญุ และบาเพญ็ ประโยชน์ โครงการ )บาท( คณะวทิ ยาการสารสนเทศ 9 ธ.ค. 56 นายนติ ธิ ร ดษิ ฐาพร 22,880 นายกรสหนันท์ ต่อพงษ์พันธ์ุ ๒. \"โครงการสรา้ งเสริมประสบการณ์ 12 ก.พ 57 นางระวนี ันท์ ชูสินชินภทั ร 5,940 วิชาการ ศิลปะและวฒั นธรรมสาหรับ นายประจกั ษ์ จติ เงนิ มะดัน สนุนนสิ ติ เข้าร่วมแขง่ ขนั สักวากลอนสด ดร.คนึงนิจ กโุ บลา 50,000 ระดบั อุดมศกึ ษา (ระดบั ชาต)ิ 13,020 11 ม.ี ค. 57 นายประจกั ษ์ จติ เงินมะดัน ๓. โครงการแสดงความยนิ ดกี บั บณั ฑติ 9,580 และมหาบณั ฑติ 10 เม.ย. 57 นายสรธญิ ชลารกั ษ์ 18 ก.ย. 57 นายเกรียงศักด์ิ ปานโพธิ์ทอง ๔. โครงการรดนา้ ดาหัวเนื่องในเทศกาล นายประจักษ์ จติ เงนิ มะดัน วนั สงกรานต์ นายกรสหนนั ทร์ ตอ่ พงษ์พนั ธุ์ นางระวนี นั ท์ ชูสินชนิ ภัทร ๕. โครงการจดั งานมุฑิตาจิต งานบุคคล สานกั งานคณบดี แด่ผูเ้ กษียณอายรุ าชการ น.ส.ณัฐชยา สขุ ุมาลพันธ์ 46

ภาพกิจกรรมและโครงการ 47


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook