Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore รายงานประจำปี 2550 สถาบันวิทยาศาสตร์ทางทะเล

รายงานประจำปี 2550 สถาบันวิทยาศาสตร์ทางทะเล

Published by local library, 2019-12-04 01:34:43

Description: รายงานประจำปี 2550 สถาบันวิทยาศาสตร์ทางทะเล มหาวิทยาลัยบูรพา

Keywords: รายงานประจำปี,สถาบันวิทยาศาสตร์ทางทะเล,มหาวิทยาลัยบูรพา,จดหมายเหตุ มหาวิทยาลัยบูรพา

Search

Read the Text Version

รายงานประจำป 2550 สถาบันวิทยาศาสตรท างทะเล มหาวิทยาลยั บูรพา คำนำ สถาบนั ว​ ทิ ยาศาสตรท​ างทะเล เปน ห​ นว ยงานเ​ทยี บเทา ค​ ณะส​ งั กดั ม​ หาวทิ ยาลยั บรู พา มห​ี นา ทห​่ี ลกั ใ​นดา น​ การ​วิจัย และ​ใหบริการ​ทางวิชาการ​ทาง​ดาน​วิทยาศาสตร​ทางทะเล แก​นักเรียน นิสิต นักศึกษา และ​บุคคล​ท่ัวไป นอกจากนส​ี้ ถาบนั ฯ ยงั มส​ี ถานเ​ลย้ี งส​ ตั วน​ ำ้ เคม็ และพ​ พิ ธิ ภณั ฑว​ ทิ ยาศาสตรท​ างทะเลส​ ำหรบั ใ​หเ​ ยาวชนแ​ ละบ​ คุ คล​ ท่ัว​ได​เขามา​ศึกษาหาความรู​ได​ตาม​อัธยาศัย​ดวย​ตน​เอง ซ่ึง​จัด​เปนแ​ หลง​การ​เรียนรู​ตลอดชีวิต​ตาม​พระราชบัญญัติ​ การศ​ ึกษาแ​ หงชาติ พ.ศ. 2542 การ​จัดทำร​ ายงานประจำป 2550 เปน การ​รวบรวม​ขอมลู ใ​นก​ าร​ดำเนินงานข​ องป​ งบประมาณ 2550 ระหวา งว​ นั ท ่ี 1 ตลุ าคม พ.ศ. 2549 ถงึ ว​ นั ท ี่ 30 กนั ยายน พ.ศ. 2550 ประกอบดว ยข​ อ มลู เ​กยี่ วกบั ก​ ารบ​ รหิ ารงาน การว​ จิ ยั ท​ างด​ า นว​ ทิ ยาศาสตรท​ างทะเลแ​ ละส​ าขาวชิ าท​ เ​ี่ กยี่ วขอ ง การใ​หบ รกิ ารต​ า งๆ ไดแ ก สถติ ผ​ิ เู ขา ชมส​ ถานเ​ลย้ี ง​ สตั วน​ ำ้ เคม็ และพ​ พิ ธิ ภณั ฑว​ ทิ ยาศาสตรท​ างทะเล การฝ​ ก อบรม ประชมุ แ​ ละส​ มั มนา การใ​หค ำปรกึ ษาท​ างวชิ าการ การ​ใหบ รกิ ารด​ าน​การ​ทำว​ ิทยานพิ นธ​ห รือป​ ญ หาพ​ เิ ศษ​ของ​นสิ ิตนักศึกษาใ​นร​ ะดบั ​อุดมศกึ ษา รวมทง้ั ก​ ารใ​หบรกิ าร​ ขอ มูลท​ าง​ดาน​วิทยาศาสตรท​ างทะเล เปน ตน รายงานประจำป 2550 ฉบับ​น้ี ได​รวบรวม​ขอมูล​สรุป​ผลการดำเนินงาน​จาก​ฝาย​ตางๆ คือ สำนกั งานเลขานกุ าร ฝา ยว​ จิ ยั ว​ ทิ ยาศาสตรท​ างทะเล ฝา ยบ​ รกิ ารว​ ชิ าการ ฝา ยส​ ถานเ​ลย้ี งส​ ตั วน​ ำ้ เคม็ ฝา ยพ​ พิ ธิ ภณั ฑ​ วทิ ยาศาสตรท​ างทะเลแ​ ละส​ ถานว​ี จิ ยั สถาบนั ว​ ทิ ยาศาสตรท​ างทะเลห​ วงั เ​ปน อยา งยงิ่ ว​ า ขอ มลู ท​ ป​ี่ รากฏใ​นร​ ายงาน​ ฉบบั น​ ี้ คงเ​ปน ประโยชนส​ ำหรบั ห​ นว ยงานต​ า งๆ บา งต​ ามสมควร และเ​ปน ทคี่ าดหวงั ว​ า ข​ อ มลู เ​หลา นจ​ี้ ะเ​ปน เ​ครอื่ งชนี้ ำ​ ใน​การ​ปรบั ปรุงแ​ ละพ​ ัฒนาง​ าน​ของ​สถาบนั ว​ ทิ ยาศาสตรท​ าง​ทะเลในท​ ุกๆ ดา นส​ ืบไป คณะผ​ จู ัดทำ

รายงานประจำป 2550 สถาบันวิทยาศาสตรทางทะเล มหาวทิ ยาลยั บูรพา สารบัญ ​ ​​​​​​​​​​​​​​​​​​​​​​​​​​​​​​​​​​​​​​​​​​​​​​​​​​​​​​​​​​​​​​​​​​​​​​​​​​​​​​​​​​​​​​​​​​​​​​​​​​​​​​​​​​​​​​​​​​​​​​​​​​​​​​​​​​​​​ ​​ ​ หนา คำนำ​ ประวตั ิความเปนมาของสถาบันวทิ ยาศาสตรท างทะเล​ 1 ปรัชญา​วิสัยทศั น​ วตั ถปุ ระสงค​ นโยบายคณุ ภาพ​​นโยบายดานสิ่งแวดลอ ม​ 2 นโ​ย​บาย​แนวทางก​ ารพัฒนาแ​ ละ​การบรหิ าร​สถาบัน​วทิ ยาศาสตรท างทะเล​ 4 โครงสรางการบริหาร​ 13 โครงส​ รา ง​การแบงสวนง​ าน​ 14 คณะกรรมการประจำสถาบนั วทิ ยาศาสตรท างทะเล​​ 15 คณะกรรมการบรหิ ารสถาบนั วทิ ยาศาสตรท างทะเล​​ 16​​​​ บคุ ลากรสถาบนั วิทยาศาสตรทางทะเล​ 17​​​​ การแบง สว นราชการ​ 18 ​ สำนกั งานเลขานกุ าร​ 18 ​ ฝา ยบริการวชิ าการ​ 18 ​ ฝายวจิ ัยวิทยาศาสตรทางทะเล​ 19 ​ ฝายสถานเลย้ี งสตั วนำ้ เค็ม​ 19 ​ ฝา ยพิพธิ ภณั ฑว ทิ ยาศาสตรท างทะเล​ 20 ​ สถานวี จิ ยั ​ 20 ​ เงนิ ทุนหมนุ เวียน​สถาบนั ว​ ทิ ยาศาสตร​ทางท​ ะเล​ 21​​​ สรปุ ผลงานในรอบปง บประมาณ​​2550​(ตุลาคม​2549​–​กนั ยายน​2550)​​​​ 23​​​ ​ ดา นการวจิ ัยและงานสรา งสรรค​​​ 24​​​​ ​ ดานการบริการวิชาการ​​​​​ 32​​​​ ​ ดานการสนบั สนุนการเรียนการสอน​​​​​​​ 45​​​​ ​ ดานการทำนบุ ำรงุ ศลิ ปวฒั นธรรม​ 47 ​ ดานการอนรุ กั ษท รัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม​ 49 ​ ดา นการบรหิ ารและการพัฒนาองคกร​​​​​​​​ 52​​​​ ​ ดานการประกนั คณุ ภาพ​ 66 โครงการเดน ในรอบ​ป​ 69 สรปุ ภาพกจิ กรรมในรอบปง บประมาณ​2550​(ตลุ าคม​2549​–​กันยายน​2550)​​​ ​72​​​ ภาคผนวก​​​​​​​​ ​​77​​​​

รายงานประจำป 2550 สถาบนั วิทยาศาสตรทางทะเล มหาวิทยาลยั บูรพา หน้า สารบญั ตาราง 17 17 ตารางท่ ี 57 57 1 จำนวนบคุ ลากรจำแนกประเภทตามฝา่ ยตา่ งๆ 60 2 บคุ ลากรจำแนกตามวฒุ กิ ารศึกษา 3 งบประมาณแผ่นดิน ประจำปีงบประมาณ 2550 4 งบประมาณเงินรายได้ ประจำปงี บประมาณ 2550 5 สถติ ผิ ูเ้ ข้าชมสถาบนั วทิ ยาศาสตรท์ างทะเล ปีงบประมาณ 2550

รายงานประจำป 2550 สถาบันวทิ ยาศาสตรทางทะเล มหาวิทยาลยั บูรพา สารบญั ภาพ ภาพท​ี่ ​ หนา ​ 61 ​ 1​ แผนภมู แิ สดงรอยละของการสำรวจความพึงพอใจและความคดิ เหน็ ​ ​ ​ ของผมู ารบั บรกิ ารระหวา งเดอื น​ตุลาคม​2549​–​กันยายน​2550​

รายงานประจำป 2550 สถาบนั วทิ ยาศาสตรทางทะเล มหาวิทยาลยั บรู พา ประวัตคิ วามเป็นมาของสถาบนั วทิ ยาศาสตร์ทางทะเล สถาบัน​วิทยาศาสตร​ทางทะเล​ ​มหาวิทยาลัยบูรพา​ ​ไดรับ​การ​พัฒนา​มาจาก​ “​พิพิธภัณฑ​ สัตว​และ​สถาน​เลี้ยง​สัตว​น้ำเค็ม”​ ​มหาวิทยาลัย​ศรีนค​รินทร​วิโรฒ​ ​วิทยาเขต​บาง​แสน​ ​ซึ่ง​ดำเนินการ​โดย​ คณะอาจารย​ภาควิชา​ชีววิทยา​และ​นิสิต​จำนวน​หนึ่ง​ ​ภาย​ใต​การ​สนับสนุน​ของ​ ​ดร.​บุญ​ถิ่น​ ​อัตถา​กร​ ​อดีต​ อธิบดี​กรมการ​ฝกหัด​ครู​และ​อดีต​ปลัดกระทรวง​ศึกษาธิการ​ ​เมื่อ​เดือน​กันยายน​ ​2​5​1​2​ ​และ​เปด​ให​ประชาชน​ เขา​ชม​อยาง​ไมเปนทางการ​เมื่อ​เดือนธันวาคม​ ​พ.​ศ.​ 2​5​1​3​ ตอมา​เมื่อ​วัน​ท่ี​ ​2​6​ ​ตุลาคม​ พ.​ศ.​ ​2​5​1​9​ ​มหาวิทยาลัย​ ศรีนค​รินทร​วิโรฒ​ ​บาง​แสน​ ได​กราบทูล​เชิญ​สมเด็จ​พระเจา​ลูกเธอ​เจาฟา​จุฬาภรณ​วลัย​ลัก​ษณอัคร​ราช​กุมารี​ ท​ รงป​ ระกอบ​พิธีเปด พ​ ิพธิ ภัณฑส​ ตั ว​และส​ ถาน​เลีย้ งส​ ตั วน​ ำ้ เคม็ ​เน่ืองจาก​ตัวอาคาร​ที่​เปน​ท่ีต้ัง​ของ​พิพิธภัณฑ​สัตว​และ​สถาน​เล้ียง​สัตว​น้ำเค็ม​ไมได​ออก​แบบ​สำหรับ​ การ​นี้​โดย​ตรง​เมื่อ​มี​การ​พัฒนา​ข้ึนมา​ถึง​ระดับ​หน่ึง​ก็​ไม​สามารถ​ขยาย​ให​กวางขวาง​ย่ิงข้ึน​ ​ทาง​มหาวิทยาลัย​โดย​ การนำข​ อง​​ดร.ท​ วี​ห​ อม​ชง​และค​ ณะ​​จงึ ไ​ด​จ ัดทำ​โครงการข​ อความชว ยเหลือจ​ ากร​ ฐั บาลญ​ ่ปี ุน​เ​มอื่ ​เดือนกรกฎาคม​ พ.ศ​ .​2​ 5​2​3​แ​ ละไ​ดรบั ​ความ​ชว ยเหลือแ​ บบใ​หเ ปลา ​ในก​ าร​จัดต้ังศ​ ูนยว​ ทิ ยาศาสตรท​ างทะเล​เปน ​มลู คา​​2​3​0​​ลา น​บาท​ โดยเ​รมิ่ ก​ อ สรา งใ​นว​ นั ท​ ่ี​1​ ​ธ​ นั วาคม​2​ 5​ 2​ 4​ ​ณ​ ​บ​ รเิ วณด​ า นหนา ข​ องม​ หาวทิ ยาลยั ศ​ รนี คร​ นิ ทรว​ โิ รฒ​ว​ ทิ ยาเขตบ​ างแสน​ ในเ​นอื้ ท​ ป​ี่ ระมาณ​3​ 0​ ​ไ​ร​ ​ส​ มเดจ็ พระเ​ทพรต​ั นร​ าชส​ ดุ าฯ​ส​ ยามบ​ รมร​ าชก​ มุ าร​ี เ​สดจ็ ว​ างศ​ ลิ าฤกษเ​ มอ่ื ว​ นั ท​ ี​่ 2​ 3​ ​ม​ นี าคม​ พ.ศ​ .​2​ ​52​ ​5​​ก​ ารก​ อ สรา ง​แลวเสร็จ​​และม​ ี​พธิ มี​ อบใ​ห​แกม​ หาวทิ ยาลยั ​​​เม่อื ​วัน​ท่​ี 1​ ​ม​ นี าคม​พ​ .ศ​ .​2​ ​52​ 6​ ​ ใ​นว​ นั ท​ ่ี​2​ 4​ ​กรกฎาคม​25​ 2​ 7​ ​พ​ ระบาทส​ มเด็จพ​ ระเจา อ​ ยห​ู วั ​เ​สดจ็ พระราชดำเนนิ ท​ รงก​ ระทำพ​ ธิ เี ปด ศ​ นู ย​ วทิ ยาศาสตรท​ างทะเล​จ​ ากน​ นั้ ศ​ นู ยว​ ทิ ยาศาสตรท​ างทะเลไ​ดจ​ ดั ทำโ​ครงการเ​พอ่ื ย​ กฐานะเ​ปน ส​ ถาบนั ​แ​ ละไ​ดร บั อ​ นมุ ตั ​ิ ใหเ​ ปน ​สถาบนั ว​ ิทยาศาสตรท​ างทะเล​เ​มือ่ ว​ ันท​ ี​่ 23​พ​ ฤษภาคม​พ.​ศ.​2​ 5​ ​28​ 1

รายงานประจำป 2550 สถาบันวิทยาศาสตรท างทะเล มหาวิทยาลัยบูรพา ปรัชญา พฒั นางานวจิ ยั ​​ใสใจใหบ รกิ าร​​ประสานความรวมมือ ยึดถอื แนวทางอนุรกั ษ​ ​พทิ ักษท ะเลไทย วิสัยทศั น์ เพอ่ื ใ​หส​ ถาบนั ว​ ทิ ยาศาสตรท​ างทะเล​​เ​ปน ห​ นว ยงานท​ เ​่ี ปน ผ​ นู ำทางด​ า นว​ ทิ ยาศาสตรท​ างทะเลแ​ หง เ​อเชยี ​ ตะวันออก​เฉียง​ใต​ที่​มี​บทบาท​สำคัญ​ใน​การ​จัดการ​ศึกษาคนควา​โดย​เนน​การ​วิจัย​ทาง​ดาน​วิทยาศาสตร​ทางทะเล​ ตลอดจน​สราง​ความ​เปนเลิศ​ทาง​ดาน​วิจัย​ให​เปน​ที่ยอมรับ​ใน​ระดับประเทศ​และ​ระดับนานาชาติ​ ​มี​แนวทาง​พัฒนา​ สถาบนั ฯ​ท​ ส​่ี อดคลอ งกบั น​ โยบายข​ องม​ หาวทิ ยาลยั โ​ดยเ​นน ค​ วามเปน สากล​ก​ ารพ​ ฒั นาว​ ทิ ยาศาสตรแ​ ละเ​ทคโนโลย​ี รวมท​ งั้ ก​ ารบ​ รกิ ารว​ ชิ าการแ​ กช​ มุ ชนใ​หส​ อดคลอ งกบั ค​ วามต​ อ งการข​ องท​ อ งถน่ิ ​แ​ ละย​ งั ป​ ระโยชนท​ จ​่ี ะเ​กดิ ขน้ึ ใ​นอนาคต​ จะด​ ำรงค​ วามเปน ผนู ำข​ องก​ ารค​ น ควา วจิ ยั ท​ างด​ า นว​ ทิ ยาศาสตรท​ างทะเล​โ​ดยส​ รา งค​ วามพ​ รอ มใ​นด​ า นการบรหิ าร​ จัดการ​ต​ ลอดจนก​ าร​ผลิต​ผลงานวจิ ยั อ​ นั ​จะ​เปนประโยชนต​ อ ส​ ังคม​และ​ประเทศชาต​สิ บื ไป วัตถปุ ระสงค์ 1.​ เพ่ือ​เปน​ศูนยกลาง​แหง​ความ​เปนเลิศ​ทางวิชาการ​ดาน​วิทยาศาสตร​ทางทะเล​ ​ แหง​เอเชีย​ ตะวนั ออกเฉียงใต 2.​ เพื่อ​การ​พัฒนาการ​ใช​ทรัพยากร​ทางทะเล​และ​ดำเนินการ​ดาน​อนุรักษ​ทรัพยากรธรรมชาติ​และ​ สิ่งแวดลอ ม​ใหบ​ รรลผุ ล​ในทางปฏบิ ตั ิ​อยางแ​ ทจรงิ 3.​เพอื่ เ​ปน แ​ หลง ค​ น ควา วจิ ยั ​​เปน ศ​ นู ยก ลางก​ ารแ​ ลกเปลย่ี นน​ กั ว​ จิ ยั ท​ างด​ า นว​ ทิ ยาศาสตรท​ างทะเล​และ​ สาขาวิชา​ทเ่​ี กี่ยวของ 4.​ เพื่อ​เปน​แหลงทองเที่ยว​ ศึกษาหาความรู​ เปน​สถาน​ฝกงาน​ ฝกอบรม​ของ​ครู​ นิสิต​ นักศึกษา​ และ​ ประชาชนโ​ดยท​ วั่ ไป 2

รายงานประจำป 2550 สถาบันวทิ ยาศาสตรทางทะเล มหาวิทยาลัยบูรพา นโยบายคณุ ภาพ สถาบันวิทยาศาสตรทางทะเลมุงม่ันทจ่ี ะพัฒนางานวจิ ยั อนรุ กั ษทรพั ยากรธรรมชาติและส่ิงแวดลอมทางทะเล​ ตลอดจนปรับปรงุ การใหบรกิ ารวชิ าการอยา งตอเนื่อง เพอื่ ความเปนเลิศทางดานวิทยาศาสตรทางทะเล ดวยระบบการบรหิ ารจัดการที่ดีมีคณุ ภาพตามมาตรฐานสากล นโยบายด้านส่งิ แวดลอ้ ม สถาบนั ว​ ทิ ยาศาสตรท​ างทะเล​มหาวทิ ยาลยั บ​ รู พา​เปน ห​ นว ยงานท​ ม​่ี ห​ี นา ทใ​ี่ นก​ ารว​ จิ ยั ​ใหบ รกิ ารว​ ชิ าการ​ ดา นว​ ิทยาศาสตร​ทางทะเลแ​ ละส​ าขาวิชา​ทเ่​ี ก่ยี วขอ ง​แก​นักเรียน​นิสิต​นักศึกษา​ประชาชน​โดยท​ ัว่ ไป​นอกจากนย​ี้ ัง​ สนบั สนนุ ก​ ารเ​รยี นก​ ารส​ อนข​ องม​ หาวทิ ยาลยั บ​ รู พา​และส​ ถาบนั ก​ ารศ​ กึ ษาอ​ นื่ ๆ​ในก​ ารใ​หค ำปรกึ ษา​​การส​ นบั สนนุ ​ สถานท่ี​ เครื่องมือ​ อุปกรณ​ สำหรับ​ทำ​วิทยานิพนธ​และ​การ​ฝกงาน​ของ​นิสิต​ สถาบัน​วิทยาศาสตร​ทางทะเล​ได​ ตระหนักถึง​ความ​สำคัญ​ของ​ปญหา​สิ่งแวดลอม​จาก​การ​ดำเนินงาน​ของ​สถาบันฯ​ และ​เพ่ือ​เปนการ​สราง​คุณภาพ​ ชวี ติ ​ท​ี่ดี​ใน​การท​ ำงาน​ของบ​ ุคลากร​จึง​มนี​ โยบายท​ ีจ่ ะ​ปรับปรงุ ก​ าร​ทำงาน​ในท​ ุกๆ​ดา นท​ ​ี่ม​ีผลกระทบ​ตอ ส​ ิ่งแวดลอม​ อยา งต​ อเนอื่ ง​โดย​ผูบริหาร​และบ​ ุคลากร​ของ​สถาบัน​วิทยาศาสตรท​ างทะเลม​ ี​ความม​ งุ ม่นั ท​ ่จี ะป​ ฏิบตั ด​ิ ังน้ี 1.​จะป​ ฏบิ ตั ใ​ิ หถ​ กู ตอ งต​ ามกฎหมายด​ า นส​ งิ่ แวดลอ ม​โดยก​ ารนำข​ อ กำหนดต​ า งๆ​มาจ​ ดั ท​ ำเปน ม​ าตรฐาน​ ใน​การด​ ำเนินงาน 2.​จะใ​หค​ วามรแ​ู ละส​ รา งจ​ ติ สำนกึ ใ​หบ​ คุ ลากรท​ กุ คนม​ ค​ี วามเ​ขา ใจ​ตระหนกั ถงึ ห​ นา ทค​่ี วามร​ บั ผดิ ชอบใ​น​ การท​ จี่ ะ​ปฏบิ ตั ิก​ ารป​ รบั ปรงุ ​เพอื่ ​รกั ษาส​ งิ่ แวดลอ มอ​ ยา งต​ อ เนื่อง 3.​จะ​อนุรักษ​พลังงาน​ไฟฟา​น้ำประปา​ทรัพยากร​ธรรมชาต​ิ โดย​มุงม่ัน​จะ​ใช​ทรัพยากร​อยาง​ประหยัด​ และใ​หเ​ กิด​ประโยชนส​ ูงสุด 4.​จะค​ วบคุม​ระบบก​ ารจ​ ดั การ​ของเสยี ​โดย​วิธ​ีทปี่ ลอดภยั ​ไดม าตรฐาน​และ​ถกู ตอ ง​ตามกฎหมาย 5.​ จะ​รับฟง​ความ​คิดเห็น​จาก​ทุกฝาย​สงเสริม​สนับสนุน​ใน​การ​พัฒนา​ปรับปรุง​ ทบทวน​วัตถุ​ประสงค​ เปา หมาย​ทาง​ดา น​สง่ิ แวดลอม​โดย​ผบู รหิ ารอ​ ยาง​ตอเน่อื งส​ มำ่ เสมอ​และ​พรอ มทจ่ี ะ​เผยแพร​ต อ ​สาธารณะ 3

รายงานประจำป 2550 สถาบนั วทิ ยาศาสตรทางทะเล มหาวิทยาลัยบรู พา นโยบายแนวทางการพัฒนาและการบริหารสถาบนั วทิ ยาศาสตรท์ างทะเล โดย ดร. วรเทพ มธุ วุ รรณ ผ้อู ำนวยการสถาบนั วิทยาศาสตรท์ างทะเล วิสัยทศั น์ สถาบนั ว​ ทิ ยาศาสตรท​ างทะเล​​เปน ส​ ถาบนั วจิ ยั ท​ ม​่ี ค​ี วามเ​ปน เลศิ ท​ างวชิ าการใ​นส​ าขาว​ ทิ ยาศาสตรท​ าง​ ทะเลใน​ระดบั ​สากล​และเ​ปน ท​ ่ีพึ่งท​ างวิชาการแ​ ก​ส งั คม เปา้ หมาย 1.​ เพ่อื ​เปน​ศูนยกลาง​แหง​ความเ​ปน เลศิ ท​ างวชิ าการ​ดา น​วทิ ยาศาสตร​ทางทะเล 2.​ มผ​ี ลงานวจิ ยั ท​ ม​ี่ ค​ี ณุ ภาพใ​นร​ ะดบั ส​ ากลแ​ ละง​านวจิ ยั ท​ ก​ี่ อ ใหเ กดิ ผ​ ลต​ อ ป​ ระชาชนอ​ ยา งเ​ปน รปู ธรรมซ​ ง่ึ ​ สามารถ​นำไป​ใชป ระโยชนไ​ดจ รงิ 3.​ พฒั นาส​ ถานเ​ลย้ี งส​ ตั วน​ ำ้ เคม็ แ​ ละพ​ พิ ธิ ภณั ฑว​ ทิ ยาศาสตรท​ างทะเลอ​ ยา งต​ อ เนอ่ื ง​ใหเ​ ปน แ​ หลง เ​รยี นร​ู นอก​ระบบแ​ ละแ​ หลงทองเทย่ี ว​ทาง​ดาน​วทิ ยาศาสตร​ท างทะเล​ท​่ดี ีทส่ี ุด​ของ​ประเทศ​ 4.​ เปน ท่ี​ใหบ รกิ ารท​ างวิชาการ​เผยแพร​ ถายทอด​เทคโนโลย​ี และน​ วตั กรรมใ​หแ​ กบ​ ุคคลท​ ว่ั ไป​ทงั้ ท​่เี ปน​ บริการ​สาธารณะ​และ​ทส​ี่ ามารถ​สรา งรายได​ใ ห​กบั ห​ นว ยงาน​ 5.​ เปน​ผนู ำทางค​ วามคดิ ​และม​ บ​ี ทบาท​สำคญั ใ​นดาน​การอ​ นรุ ักษท​ รัพยากรธรรมชาต​ทิ างทะเล 6.​ มก​ี ระบวนการ​บริหาร​จัดการ​ทมี่​ ป​ี ระสิทธภิ าพ​โ​ปรงใส​และ​เปน ธรรม แผนกลยทุ ธ์ เพอื่ ใ​หก ารด​ ำเนนิ งานข​ องส​ ถาบนั ฯ​บรรลเุ ปา หมายท​ ก​่ี ำหนดไ​ว​ จงึ ต​ อ งม​ ก​ี ารว​ างแ​ นวนโยบายก​ ารบ​ รหิ าร​ จัดการ​วัตถุประสงค​ และก​ ลยุทธใ​ นก​ าร​ดำเนนิ งานข​ องส​ ถาบนั ฯ​ในดาน​ตางๆ​ไว​เพ่ือเ​ปน แนว​ทางใน​การ​บรหิ าร​ จัดการ​ดงั ต​ อ ไปนี้ การบริหาร มี​กระบวนการ​บริหาร​จัดการ​ที่​มี​ประสิทธิภาพ​ มี​ความ​คลองตัว​ โปรงใส​และ​เปนธรรม​ มี​แผนการ​ ดำเนนิ งานท​ ช​่ี ดั เจนแ​ ละย​ ดื หยนุ ​พรอ มร​ บั ก​ ารเ​ปลยี่ นแปลงไ​ปสก​ู ารเ​ปน อ​ งคก รใ​นก​ ำกบั ข​ องร​ ฐั แ​ ละก​ ารเ​ปลย่ี นแปลงท​ ​ี่ เปน ประโยชนต​ อ อ​ งคก ร​ใหค วามสำคญั ก​ บั ก​ ารพ​ ฒั นาบ​ คุ ลากรแ​ ละก​ ารป​ ระเมนิ ใ​นท​ กุ ร​ ะดบั โ​ดยเ​นน ค​ วามส​ ำคญั ข​ อง​ ผลก​ ารป​ ฏบิ ตั งิ านม​ ร​ี ะบบส​ อื่ สารภ​ ายในองคก รท​ ม​่ี ป​ี ระสทิ ธภิ าพ​เพอ่ื ส​ อื่ สารแ​ ละส​ รา งค​ วามเ​ขา ใจร​ ะหวา งบ​ คุ ลากร​ และ​บุคลากรก​ บั ​ผูบรหิ ารท​ ุก​ระดับ วัตถุประสงค์ท่ี 1​เพ่ือให​มี​การ​บริหาร​จัดการ​ที่​มี​ประสิทธิภาพ​และ​มี​คุณภาพ​มี​ความ​คลองตัว​โปรงใส​ และ​เปน ธรรม​มีก​ าร​ประเมินใ​นท​ ุก​ระดับโ​ดย​เนน ค​ วาม​สำคญั ข​ อง​ผลก​ ารป​ ฏิบตั งิ าน กลยทุ ธ์ 1.​จดั ทำร​ ะบบเ​ทคโนโลยสี ารสนเทศเ​พอื่ ก​ ารบ​ รหิ ารใ​หส​ มบรู ณ​พรอ มข​ อ มลู ท​ ท​่ี นั สมยั ​เปน ป​ จ จบุ นั ​ สำหรับ​ใชใ​ น​การ​บริหารจ​ ัดการ 2.​ อนุญาต​ให​บุคลากร​ท่ี​มี​สวน​ไดเสีย​ใน​การ​บริหาร​จัดการ​ สามารถ​เขาถึง​ขอมูล​ใน​การ​บริหาร​ จดั การใ​น​สว น​ทเ​่ี ก่ียวขอ งไ​ด 4

รายงานประจำป 2550 สถาบันวิทยาศาสตรท างทะเล มหาวทิ ยาลยั บรู พา 3.​มี​การ​จัดทำ​แผนการ​ดำเนินงาน​ท่ี​ชัดเจน​โดย​บุคลากร​มี​สวนรวม​ใน​ระดับ​ที่​เกี่ยวของ​ และ​ ส่ือ​ถึง​บุคลากร​อยาง​ทั่วถึง​ มี​การ​ประเมิน​ และ​ทบทวน​แผนการ​ดำเนินงาน​เปนระยะ​เพ่ือให​ บรรลุเปาหมาย 4.​สรา งร​ ะบบก​ ารท​ ำงานท​ ใ​่ี หบ​ คุ ลากรข​ องส​ ถาบนั ฯ​มงุ สเ​ู ปา หมายห​ ลกั เ​ดยี วกนั ข​ องส​ ถาบนั ฯ​แ​ ละ​ มหาวทิ ยาลัย 5.​สรา งร​ ะบบ​ท​เ่ี ออื้ ใ​ห​ค นดี​มีความสามารถ​สามารถท​ ำงานไ​ด​อ ยางเ​ต็ม​ศักยภาพ​และม​ เ​ี กยี รต​ิ 6.​บคุ ลากรม​ สี​ ว นรว มใ​นก​ าร​วางแ​ ผนงาน​กฎ​ระเบียบ​กตกิ า​และว​ ธิ ปี ฏิบัตอิ​ ่ืนๆ​และย​ ึดถอื ส​ ง่ิ ท​ ี่​ กำหนดข​ ้ึนใ​นก​ าร​บริหารจ​ ัดการ​โดย​ไม​เลอื กปฏบิ ัติ 7.​ มี​ระบบ​ประเมิน​บุคลากร​ท่ี​สัมพันธกับ​ผล​การ​ปฏิบัติงาน​ มี​ความ​ยุติธรรม​และ​โปรงใส​ ตรวจ​ สอบได 8.​มี​ระบบ​การ​ประกัน​คุณภาพ​ท่ี​เปน​สวนหนึ่ง​ของ​การ​บริหาร​ และ​มี​การ​ตรวจ​ติดตามอยาง​ สม่ำเสมอ​ โดย​ระบบ​การ​ตรวจ​ติดตาม​ภายในองคกร​ และ​การ​ตรวจ​ติดตาม​โดยบุคคล​ ภายนอก วัตถุประสงค์ที่ 2​ เพ่ือให​พรอม​รับ​การ​เปล่ียนแปลง​ไปสู​การ​เปน​องคกร​ใน​กำกับ​ของ​รัฐ​และ​การ​ เปลยี่ นแปลง​อน่ื ๆ​ที​่เปน ประโยชนต​ อ​องคก ร กลยทุ ธ 1.​ม​ีการสอ่ื สารอ​ ยาง​สมำ่ เสมอ​เพือ่ ให​บ ุคลากรไ​ด​ท ราบถ​ ึง​ขอ มูลท​ ่ี​ถกู ตอ ง​และเ​ตรียมตัว​ในก​ าร​ พรอ ม​รบั ​การเ​ปล่ียนแปลงต​ างๆ​ที่จะเ​กดิ ขน้ึ 2.​เมอ่ื จ​ ะม​ ก​ี ารเ​ปลย่ี นแปลงเ​กดิ ขน้ึ ​บคุ ลากรจ​ ะต​ อ งไ​ดร​ บั ทราบถ​ งึ ส​ าระสำคญั ​และข​ อ มลู ท​ เ​ี่ พยี งพอ​ กอ น​การ​เปลย่ี นแปลง​จะเ​กิดขน้ึ 3.​ม​ีการ​ปรบั ปรงุ ​โครงสราง​องคก ร​ภายใน​และ​ระเบียบปฏิบตั ต​ิ า งๆ​ที​ส่ ามารถด​ ำเนนิ การไ​ด​ ให​ มี​ความ​คลอ งตัว 4.​ พัฒนา​ความ​เขมแข็ง​ของ​สถาบันฯ​ ในดาน​ตางๆ​ เชน​ การ​วิจัย​ การ​บริการ​วิชาการ​ การ​จัด​ หารายได​ ให​สามารถ​พึ่งพา​ตน​เอง​ได​โดย​เร็ว​และ​พรอมท่ีจะ​เปลี่ยนแปลง​ไปสู​การ​เปน​องคกร​ ใน​กำกับข​ อง​รัฐ​ได​ตลอดเวลา 5.​ เพิ่ม​ชอง​ทางการ​จัด​หารายได​นอก​งบประมาณ​ จาก​องคความรู​ทางการ​วิจัย​ และ​วิชาการ​ให​ มากข้นึ วัตถุประสงค์ที่ 3​เพื่อ​พัฒนา​บุคลากร​ใน​ทุก​ระดับ​และ​ทุก​กลุม​ตาม​ศักยภาพ​และ​หนา​ที่​รับผิดชอบ​ที่​ ปฏิบตั ิ กลยุทธ์ 1.​ สำรวจ​และ​จัดทำ​แผน​พัฒนา​บุคลากร​ของ​ฝาย​ตางๆ​อยาง​เปนระบบ​ และ​สอดคลองกับ​ทิศ​ ทางการ​พฒั นาข​ องส​ ถาบนั ฯแ​ ละ​มหาวิทยาลยั 2.​สงเสริม​ใหบ​ คุ ลากรใ​หม​ ​ีความก​ า วหนา ใ​นส​ ายงาน​โดยย​ ึดหลักผ​ ลสัมฤทธิ​์ของง​ าน 3.​ สงเสริม​ให​บุคลากร​มี​การ​พัฒนา​ทั้ง​ในดาน​งานอาชีพ​ และ​การ​ศึกษา​ ตาม​ศักยภาพ​และ​ความ​ ตองการข​ อง​สถาบนั ฯ 4.​มี​ระบบก​ ารต​ ดิ ตาม​และ​ประเมนิ ผลก​ ารพ​ ฒั นา​บุคลากร​อยา ง​เหมาะสม 5

รายงานประจำป 2550 สถาบนั วิทยาศาสตรท างทะเล มหาวทิ ยาลยั บรู พา วัตถุประสงค์ที่ 4​เพ่ือ​พัฒนา​ระบบ​ส่ือสาร​ภายในองคกร​ให​มี​ประสิทธิภาพ​เพ่ือ​ใช​ใน​การส่ือสาร​และ​ สรางค​ วาม​เขาใจร​ ะหวา งบ​ ุคลากร​และบ​ ุคลากร​กบั ​ผูบริหาร​ทุก​ระดับ กลยุทธ์ 1.​ม​ีระบบ​การสือ่ สาร​เผยแพร​ ขอ มูล​ภายใน​ท​ี่มป​ี ระสิทธภิ าพ 2.​ใช​ระบบ​ส่ือสาร​ให​มี​ประสิทธิภาพ​สูงสุด​ใน​การ​ประชาสัมพันธ​ เพ่ือ​เผยแพร​ขอมูล​ที่​ชัดเจน​ ถูกตอง​ครบถว น​เหมาะสมกับ​เวลาแ​ ละ​สถานการณ​ ส​บู ุคลากรท​ ุกร​ ะดับ 3.​ สราง​วัฒนธรรม​การ​ใช​ระบบ​ส่ือสาร​ภายในองคกร​ ให​บุคลากร​ใน​ทุก​ระดับ​ ​เพื่อ​การสื่อสาร​ ขอ มูลแ​ ละ​ใชแ​ สดงความเหน็ งบประมาณ มี​ระบบก​ าร​บริหาร​จัดการ​งบประมาณท​ มี่​ ​ีประสิทธภิ าพ​และ​ใชเ​ปน เ​ครือ่ งมือ​ในก​ ารบ​ รหิ าร​จัดการ​เพ่อื ​ ผลกั ดนั ใ​หบ​ รรลเุ ปา หมายข​ องส​ ถาบนั ฯไ​ดอ​ ยา งร​ วดเรว็ แ​ ละม​ ป​ี ระสทิ ธภิ าพ​มก​ี ารเ​พม่ิ แ​ หลง ท​ นุ น​ อกง​บประมาณโ​ดย​ ใช​ทรัพยสิน​ที่​มี​อยู​ให​เกิด​รายได​สูงสุด​และ​เพิ่ม​ชอง​ทางใน​การ​จัด​หารายได​โดย​เฉพาะ​จาก​งานวิจัย​เชิงพาณิชย​และ​ การบ​ รกิ ารว​ ชิ าการ​ที​เ่ กิดขน้ึ ​จาก​การว​ จิ ยั ​เ​พอ่ื ​การพ​ ่งึ พาต​ น​เอง วตั ถปุ ระสงคท์ ่ี 1​เพอ่ื พ​ ฒั นาแ​ ละใ​ชป ระโยชนร​ ะบบบ​ รหิ ารจ​ ดั การง​บประมาณอ​ ยา งมปี ระสทิ ธภิ าพส​ งู สดุ ​ และม​ ​กี ารจ​ ัดสรร​งบประมาณ​ตามผ​ ล​ของก​ ารป​ ฏบิ ตั งิ าน กลยุทธ์ 1.​ ใหความสำคัญ​กับ​การ​พัฒนา​หรือ​นำ​เอา​ระบบ​ที่​ใช​ใน​การ​บริหาร​จัดการ​งบประมาณ​ มา​ใช​ใน​ การ​บริหารจ​ ดั การ​อยางมีประสิทธิภาพ​มี​ขอมูล​ท​่ที ันสมัย​และ​เปน​ปจจุบัน​สามารถใ​ช​ใน​การ​ ตดั สินใจ​ได​ทกุ เวลา 2.​มีร​ ะบบ​งบประมาณ​ที​่มกี​ ารร​ ายงาน​การ​ประเมิน​อยา งมปี ระสิทธิภาพ​โปรงใส​และส​ ามารถ​ ตรวจ​สอบได วัตถุประสงค์ท่ี 2​เพ่ือ​ใช​ระบบ​การ​งบประมาณ​ใน​การ​สงเสริม​ให​สถาบันฯ​​สามารถ​บรรลุเปาหมาย​ใน​ การบ​ รหิ ารไ​ด​อ ยา งร​ วดเรว็ แ​ ละ​มป​ี ระสทิ ธภิ าพ กลยทุ ธ์ 1.​สงเสรมิ ​การ​ใชร​ ะบบก​ ารง​ บประมาณ​เปน เ​ครอ่ื งมอื ใ​นก​ ารผ​ ลักดนั ​องคก รใ​หก​ า ว​ไปสูเ​ปาหมาย​ หลกั ​ของ​สถาบนั ฯ​ 2.​มี​การ​จัดสรร​งบประมาณ​ตาม​ผลสัมฤทธ์ิ​ของ​งาน​และ​งาน​ที่​สอดคลองกับ​เปาหมาย​ของ​ สถาบนั ฯ วัตถุประสงค์ท่ี 3​เพื่อให​มี​การ​จัดหา​แหลง​ทุน​นอก​งบประมาณ​มากข้ึน​โดย​เฉพาะ​รายได​ท่ีเกิด​จาก​ องคค วามร​ขู องส​ ถาบันฯ กลยทุ ธ์ 1.​สรา งต​ ราผ​ ลติ ภณั ฑข​ องส​ ถาบนั ฯแ​ ละส​ รา งม​ ลู คา ใ​หก​ บั ต​ ราผ​ ลติ ภณั ฑ​ เพอื่ ใ​ชใ​ นผ​ ลติ ภณั ฑต​ า งๆ​ ทเี่​กิดข้ึน 2.​สงเสริมก​ ารนำเ​อา​องคความร​จู าก​การว​ ิจัย​และ​ความรท​ู างวิชาการ​มา​พฒั นาเ​ปน ผ​ ลิตภณั ฑ​ และบ​ ริการ​ทางวชิ าการ​ท​ีส่ ามารถส​ รา งรายได​ให​ก ับส​ ถาบันฯ​และ​มหาวิทยาลัย​”โครงการ​ องคค วามร​สู ผู​ ลติ ภณั ฑ” ​ 6

รายงานประจำป 2550 สถาบนั วิทยาศาสตรท างทะเล มหาวิทยาลยั บูรพา 3.​ มี​ระบบ​ท่ี​สราง​แรงจูงใจ​ เชน​ ผลตอบแทน​ใน​สัดสวน​ที่​เหมาะสม​ ให​กับ​ผูวิจัย​หรือ​กลุม​วิจัย​ที่​ พัฒนา​องคค วามร​ูจาก​การว​ จิ ัย​มาสผู​ ลติ ภณั ฑแ​ ละ​การบ​ รกิ าร 4.​ มี​การ​ใช​ทรัพยสิน​ที่​มี​อยู​ให​เกิด​รายได​สูงสุด​ เพ่ือ​ลดภาระ​คาบำรุงรักษา​ดวย​เงิน​งบประมาณ​ และ​เปนการ​เพิม่ ร​ ายได​เชน ​ให​มกี​ าร​ใช​เ คร่ืองมือว​ จิ ัย​รบั จา งห​ รอื ​ใหเชา​ตรวจ​วิเคราะห​ทาง​ หองปฏิบัติการ 5.​สง เสรมิ ​ให​เ อกชน​และ​หนว ยงานห​ ารายไดข​ อง​สถาบันฯ​เขา มา​มสี​ ว นรวมใ​นก​ าร​ลงทุน​พฒั นา​ ผลิตภณั ฑ​การบ​ ริการท​ างวชิ าการ​และก​ าร​ตลาด 6.​จดั ใหม​ ร​ี ะบบใ​นก​ ารจ​ ดั สรร​ผลประโยชนท​ เ​ี่ กดิ ขน้ึ จ​ ากผ​ ลประโยชนใ​ นง​านวจิ ยั ใ​นกรณที เ​ี่ อกชน​ เขา มาม​ ​ีสวนรว ม​ในก​ าร​สนับสนุนง​ บประมาณ​ในก​ ารว​ จิ ยั และพฒั นา 7.​สราง​เครือขาย​กับ​เอกชน​และ​ชักชวน​ให​หนวยงานเอกชน​เขามา​มี​สวนรวม​ใน​การ​สนับสนุน​ งบประมาณ​เพ่อื ก​ ารเ​ผยแพรค​ วามร​ู การอ​ นุรกั ษท​ รพั ยากร​ฯลฯ​ 8.​ ให​มี​การ​ทบทวน​ ปรับปรุง​ระเบียบ​ และ​วิธีปฏิบัติ​ ใน​สวน​ของ​การ​หารายได​อยาง​สม่ำเสมอ​ เพอ่ื ใหเ​กดิ ค​ วาม​คลอ งตัว​และม​ ปี​ ระสทิ ธิภาพ​สงู สุด การวจิ ยั มค​ี วามเ​ปน เลศิ ใ​นดา นก​ ารว​ จิ ยั ท​ างด​ า นว​ ทิ ยาศาสตรท​ างทะเลแ​ ละเ​ปน ทยี่ อมรบั ใ​นร​ ะดบั ส​ ากล​โดยม​ ก​ี าร​ กำหนด​ทิศ​ทางการ​วิจัย​ที่​ชัดเจน​สอดคลองกับ​เปาหมาย​ของ​สถาบันฯ​ มหาวิทยาลัย​ และ​ยุทธศาสตร​การ​วิจัย​ของ​ ประเทศ​ สนับสนุน​งานวิจัย​ท่ี​สามารถ​นำไปใช​ให​เกิด​ประโยชน​ในดาน​ตางๆ​ มี​ระบบ​ชวย​ใน​การ​บริหาร​งานวิจัย​ที่​มี​ ประสิทธิภาพ​และ​สนับสนุน​ให​นัก​วิจัย​สามารถ​ทำงาน​ได​อยาง​เต็ม​ประสิทธิภาพ​ ​สงเสริม​และ​สราง​เครือขาย​ความ​ รวมมือข​ องน​ กั ​วิจยั ​และส​ ถาบันวิจัย​ทงั้ ใ​น​และน​ อกประเทศ​ วตั ถุประสงคท์ ่ี 1​เพือ่ สรา งความเปน เลิศในการวจิ ัยทางดานวิทยาศาสตรทางทะเล กลยทุ ธ์ 1.​ สนับสนุน​กลุม​วิจัย​ท่ี​เขมแข็ง​และ​มี​ผลงาน​ท่ี​โดดเดน​ สามารถ​ไดเปรียบ​ใน​เชิง​การ​แขงขัน​ ให​ พัฒนา​งานวิจัย​อยาง​ตอเน่ือง​ และ​ผลักดัน​ให​กลายเปน​หนวย​วิจัย​ท่ี​เปนเลิศ​เฉพาะ​ทาง ​โดย​เร็ว​และ​ดำรง​สถานภาพ​ของ​ความ​เปนเลิศ​ได​อยาง​ยั่งยืน​ “Marine​ Ornamentals​ Research​Center” 2.​ทบทวน​ปรบั ปรงุ โ​ครงสรา ง​หนา ท​ี่ บคุ ลากรว​ จิ ยั ​ใหม​ ค​ี วามเ​หมาะสมกบั ​ปรมิ าณง​าน​คณุ ภาพ​ ของง​าน​และค​ วามร​ คู วามส​ ามารถข​ องน​ กั ว​ จิ ยั ​เพอื่ น​ ำไปสก​ู ารพ​ ฒั นาส​ ค​ู วามเ​ปน เลศิ ข​ องก​ ลมุ ​ วิจยั 3.​จดั ลำดบั ก​ ารพ​ ฒั นาก​ ลมุ ว​ จิ ยั เ​พอื่ ใหก​ า วส​ ค​ู วามเ​ปน เลศิ ต​ ามศ​ กั ยภาพ​โดยส​ นบั สนนุ ใ​หม​ ค​ี วาม​ พรอม​และค​ วามเ​ขมแขง็ ​เพ่อื ให​ผ ลิตผ​ ลงาน​ท​่ีโดดเดน ​เปน ​สากล​และ​ผลักดนั ​ให​เกดิ ​หนว ยว​ จิ ัย​ ทเ่ี​ปน เลศิ เ​ฉพาะ​ทาง​ตอไป 4.​ม​รี ะบบ​สนบั สนนุ ​ผูม คี วามสามารถ​ในก​ ารว​ ิจยั เ​ปน พเิ ศษ 5.​สนับสนุนใ​ห​ม​กี องท​ ุนวจิ ยั เ​พ่ือก​ ารพ​ ฒั นาง​ านวิจยั ​อยางต​ อ เนื่อง 7

รายงานประจำป 2550 สถาบนั วทิ ยาศาสตรท างทะเล มหาวิทยาลัยบรู พา วตั ถุประสงคท์ ่ี 2​เพ่อื ใหง านวจิ ัยของสถาบันฯเปน ที่ยอมรบั ในระดบั ประเทศและระดบั สากล กลยุทธ์ 1.​ มี​ระบบ​ตอบแทน​นัก​วิจัย​ ที่​มี​การ​พัฒนา​คุณภาพ​ของ​งานวิจัย​ให​มี​คุณภาพ​ เปน​สากล​ เชน​ สามารถต​ พี มิ พใ​ นว​ ารสารร​ ะดบั นานาชาติ​ทม​่ี ​ี impact​factor​สงู อ​ ยา งส​ มำ่ เสมอ​หรอื ง​านวจิ ยั ท​ ​ี่ สามารถน​ ำไปเ​ผยแพรแ​ ละเ​กดิ ป​ ระโยชนแ​ กป​ ระชาชน​สงั คม​หรอื อ​ ตุ สาหกรรม​หรอื ส​ รา งรายได​ ให​กบั ส​ ถาบันฯแ​ ละ​มหาวทิ ยาลัย 2.​สนับสนุน​งานวิจัย​ท่ี​เปนท่ีตองการ​ของ​ชุมชน​ ประเทศชาติ​ และ​สามารถ​นำ​ผล​ไปสู​การ​ จดสิทธิบัตร​หรอื ส​ รางรายไดใ​ห​กบั ห​ นว ยงาน 3.​ พัฒนา​คุณภาพ​ของ​นัก​วิจัย​อยาง​ตอเน่ือง​ และ​มี​ระบบ​สนับสนุน​เพ่ือ​เพ่ิม​ขีดความสามารถ​ของ​ นกั ว​ ิจัย​ 4.​สนับสนุนโ​ครงสรางพน้ื ฐาน​เครื่องมือ​อุปกรณ​​ส่ิง​อำนวยความสะดวกแ​ ละเ​วลา​ใน​การ​ทำ​ วิจัยใ​หก​ บั ​นัก​วิจัยอ​ ยา ง​เพียงพอ 5.​สราง​ระบบประกันคุณภาพ​งานวิจัย​ โดย​มี​ระบบ​ชวยเหลือ​นัก​วิจัย​ ใน​การ​เขียน​ขอเสนอ​ โครงการวจิ ยั ท​ ม​่ี ค​ี ณุ ภาพ​เพอ่ื แ​ สวงหาท​ นุ วจิ ยั ท​ งั้ ใ​นแ​ ละน​ อกประเทศ​และก​ ารป​ รบั ปรงุ ค​ ณุ ภาพ​ ของง​ านวจิ ัยใ​หม​ ค​ี ณุ ภาพ​ใน​ระดับส​ ากล 6.​มรี​ ะบบส​ นับสนนุ ​ใหม​ ​ีการ​เผยแพร​ผลงานวิจยั ​ใน​ทุก​รูปแบบ​โดยเ​นน ​การ​เพ่ิม​ศักยภาพ​ของ​นกั ​ วิจยั ใ​หส​ งู ข้นึ เ​ปนลำดบั ​​มากกวา ​การส​ งเสริม​โดย​ปราศจาก​การ​พฒั นา​นัก​วจิ ยั วตั ถปุ ระสงคท์ ่ี 3​เพอ่ื ก​ ำหนดท​ ศิ ท​ างการว​ จิ ยั ท​ ช​่ี ดั เจน​สอดคลอ งกบั เ​ปา หมายข​ องส​ ถาบนั ฯ​มหาวทิ ยาลยั ​ และ​ยุทธศาสตร​การ​วิจัย​ของ​ประเทศ​ และ​เพ่ือ​สนับสนุน​งานวิจัย​ที่​สามารถ​นำไปใช​ให​เกิด​ประโยชน​ในดาน​ตางๆ​ ไดจ รงิ กลยุทธ์ 1.​กำหนดแ​ ผน​งานวจิ ยั ข​ องส​ ถาบันฯ​ให​สอดคลอ งกบั เ​ปาหมาย​ของ​สถาบันฯ​มหาวิทยาลัย​และ​ ตามย​ ทุ ธศาสตร​ของช​ าติ 2.​สงเสรมิ ​งานวิจัยท​ ม​่ี ท​ี ิศทาง​สอดคลอ งกบั เ​ปาหมาย​ของส​ ถาบันฯ​และ​ตรงต​ ามค​ วาม​ตอ งการ​ ของ​ชุมชน​ผใู ชส​ ามารถ​นำไปใ​ชป ระโยชนไ​ดจริง​ 3.​สรา งเ​ครอื ขา ยค​ วามร​ ว มมอื ก​ บั อ​ งคก ารป​ กครองท​ อ งถนิ่ ​และช​ มุ ชน​ใหเ​ ขา มาม​ ส​ี ว นรว มใ​นก​ าร​ ตั้ง​โจทยว​ จิ ยั ​และ​ม​สี ว น​สนับสนนุ ​งบประมาณใ​น​การ​วจิ ยั ​ท​เี่ ปน ทีต่ อ งการ​ของ​ทองถนิ่ 4.​สงเสริมง​ านวิจัย​เชิงพาณชิ ย​ที่​สามารถ​สรา งรายไดใ​หก​ บั ส​ ถาบนั ฯ​และม​ หาวทิ ยาลยั 5.​ สนับสนุน​ให​เอกชน​เขามา​มี​สวนรวม​สนับสนุน​งบประมาณ​ใน​งานวิจัย​ และ/​หรือ​รวม​สนับสนุน​ งบประมาณ​เพ่ือ​พัฒนาผ​ ลิตภณั ฑจ​ าก​ผลงานวจิ ยั วัตถปุ ระสงคท์ ่ี 4​เพือ่ สรา งระบบบริหารงานวิจัยท่ีมีประสิทธิภาพ กลยุทธ์ 1.​พัฒนาร​ ะบบบ​ รหิ ารง​ านวิจยั ท​ ​่ีเนนก​ าร​ชว ยเหลอื ​และแ​ กปญหาใ​หก​ ับผ​ วู ิจยั 2.​พฒั นา​ระบบ​ฐานขอมูลว​ ิจัย​ให​ท ันสมยั ​ขอมลู ​เปนป​ จ จุบนั ​ 3.​พัฒนาร​ ะบบ​สารสนเทศ​การว​ จิ ัย​ของส​ ถาบันฯร​ วมถงึ ห​ อ งสมดุ ​เฉพาะ​ทางข​ อง​สถาบันฯ 8

รายงานประจำป 2550 สถาบันวิทยาศาสตรทางทะเล มหาวทิ ยาลยั บูรพา 4.​พัฒนา​วิธี​ประเมินคุณภาพ​ผลงานวิจัย​ที่​กอใหเกิด​ผล​ตอ​ประชาชน​อยาง​เปนรูปธรรม​โดย​ ใหความสำคัญ​กับ​ผลงาน​ท่ี​เกิดขึ้น​ ​เพื่อ​สงเสริม​ให​มี​การ​วิจัย​ท่ี​ตรง​กับ​ความ​ตองการ​ของ​ผู​ ใชประโยชนอ​ ยางแ​ ทจริง วัตถุประสงค์ท่ี 5​​เพื่อ​สงเสริม​และ​สราง​เครือขาย​ความ​รวมมือ​ของ​นัก​วิจัย​และ​สถาบันวิจัย​ท้ัง​ใน​และ​ นอกประเทศ กลยุทธ์ 1.​สรา งเ​ครอื ขา ยก​ ารว​ จิ ยั ใ​นร​ ะดบั ประเทศแ​ ละร​ ะดบั นานาชาติ​และส​ นบั สนนุ ใ​หเ​ กดิ ค​ วามร​ ว มมอื ​ ในดาน​การว​ ิจยั ​อยา ง​แทจริง 2.​มี​การ​แลกเปล่ียน​นัก​วิจัย​ เพื่อ​ทำ​งานวิจัย​รวมกัน​ กับ​หนวยงาน​ทั้ง​ภายใน​ ​ภายนอก​และ​ ตา งประเทศ การบรกิ ารวิชาการ 9 มก​ี ารพ​ ฒั นาส​ ถานเ​ลย้ี งส​ ตั วน​ ำ้ เคม็ แ​ ละพ​ พิ ธิ ภณั ฑว​ ทิ ยาศาสตรท​ างทะเลอ​ ยา งต​ อ เนอื่ งแ​ ละเ​ปน ผ​ นู ำทาง​ ความคดิ แ​ ละก​ าร​ปฏบิ ัติโ​ดย​เฉพาะด​ า น​การ​อนุรกั ษท​ รพั ยากรธรรมชาตท​ิ างทะเล​ท​ดี่ ีท​ ส่ี ดุ ​ในประเทศ​​เปน ​แหลงร​ วม​ ความร​ทู างด​ า นว​ ิทยาศาสตร​ทางทะเล​และใ​หบริการว​ ชิ าการ​ในเ​ชิง​รุก​​โดยม​ ี​รปู ​แบบ​ที่​หลากหลาย​​ทันสมยั ​บ​ คุ คล​ ทวั่ ไปส​ ามารถเ​ขาถ​ งึ ​ไดง​ าย​​สะดวก​และม​ มี​ าตรฐาน​​เปน ​แหลง ​ถา ยทอดเ​ทคโนโลย​ีและ​นวัตกรรมแ​ ละ​สนบั สนุนก​ าร​ เรียนก​ ารส​ อนภ​ าคปฏิบตั ​ิ ​โ​ดยใ​หบรกิ ารใ​น​รปู แ​ บบ​ประโยชนส​ าธารณะ​หรือ​ม​คี าบริการ​แ​ ละเ​ปน ท​ ี่พ่ึง​ของช​ ุมชน วัตถุประสงค์ที่ 1 เพื่อ​พัฒนา​สถาน​เลี้ยง​สัตว​น้ำเค็ม​และ​พิพิธภัณฑ​วิทยาศาสตร​ทางทะเล​อยาง​ ตอเนื่อง​และ​เปน​ผูนำทาง​ความคิด​และ​การ​ปฏิบัติ​โดย​เฉพาะ​ดาน​การ​อนุรักษ​ทรัพยากรธรรมชาติ​ทางทะเล​ที่​ดี​ที่สุด​ ในประเทศ​ กลยุทธ์ 1.​ สราง​ความเปนผูนำ​ทาง​ดาน​การ​จัดการ​ทรัพยากร​ และ​การ​บริหาร​จัดการ​สถาน​เลี้ยง​สัตว​ น้ำเค็ม​และ​พิพิธภัณฑ​ทาง​ดาน​วิทยาศาสตร​ทางทะเล​ของ​ประเทศ​ โดย​นำ​ผลงาน​จาก​การ​ วจิ ยั ม​ าผ​ นวก​กับ​แนวคดิ ​การจ​ ัดแสดงแ​ ลว​นำ​เสนอให​ก บั ผ​ ูเ ขาชม​เพ่ือส​ รา ง​ความต​ ระหนัก​และ​ แนวรว มใ​นก​ ารอ​ นรุ กั ษท​ รพั ยากรธรรมชาตท​ิ างทะเล​เชน ​การเ​ปลย่ี นว​ ธิ กี ารจ​ ดั แสดงใ​นส​ ถาน​ เลี้ยง​สัตว​น้ำเค็ม​ จาก​เดิม​ที่​เปนการ​ใช​ทรัพยากร​ ให​กลาย​เปนการ​อนุรักษ​พันธุกรรม​และ​การ​ ขยายพันธุ​สิ่งมีชีวิต​ โดย​ใช​ส่ิง​ทดแทน​ และ​สิ่งมีชีวิต​ท่ีเกิด​จาก​การ​เพาะ​ขยายพันธุ​ (Captive​ bred​marine​organisms)​และ​เปนผ​ ลผลิต​จาก​การว​ ิจยั และพฒั นา​“Environmental​Friendly​ Aquarium”​ ​ “Zero-impact​ Aquarium”​ และ​สราง​มาตรฐาน​คุณภาพ​ใน​การ​บริหาร​จัดการ​ สถาน​แสดง​พันธุ​สัตว​น้ำเค็ม​ และ​สงเสริม​ให​มี​การ​ใช​เปนแนว​ทางใน​การ​บริหาร​จัดการ​สถาน​ แสดงพ​ ันธ​ุสตั วนำ้ ใ​นประเทศ​ไทย​“Standard​of​Practice​for​Public​Aquarium” 2.​ พัฒนา​สถาน​เล้ียง​สัตว​น้ำเค็ม​และ​พิพิธภัณฑ​ให​มี​รูปแบบ​การ​จัดแสดง​ที่​ทันสมัย​ มี​ขอมูล​ท่ี​เปน​ ปจ จบุ นั แ​ ละส​ อดคลอ งกบั เ​หตกุ ารณเ​ ปลยี่ นแปลงอ​ ยา งร​ วดเรว็ ข​ องโลก​เพอ่ื ใหเ​ ปน แ​ หลง เ​รยี นร​ู ตลอดชวี ติ ท​ าง​ดา นว​ ทิ ยาศาสตร​ทางทะเล​ทด่​ี ีที่สดุ ​ของ​ประเทศ​ 3.​พฒั นาแ​ ละป​ รบั เปลยี่ นร​ ปู แบบก​ ารจ​ ดั แสดงอ​ ยา งต​ อ เนอ่ื ง​และน​ ำเ​อาผ​ ลงานวจิ ยั เ​ขา ไปม​ ส​ี ว นรว ม​ ใน​การ​ใหค​ วามร​ูและจ​ ดั แสดง​มากขึน้ 4.​ มี​การ​ประชาสัมพันธ​ใน​เชิง​รุก​ เพ่ือ​ชักชวน​ให​นักเรียน​ นักศึกษา​ ประชาชน​ และ​ผู​สนใจ​ เกิด​ ความต​ ่นื ตวั ​และเ​ขา มาเ​ยย่ี มชม​เพ่อื ศ​ กึ ษา​​หาความรมู​ ากข้ึน

รายงานประจำป 2550 สถาบันวทิ ยาศาสตรท างทะเล มหาวทิ ยาลัยบูรพา วัตถุประสงค์ที่ 2​เพื่อ​เปน​แหลง​รวบรวม​ความรู​ทาง​ดาน​วิทยาศาสตร​ทางทะเล​และ​การ​ใหบริการ​ วิชาการ​ใน​เชิง​รุก​ โดย​มี​รูปแบบ​ท่ี​หลากหลาย​ ทันสมัย​ บุคคล​ท่ัวไป​สามารถ​เขาถึง​ได​งาย​สะดวก​และ​มี​มาตรฐาน​ ทั้งใ​นร​ ูปแบบ​สาธารณะ​และ​มค​ี าบริการ กลยุทธ์ 1.​การ​ใหบริการ​วิชาการ​เปนไป​ใน​เชิง​รุก​ โดย​มี​ประชาสัมพันธ​ และ​มี​การ​ประเมิน​เพ่ือ​ ทราบ​ความ​ตองการ​ของ​ผูรับบริการ​และ​สามารถ​สนองตอบ​ตอ​ความ​ตองการ​ขอมูล​ได​ อยา งมีประสิทธภิ าพ 2.​มก​ี ารจ​ ดั ทำฐ​ านขอ มลู ค​ วามรใ​ู นดา นต​ า งๆท​ เ​่ี กย่ี วขอ งท​ างด​ า นว​ ทิ ยาศาสตรท​ างทะเลค​ รอบคลมุ ​ ภารกจิ ​ของส​ ถาบนั ฯ​ 3.​มก​ี ารจ​ ดั ทำแ​ ละพ​ ฒั นาร​ ปู แบบก​ ารใ​หบ รกิ ารท​ ห​่ี ลากหลาย​เชน ​ในร​ ปู แบบข​ องซ​ ดี ี​เอกสาร​แผน ​ ปลวิ ​ขอ มูล​บนเ​วบ็ ไ​ซดห​ นวยงาน​กระดานข​ า ว​กระดานถ​ าม-ตอบปญ หา​การ​ใหบรกิ ารท​ าง​ โทรศพั ท​ฯลฯ​ 4.​มก​ี ารใ​หบ รกิ ารใ​นแ​ บบท​ ​ี่ นกั เรยี น​นสิ ติ ​นกั ศกึ ษา​ประชาชนผ​ ส​ู นใจ​สามารถท​ จ่ี ะเ​ขา มาห​ าความร​ู และ​สอบถ​ ามปญ หา​ไดส​ ะดวก​ตลอดเวลา 5.​มร​ี ะบบประกนั คณุ ภาพ​ในก​ าร​ใหบ รกิ าร​ทางวชิ าการ​โดยม​ ีก​ ารต​ ดิ ตามผ​ ล​และ​ปรับปรุง​การ​ ใหบ ริการอ​ ยางต​ อเน่อื ง วัตถุประสงค์ที่ 3​​เพื่อ​เปน​แหลง​ถายทอด​เทคโนโลยี​และ​นวัตกรรม​และ​สนับสนุน​การ​เรียน​การ​สอน​ ภาคปฏบิ ัติ กลยทุ ธ์ 1.​กำหนดแ​ ละส​ นบั สนนุ ใ​หม​ ก​ี ารเ​ผยแพรแ​ ละถ​ า ยทอดเ​ทคโนโลยแ​ี ละน​ วตั กรรม​สผ​ู ใู ชอ​ ยา งท​ ว่ั ถงึ ​ โดยเ​ฉพาะ​เทคโนโลย​ีและ​นวัตกรรมท​ ี่​สามารถน​ ำไปใ​ชประโยชน​ไดจ ริง 2.​กำหนด​ให​บุคลากร​ทางการ​วิจัย​ทั้งหมด​มี​หนาท่ี​ใน​การ​เผยแพร​ ถายทอด​เทคโนโลยี​และ​ นวตั กรรม​ 3.​สนบั สนนุ ใ​หบ​ คุ ลากรท​ างการว​ จิ ยั ม​ ส​ี ว นรว มใ​นก​ ารเ​รยี นก​ ารส​ อนม​ ากขนึ้ ​โดยเ​ฉพาะใ​นดา นก​ าร​ ปฏบิ ัติแ​ ละง​ านวจิ ัย 4.​สรา งค​ วามร​ ว มมอื ก​ บั ห​ นว ยงานท​ ม​่ี ก​ี ารเ​รยี นก​ ารส​ อน​เพอื่ เ​สรมิ ใ​หก ารเ​รยี นก​ ารส​ อนใ​นห​ ลกั สตู ร​ มี​ความเ​ขม แขง็ ม​ ากขนึ้ ใ​นดา นก​ าร​ปฏบิ ตั ิ 5.​ สงเสริม​ให​มี​การ​ถายทอด​เทคโนโลยี​และ​นวัตกรรม​ ใน​รูปแบบ​ท่ี​เปนการ​สรางรายได​ให​กับ​ สถาบนั ฯแ​ ละม​ หาวทิ ยาลยั ​“ศนู ยเ​ ผยแพร​ ถา ยทอดเ​ทคโนโลยแ​ี ละน​ วตั กรรม”​“Aquaculture​ Park” 10

รายงานประจำป 2550 สถาบนั วิทยาศาสตรท างทะเล มหาวิทยาลัยบูรพา โครงการท่ีสำคัญในแผนการดำเนินงาน 1. ศนู ยว์ ิจัยการเพาะเล้ยี งสตั ว์และพืชสวยงามน้ำเคม็ (Marine Ornamentals Research Center) สถาบนั ว​ ทิ ยาศาสตรท​ างทะเล​ม​ ก​ี ารแ​ บง กลมุ ง​านวจิ ยั อ​ อกเ​ปน ​4​ ​ก​ ลมุ ด​ ว ยก​ นั ​ค​ อื ​ง​านวจิ ยั ก​ ารเ​พาะเลยี้ ง​ สตั วแ​ ละพ​ ชื ท​ ะเล​ง​านวจิ ยั ค​ วามห​ ลากหลายท​ างช​ วี ภาพท​ างทะเล​ง​านวจิ ยั เ​ทคโนโลยชี วี ภาพท​ างทะเล​แ​ ละง​านวจิ ยั ​ ส่ิง​แวดลอม​ทางทะเล​ ​ซ่ึง​มี​นัก​วิทยาศาสตร​ที่ทำงาน​วิจัย​ใน​สาขา​วิชาการ​ดังกลาว​ ​ทำการ​ศึกษาวิจัย​ใน​สาขา​ท่ี​ตน​ เอง​ถนัด​และ​มี​ผลงาน​ออกมา​อยาง​ตอเนื่อง​ ​แต​อยางไรก็ตาม​สถาบัน​วิทยาศาสตร​ทางทะเล​ ​ไดรับ​การ​ยอมรับวา​ มี​ผลงานวิจัย​ท่ี​โดดเดน​ทาง​ดาน​การ​เพาะเล้ียงสัตวน้ำ​โดย​เฉพาะ​สัตว​และ​พืช​สวยงาม​น้ำเค็ม​ ​และ​เปน​ท่ี​รูจัก​ของ​ บคุ ลากรใ​นว​ งการว​ จิ ยั แ​ ละป​ ระชาชนท​ วั่ ไป​ร​ วมท​ งั้ ต​ า งประเทศ​ม​ ส​ี อ่ื ต​ า งๆ​เ​ชน ​ว​ ทิ ย​ุ โ​ทรทศั น​ ห​ นงั สอื พมิ พ​ ว​ ารสาร​ หนงั สือเ​ฉพาะกิจ​​ตางๆ​น​ ำเ​อาผ​ ลงานวจิ ัย​ท่​ดี ำเนินการ​อยไู​ ป​เผย​แพร​อยา งต​ อเนือ่ ง​เ​ชน​ก​ าร​เพาะเลย้ี ง​มาน้ำ​ก​ าร​ เพาะเลย้ี งป​ ลาก​ ารต นู ​ก​ ารเ​พาะเลย้ี งห​ อยห​ วาน​แ​ ละก​ ารเ​พาะเลย้ี งส​ ตั วส​ วยงามน​ ำ้ เคม็ อ​ น่ื ๆ​อ​ กี ท​ ง้ั ผ​ ลงานวจิ ยั พ​ ฒั นา​ เหลา น้ีย​ ังไ​ดถ​ กู ​ถายทอดไ​ปสผู​ ู​ใชท​ ำ​ให​เ กดิ ผ​ ลผลิต​และ​รายได​อยางเ​ปน รปู ธรรม​​ ก​ ารว​ จิ ยั ใ​นดา นก​ ารเ​พาะเลยี้ งสตั วน ำ้ ​โ​ดยท​ เ​่ี นน หนกั ท​ างด​ า นส​ ตั วแ​ ละพ​ ชื ส​ วยงามน​ ำ้ เคม็ ​ใ​นประเทศไ​ทย​ มี​จำนวน​นอยมาก​และ​แม​แต​ใน​ตางประเทศ​เอง​ก็​อยู​ใน​วงจำกัด​และ​ผลงานวิจัย​ทั้งหมด​สวน​ใหญ​จะ​นำไปสู​การ​ผลิต​ เชงิ พาณชิ ยแ​ ละเ​ปน ความลบั ท​ างการคา ท​ ง้ั สนิ้ ​จ​ ะเ​หน็ ไ​ดว​ า การว​ จิ ยั ใ​นส​ าขาด​ งั กลา วส​ ถาบนั ฯ​ม​ ค​ี วามไ​ดเ ปรยี บเ​ปน ​ อยา งส​ งู ใ​นดา นก​ ารแ​ขง ขนั แ​ ละม​ ค​ี วามก​ า วหนา ม​ ากกวา ห​ นว ยงานใ​ดๆใ​นประเทศ​แ​ ละม​ ค​ี วามก​ า วหนา เ​ทยี บเคยี งก​ บั ​ ทด​่ี ำเนนิ การอ​ ยใ​ู นต​ า งประเทศ​ด​ งั น​ น้ั ก​ ารส​ นบั สนนุ ใ​หก​ ลมุ ว​ จิ ยั ด​ งั กลา วด​ ำเนนิ การพ​ ฒั นาไ​ปสศ​ู นู ยแ​ หง ค​ วามเ​ปน เลศิ ​ ในดาน​การว​ ิจยั เ​ฉพาะ​ทาง​ท​เี่ กี่ยวกับส​ ตั ว​แ ละพ​ ชื ​สวยงามน​ ้ำเค็ม​​ในอ​ ันดบั ​แรก​​จะ​สามารถ​ทำ​ให​ส ถาบันฯ​ส​ ามารถ​ กา วไ​ปสเ​ู ปา หมายข​ องค​ วามเ​ปน เลศิ ไ​ดเ​ รว็ ข​ น้ึ ​ข​ ณะเ​ดยี วก​ นั จ​ ะท​ ำการส​ นบั สนนุ ใ​หห​ นว ยว​ จิ ยั อ​ น่ื ๆ​ส​ รา งค​ วามพ​ รอ ม​ และ​ความเ​ขม​แข็ง​เพื่อท​ ใ่ี​หส​ ามารถแ​ขง ขนั ​ไดแ​ ละ​กา วไ​ปสูค​ วาม​เปน เลิศใ​น​ลำดบั ​ตอๆ​​ไป 2. โครงการองค์ความรสู้ ูผ่ ลิตภัณฑ์ เปน โ​ครงการท​ จี่ ะน​ ำเ​อาอ​ งคค วามรข​ู องน​ กั ว​ จิ ยั ข​ องส​ ถาบนั ฯท​ ม​่ี อ​ี ยแ​ู ละท​ จ่ี ะเ​กดิ จ​ ากก​ ารว​ จิ ยั ​พฒั นา​และ​ งานวจิ ยั เ​ชงิ พาณชิ ย​มาพ​ ฒั นาต​ อ ย​ อดใ​หก​ ลายเปน ผ​ ลติ ภณั ฑท​ เ​่ี ปน ทต่ี อ งการข​ องต​ ลาด​โดยใ​หห​ นว ยงานห​ ารายได​ ของ​สถาบันฯ​ คือ​โครงการ​เงินทุนหมุนเวียน​ สถาบันฯ​ เขามา​ลงทุน​ ใน​การ​พัฒนา​ผลิตภัณฑ​ ทำการ​ตลาด​ และ​ จัดจำหนาย​ โดย​จะ​ตอง​มี​การ​จัดสรร​ผลตอบแทน​ให​กับ​เจาของ​ผลงานวิจัย​ หรือ​กลุม​วิจัย​ และ​สมทบ​กอง​ทุนวิจัย​ สว นหนง่ึ ​เพอ่ื จ​ งู ใจใ​หน​ กั ว​ จิ ยั ส​ รา งผ​ ลงานวจิ ยั ท​ ส​ี่ ามารถก​ อ ใหเ กดิ ป​ ระโยชนไ​ ดอ​ ยา งแ​ ทจ รงิ ​ตวั อยา ง​เชน ​การผ​ ลติ ​ ชดุ ​ทดสอบค​ ุณภาพ​นำ้ ​อยาง​งา ย​สำหรบั ผ​ ​ูเพาะเล้ียงก​ ุง​และ​สัตวน้ำ​การผ​ ลิตเ​กลอื ​น้ำทะเลเ​ทยี ม​สำหรบั ​ผูเลยี้ งสัตว​ ทะเลส​ วยงาม​การผ​ ลติ อ​ าหารส​ ตั วน ำ้ ว​ ยั อ​ อ นท​ ม​่ี ห​ี ลากหลายส​ ตู ร​สำหรบั ก​ ารเ​พาะเลยี้ งก​ งุ ท​ ะเล​ปลาส​ วยงาม​หอย​ หวาน​และส​ ตั วน ำ้ ว​ ยั อ​ อ นช​ นดิ ต​ า งๆ​การผ​ ลติ ป​ ลาทะเลส​ วยงาม​เพอื่ จ​ ดั จำหนา ยใ​หก​ บั ส​ ถานแ​ สดงพ​ นั ธส​ุ ตั วน​ ำ้ เคม็ ​ และผ​ เู ล้ยี งสตั วท​ ะเลส​ วยงาม​การ​ผลิตห​ อยห​ วาน​เพ่อื ก​ าร​บริโภค​​เปนตน 3. โครงการ “From Environmental Friendly Aquarium to Zero-impact Aquarium” 11 ใน​ปจจุบันม​ ​สี ถาน​เลี้ยงแ​ ละแ​ สดง​พันธ​ุสตั วน้ำ​เกดิ ข้นึ ​และก​ ำลงั จ​ ะเ​กดิ ขน้ึ อ​ ีก​จำนวน​มาก​ซึง่ ส​ ว น​ทีเ​่ กดิ ข้นึ ​ แลว​สวนใหญ​มักจะ​มี​ปญหา​ใน​การ​จัดการ​ และ​ถูก​มองวา​เปน​สถานท่ี​ทำลาย​ทรัพยากร​สัตวน้ำ​ ซ่ึง​สงผลกระทบ​ ทว่ั ไป​สถาบนั ฯเ​องเ​ปน ห​ นว ยงานท​ ม​ี่ ส​ี ถานแ​ สดงพ​ นั ธส​ุ ตั วน​ ำ้ เคม็ ม​ าเ​ปน เ​วลานานม​ ากกวา ​20​ป​ และเ​ปน ผ​ นู ำใ​นดา น​ การ​จัดการ​สถาน​เลี้ยง​สัตว​น้ำเค็ม​ จึง​มี​ความคิด​ที่จะ​ทำการ​ปฏิรูป​ วิธีการ​และ​แนวคิด​การ​จัดแสดง​ โดย​จะ​นำ​เอา​ ผลงานวิจัย​ที่​พัฒนา​ข้ึนมา​ผนวก​กับ​แนวคิด​ใน​การ​จัดแสดง​ที่จะ​ลดผลกระทบ​ตอ​การ​ใช​ทรัพยากรธรรมชาติ​ลง​ให​ นอยท่ีสดุ ​จึงเ​ปน ​ท่ีมา​ของแ​ นวคดิ ​สถานเ​ลีย้ งส​ ตั ว​น้ำเคม็ ท​ ่เ​ี ปน มติ ร​กับส​ ิง่ แวดลอม​โดย​การ​จดั แสดงจ​ ะ​พยายามล​ ด​

รายงานประจำป 2550 สถาบนั วทิ ยาศาสตรทางทะเล มหาวิทยาลยั บรู พา การใ​ชท​ รพั ยากรจ​ ากธ​ รรมชาตล​ิ ง​และน​ ำเ​อาส​ ตั วแ​ ละพ​ ชื ส​ วยงามน​ ำ้ เคม็ ท​ ไ​ี่ ดจ​ ากก​ ารพ​ ฒั นาว​ ธิ กี ารเ​พาะข​ ยายพนั ธ​ุ ของห​ นว ยว​ จิ ยั เ​ขา ไปจ​ ดั แสดงท​ ดแทน​รวมทง้ั ใ​หค​ วามร​ู แกผ​ เู ขา ชม​รวมทง้ั น​ ำเ​อาผ​ ลจ​ ากก​ ารว​ จิ ยั เ​รอ่ื งร​ ะบบก​ ารเ​ลย้ี ง​ และก​ ารเ​พาะเล้ียงป​ ะการังใ​นทเี​่ ลีย้ ง​ไป​ทำการจ​ ัดแสดงโ​ดยเ​ปลี่ยน​การ​จดั แสดง​ปะการัง​ท่ท​ี ำจากเร​ซน่ิ ​มาเ​ปนแนว​ ปะการัง​ที่​มี​ชีวิตจริง​ (Reef​ Aquarium)​ โดย​จะ​ทำการ​ปรับเปล่ียน​จน​ในท่ีสุด​ให​หลาย​ตู​จัด​แสดงเปน​ตู​ที่​มี​ส่ิงมีชีวิต​ ท้ังหมด​ใน​ตไู​ด​จากก​ าร​เพาะข​ ยายพนั ธ​ุของ​สัตวใ​ นทเ​ี่ ลย้ี ง​ทั้งสิน้ 4. โครงการศนู ยเ์ ผยแพร่ ถ่ายทอดเทคโนโลยี และนวตั กรรม เปน​โครงการ​ที่จะ​นำ​เอา​องคความรู​ท่ี​ได​จาก​งานวิจัย​ มา​เผยแพร​และ​ถายทอด​เพื่อให​เกิด​ประโยชน​แก​ ชุมชน​ รวมท้ัง​สรางรายได​ให​กับ​สถาบันฯ​และ​มหาวิทยาลัย​ โดย​จะ​เนน​การ​ถายทอด​ผลงานวิจัย​ที่​สามารถ​นำไป​ กอใหเกิด​รายได​ โดย​จัดให​มี​พ้ืนท่ี​สำหรับ​ผู​เขา​รับ​การ​ถายทอด​ได​เขามา​ฝก​ปฏิบัติ​ และ​ทดลองปฏิบัติ​จน​ม่ันใจ​ท่ีจะ​ ออกไปป​ ระกอบการ​มห​ี นว ยผ​ ลติ ท​ ส​่ี ามารถผ​ ลติ ผ​ ลผลติ อ​ ยา งต​ อ เนอ่ื งเ​พอ่ื ส​ รา งรายไดใ​ หก​ บั ศ​ นู ย​โดยศ​ นู ยด​ งั กลา ว​ จะ​เปน​เหมือนกับ​ศูนย​บม​เพาะ​ทาง​ธุรกิจ​ให​กับ​ผู​เขา​รับ​การ​ถายทอด​เทคโนโลยี ​ ขณะเดียวกัน​ก็​จะ​เปน​ศูนย​ที่​มี​การ​ ผลติ ด​ ว ย​โดยใ​นเบอื้ งตน จ​ ะน​ ำเ​อาผ​ ลงานวจิ ยั ท​ างด​ า นก​ ารเ​พาะเลยี้ งสตั วน ำ้ ​ทส​่ี ามารถด​ ำเนนิ การใ​นเ​ชงิ พาณชิ ยไ​ ด​ แลวไป​เปนส​ วนหน่งึ ข​ อง​ศูนยด​ งั กลา ว​(Aquaculture​Park)​ซ่ึงศ​ ูนย​ด ังกลาว​อาจจะเ​ปน ส​ ว นหนงึ่ ข​ อง​Science​Park​ ท​มี่ หาวิทยาลยั ก​ ำลังจ​ ะ​จัดต้งั ขึน้ ​ในอนาคต 5. โครงการโลกใตท้ ะเล (World Beneath the Sea) โครงการ​โลก​ใต​ทะเล​ เปน​โครงการ​ท่ี​สถาบัน​วิทยาศาสตร​ทางทะเล​ ได​รวมมือ​กับ​องคการ​บริหาร​สวน​ จังหวัด​ชลบุรี​ และ​จังหวัด​ชลบุรี​ เสนอ​ขอ​งบประมาณ​จังหวัด​แบบ​บูรณาการ​ และไดรับการ​สนับสนุน​ให​ดำเนิน​ โครงการ​ใน​ปงบประมาณ​ 2549​ จำนวน​เงิน​ 200​ ลาน​บาท​ และ​งบประมาณ​องคการ​บริหาร​สวน​จังหวัด​ชลบุรี​ 346​ลานบ​ าท​รวมท้ังสิ้น​546​ลาน​บาท ท้ังนี้​โครงการ​โลก​ใต​ทะเล​จะ​เชื่อม​ตอ​กับ​อาคาร​สถาน​เล้ียง​สัตว​น้ำเค็ม​เดิม​ของ​สถาบัน​วิทยาศาสตร​ ทางทะเล​มว​ี ัตถปุ ระสงค​ในก​ ารพ​ ฒั นาการจ​ ดั แสดงพ​ ันธ​ุสตั วน​ ำ้ เค็ม​โดยก​ ารนำ​เทคโนโลย​ขี อง​ตู​จัดแสดง​พนั ธส​ุ ตั ว​ นำ้ เคม็ ​โดยใ​หผ​ เู ขา ชมส​ ามารถเ​ดนิ ช​ มล​ อดผ​ า นเขา ไปข​ า งใต​(ความจ​ น​ุ ำ้ ​4,700​ลบ.ม.)​ในล​ กั ษณะอ​ โุ มงค​ นอกจากน​้ี ยงั เ​นน เ​พอื่ เ​ผยแพรค​ วามรเ​ู กย่ี วกบั ด​ า นก​ ารว​ จิ ยั ใ​นร​ ปู แบบข​ องก​ ารท​ อ งเทยี่ วเ​ชงิ ว​ จิ ยั ​และก​ ารส​ ง เสรมิ ใ​หเ​ กดิ ค​ วามร​ู ในก​ าร​ทอ งเที่ยวเ​ชิงอ​ นรุ ักษด​ ว ย 6. โครงการกลมุ่ อาคารสถาบันวทิ ยาศาสตรท์ างทะเล เปน โ​ครงการท​ ท่ี างส​ ถาบนั ฯ​ไดจ​ ดั ทำโ​ครงการม​ าต​ ง้ั แตป​ ​ 2540​ซงึ่ โ​ครงการน​ จ​้ี ะป​ ระกอบไ​ปด​ ว ยอ​ าคาร​ พิพิธภัณฑ​ธรรมชาติ​วิทยา​และ​อาคาร​ศูนย​การ​เรียนรู​ทาง​ดาน​การ​เพาะเลี้ยงสัตวน้ำ​ ประชาชน​และ​นักเรียน​ นิสิต​ นกั ศกึ ษา​สามารถ​ท่จี ะเ​ขามา​เยีย่ มชม​สังเกต​การท​ ำงาน​และพ​ ูดคุยก​ ับ​นกั ว​ จิ ยั ไ​ดอ​ ยาง​ใกลชิด​ซง่ึ ​เปน​แนวทางใ​หม​ ในก​ ารน​ ำเสนอ​ขอ มลู ​และ​ความร​ู ใหก​ บั ผ​ ู​เขาเ​ยย่ี ม 12

รายงานประจำป 2550 สถาบนั วิทยาศาสตรทางทะเล มหาวิทยาลยั บูรพา โครงสรา้ งการบริหาร สภามหาวิทยาลยั​ คณะกรรมการบริหารสถาบนั ฯ อธกิ ารบดี คณะกรรมการประจำสถาบันฯ เลขานกุ ารสถาบนั ฯ ผูอำนวยการ คณะกรรมการประกนั คณุ ภาพการศกึ ษา รองผูอำนวยการ รองผอู ำนวยการ รองผูอำนวยการ ผชู ว ยผูอำนวยการ ผูช ว ยผอู ำนวยการ หวั หนา สำนักงานเลขานุการ หวั หนาฝา ยวจิ ัยวิทยาศาสตรท างทะเล ผชู วยผอู ำนวยการ ประธานโครงการรา นคาสถาบนั ฯ หัวหนาสถานีวจิ ยั หัวหนา ฝา ยสถานเลย้ี งสัตวนำ้ เค็ม หวั หนา ฝา ยบรกิ ารวิชาการ หัวหนา ฝา ยพิพิธภณั ฑ วิทยาศาสตรท างทะเล 13

รายงานประจำป 2550 สถาบนั วิทยาศาสตรท างทะเล มหาวิทยาลยั บูรพา โครงสร้างการแบง่ ส่วนงาน มหาวทิ ยาลัยบูรพา สถาบนั วทิ ยาศาสตรท างทะเล สำนักงาน ฝายบริการ ฝายวิจยั ฝา ยสถาน ฝายพิพธิ ภณั ฑ สถานวี จิ ยั โครงการเงินทนุ เลขานุการ วิชาการ วทิ ยาศาสตร เลีย้ งสตั ว วิทยาศาสตร หมุนเวียน ทางทะเล น้ำเค็ม ทางทะเล งานบริหารงาน​ งานฝกอบรม สถานวี จิ ยั ​ โครงการรานคา ​ ทัว่ ไป ประชุมและ งานวจิ ัย งานอาหาร งานจดั สรา งและ ชะอำ สถาบันวทิ ยาศาสตร สมั มนา สงิ่ แวดลอ ม สตั วน ้ำ บำรุงพิพธิ ภัณฑฯ งานบริหารงาน​ ทางทะเล งานบริหารและ ทางทะเล บคุ คลและ งานสง เสรมิ ​ งานจัดแสดง งานพิพิธภัณฑ ธุรการ แผนงาน และเผยแพร งานวจิ ยั พนั ธุส ตั วน ้ำ อางอิงและ ฝา ยบริหาร เทคโนโลยี ธรรมชาตวิ ทิ ยา งานวิจยั ​ และจัดการ งานการเงนิ ​และ งานศูนย​ขอ มูล​ ชวี ภาพทางทะเล งานจ​ ดั หา​ วทิ ยาศาสตร​ พัสดุ สารสนเทศฯ​ ตัวอยาง​และ​ งาน​นทิ รรศการ ทางท​ ะเล​ ฝายบ​ ัญชแี​ละ​ งานวจิ ยั อนุบาล​สตั ว​น้ำ คลงั สนิ คา การเพาะ​เล้ียง​ งาน​ศลิ ปกรรม สัตว​แ ละ​พชื ท​ ะเล งานจ​ ดั การ​ งานบ​ ริการ​ ฝา ยขาย ระบบ​กรอง​ วิชาการ และค​ วบคุม​ งานวจิ ยั คุณภาพ​น้ำ ​โครงการจ​ ดั ต้ัง​ ค​ วามหลากหลาย​ สถานวี​ ​ิจยั ​ ทางชีวภาพทาง​ งาน​ดำนำ้ เพื่อ​ แสมสาร การว​ จิ ัย ทะเล 14

รายงานประจำป 2550 สถาบันวทิ ยาศาสตรทางทะเล มหาวทิ ยาลยั บูรพา คณะกรรมการประจำสถาบนั วิทยาศาสตร์ทางทะเล กรรมการโดยตำแหน่ง ศาสตราจารย์ ดร.สชุ าติ อปุ ถัมภ์ อธิการบดี ประธานกรรมการ ดร.วรเทพ มธุ ุวรรณ ผู้อำนวยการสถาบนั วิทยาศาสตรท์ างทะเล รองประธานกรรมการ กรรมการผู้ทรงคณุ วุฒิทเ่ี ป็นขา้ ราชการในมหาวิทยาลัยบูรพา ผชู้ ว่ ยศาสตราจารย์ ดร.พชิ าญ สวา่ งวงศ์ รองศาสตราจารย์ ดร.คเชนทร เฉลิมวัฒน์ อาจารยว์ ศิน ยวุ นะเตมีย์ กรรมการผทู้ รงคุณวฒุ ทิ ไี่ มไ่ ด้เป็นขา้ ราชการในมหาวทิ ยาลยั บูรพา รองศาสตราจารย์ ดร. ยนต์ มุสิก พลเรือเอกคำรณ นชุ นารถ ศาสตราจารย์ ดร.มนวุ ดี หังสพฤกษ์ กรรมการที่เป็นผแู้ ทนข้าราชการระดับหัวหน้ากอง ดร.สุพรรณี ลโี ทชวลติ ดร.แววตา ทองระอา ดร.เสาวภา สวสั ดพิ์ ีระ 15 กรรมการและเลขานุการที่แตง่ ตั้งจากรองผ้อู ำนวยการ นายภัทรพงศ์ สมนึก

รายงานประจำป 2550 สถาบันวิทยาศาสตรท างทะเล มหาวิทยาลยั บูรพา คณะกรรมการบริหารสถาบนั วิทยาศาสตร์ทางทะเล ดร.วรเทพ มธุ ุวรรณ ผู้อำนวยการสถาบันวทิ ยาศาสตรท์ างทะเล นายภทั รพงศ์ สมนกึ ดร.เสาวภา สวสั ดพ์ิ ีระ ดร.แววตา ทองระอา รองผู้อำนวยการและเลขานกุ าร รองผูอ้ ำนวยการ และรักษาการ ผูช้ ่วยผู้อำนวยการและหัวหน้า สถาบนั วทิ ยาศาสตรท์ างทะเล ฝา่ ยวิจัยวทิ ยาศาสตรท์ างทะเล หัวหน้าฝา่ ยบรกิ ารวิชาการ นางเออื้ งนภา กำบญุ เลศิ ดร.สพุ รรณี ลโี ทชวลติ นายกำพล กงั วาลโชคชัย ผู้ชว่ ยผู้อำนวยการ หัวหน้าฝ่ายสถานเล้ยี งสตั วน์ ้ำเค็ม รักษาราชการแทนหัวหนา้ ฝ่าย พิพิธภณั ฑว์ ิทยาศาสตร์ทางทะเล และหัวหน้างานการเงินและพัสดุ ดร.วรเทพ มุธวุ รรณ นางสาวฉลวย มุสิกะ ดร.ชุตวิ รรณ เดชสกุลวัฒนา รกั ษาการหัวหน้าสถานีวิจัย หวั หนา้ งานวจิ ัยสิง่ แวดล้อมทางทะเล หวั หน้างานวิจยั เทคโนโลยีชวี ภาพทางทะเล นายสเุ มตต์ ปุจฉาการ นางวรรณา ศุภจติ กลุ ชยั นางสาวเบญจวรรณ ทบั พร หัวหน้างานวจิ ัยความหลากหลาย หวั หน้างานบริหารงานทว่ั ไป หวั หนา้ งานบริหารงานบุคคลและแผนงาน ทางชีวภาพทางทะเล 16

รายงานประจำป 2550 สถาบันวิทยาศาสตรท างทะเล มหาวิทยาลยั บรู พา บุคลากรสถาบนั วิทยาศาสตร์ทางทะเล สถาบันวิทยาศาสตรทางทะเล​ มีบุคลากรปฏิบัติงานในฝายตางๆ​ ในปงบประมาณ​ พ.ศ.​ 2550​ รวมทั้งสิ้น​ 128​ คน​ จำแนกเปน​ ขาราชการ​ จำนวน​ 49​ คน​ ​ พนักงานมหาวิทยาลัย​ (งบประมาณแผนดิน)​ จำนวน​5​คน​ลูกจางประจำ​​จำนวน​13​คน​และพนักงานมหาวิทยาลยั ​(งบประมาณเงินรายได) ​จำนวน​61​คน​ ดงั รายละเอยี ดในตารางท​่ี ​1 ตารางที่ 1 จำนวนบุคลากรจำแนกประเภทตามฝา่ ยต่าง ๆ ฝาย ขาราชการ พนักงาน​ ลูกจา ง พนักงาน​ รอยละ มหาวทิ ยาลัย​ ประจำ มหาวทิ ยาลยั ​ รวม เงนิ แผน ดิน เงนิ รายได 1.​สำนักงานเลขานกุ าร 14 2 6 19 41 32.03 2.​ฝา ยวจิ ัยวิทยาศาสตรทางทะเล 20 2 3 8 33 25.78 3.​​ฝา ย​พพิ ิธภัณฑ​วิทยาศาสตร​ 6 - - 2 8 6.25 ทางทะเล 4.​ฝายสถานเลีย้ งสัตวน้ำเคม็ 6 - 4 - 10 7.81 5.​สถานีวจิ ัย 2 1 - 6 9 7.03 6.​ฝา ยบริการวิชาการ 1 - - 4 5 3.91 7.​​โครงการร​ านคา​สถาบนั ​ - - - 22 22 17.19 วทิ ยาศาสตรท​ างทะเล รวม 49 5 13 61 128 100.00 ตารางที่ 2 บุคลากรจำแนกตามวฒุ กิ ารศึกษา จำแนกตามวุฒกิ ารศกึ ษา สังกดั ฝาย ต่ำกวา ​ ปรญิ ญาตรี ปริญญาโท ปรญิ ญาเอก รวม ปริญญาตรี 41 1.​สำนกั งานเลขานุการ 21 14 6 - 33 2.​ฝายวิจยั วิทยาศาสตรทางทะเล 7 6 12 8 8 3.​ฝายพิพธิ ภณั ฑวิทยาศาสตรทางทะเล - 44 - 5 4.​ฝา ยบรกิ ารวิชาการ 1 4- - 10 5.​ฝ​ าย​สถานเ​ลี้ยงส​ ตั วน​ ำ้ เคม็ 4 13 2 9 6.​ส​ ถานีว​ ิจัย 3 41 1 22 7.​​โครงการ​รา นคา ​สถาบัน​วิทยาศาสตร​ 20 2- - 128 ทางทะเล 56 35 26 11 รวม 17

รายงานประจำป 2550 สถาบนั วิทยาศาสตรทางทะเล มหาวทิ ยาลัยบูรพา การแบ่งส่วนราชการ สถาบนั ​วิทยาศาสตร​ทางทะเล​มหาวทิ ยาลยั บูรพา​ไดแ​ บง​การด​ ำเนนิ งานอ​ อก​เปน​1​สำนักงาน​​4​ฝาย​ 2​สถานว​ี จิ ยั ​และ​1โครงการ​ไดแ ก​ สำนกั งานเลขานกุ าร​ฝา ยบ​ รกิ ารว​ ชิ าการ​ฝา ยว​ จิ ยั ว​ ทิ ยาศาสตรท​ างทะเล​ฝา ย​ สถานเ​ล้ยี ง​สัตว​นำ้ เคม็ ​ฝา ยพ​ ิพิธภณั ฑ​ว ิทยาศาสตรท​ างทะเล​สถาน​ีวิจยั ช​ ะอำ​โครงการ​จัดตัง้ ส​ ถานว​ี จิ ัย​แสมสาร​ และโ​ครงการเ​งนิ ทุนหมนุ เวยี น​ซงึ่ ​มรี​ ายละเอียด​ไดด​ งั นี้ 1. สำนกั งานเลขานุการ ใน​ปจจุบัน​สำนักงานเลขานุการ​เปน​หนวยงาน​กลาง​ใน​การ​ประสาน​การ​ดำเนินงาน​ของ​ทุกฝาย​และ​ ภายนอก​สถาบันฯ​ ได​พัฒนา​และ​ปรับปรุง​การ​ดำเนินงาน​ให​คลองตัว​และ​มี​ประสิทธิภาพ​ยิ่งข้ึน​ ​ โดย​ได​แบง​การ​ บรหิ ารงาน​ภายในอ​ อกเ​ปน​3​งาน​ดังน้ี 1.1 งานบริหารงานท่ัวไป​รับผิดชอบ​ใน​การ​บริหาร​จัดการ​การ​ควบคุมดูแล​และ​ประสานงาน​โดย​ ทว่ั ไปเ​พอื่ ส​ นบั สนนุ ภ​ ารกจิ ข​ องฝ​ า ยต​ า งๆ​​ใหด​ ำเนนิ ไ​ปอ​ ยา งมปี ระสทิ ธภิ าพ​​โดยม​ ห​ี นว ยงานท​ ร​ี่ บั ผดิ ชอบค​ อื ​​​หนว ย​ สารบรรณ​​หนว ย​ประชาสัมพันธ​หนว ยก​ าร​ตลาด​หนว ย​ชา งเทคนคิ ​หนว ย​อาคาร​สถานท​่ีและ​ยานพาหนะ 1.2 งานบริหารงานบุคคลและแผนงาน​รับผิดชอบ​เกี่ยวกับ​การ​บริหาร​จัดการ​ทรัพยากร​บุคคล​ ท้ัง​ในดาน​การ​สรรหา​ การ​พัฒนา​บุคลากร​ ตลอดจน​งาน​บริหารงานบุคคล​ รับผิดชอบ​ใน​การ​จัดทำ​แผน​พัฒนาฯ​ ท้ัง​ระยะส้ัน​ ระยะ​กลาง​ ระยะยาว​ การ​จัดทำ​คำขอ​งบประมาณ​ประจำป​ ​ การ​จัด​เก็บขอมูล​พื้นฐาน​ตางๆ​ ​ เพื่อ​ ใช​เปน​ฐานขอมูล​ใน​การ​บริหารงาน​ของ​สถาบัน​วิทยาศาสตร​ทางทะเล​ และ​รับผิดชอบ​ใน​การ​ดำเนินการ​ ระบบประกันคุณภาพ​ของ​สถาบันฯ​ ​ ​ โดย​มี​หนวยงาน​ท่ี​รับผิดชอบ​คือ​ หนวย​บุคคล​ ​ หนวย​แผนงาน​ ​ และ​หนวย​ ประกันค​ ุณภาพ 1.3 งานการเงนิ และพัสด​ุ รับผดิ ชอบใ​นก​ ารร​ บั ​จา ยเงิน​การ​ตรวจสอบ​เอกสาร​หลกั ฐาน​ใน​การ​เบกิ ​ จาย​การ​จัดทำ​งบประมาณ​ประจำป​ ตลอดจน​การ​รายงาน​ทางการเงิน​และ​บัญชี​และ​รับผิดชอบ​ใน​การ​จัดหา​พัสด​ุ การ​ควบคุม​การ​ตรวจสอบ​ความ​ถูกตอง​ของ​พัสดุ​ท่ี​ไดรับ​จัดทำ​ทะเบียน​พัสด​ุ ครุภัณฑ​เปนตน​โดย​มี​หนวยงาน​ที่​ รบั ผิดชอบ​คือ​หนว ยก​ ารเงนิ ​​หนว ยบ​ ัญช​ี ​หนวยร​ บั เ​งนิ รายได​ ​และห​ นวย​พสั ดุ 2. ฝ่ายบริการวชิ าการ ​ ฝาย​บริการ​วิชาการ​มี​หนาท่ี​ในดาน​บริการ​วิชาการ​และ​ประสานงาน​กับ​ฝาย​ตางๆ​เพ่ือ​ทำหนาที่​ใน​ การ​บริการ​วิชาการ​สู​สังคม​ จัดทำ​ส่ือ​เพ่ือ​เผยแพร​ รวมท้ัง​การ​จัดทำ​ศูนย​ขอมูล​สารสนเทศ​เพ่ือ​การ​บริหาร​จัดการ​ ดานต​ างๆ​ของ​สถาบันฯ​โดยม​ ​กี ารแ​ บง ​โครงสรา งก​ าร​บริหารงาน​ออกเ​ปน ​​3​​งานด​ งั น้ี 2.1 งานฝกอบรม ประชุมและสัมมนา ทำหนาท่ี​ใน​การ​จัด​และ​ประสานงาน​เพ่ือ​จัดการ​ฝกอบรม​ ประชุม​และ​สัมมนา​ ​ เชน​ ​ อบรม​คาย​วิทยาศาสตร​ทางทะเล​ ​ การ​ประชุม​และ​สัมมนา​ดาน​วิทยาศาสตร​ทางทะเล​ การ​ฝก งานข​ องน​ สิ ิต/นกั ศกึ ษา​และ​การเ​ปน ​วทิ ยากร​ประจำ​สถาบันฯ 2.2 งานส่งเสริมและเผยแพร่ รบั ผิดชอบ​ในก​ าร​ดำเนนิ การ​ในดาน​การผ​ ลิตส​ อื่ ต​ า งๆ​เ​พอื่ เ​ผยแพร​ ผลงาน​และ​กิจกรรม​ของ​สถาบัน​ รวมท้ัง​การ​ผลิต​เอกสาร​และ​สื่อ​เพื่อ​เผยแพร​ความรู​ทาง​ดาน​วิทยาศาสตร​ ทางทะเล​ 2.3 งานศูนย์ข้อมูลสารสนเทศวิทยาศาสตร์ทางทะเล​รับผิดชอบ​ใน​การ​ดำเนินการ​ดาน​การ​ จัดทำ​ระบบเครือขาย​ภายใน​สถาบันฯ​ เพื่อ​ใช​ใน​การ​บริหาร​จัดการ​ของ​สถาบันฯ​ จัดทำ​ฐานขอมูล​ดานการบริหาร​ จัดการ​ การ​จัดการ​ความรู​ทางวิชาการ​ การ​เผยแพร​ผลงาน​กิจกรรม​และ​การ​ดำเนิน​ของ​สถาบันฯ​ ความรู​ตางๆ​ ดาน​วิทยาศาสตร​ทางทะเล​ผาน​ทาง​ระบบเครือขาย​ ดูแล​ รักษา​ และ​ใหบริการ​เก่ียวกับ​การ​ใช​คอมพิวเตอร​ภายใน​ สถาบันฯ​ 18

รายงานประจำป 2550 สถาบนั วิทยาศาสตรท างทะเล มหาวิทยาลัยบูรพา 3. ฝ่ายวิจยั วทิ ยาศาสตร์ทางทะเล มี​หนาท่ี​รับผิดชอบ​ใน​การ​ศึกษา​ คนควา​ วิจัย​ทาง​ดาน​วิทยาศาสตร​ทางทะเล​ และ​สาขา​ท่ี​เกี่ยวของ​ นอกจากนี้​ยงั มบ​ี ทบาทส​ ำคญั ​ใน​เรอ่ื งข​ องง​ านบ​ รกิ าร​วิชาการแ​ กช​ มุ ชน​และส​ ังคม​ตลอดจน​การใ​หบริการเ​ก่ยี วกบั ​ งานวิจัย​แก​นิสิต​ นักศึกษา​ อาจารย​ และ​ขาราชการ​ใน​สถาบัน​อ่ืนๆ​ ​ อีกดวย​ โดย​แบง​การ​ดำเนินงาน​และ​การ​ บรหิ ารงานอ​ อก​เปน​4​งาน​คือ 3.1 งานวิจัยสิ่งแวดล้อมทางทะเล​ ​ ทำหนาท่ี​ศึกษา​ คนควา​ วิจัย​ เกี่ยวกับ​การ​เปล่ียนแปลง​ คณุ ภาพสงิ่ แวดลอ มท​ างทะเล​การต​ ดิ ตามต​ รวจสอบค​ ณุ ภาพสงิ่ แวดลอ มใ​นน​ ำ้ ทะเล​ดนิ ต​ ะกอนแ​ ละส​ งิ่ มชี วี ติ ​​ศกึ ษา​ ผลกระทบ​ของ​สาร​มลพิษ​ตอ​ส่ิงมีชีวิต​ และ​การ​ฟนฟู​คุณภาพส่ิงแวดลอม​ทางทะเล​ รวมท้ัง​การ​ใหบริการ​ตรวจ​ วิเคราะหค​ ุณภาพสิง่ แวดลอม 3.2 งานวิจัยการเพาะเล้ยี งสตั วแ์ ละพชื ทะเล​ทำหนาท​ี่ใน​การศ​ ึกษา​วิจัยและพฒั นา​เทคโนโลย​ีการ​ เพาะเลี้ยง​ส่ิงมีชีวิต​น้ำเค็ม​เพื่อ​การ​อนุรักษ​และ​การ​เพาะเล้ียง​เชิงพาณิชย​ ระบบ​และ​การ​จัดการ​ระบบ​สำหรับ​การ​ เพาะเล้ียง​ส่ิงมีชีวิต​น้ำเค็ม​ อาหาร​มี​ชีวิต​และ​อาหารสำเร็จรูป​สำหรับ​ใช​ใน​การ​เพาะเลี้ยงสัตวน้ำ​ รวมท้ัง​การ​ศึกษา​ และว​ จิ ัยด​ านโ​รค​และ​พยาธขิ​ อง​สัตว​นำ้ เคม็ 3.3 งานวจิ ยั เทคโนโลยชี ีวภาพทางทะเล​ทำหนาท​่ี ศึกษา​คนควา​วิจัย​เพื่อต​ รวจหา​และพ​ ฒั นา​ ผลิตภัณฑ​ธรรมชาติ​จาก​สิ่งมีชีวิต​ใน​ทะเล​ ไดแก​ จุลินทรีย​ พืช​ และ​สัตว​ ซ่ึง​จะ​นำไป​ใชประโยชน​ในดาน​อาหาร​ ยารักษาโรค​และ​สิ่งแวดลอ ม 3.4 งานวจิ ยั ความหลากหลายชวี ภาพทางทะเล​ทำหนา ท​่ี ศกึ ษา​คน ควา ​วจิ ยั ​เกย่ี วกบั น​ เิ วศวทิ ยา​ ของ​สิ่งมีชีวิต​ใน​ทะเล​ การ​จัด​จำแนก​ชนิด​และ​ศึกษา​ชีววิทยา​ของ​ส่ิงมีชีวิต​ทั้ง​พืช​และ​สัตว​ใน​ทะเล​ การ​ศึกษา​ความ​ สัมพนั ธด​ าน​นเิ วศวทิ ยา​ทางเศรษฐกจิ ​และก​ ารเ​ฝา ระวังแ​ ละ​ตดิ ตาม​สถานการณข​ อง​สิ่งมชี วี ิตใ​นท​ ะเล 4. ฝ่ายสถานเล้ยี งสตั ว์นำ้ เคม็ 19 ​ มี​ภารกิจ​หลัก​คือ​การ​จัดแสดง​สิ่งมีชีวิต​ใน​ทะเล​เพ่ือ​เปน​แหลง​เรียนรู​ตาม​อัธยาศัย​สำหรับ​นักเรียน​ นสิ ิต​นกั ศกึ ษา​และป​ ระชาชนท​ วั่ ไป​ให​เ ขา ใ​จถงึ ส​ ภาพความเปนอยต​ู ลอดจนช​ นดิ ​ของส​ ัตวท​ ะเล​ม​ชี ีวิต​ตางๆ​และ​เปน​ แหลง ทอ งเท่ยี ว​พักผอนหยอ นใจ​ส่ิงมชี ีวิตท​ ่​นี ำมาจ​ ัดแสดงป​ ระกอบดว ยส​ ัตว​ไ มม ก​ี ระดกู สันหลัง​ปลา​สวยงามแ​ ละ​ ปลาเ​ศรษฐกจิ ต​ างๆ​เปน ตน ​นอกจากนย้​ี ัง​ทำการ​ศึกษาเ​กยี่ วกบั พ​ ฤติกรรมข​ องส​ ิ่งมชี ีวติ ​ตางๆ​​ตลอดจนร​ ะบบ​การ​ จดั แสดงส​ ัตวน้ำ​ในต​ ูแ​ สดง​ขนาดต​ างๆ​ การ​แบง​สวนงาน​ภายใน​ฝาย​สถานเ​ล้ียง​สตั ว​น ำ้ เคม็ ​แบง เ​ปน ​5​งาน​คือ 4.1 งานอาหารสัตวน์ ำ้ รับผดิ ชอบใ​น​การ​จดั หา​จัดเ​ตรียมอาหาร​สัตวน ้ำ​รวมถึง​ควบคมุ ดูแล​การ​ ใหอาหาร​สัตวน้ำ​ การ​ศึกษา​พฤติ​กรรมการ​กินอาหาร​ของ​สัตวน้ำ​แตละ​ชนิด​ การ​พัฒนา​อาหาร​สัตวน้ำ​ เพ่ือให​ เหมาะสมกับส​ ัตวน้ำ​แตละช​ นิด 4.2 งานจดั แสดงพนั ธส์ุ ตั วน์ ำ้ ​รบั ผดิ ชอบใ​นก​ ารค​ วบคมุ ​ดแู ล​การจ​ ดั ต​ กแตง ต​ จ​ู ดั แสดง​การป​ รบั ปรงุ ​ รปู แบบก​ าร​จดั แสดง​การ​ใหแ​ สงสวา ง​ของ​ต​ู การใ​หอ​ ากาศ​ภายในต​ ู​รวมถงึ ก​ ารจ​ ัดทำ​บอรด ​ปายชือ่ ​สตั วนำ้ ​การ​ จัดน​ ทิ รรศการ​เคลือ่ นท​่ี และก​ าร​สาธิตก​ าร​ดำน้ำ​ใหอาหารป​ ลา​ใต​นำ้ ​การ​ดำนำ้ ​เก็บต​ ัวอยาง​และง​ านสอน​ดำน้ำ​แก​ นสิ ิต 4.3 งานจดั หาตวั อยา่ งและอนบุ าลสตั วน์ ำ้ รบั ผดิ ชอบใ​นก​ ารจ​ ดั หาต​ วั อยา งส​ ตั วน ำ้ ต​ ามแ​ หลง ต​ า งๆ​ การจ​ ดั หาต​ วั อยา ง​โดยก​ ารอ​ นบุ าลส​ ตั วน ำ้ ท​ เ​่ี กดิ ขน้ึ ภ​ ายในต​ จ​ู ดั แสดง​ประสานง​านการจ​ ดั หาต​ วั อยา งจ​ ากห​ นว ยงาน​ ภายใน​ดูแลร​ บั ผิดชอบส​ ตั วน้ำส​ ำรอง​ใน​ตูแ​ ละ​ถัง​อนุบาล​ดแู ล​กกั กนั ​และค​ วบคุมโ​รคส​ ัตวน ำ้ ​แรก​เขา​สัตวน ้ำใ​น​ถงั ​ อนบุ าลแ​ ละต​ จ​ู ดั แสดง​ดแู ลก​ ารใ​ชย​ าแ​ ละส​ ารเคมใ​ี นก​ ารก​ ำจดั โ​รคส​ ตั วน ำ้ ภ​ ายในส​ ถานเ​ลยี้ งส​ ตั วน​ ำ้ เคม็ ​ตรวจว​ นิ จิ ฉยั ​ และ​รักษาโรค​สัตวน ำ้ ​เบอื้ งตน​พฒั นาเ​ทคนคิ ก​ าร​ขนสง ​ตวั อยา ง​สัตวน ้ำ

รายงานประจำป 2550 สถาบนั วทิ ยาศาสตรท างทะเล มหาวทิ ยาลยั บูรพา 4.4 งานจัดการระบบกรองและควบคุมคุณภาพน้ำ​รับผิดชอบ​ใน​การ​ดูแล​และ​ควบคุม​ระบบ​ กรอง​ของ​ตู​จัดแสดง​และ​ตู​อนุบาล​ การ​ลาง​ทำความสะอาด​ การ​พัฒนา​และ​ปรับปรุง​ประสิทธิภาพ​ของ​ระบบ​กรอง​ การนำเ​ทคโนโลย​ีตางๆ​มา​ใชเ​พอ่ื ใหร​ ะบบก​ รอง​ทำงาน​ได​อ ยา งมปี ระสิทธิภาพ​รวมทั้ง​การค​ วบคุมคุณภาพน​ ้ำข​ อง​ ตจ​ู ัดแสดง​ตู​อนบุ าล​การ​ปรับปรุง​คุณภาพน​ ำ้ ​ของต​ ​จู ดั แสดง​และ​ตูอ​ นุบาล​การ​จดั หา​น้ำทะเลเ​พอ่ื ​นำมาใชภ​ ายใน​ สถาบันฯ 4.5 งานดำน้ำเพอ่ื การวิจัย​รับผดิ ชอบ​ในก​ าร​ดำนำ้ ​ใหบ ริการเ​กบ็ ต​ ัวอยา งพ​ ชื ​และ​สตั วท​ ะเลเ​พอ่ื ​ใช​ ในก​ ารว​ จิ ยั แ​ ละใ​ชใ​ นก​ ารจ​ ดั แสดงใ​นส​ ถานเ​ลยี้ งส​ ตั วน​ ำ้ เคม็ ​การด​ ำนำ้ ใ​หอ าหารป​ ลาใ​นต​ แ​ู สดงข​ นาดใหญข​ องส​ ถาน​ เล้ียง​สัตว​น้ำเค็ม​ ตลอดจน​การ​ดูแล​ตรวจ​เช็ค​อุปกรณ​ที่จะ​ใช​ใน​การ​ดำน้ำ​ให​อยูในสภาพ​ปลอดภัย​และ​พรอมใชงาน​ ตลอดเวลา 5. ฝา่ ยพิพิธภัณฑว์ ิทยาศาสตร์ทางทะเล ​ ภารกิจ​หลัก​ของ​ฝาย​พิพิธภัณฑ​วิทยาศาสตร​ทางทะเล​คือ​การ​จัดแสดง​เพ่ือ​เผยแพร​ความรู​ดาน​ วทิ ยาศาสตรท​ างทะเลส​ ส​ู าธารณชน​ดงั นน้ั ก​ ารจ​ ดั แสดงข​ องฝ​ า ยท​ จี่ ะเ​ผยแพรไ​ ปสส​ู าธารณะไ​มว า จ​ ะอ​ ยใ​ู นส​ ว นข​ อง​ พิพิธภัณฑ​วิทยาศาสตร​ทางทะเล​หรือ​การ​ไป​จัด​นิทรรศการ​นอก​สถานท​ี่ ก็​จะ​พยายาม​ที่จะ​ดำเนินการ​ใน​รูปแบบ​ท่ี​ ทำใหบ​ คุ คลท​ วั่ ไปส​ ามารถเ​ขา ใจไ​ดง​ า ย​รวมทง้ั จ​ ะท​ ำการพ​ ฒั นาเ​ทคโนโลยท​ี างด​ า นส​ อื่ ม​ าช​ ว ยป​ รบั ปรงุ ก​ ารจ​ ดั แสดง​ อยา งต​ อ เนอ่ื ง​โดยม​ ก​ี ารแ​ บง ก​ ารบ​ รหิ ารภ​ ายในอ​ อกเ​ปน ​4​งาน​ไดแ ก​ งานจ​ ดั ส​ รา งแ​ ละบ​ ำรงุ พ​ พิ ธิ ภณั ฑว​ ทิ ยาศาสตร​ ทางทะเล​ งาน​พิพิธภัณฑ​อางอิง​ธรรมชาติ​วิทยา​ งาน​นิทรรศการ​ และ​งานศิลปกรรม​ โดย​ใน​การ​ดำเนินงาน​จะ​มี​ งานวจิ ัยค​ วาม​หลากหลาย​ทาง​ชวี ภาพข​ องฝ​ า ยว​ ิจัย​มาเ​ปน ส​ วนส​ นับสนนุ ​กจิ กรรมใ​นแ​ ตละง​ าน 5.1 งานจัดสร้างและบำรุงพิพิธภัณฑ์วิทยาศาสตร์ทางทะเล​​รับผิดชอบ​ใน​สวน​ของ​พิพิธภัณฑ​ วิทยาศาสตร​ทางทะเล​ เชน​ หา​ขอมูล​ หา​ตัวอยาง​ตกแตง​และ​ บำรุงรักษา​ตัวอยาง​และ​สวน​ตางๆ​ของ​พิพิธภัณฑ​ ตลอดจนก​ ารค​ น ควา ​หาว​ ธิ ีการ​หรือ​เทคนิคใ​หมๆ ​มา​ปรบั ปรงุ ก​ าร​จัดแสดงใ​นพ​ พิ ิธภัณฑ​วิทยาศาสตรท​ างทะเล 5.2 งานพพิ ธิ ภณั ฑอ์ า้ งองิ และธรรมชาตวิ ทิ ยา มห​ี นา ทร​่ี บั ผดิ ชอบร​ ว มกบั ง​านวจิ ยั ค​ วามห​ ลากหลาย​ ทางช​ วี ภาพใ​นก​ ารจ​ ดั ร​ วบรวมต​ วั อยา งส​ ง่ิ มชี วี ติ ท​ างทะเล​และน​ ำไปจ​ ดั ท​ ำเปน ฐ​ านขอ มลู ท​ รพั ยากรส​ งิ่ มชี วี ติ ท​ างทะเล​ ให​เปนหมวดหมู​ เพ่ือ​ใช​ใน​การ​อางอิง​ดาน​อนุกรม​วิธาน​และ​การ​นำไป​จัดแสดง​ใน​พิพิธภัณฑฯ​หรือ​นิทรรศการ​ของ​ สถาบันฯ​ ​ ดูแล​ รักษา​และ​จัดเก็บ​ตัวอยาง​ ออก​สำรวจ​และ​เก็บ​ตัวอยาง​ และ​ใหบริการ​ขอมูล​ทางวิชาการ​ดาน​ ทรพั ยากรส​ ิ่งมีชวี ติ ​ทางทะเล 5.3 งานนิทรรศการ​ม​หี นาท​ีร่ บั ผิดชอบ​ใน​การจ​ ดั ทำแ​ ละจ​ ดั แสดง​นิทรรศการเ​กี่ยวกับ​วทิ ยาศาสตร​ ทางทะเล​ใน​รปู แบบ​ตา งๆ​เชน ​นิทรรศการถ​ าวร​และน​ ทิ รรศการช​ ว่ั คราว​ใน​พพิ ธิ ภัณฑ​วิทยาศาสตร​ท างทะเลข​ อง​ สถาบันฯ​ตลอดจน​การจ​ ัด​นทิ รรศการน​ อก​สถานท​่ี เพอ่ื เ​ผยแพร​ค วามรแ​ู กป​ ระชาชน​ท่วั ไป 5.4 งานศิลปกรรม​ มี​หนาท่ี​รับผิดชอบ​ใน​งานศิลปะ​ตางๆ​ ใน​การ​จัดแสดง​ใน​สวน​พิพิธภัณฑ​ วิทยาศาสตร​ทางทะเล​ เชน​ ​สตั๊ฟฟ​สัตว​ ทำ​ตัวอยาง​เทียม/โมเดล​ การ​ออกแบบ​การ​จัดแสดง​ และ​การ​วาดภาพ​ สงิ่ มชี ีวติ เ​พอ่ื ​ประกอบ​กจิ กรรมใ​น​งาน​พพิ ิธภณั ฑอ​ า งองิ ​เปน ตน ​นอกจากนี้​ยงั มภ​ี าระหนา ทใี่​นง​ าน​ดาน​ศิลปะ​ตางๆ​ ของส​ ถาบนั ฯ​หรอื ห​ นว ยงานท​ ข​่ี อความรว มมอื ​เชน ​การอ​ อกแบบโ​ปสเตอรป​ ระชาสมั พนั ธ​งานเ​ขยี นแบบต​ วั อาคาร​ การว​ าดภาพใ​น​งานวิจัย​ตกแตง​สวน​ตางๆ​ของส​ ถาบนั ฯ​เปน ตน 6. สถานวี จิ ยั ​ สถานี​วิจัย​เปน​หนวยงาน​เทียบเทา​ระดับ​ฝาย​ของ​สถาบัน​วิทยาศาสตร​ทางทะเล​จัด​ตั้งขึ้น​มา​เพื่อ​ เสริม​ศักยภาพ​ใน​การ​ดำเนินงาน​ของ​สถาบัน​วิทยาศาสตร​ทางทะเล​ ในดาน​การ​วิจัย​วิทยาศาสตร​ทางทะเล​ และ​ การ​ใหบ ริการ​วชิ าการใ​นพ​ ้นื ท​ ่ตี ง้ั ​และบ​ รเิ วณใ​กลเ คียง​ส​ ถานว​ี ิจยั ​แตละแ​ หง ม​ ​ีขอบข​ ายงาน​และ​ความร​ ับผิดชอบด​ ัง​ 20 ตอไปน้ี

รายงานประจำป 2550 สถาบันวทิ ยาศาสตรท างทะเล มหาวทิ ยาลยั บูรพา 6.1 สถานีวิจยั ชะอำ​​เปน​สถานีว​ ิจยั แ​ หง เ​ดียวท​ ไ​่ี ดจ​ ดั ​ตั้งขึน้ ​และม​ กี​ ารด​ ำเนนิ งานอ​ ยใู​น​ปจ จบุ นั ​ตั้ง​ อยทู บ​ี่ า นบ​ อ ใ​หญ​ตำบลบ​ างเ​กา ​อำเภอช​ ะอำ​จงั หวดั เ​พชรบรุ ี​วตั ถป​ุ ระสงคเ​ พอื่ เ​ปน ส​ ถานทด​่ี ำเนนิ ง​านวจิ ยั ท​ างด​ า น​ วิทยาศาสตรท​ างทะเล​และ​เปน​สถานทใี​่ หบ รกิ ารว​ ิชาการ​แกช​ ุมชน​โดยเฉพาะก​ าร​สนับสนนุ ​การ​เพาะเลี้ยงส​ ัตวนำ้ ​ ชายฝง​ใน​พ้ืน​ที่ต้ัง​และ​จังหวัด​ใกลเคียง​ และ​ยัง​ใช​เปน​สถานท่ี​ฝกงาน​ ฝกอบรม​ ของ​นิสิต​ นักศึกษา​ และ​ประชาชน​ ทั่วไป​สถาน​ีวจิ ยั ​ชะอำ​ม​ขี อบ​ขา ยงานแ​ ละ​ความร​ บั ผิดชอบ​ดัง​ตอ ไปนี้ 6.1.1 งานบริหารและธุรการ สำนักงานเลขานุการ สถาบันวิทยาศาสตร์ทางทะเล รบั ผดิ ชอบก​ ารด​ ำเนนิ งานด​ า นก​ ารบ​ รหิ ารจ​ ดั การใ​นดา นต​ า งๆ​ของส​ ถานว​ี จิ ยั ​เชน ​งานส​ ารบรรณแ​ ละก​ ารเ​จา หนา ท่ี งานอ​ าคารส​ ถานทแ​ี่ ละ​ยานพาหนะ​เปนตน 6.1.2 งานวจิ ยั วทิ ยาศาสตรท์ างทะเล​รบั ผดิ ชอบก​ ารด​ ำเนนิ งานใ​นดา นก​ ารว​ จิ ยั ใ​นส​ าขาต​ า งๆ​ ทเ​ี่ กยี่ วขอ งก​ บั ว​ ทิ ยาศาสตรท​ างทะเล​สนบั สนนุ ก​ ารด​ ำเนนิ ง​านวจิ ยั ข​ องส​ ถาบนั ว​ ทิ ยาศาสตรท​ างทะเล​การด​ แู ลห​ อ ง​ ปฏบิ ตั ก​ิ าร​วิจัยแ​ ละเ​คร่อื งมือ​วิจยั ​รวมทงั้ ง​ านพ​ ้ืนฐาน​ที่​เกี่ยวขอ ง​กับ​การส​ นับสนนุ ก​ าร​วจิ ยั 6.1.3 งานบริการวิชาการ​รับผิดชอบ​ใน​การ​ใหบริการ​วิชาการ​แก​ประชาชน​ท่ัวไป​นักเรียน​ นิสติ ​นักศึกษา​คร​ู อาจารย​และน​ ัก​วิจยั ​ใน​รูปแบบ​ตา งๆ​เชน ​การใ​หคำปรึกษา​การ​ใหบ รกิ ารด​ าน​การ​วิเคราะห​ ตวั อยาง​การ​ใหบ รกิ าร​อาหารส​ ตั วน ำ้ ว​ ยั อ​ อน​การ​ใหบ ริการด​ านก​ ารฝ​ กอบรม​ดูงาน​ฝก ​ปฏิบัต​ิงาน​เปน ตน 6.2 โครงการจดั ตัง้ สถานีวจิ ยั แสมสาร ​ ​ เปน​โครงการ​ที่อยู​ระหวาง​ดำเนินการ​จัดตั้ง​สถานี​วิจัย​รวมกัน​ระหวาง​กอง​ทัพเรือ​และ​ มหาวิทยาลัย​บูรพา​ ต้ังอยู​ใน​เขต​พ้ืนที่​ กรม​กอสราง​และ​พัฒนา​ ฐานทัพเรือ​สัตหีบ​ ตำบล​แสมสาร​ อำเภอ​สัตหีบ​ จงั หวดั ช​ ลบรุ ​ี ปจ จบุ นั อ​ ยใ​ู นร​ ะหวา งด​ ำเนนิ การ​คาดวา ส​ ามารถเ​ปด ด​ ำเนนิ การไ​ดใ​ นป​ ลายป​ ง บประมาณ​2551​หรอื ​ ตน​ปงบประมาณ​2552 7. เงินทุนหมนุ เวยี น สถาบันวิทยาศาสตร์ทางทะเล ​ โครงการ​รานคา​สถาบัน​วิทยาศาสตร​ทางทะเล​จัดตั้งข้ึน​เมื่อ​ป​2540​โดย​การ​รวม​โครงการ​ราน​ จำหนา ยข​ องทร่ี ะลกึ ​โครงการร​ า นอาหารแ​ ละเ​ครอื่ งดมื่ ​และโ​ครงการส​ อ่ื การศกึ ษา​ทงั้ ​3​โครงการเ​ขา ดว ยกนั ​เพอ่ื ​ ใหก าร​ดำเนินงาน​เปนไปอ​ ยางมีประสิทธภิ าพ​สะดวก​คลองตัว​รวดเร็วแ​ ละเ​หมาะสม​ซ่งึ โ​ครงการ​รานคา​สถาบนั ​ วิทยาศาสตร​ทางทะเล​ได​ดำเนินงาน​มา​จนถึง​ปจจุบัน​และ​มี​ผลประกอบการ​เปนท่ีนาพอใจ​ ​สามารถ​นำ​ผลกำไร​ ของ​โครงการ​สงเขา​เปน​เงินรายได​สถาบัน​วิทยาศาสตร​ทางทะเล​เพ่ือ​ใช​ใน​การ​สนับสนุน​การ​ดำเนินงาน​มา​อยาง​ ตอ เนือ่ ง วตั ถปุ ระสงค์ 1.​เพ่อื ห​ ารายได​มาส​ นบั สนุนก​ าร​ดำเนนิ งานข​ องส​ ถาบันฯ​ในดา นต​ างๆ 2.​เพ่ือ​ใหบริการ​แก​ผู​มา​เขา​ชม​พิพิธภัณฑ​วิทยาศาสตร​ทางทะเล​และ​สถาน​เลี้ยง​สัตว​น้ำเค็ม​ ขา ราชการแ​ ละพ​ นกั งานข​ องส​ ถาบนั ฯ​​รวมทัง้ ​อาจารยใ​ น​มหาวทิ ยาลัยบูรพา 3.​เพือ่ ​สนับสนนุ ​งานท​ าง​ดานก​ าร​ศกึ ษาแ​ ละ​วิจัย​ทางด​ านว​ ิทยาศาสตรท​ างทะเล 4.​เพอื่ ​การเ​ผยแพรผ​ ลงาน​และว​ ทิ ยา​การท​ างด​ าน​ความ​กาวหนา​ทางด​ าน​วิทยาศาสตร​ทางทะเล 5.​ เพื่อ​สงเสริม​ให​บุคลากร​ของ​สถาบันฯ​ ได​มี​ผลงาน​ทางวิชาการ​ใน​รูปแบบ​ของ​หนังสือ​ หรือ​ สือ่ การศกึ ษา​อืน่ ๆ ประเภทของสนิ คา้ ​ ปจจุบัน​โครงการ​รานคา​สถาบัน​วิทยาศาสตร​ทางทะเล​จัดแบง​แผนก​จำหนาย​สินคาออก​เปน​18​ แผนก​โดยแ​ บง ​สินคา​เปน ​4​กลุม ​ดงั น้ี 21

รายงานประจำป 2550 สถาบนั วทิ ยาศาสตรทางทะเล มหาวทิ ยาลัยบรู พา 1.​ สินคา​ประเภท​ของที่ระลึก​ เชน​ สินคา​ตรา​สถาบันฯ​ ของเลน​ เครื่องประดับ​ เครื่องจักรสาน​ เสอ้ื ผา 2.​สินคา ป​ ระเภท​อาหาร​และ​เครือ่ งดม่ื ​เชน​ไอศค​ รีม​อาหารวาง​น้ำด่มื 3.​สินคาป​ ระเภทส​ อ่ื การศึกษา​เชน ​เครอื่ งเขียน​หนงั สอื ​โปสเตอร​ซีดี 4.​สินคาป​ ระเภท​ผลิตภณั ฑ​จาก​งานวิจยั ​เชน ​ห​ วั เช้อื แ​ พลงกตอนใ​ช​สำหรบั เ​ลี้ยง​สตั วนำ้ ​วยั อ​ อน​​ ​ ปจจุบัน​โครงการ​รานคา​สถาบัน​วิทยาศาสตร​ทางทะเล​ได​จัดทำ​โครงการ​พัฒนา​องคความรู​สู​ ผลิตภัณฑ​ เพ่ือ​พัฒนา​องคความรู​จาก​งานวิจัย​ของ​สถาบัน​วิทยาศาสตร​ทางทะเล​ ให​เปน​ผลิตภัณฑ​เชิงพาณิชย​ และ​นำมา​จำหนาย​ใน​โครงการ​ให​มากขึ้น​ เปนการ​เพ่ิม​ศักยภาพ​ใน​การ​จัด​หารายได​ให​กับ​สถาบัน​วิทยาศาสตร​ ทางทะเล 22

รายงานประจำป 2550 สถาบนั วทิ ยาศาสตรทางทะเล มหาวิทยาลัยบูรพา สรุปผลงานในรอบปีงบประมาณ 2550 (ตุลาคม 2549 – กนั ยายน 2550) $QQXDO5HSRUW 23 ,QVWLWXWHRI

รายงานประจำป 2550 สถาบนั วทิ ยาศาสตรทางทะเล มหาวทิ ยาลัยบูรพา สรปุ ผลงานในรอบปีงบประมาณ 2550 (ตลุ าคม 2549 – กันยายน 2550) สถาบัน​วทิ ยาศาสตร​ทางทะเล มหาวทิ ยาลยั บูรพา ไดแ​ บง ​การ​ดำเนนิ งาน​ตามภ​ ารกจิ ท​ ​ี่ดำเนนิ งานอ​ ยู​ ออกเ​ปน 7 ดา น คอื ดา นก​ ารว​ จิ ยั แ​ ละง​ านส​ รา งสรรค ดา นก​ ารบ​ รกิ ารว​ ชิ าการ ดา นก​ ารส​ นบั สนนุ ก​ ารเ​รยี นก​ ารส​ อน ดา นก​ ารท​ ำนุบำรงุ ศ​ ลิ ปว​ ัฒนธรรม ดา นก​ ารอ​ นรุ ักษ​ทรัพยากรธรรมชาติ​และ​ส่งิ แวดลอม ดานการบรหิ ารแ​ ละก​ าร​ พฒั นาอ​ งคก ร และด​ า น​การป​ ระกนั ค​ ณุ ภาพ ดัง​รายละเอยี ดต​ อไปนี้ 1. ด้านการวิจยั และงานสรา้ งสรรค์ สถาบัน​วิทยาศาสตร​ทางทะเล มี​ภารกิจ​หลัก​ที่​สำคัญ​ประการหนึ่ง คือ การ​วิจัย​และ​เผยแพร​ผลงาน​ สู​สาธารณชน โดย​มี​นโยบาย​สนับสนุน​การ​วิจัย​ท่ี​เปนความ​ตองการ​และ​สอดคลองกับ​แนว​ทางการ​วิจัย​ของ​ มหาวิทยาลัย​และ​ของ​ประเทศ ​ผลท่ีได​ตอง​เอื้อ​ตอ​การ​พัฒนา​ของ​ประเทศ​เปนสำคัญ และ​มุงเนน​การ​วิจัย​ใน​สาขา​ วทิ ยาศาสตร​ทางทะเล จากน​ โยบายด​ งั กลาวจ​ ึงไ​ดม​ ​กี ารแ​ บง ส​ วนงาน​ใน​ฝายว​ ิจยั ​ออก​เปน 4 งานวจิ ยั คอื 1) งานวิจยั ส่ิงแวดลอ มทางทะเล 2) งานวิจัยความหลากหลายชวี ภาพทางทะเล 3) งานวจิ ยั เทคโนโลยีชีวภาพทางทะเล 4) งานวิจัยการเพาะเล้ียงสัตวและพชื ทะเล ในปงบประมาณ 2550 สถาบันวทิ ยาศาสตรท างทะเลไดร บั ทุนอดุ หนนุ การวิจยั จากงบประมาณแผนดิน ประกอบดว ย 3 แผนงานวิจยั (ชดุ โครงการวจิ ัย) ซงึ่ ประกอบดว ย 9 โครงการยอย และ โครงการวิจัยเดยี่ วอกี 7 โครงการ เปน เงนิ ทง้ั ส้ิน 11,797,600 บาท ทุนวจิ ัยจากเงินรายไดของสถาบันฯ 2 โครงการ เปน เงนิ 60,000 บาท และทุนวิจัยจากแหลงทุนภายนอกอื่น ไดแก โครงการพัฒนาองคความรูและศึกษานโยบายการจัดการทรัพยากร ชีวภาพในประเทศไทย (โครงการ BRT) 2 โครงการเปนเงิน 718,000 บาท รวมเปนเงินงบประมาณการวิจัยท่ี ไดรบั ทงั้ ส้ิน 12,575,600 บาท นอกจากนส้ี ถาบันฯยังใหความรว มมือกับหนวยงานอน่ื ในการทำวจิ ัยรวมกัน ไดแ ก ศนู ยว จิ ยั ทรพั ยากรทางทะเลและชายฝง อา วไทยฝง ตะวนั ออก กรมทรพั ยากรทางทะเลและชายฝง และคณะประมง มหาวทิ ยาลยั เกษตรศาสตร เปนตน 24

รายงานประจำป 2550 สถาบนั วิทยาศาสตรทางทะเล มหาวิทยาลัยบรู พา สรุปรายละเอยี ดโครงการวิจัยทไ่ี ดร้ ับ ตามแหล่งทุนต่างๆ ในตารางตอ่ ไปน้ี 1. โครงการวิจยั จากงบประมาณแผ่นดนิ ลำดบั ชอื่ แผนงานวิจยั / หวั หนา โครงการและคณะผูวจิ ัย จำนวนเงิน ที่ โครงการวิจยั (บาท) 776,000 1 แผนงานวจิ ยั เรอ่ื ง สารตวั ยาและผลติ ภัณฑ์เสรมิ ดร.ชตุ ิวรรณ เดชสกุลวัฒนา อาหารจากฟองน้ำและแบคทีเรียทะเลที่อาศัยอยู่ จาก และคณะ 442,000 บรเิ วณชายฝงทะเลภาคตะวันออกของประเทศไทย 2,009,500 215,000 (ประกอบดวย 3 โครงการยอย ดังรายละเอียดในขอ 1.1 269,500 –1.3) 858,000 1.1 ฟองนำ้ ทะเล : การคนหาสารประกอบเคมีกับฤทธ์ทิ าง ดร. รววิ รรณ วฒั นดิลก 585,500 ชีวภาพ นางสาววรรณภา กสฤิ กษ 477,500 Prof. Anake Kijjoa 325,600 1.2 แบคทีเรยี ทะเลที่อาศยั อยกู ับฟองนำ้ ไทย : แหลงใหมของ ดร.ชตุ ิวรรณ เดชสกลุ วฒั นา สารออกฤทธ์ิทางชีวภาพและผลติ ภณั ฑเ สรมิ อาหาร 1.3 การตรวจหาชนดิ และปริมาณกรดไขมนั ในฟองนำ้ และ นางปย ะวรรณ ศรวี ิลาศ แบคทีเรยี ทีอ่ าศยั อยใู นฟองน้ำทะเลบางชนิด ดร. รววิ รรณ วฒั นดิลก นางสาวกานตพ ชิ ชา ใจดี 2 แผนงานวิจัยการประเมินความเสย่ี งดา้ นสง่ิ แวดล้อม ดร. แววตา ทองระอา ทางทะเลในพืน้ ท่ีอุตสาหกรรมชายฝงทะเลตะวนั ออก นางสาวฉลวย มุสิกะ (ประกอบดว ย 4โครงการยอ ย ดังรายละเอยี ดในขอ นางขวญั เรอื น ศรนี ุย 2.1-2.4) นางสาวธิดารตั น นอยรกั ษา ดร. สเุ มตต ปจุ ฉาการ ดร. สุขใจ รัตนยวุ กร 2.1 การประเมินความเส่ียงของสารมลพิษทางทะเลในพนื้ ท่ี นางสาวฉลวย มุสิกะ อุตสาหกรรมชายฝงทะเลภาคตะวันออก ดร. แววตา ทองระอา นายวันชยั วงสุดาวรรณ นายอาวุธ หม่ันหาผล 2.2 การประเมนิ ความเสย่ี งตอ สขุ ภาพของโลหะหนักในพน้ื ที่ ดร. แววตา ทองระอา อตุ สาหกรรมชายฝงทะเลภาคตะวันออก นางสาวฉลวย มสุ กิ ะ นายวันชัย วงสดุ าวรรณ นายอาวุธ หมน่ั หาผล 2.3 การประเมนิ สถานภาพองคป ระกอบชวี ภาพของ นางขวัญเรอื น ศรีนุย ระบบนิเวศในพนื้ ที่อุตสาหกรรมชายฝงทะเลภาค นางสาวธดิ ารตั น นอยรักษา ตะวนั ออก ดร. สุเมตต ปจุ ฉาการ ดร. สุขใจ รัตนยุวกร 2.4 พยาธิสภาพของสัตวท ะเลในพน้ื ทนี่ คิ มอตุ สาหกรรม ดร. สขุ ใจ รตั นยุวกร บรเิ วณชายฝง ทะเลภาคตะวันออก 25

รายงานประจำป 2550 สถาบันวิทยาศาสตรทางทะเล มหาวิทยาลยั บรู พา ลำดับ ชื่อแผนงานวจิ ัย/ หัวหนา โครงการและคณะผูวจิ ยั จำนวนเงิน ท่ี โครงการวิจัย (บาท) 3 แผนงานวจิ ยั อาหารทะเลปลอดสารพษิ (ประกอบดวย นางสาวรตั นาภรณ ศรวี ิบลู ย 28,000 2 โครงการยอ ย ดงั รายละเอียดในขอ 3.1-3.2) 3.1 การตรวจหาสารปฏชิ วี นะตกคางในอาหารทะเลและ นางสาวรตั นาภรณ ศรวี ิบูลย 264,000 ผลติ ภณั ฑอ าหารทะ เล นางสาวอุดมลกั ษณ ธติ ิรกั ษพาณชิ ย 3.2 การใชประโยชนจากจลุ นิ ทรยี ใ นการผลติ สผี สมอาหาร นางสาวรัตนาภรณ ศรีวิบูลย 540,400 ทีป่ ลอดภัย นางสาวอุดมลกั ษณ ธติ ริ กั ษพาณชิ ย 4 การประเมินความเส่ยี งตอ สุขภาพของคนไทยจากการ ดร. แววตา ทองระอา 795,300 ไดร ับโลหะหนักในอาหารทะเลบรเิ วณพน้ื ทช่ี ายฝง ทะเล นางสาวฉลวย มุสกิ ะ ภาคตะวนั ออก นายวนั ชัย วงสดุ าวรรณ นายอาวุธ หมัน่ หาผล 5 การปนเปอ นของ Cryptosporidium sp. ที่ก่อให้เกดิ ดร. สุพรรณี ลีโทชวลิต 585,900 โรคทอ้ งรว่ งในหอยนางรมบริเวณชายฝง ทะเล นางจันทรจรสั วัฒนะโชติ ภาคตะวนั ออกของประเทศไทย 6 พาราไซด์ท่เี ปน อันตรายต่อหอยนางรมในพ้ืนท่ี ดร. สุขใจ รตั นยุวกร 483,500 ชายฝง ทะเลภาคตะวันออก ดร. สพุ รรณี ลโี ทชวลติ 7 การศึกษาโรคจดุ ขาวนำ้ เคม็ ทเ่ี กดิ จากโปรโตซัว ดร. สุพรรณี ลีโทชวลติ 2,015,000 Cryptocaryon sp. ในปลาทะเลในประเทศไทย นางจนั ทรจ รัส วัฒนะโชติ นางสาวรตั นาภรณ ศรีวิบลู ย ดร. นันทรกิ า ซนั ซอ่ื นางสาววรรณา ศริ ิมานะพงษ 8 การศึกษาความหลากหลายทางชีวภาพของหอยทะเล ดร. กติ ิธร สรรพานชิ 238,500 บรเิ วณอ่าวไทย ฝง ตะวันออก ดร. สเุ มตต ปจุ ฉาการ นายสชุ า มัน่ คงสมบรู ณ นางสาวธดิ ารัตน นอยรกั ษา 9 การพัฒนาเทคนิคการเพาะเล้ียงหอยตลับ (Meretrix นางอมรรัตน ชมรงุ 341,400 meretrix) เพ่ือการอนรุ ักษท์ รัพยากรธรรมชาติ และ ดร.เสาวภา สวัสดพิ ีระ การศึกษาชวี วิทยาบางประการทเี่ ก่ยี วขอ้ ง นายณฐั วฒุ ิ เหลอื งออ น 10 การสะสมสารโพลีไซคลกิ อะมาตกิ ไฮโดรคาร์บอน นายไพฑรู ย มกกงไผ 547,000 (พเี อเอช) ในสตั ว์นำ้ เศรษฐกจิ และดินตะกอนบรเิ วณ นางปย ะวรรณ ศรวี ิลาศ ชายฝง ทะเลภาคตะวันออกของประเทศไทย รวม 11,797,600 26

รายงานประจำป 2550 สถาบนั วทิ ยาศาสตรท างทะเล มหาวิทยาลยั บูรพา 2. โครงการวจิ ัยจากแหล่งทนุ ภายในสถาบันฯ (งบประมาณเงนิ รายได้) ลำดบั ช่ือแผนงานวจิ ัย/ หัวหนาโครงการและคณะผวู ิจยั จำนวนเงิน ที่ โครงการวิจยั (บาท) 20,000 1 การศกึ ษาธาตอุ าหารในเซลล Noctiluca sp. ซึง่ ทำใหเกิด นายวันชัย วงสุดาวรรณ 40,000 ปรากฏการณน้ำเปล่ียนสบี ริเวณชายฝงจงั หวดั ชลบรุ ี นายอาวุธ หมัน่ หาผล 60,000 2 ความหลากหลายทางชวี ภาพของทรพั ยากรสิ่งมีชวี ติ ดร. สเุ มตต ปุจฉาการ ทีอ่ าศยั ในระบบนิเวศแหลง หญาทะเล บริเวณอำเภอสตั หบี ดร. กติ ธิ ร สรรพานิช จังหวัดชลบุรี (ภายใตโ ครงการอนรุ กั ษพะยนู และหญา นายสุชา ม่ันคงสมบรู ณ ทะเลในพนื้ ทีส่ ตั หบี ) นางสาวธิดารตั น นอยรกั ษา รวม 3. โครงการวจิ ยั จากแหลง่ ทุนภายนอก ลำดบั ท่ี ชอ่ื โครงการ แหลง ทนุ คณะผูว จิ ยั จำนวนเงนิ (บาท) 1 ความหลากหลายของชนดิ โครงการพัฒนาองคค วามรู ดร. สเุ มตต ปจุ ฉาการ 390,000 ฟองน้ำทะเลที่อาศัยอยใู นแนว และศึกษานโยบายการจดั การ ปะการังบริเวณหมเู กาะทะเลใต ทรพั ยากรชีวภาพในประเทศ 328,000 อทุ ยานแหงชาติขนอม-หมเู กาะ ไทย (โครงการ BRT) ทะเลใต จังหวัดนครศรธี รรมราช 718,000 2 ความหลากหลายของชนดิ โครงการพฒั นาองคค วามรู นายสชุ า มนั่ คงสมบรู ณ เพรยี งหวั หอมทอี่ าศัยอยใู นแนว และศกึ ษานโยบายการจดั การ ดร. สเุ มตต ปุจฉาการ ปะการังบริเวณหมูเกาะทะเลใต ทรพั ยากรชีวภาพในประเทศ อุทยานแหง ชาตขิ นอม-หมเู กาะ ไทย (โครงการ BRT) ทะเลใต จงั หวัดนครศรธี รรมราช รวม 27

รายงานประจำป 2550 สถาบันวิทยาศาสตรทางทะเล มหาวิทยาลัยบรู พา 4. โครงการวิจัยที่ใหค้ วามรว่ มมือกับองคก์ ร หรอื หน่วยงานอื่น ลำดับ ชอ่ื โครงการวจิ ยั ผูรว มวจิ ัย หนว ยงานที่ดำเนนิ การรวม ที่ 1 Production of physiologically นางสาวรตั นาภรณ ศรวี ิบลู ย มหาวิทยาลยั เชียงใหม มหาวทิ ยาลยั active substances by ชิซึโอกะ ประเทศณ่ีปนุ (ภายใตความ thermotolerant microorganism. รวมมือ NRCT-JSPS) 2 Identification of marine yeasts for นางสาวรัตนาภรณ ศรวี บิ ูลย มหาวิทยาลัยโซโจ ประเทศณ่ปี ุน bioenergy (ภายใตค วามรวมมอื NRCT-JSPS) 3 สถานภาพทรพั ยากรสงิ่ มีชวี ิตทอ่ี าศัย นายสเุ มตต ปจุ ฉาการ ศูนยวิจัยทรพั ยากรทางทะเลและชายฝง ในระบบนิเวศแนวปะการัง บริเวณ นายกิติธร สรรพานิช อา วไทยฝงตะวนั ออก หมเู กาะมนั จังหวดั ระยอง นายสชุ า ม่ันคงสมบรู ณ กรมทรพั ยากรทางทะเลและชายฝง และ นางสาวธิดารัตน นอยรกั ษา คณะประมง มหาวิทยาลยั เกษตรศาสตร นางสาวจิตรา ตีระเมธี 4 องคประกอบชนิด และการ นางสาวจติ รา ตรี ะเมธี ภาควชิ าวทิ ยาศาสตรท างทะเล แพรกระจายของแพลงกต อนสตั ว คณะประมง มหาวทิ ยาลยั เกษตรศาสตร กลมุ โคพพี อด บริเวณหมูเกาะ แสมสาร จงั หวัดชลบรุ ี 5 การศกึ ษาสาหรายทะเลขนาดใหญ นายสุเมตต ปุจฉาการ โครงการอนรุ ักษพ ันธกุ รรม ของพนื้ ทเ่ี กาะแสมสารและเกาะ นายกติ ธิ ร สรรพานิช พืชฯ กองทัพเรอื และคณะประมง ใกลเ คียง รวมทงั้ เกาะในความ นายสชุ า มนั่ คงสมบรู ณ มหาวทิ ยาลัยเกษตรศาสตร รับผิดชอบของกองทัพเรอื ใน นางสาวธิดารัตน นอยรักษา โครงการอนุรกั ษพันธกุ รรมพชื นางสาวจิตรา ตรี ะเมธี อันเน่ืองมาจากพระราชดำริ สมเด็จพระเทพรัตนราชสดุ าฯ สยามบรมราชกุมารี 6 การประเมนิ คุณคา ทางเศรษฐศาสตร นางสาวรติมา ครุวรรณเจริญ คณะสัตวศาสตรและเทคโนโลยกี าร และสงั คมของทรัพยากรธรรมชาติ เกษตร วิทยาเขตสารสนเทศเพชรบุรี ชายฝง ทะเลจงั หวัดเพชรบรุ ี มหาวทิ ยาลยั ศลิ ปกร และประจวบคีรขี นั ธ การศึกษา เบือ้ งตนเพื่อพฒั นาระบบสนับสนุน การตัดสนิ ใจสำหรับการจัดการ ทรัพยากรชายฝง ทะเล 28

รายงานประจำป 2550 สถาบนั วิทยาศาสตรทางทะเล มหาวิทยาลยั บรู พา การเผยแพร่ผลงานวิจยั ผลงานวจิ ยั ทนี่ กั วทิ ยาศาสตรท ำเสรจ็ แลว ไดถ กู นำไปเผยแพรใ นรปู แบบตา งๆ ทงั้ นสี้ ถาบนั วทิ ยาศาสตร ทางทะเลมีนโยบายสงเสริมใหนักวิทยาศาสตรไดเผยแพรผลงานวิจัยทั้งในรูปแบบของการตีพิมพในวารสาร ทางวิชาการ และการนำเสนอผลงานในการประชุมวิชาการท้ังในและตางประเทศ โดยสนับสนุนคาใชจายใหใน รอบปท ผี่ า นมาไดม กี ารเผยแพรผ ลงานวจิ ยั ทง้ั สน้ิ 23 เรอื่ ง แบง เปน รายงานการวจิ ยั ฉบบั สมบรู ณ 4 เรอ่ื ง ตพี มิ พใ น วารสารวชิ าการนานาชาตจิ ำนวน 2 เรอ่ื ง ตพี มิ พใ นวารสารวชิ าการในประเทศจำนวน 5 เรอื่ ง นำเสนอผลงานวจิ ยั แบบบรรยายในการประชมุ วชิ าการนานาชาตจิ ำนวน 3 เรอื่ ง นำเสนอผลงานวจิ ยั แบบบรรยายในการประชมุ วชิ าการ ในประเทศ จำนวน 4 เร่ือง และแบบโปสเตอรใ นท่ีประชุมวชิ าการนานาชาติ จำนวน 5 เรอ่ื ง รายละเอยี ดดงั แสดง ในตารางตอ ไปน้ี (สำหรบั บทคดั ยอ ของผลงานวิจัยตางๆ นี้ ดูรายละเอยี ดไดในภาคผนวก) 1) รายงานวิจยั ฉบบั สมบูรณ คณะผวู ิจยั รูปแบบการเผยแพร ลำดบั เรื่อง 1 การตรวจหาชนดิ และปริมาณกรดไขมนั ใน นางปยะวรรณ ศรีวลิ าศ รายงานการวิจยั ฉบบั สมบรู ณ ฟองน้ำและแบคทีเรียทอี่ าศยั อยูในฟองนำ้ ทะเล งบประมาณแผนดนิ ประจำ บางชนดิ ปงบประมาณ 2549 2 การแพรก ระจายและความชกุ ชุมของ นางขวญั เรือน ศรีนยุ รายงานการวจิ ยั ฉบับสมบรู ณ แพลงกต อนสัตวบ รเิ วณชายฝงทะเลภาค งบประมาณแผนดนิ ตะวันออก ป 2548 ประจำปงบประมาณ 2549 3 ผลของปริมาณไนโตรเจนทใ่ี ชใ นการเพาะเลยี้ ง นางอมรรัตน ชมรงุ รายงานการวจิ ัยฉบับสมบูรณ สาหราย (Isochrysis galbana) ตอ ปริมาณ นางสาวจารุนันท ประทมุ ยศ งบประมาณแผนดิน องคป ระกอบทางเคมขี องสาหรา ย และการ นางปย ะวรรณ ศรวี ลิ าศ ประจำปงบประมาณ 2547 เจริญเติบโต อตั ราการรอดของลกู ปลาการตนู วยั ออ น” 4 โครงการเฝาระวงั และการวางแนวทางปองกัน ดร. พิชยั สนแจง รายงานการวจิ ัยฉ​ บบั ​สมบูรณ เสนอต​ อ องคการบ​ ริหารส​ ว น​ การเกิดปรากฏการณข ปี้ ลาวาฬในบรเิ วณ ดร. แววตา ทองระอา จงั หวัด​ชลบรุ ี ชายฝง ทะเล จังหวดั ชลบรุ ี นางสาวฉลวย มุสิกะ นางสาวธดิ ารตั น นอ ยรักษา นางขวัญเรอื น ศรนี ยุ นายวนั ชัย วงสุดาวรรณ ดร. สุเมตต ปุจฉาการ นายอาวุธ หมัน่ หาผล นางสาวอจั ฉรี ฟูปง นางสาวสพุ ัตรา ตะเหลบ็ 29

รายงานประจำป 2550 สถาบนั วิทยาศาสตรท างทะเล มหาวิทยาลัยบูรพา 2) การเผยแพร่ในวารสารวิชาการนานาชาติ ช่ือวารสารทต่ี ีพมิ พ/ปทพี่ มิ พ/ ลำดับ เรือ่ ง คณะผูวิจยั ฉบับทพี่ ิมพ/วัน เดอื น ป ที่ ตพี มิ พ/หนา ทลี่ งพิมพ 1 Antifungal Activity Evaluation of the Watanadilok, R., Sawangwong, P., Mar. Drugs. 2007, 5: 40-51. Constituents of Haliclona baeri and Rodrigues, C., Cidade, H., Pinto, Haliclona cymaeformis, Collected from M., Pinto, E., Silva, A. and Kijjoa, A. the Gulf of Thailand. 2 Pigmented actinomycetes from Srivibool, R. and Journal of Science, coastal areas and their bioactive M. Sukchotiratana Technology, and Humanities. secondary metabolites. Vol. 4(1-2) : 11-18, 2006 3) การเผยแพรใ่ นวารสารวิชาการในประเทศ ลำดับ เรือ่ ง คณะผูวิจัย ชอื่ วารสารทีต่ ีพิมพ/ปทีพ่ มิ พ/ ฉบับทพ่ี มิ พ/ วัน เดือน ป 1 การแยกเชื้อและการจำแนกสเตรปโตมยั นางสาวรตั นาภรณ ศรวี บิ ลู ย ทีต่ ีพมิ พ/หนาท่ีลงพมิ พ ซีสจากดินชายฝงของเกาะชา ง นางสาวจริ วรรณ เพ็ญ วารสารวทิ ยาศาสตรบูรพา. 2549 ปที11 ฉบับท่ี 2 หนา จงั หวัดตราด นายปรากรม ประยรู รตั น 61-66 วารสารวทิ ยาศาสตรบ ูรพา 2 สถานการณค ุณภาพน้ำทะเลชายฝง ภาค นางสาวฉลวย มุสกิ ะ ปที่ 12 ฉบับที่ 1 มกราคม- มิถนุ ายน 2550 หนา 33-44 ตะวันออก ป 2548 นายวันชยั วงสุดาวรรณ วารสารวทิ ยาศาสตรบ ูรพา นายอาวุธ หมนั่ หาผล ปท่ี 12 ฉบับที่ 1 มกราคม- มถิ ุนายน 2550 หนา 63-72 ดร. แววตา ทองระอา วารสารวจิ ยั วิทยาศาสตร (Section T) ปท ่ี 6 ฉบับพิเศษ 1 3 ชนดิ ของปนู ้ำเคม็ ที่พบทที่ าเทยี บเรือ นริ มล แกว กัณหา และนงนุช (2550) หนา 221-230 ประมงอางศิลาและแหลมฉบงั จงั หวัด ตง้ั เกริกโอฬาร ชลบรุ ี วารสารวจิ ยั วิทยาศาสตร (Section T) ปท ี่ 6 ฉบบั พิเศษ 1 4 การกระจายและความชุกชุมของ นางขวญั เรอื น ศรีนุย (2550) หนา 339-348 แพลงกตอนสัตวบริเวณปากแมนำ้ ตลอด แนวชายฝง ทะเลภาคตะวนั ออกของ ประเทศไทย 5 การเจริญเตบิ โต การรอดตายของปลา นางอมรรตั น ชมรงุ การต ูนวัยออ น (Amphiprion ephippium) นางสาวจารนุ นั ท ประทมุ ยศ ทเี่ ลีย้ งในสาหราย Isochrysis galbana นางปยะวรรณ ศรีวลิ าศ ดวยสารอาหารไนโตรเจนความเขมขน ดร. วรเทพ มธุ ุวรรณ ตางกนั 30

รายงานประจำป 2550 สถาบนั วทิ ยาศาสตรทางทะเล มหาวิทยาลยั บรู พา 4) การเสนอผลงานแบบบรรยายในการประชมุ วชิ าการนานาชาติ ลำดบั เร่ือง คณะผูวจิ ยั ชอ่ื การประชุมวชิ าการ วันท่ี สถานที่จัด 1 Pigmented actinomycetes from Srivibool, R. and The 21st Biennial Conference of Asian coastal areas and their bioactive M. Sukchotiratana Association for Biology Education (AABE), secondary metabolites 25-28 October 2006. Kongju National University , Kongju, Korea 2 Taxonomy and distribution of Noiraksar, T. and XIX th International Seaweed Symposium Sargassum (Phaeophyceae) in A. Tetsuro (Seaweeds: Science and Technology for the Gulf of Thailand Traditional and Modern Utilization)/ 26-31 March 2007/ The Kobe International Conference Center, Japan 3 Development of anemonefishes Muthuwan, V. The Second Korea-Thailand Symposium culture techniques for commercial on Marine Science “Korea-Thaoland Joint farming Symposium on Coastal Processes and Resources” 21-23 June 2007, Burapha Univerity, Thailand. 5) การเสนอผลงานแบบบรรยายในการประชุมวชิ าการในประเทศ ลำดับ เร่ือง คณะผวู จิ ยั ชื่อการประชมุ วิชาการ วันที่ สถานท่ีจดั 1 การกระจายและความชกุ ชุมของ นางขวญั เรือน ศรีนุย การประชมุ วิชาการสาหรายและ แพลงกต อนสัตวบ ริเวณปากแมนำ้ แพลงกตอนแหงชาติ คร้ังท่ี 3 ตลอดแนวชายฝง ทะเลภาคตะวันออก ในวนั ที่ 21-23 มนี าคม 2550 ของประเทศไทย จฬุ าลงกรณม หาวทิ ยาลัย 2 ผลของปริมาณไนโตรเจนตอ นางอมรรตั น ชมรงุ การประชมุ วิชาการสาหรายและ องคป ระกอบทางเคมีของสาหราย นางสาวจารนุ ันท ประทุมยศ แพลงกต อนแหงชาติ ครง้ั ที่ 3 Isochrysis galbana และอัตราการ นางปย ะวรรณ ศรวี ิลาศ จฬุ าลงกรณม หาวทิ ยาลัย เจริญเติบโตและอัตราการรอดของ ดร. วรเทพ มธุ ุวรรณ 21-23 มีนาคม 2550 ลกู ปลาการตูนวัยออ น 3 Natural compounds from the ma- Dechsakulwattana, C., R. การประชุมวชิ าการ PERCH-CIC rine organisms and their associated Watanadilok, J. Jongaram- Congress V, Theme : Chemistry for bacteria collected from the Gulf of ruang, W. Rungporn and P. Innovation โรงแรมจอมเทียนปาลมบีช. Thailand Wapraisirisarn พทั ยา. ชลบุรี. วนั ที่ 6 - 9 พฤษภาคม 2550 4 สารตวั ยาและผลติ ภณั ฑเ สริมอาหาร ดร. ชุติวรรณ เดชสกลุ วัฒนา เคมเี พ่อื นวัตกรรม: จากงานวิจัยสู จากฟองนำ้ และแบคทเี รยี ท่อี าศยั อยู เชงิ พาณิชย, โรงแรมจอมเทยี นปาลมบชี . จากบริเวณชายฝง ทะเลในอาวไทย พัทยา. ชลบรุ .ี วันท่ี 8 พฤษภาคม 2550 31

รายงานประจำป 2550 สถาบนั วิทยาศาสตรทางทะเล มหาวทิ ยาลัยบูรพา 6) การเสนอผลงานแบบโปสเตอร์ในการประชุมวิชาการนานาชาติ ลำดับ เรือ่ ง คณะผูวิจยั ชอื่ การประชุมวิชาการ วนั ท่ี สถานที่จดั 1 Thermotolerant actinomycetes from Srivibool, R., M. Sukchotiratana 5th JSPS-NRCT, joint seminar on coastal areas producing N-acylamino and S. Tokuyama. development of thermotolerant acid racemase. microbial resources and their applications. 8-10 November 2006. Pattaya, Chon Buri. 2 Marine yeast: A new alternative Srivibool, R.,and FERVAAP Seminar , 23 - 25 May source for highly unsaturated fatty S. Jaritkhuan 2007. Khonkaen University. acids Khonkaen. Thailand. 3 Isolation and characterisation of Srivibool, R. W. Pathom-Aree, International Symposium on the anticancer and antimicrobial K. Jaidee M. Sukchotiratana Biology of Actinomycetes. producing Streptomyces from and S. Tokuyama. 26 - 30 August 2007. mangrove sediments. Newcastle. UK. 4 Species and distribution of Tetsuro, A., T. Noiraksar and 31st Annual Meeting of Japanese Sargassum K. Lewmanomont Society of Phycology / 24-25 (Phaeophyceae) from Thailand. March 2007/ Kobe University, Japan 5 Three species of Sargassum Noiraksar, T., T. Ajisaka and H. LIPI – JSPS Joint Seminar 2007/ (Phaeophyceae) with compressed Ogawa. 3-5 August 2005/ Yogyakata, primary branches in the Gulf of Indonesia. Thailand. 2. ด้านการบรกิ ารวิชาการ ภารกจิ หลกั ดา นหนงึ่ ของสถาบนั วทิ ยาศาสตรท างทะเลคอื การบรกิ ารวชิ าการสสู งั คม โดยเฉพาะอยา งยงิ่ สถาบนั แหง นน้ี บั เปน แหลง เรยี นรตู ลอดชวี ติ ตามพระราชบญั ญตั กิ ารศกึ ษาแหง ชาติ พ.ศ. ๒๕๔๒ มาตรา 25 ทก่ี ลา ว ไวว า “รฐั ตอ งสง เสรมิ การดำเนนิ งานและการจดั ตงั้ แหลง การเรยี นรตู ลอดชวี ติ ทกุ รปู แบบ ไดแ ก หอ งสมดุ ประชาชน พพิ ธิ ภณั ฑ หอศิลป สวนสัตว สวนสาธารณะ สวนพฤกษศาสตร อุทยานวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี ศูนยการกฬี า และนันทนาการ แหลง ขอ มลู และแหลง การเรียนรูอ่ืนอยา งพอเพยี งและมีประสทิ ธิภาพ” โดยสถาบันวทิ ยาศาสตร มีสถานเล้ียงสัตวน้ำเค็มและพิพิธภัณฑวิทยาศาสตรทางทะเล เปนหลักในการเปนแหลงเรียนรูตามอัธยาศัยของ เยาวชนและประชาชนทั่วไป นอกจากสถานเลี้ยงสัตวน้ำเค็มและพิพิธภัณฑฯแลวยังมีกิจกรรมดานการบริการ วิชาการแกสังคมเพื่อใหความรูความเขาใจเก่ียวกับดานวิทยาศาสตรทางทะเลอยางตอเน่ือง ไดแก การจัดคาย วิทยาศาสตรท างทะเล การจดั การถายทอดเทคโนโลยี การสมั มนาทางวชิ าการ การใหคำปรึกษา การฝกงานให แกเ กษตรกรและผูทสี่ นใจ การไดรบั เชญิ ไปเปนอาจารยพ เิ ศษหรอื วทิ ยากรบรรยายพิเศษ เปนตน ในปง บประมาณ 2550 สถาบันฯ มกี จิ กรรมดานการบริการวิชาการแกสงั คมในดานตา งๆ ดังนี้ 32

รายงานประจำป 2550 สถาบนั วทิ ยาศาสตรท างทะเล มหาวทิ ยาลัยบูรพา 2.1 สถานเล้ยี งสัตวน์ ้ำเคม็ 1. การจดั แสดงภายในสถานเล้ียงสตั ว์น้ำเค็ม 1. การประมงหมกึ สาย โดยทางฝา ยสถานเลย้ี งสตั วน ำ้ เคม็ ไดท ำการจำลองการประมงหมกึ สาย ของชาวประมงมาทำการจัดแสดงภายในตูจัดแสดงแทนการเล้ียงแมงกะพรนุ 2. การปรบั ปรงุ ตูจดั แสดงการเลย้ี งปะการังในระบบปด โดยนำปะการังทีไ่ ดจ ากการเพาะเลี้ยง ของหนว ยวจิ ยั เพาะเลี้ยงสตั วน ำ้ มาทำการจัดแสดงในตขู นาด 1.2 ลกู บาศกเมตร 2. การปรบั ปรงุ ตู้แสดงพันธุ์สัตว์นำ้ การปรบั ปรงุ ตจู ดั แสดงปรมิ าตร 200 ลกู บาศกเ มตร โดยทางฝา ยสถานเลยี้ งสตั วน ำ้ เคม็ สถาบนั วทิ ยาศาสตรท างทะเลไดรับงบประมาณแผน ดนิ รวมเงินสมทบจากทางสถาบันฯ เปนจำนวนเงิน 63,900,000 บาท เพอ่ื ทำการปรบั ปรงุ ตแู สดงพนั ธสุ ตั วท ะเลขนาดใหญ โดยทางสถาบนั ฯไดท ำสญั ญาวา จา งบรษิ ทั กรนี ทรม้ั ป จำกดั เปน ผูดำเนินการ ตง้ั แตว ันท่ี 28 กันยายน พ.ศ. 2550 และมีกำหนดแลว เสร็จ ในวันท่ี 1 ธนั วาคม พ.ศ. 2551 โดย เมื่อส้นิ สดุ เดือนธันวาคม 2550 นที้ างบรษิ ัททำการไดส ง มอบงาน 2 งวด คอื งวดที่ 1ไดแ กง านตผี ังอาคาร และตอกเสาเข็มทัง้ หมด งวดท่ี 2 ไดแ กง านหลอ ฐานรากและเสาตอมอ โดยไดท ำการเบิกเงนิ ไปแลว เปน จำนวนทงั้ สิน้ 10,224,000 บาท (สบิ ลานสองแสนสองหมืน่ ส่ีพันบาทถว น) คิดเปน 16% ของโครงการ 2.2 พิพธิ ภณั ฑ์วิทยาศาสตร์ทางทะเล 33 พพิ ธิ ภณั ฑว ทิ ยาศาสตรท างทะเลเปน สว นทม่ี งุ เนน การจดั แสดงนทิ รรศการเพอื่ ใหค วามรทู เี่ กยี่ วขอ ง กับวิทยาศาสตรทางทะเล เชน การวิวัฒนาการของสงิ่ มชี วี ติ ในทะเล การจำแนกชนดิ เครื่องมอื ประมง โบราณคดี ใตน ำ้ และการใชป ระโยชนจ ากทรพั ยากรทางทะเล เปน ตน รวมทงั้ การจดั ทำพพิ ธิ ภณั ฑอ า งองิ รว มกบั ฝา ยวจิ ยั เพอื่

รายงานประจำป 2550 สถาบนั วิทยาศาสตรท างทะเล มหาวทิ ยาลยั บูรพา เปนแหลงอา งองิ ดา นอนุกรมวิธาน ซง่ึ ในปง บประมาณ 2550 พพิ ธิ ภณั ฑว ทิ ยาศาสตรทางทะเลไดม ีการดำเนนิ การ ปรบั ปรงุ และพฒั นาพิพิธภณั ฑฯ ดังตอ ไปนี้ 1. ทำการตกแตงและซอมแซมสัตวสต๊ัฟฟ เชน เตาทะเล รวมทั้งหาขอมูลเพ่ือจัดเตรียมขอมูล ประกอบการจดั แสดงตนู ทิ รรศการบนพิพิธภณั ฑฯ จำนวน 1 เรื่อง เพื่อดำเนินการวางแผนงานในการดำเนนิ การ ปรบั ปรงุ ตูจัดแสดงในปง บประมาณ 2550 2. รว มกบั ฝา ยวจิ ยั ในการจดั ทำพพิ ธิ ภณั ฑอ า งองิ และธรรมชาตวิ ทิ ยา ทำการสำรวจและเกบ็ รวบรวม ตัวอยางส่งิ มชี ีวติ ในทะเล จำนวน 564 ตัวอยาง และนำมาจัดทำเปนฐานขอ มลู ทรพั ยากรสิง่ มชี ีวติ ทางทะเลเพอื่ ใช ในการอา งอิง จำนวน 474 ตวั อยาง 2.3 การจดั นิทรรศการ สถาบันวิทยาศาสตรทางทะเลมีการเผยแพรความรูดานวิทยาศาสตรทางทะเลแกสาธารณชน โดยเฉพาะอยางยิ่งความรูท่ีไดจากการศึกษาวิจัยของนักวิทยาศาสตรของสถาบันฯ ดวยการจัดนิทรรศการเปน กรณพี เิ ศษในสถาบันฯ และการจัดนทิ รรศการนอกสถานทีด่ วยความรว มมอื ของฝายตา งๆ ในสถาบนั ฯ เชน ฝา ย พิพิธภัณฑ ฝายวิจัย และฝายสถานเล้ียงสัตวน้ำเค็ม นอกจากนี้ยังใหความอนุเคราะหและใหยืมตัวอยางทั้งแผน นิทรรศการ สตั วสตฟั๊ และตัวอยา งสตั วทีม่ ีชวี ติ เพ่ือนำไปจดั นิทรรศการอีกดวย สำหรบั ในปงบประมาณ 2550 ไดม กี ารจดั นิทรรศการท้ังภายในและภายนอกมหาวทิ ยาลัยจำนวน 10 ครัง้ และใหความอนุเคราะหและยมื ตวั อยา งไปจัดนทิ รรศการจำนวน 3 ครั้ง ดังรายละเอยี ดตอไปนี้ 34

รายงานประจำป 2550 สถาบันวิทยาศาสตรท างทะเล มหาวทิ ยาลัยบูรพา 2.3.1 การจดั นทิ รรศการภายในมหาวทิ ยาลัย ลำดับ หนวยงานทจี่ ัด นิทรรศการเรอ่ื ง วนั /เดอื น/ป ท่ี 1. งานประกนั คณุ ภาพการศกึ ษา ระบบประกนั คุณภาพการศึกษาภายในสถาบัน วนั ที่ 14 กุมภาพันธ 2550 มหาวทิ ยาลยั บูรพา วิทยาศาสตรทางทะเล 2. สถาบนั วทิ ยาศาสตรทางทะเล วนั สถาปนาสถาบันวทิ ยาศาสตรท างทะเล วนั ท่ี 24 กรกฎาคม 2550 มหาวิทยาลัยบูรพา 3. สถาบันวทิ ยาศาสตรท างทะเล เฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระบรมราชินีนาถ วันท่ี 12 สงิ หาคม 2550 มหาวิทยาลัยบูรพา 4. สถาบันวทิ ยาศาสตรท างทะเล เฉลมิ พระเกยี รตสิ มเดจ็ พระเจาอยูหวั วนั ที่ 5 ธนั วาคม 2550 มหาวทิ ยาลยั บรู พา ภมู พิ ลอดุลยเดช 2.3.2 การจดั นิทรรศการภายนอกมหาวทิ ยาลยั ลำดบั หนว ยงานที่จดั นิทรรศการเร่อื ง วัน/เดอื น/ป ท่ี วันที่ 27 ตลุ าคม 2549 1 สปั ดาหวชิ าการสัมพันธ “ฉลามและเตาทะเล” วันที่ 15-17 ธันวาคม 2549 โรงเรยี นคาทอลกิ สงั กัด วันท่ี 7-15 เมษายน 2550 วนั ท่ี 23 มถิ ุนายน – วันท่ี 1 สงั ฆมณฑลจันทบุรี คร้ังที่ 17 กรกฎาคม 2550 2 งานมหกรรมสตั วเล้ียง - เลี้ยงสตั วทะเลสวยงามอยา งไรใหร อด วันที่ 31 กรกฎาคม – วันท่ี 2 สงิ หาคม 2550 แหง ประเทศไทย ครง้ั ท่ี 6 - การเลี้ยงปลาทะเลแบบเปนมิตรกับ ส่ิงแวดลอม - การเลยี้ งปลาทะเลแบบอนุรักษ 4 งานประจำปจังหวดั ชลบุรี “ฉลาม” 5 งานวันประมงนอมเกลา คร้ังท่ี 19 - การเพาะเล้ยี งปลาการต ูน - การเลีย้ งปลาทะเลแบบเปนมิตรกบั ส่ิงแวดลอม - การเล้ียงปลาทะเลแบบอนรุ กั ษ 6 งาน​ศิลป​หตั ถกรรมน​ ักเรยี น ป “ฉลาม” 2550 ระดบั ภ​ าคก​ ลาง​และ​ภาค​ ตะวันออก ครง้ั ที่ 1 2.3.3 การใหค้ วามอนุเคราะห์และยมื ตวั อยา่ งไปจัดแสดง ลำดบั รายละเอียด เรอ่ื ง หนว ยงาน / วนั ที่ / เวลาที่ใช ที่ บคุ คลท่ีไดใ หบรกิ าร 1. ใหค วามอนเุ คราะหน ิทรรศการเพือ่ “ระบบกรองชวี ภาพ” มหาวิทยาลยั บรู พา วันท่7ี -19 จดั แสดงนทิ รรศการงานสัปดาห “คณุ เลอื กทจ่ี ะเปนได” (ปลา วทิ ยาเขตจนั ทบุรี สงิ หาคม วทิ ยาศาสตร (2 เรือ่ ง/5แผน) การต นู ) 2550 35

รายงานประจำป 2550 สถาบันวิทยาศาสตรท างทะเล มหาวิทยาลัยบูรพา ลำดบั รายละเอียด เร่ือง หนวยงาน / วนั ที่ / เวลาที่ใช ท่ี บุคคลท่ไี ดใหบ ริการ 2. ใหค วามอนเุ คราะหน ิทรรศการ - เตาทะเล มหาวิทยาลยั บูรพา วันท่ี 16-18 สงิ หาคม 2550 และตัวอยา งสตั วเ พ่อื จัดแสดง - ฉลาม วทิ ยาเขตจนั ทบุรี วนั ที่ 22 นทิ รรศการงานสัปดาหว ิทยาศาสตร - ความหลากหลายของ สงิ หาคม –​ 2 กนั ยายน (นทิ รรศการ 5 เรือ่ ง/31 แผน พนั ธุพชื ปา ชายเลน 2550 ตย.โมเดล 7 ตย.) - สตั วทะเลมพี ิษและอาจมี อันตราย - แนะนำสถาบนั ฯ - โมเดลหวั ฉลาม ฟน ฉลาม ยักษ ฉลามเสอื โรนนั ฉลามเสอื ดาว เตาตนุเลก็ และพยนู 3. อนุเคราะหน​ ทิ รรศการ​และ​ตัวอยาง​ - นิทรรศการช​ ดุ ​ฉลาม ศนู ยก​ ารคา เสรี​ สตั ว​เพ่ือจ​ ดั แสดง​นทิ รรศการ - โมเดล ฟนฉ​ ลามย​ กั ษ เซน็ เตอร หวั ฉ​ ลาม (นทิ รรศการ1เร่ือง/6แผน - ตัวอยา งส​ ตั ว​สต๊ฟั ฟ​ฉลามก​ บ ตย.โมเดล 5 ตย.) ฉลามเสือ ฉ​ ลามเ​สอื ดาว 2.4 การจดั ฝกึ อบรม / ประชมุ และสมั มนาทางวชิ าการและค่ายวทิ ยาศาสตร์ทางทะเล ในแตละปงบประมาณสถาบันวิทยาศาสตรทางทะเลจะมีกิจกรรมดานการจัดการอบรม ประชุม และ สัมมนาทางวิชาการสำหรับบุคลากรของสถาบนั ฯ และบคุ คลภายนอกสถาบนั รวมทง้ั การใหค วามรว มมอื ในการ จดั คา ยวิทยาศาสตรทางทะเลใหแ กหนว ยงานภายนอกสถาบนั ฯ มาอยางตอเน่ือง ในปง บประมาณ 2550 สถาบัน วทิ ยาศาสตรทางทะเลไดมกี ารจัดการอบรม ประชุม และสัมมนาทางวิชาการท้งั สน้ิ 9 ครัง้ และใหค วามรวมมือใน การจดั คา ยวทิ ยาศาสตรทางทะเลแกโรงเรยี นที่ขอความรวมมอื มาทง้ั สิน้ 3 ครัง้ รายละเอียดดงั ในตารางตอ ไปน้ี 2.4.1 การจัดฝกึ อบรม / ประชุมและสมั มนาทางวิชาการและค่ายวทิ ยาศาสตรท์ างทะเล ลำดับ กิจกรรม/โครงการบริการวชิ าการ กลมุ เปาหมาย จำนวน วันท่ี / สถานท่ี งบประมาณ ที่ จัดกิจกรรม ( บาท ) 1. โครงการวันเดก็ แหงชาติ ประจำป เยาวชนท่ัวไป 10,000 คน 13 มกราคม 2550 40,000 บาท 2550 สถาบันวิทยาศาสตร ทางทะเล 2. โครงการคา ยวทิ ยาศาสตรท างทะเล นักเรียนระดับ 40 คน 2-6 เมษายน 2550 80,000 บาท สำหรบั เยาวชน ครัง้ ท่ี 22 มัธยมศกึ ษา สถาบันวิทยาศาสตร ตอนปลาย ทางทะเล 3. โครงการคา ยวทิ ยาศาสตร เพื่อการ นกั เรยี นระดับ 50 คน 3-5 สงิ หาคม 2550 56,400 บาท อนุรกั ษทรัพยากรธรรมชาตทิ างทะเล มัธยมศึกษา สถาบันวทิ ยาศาสตร ตอนตน ทางทะเล 36

รายงานประจำป 2550 สถาบนั วทิ ยาศาสตรท างทะเล มหาวิทยาลัยบรู พา ลำดับ กจิ กรรม/โครงการบรกิ ารวชิ าการ กลมุ เปา หมาย จำนวน วันที่ / สถานท่ี งบประมาณ ท่ี จัดกิจกรรม ( บาท ) 4. จดั อบรมโครงการอาสาสมัครนิสิตวิ นสิ ติ 30 คน สถาบันวิทยาศาสตร ทางทะเล ทยากร ประจำสถาบันฯ มหาวทิ ยาลัย บรู พา 5. จดั อบรมการใชโ ปรแกรม บุคลากร สถาบันวิทยาศาสตร คอมพิวเตอร สถาบันฯ ทางทะเล 6. จัดประชมุ ครู / ศกึ ษานเิ ทศก ครู / 40 คน สถาบันวทิ ยาศาสตร พืน้ ท่เี ขตการศึกษา 1 จงั หวัดชลบรุ ี ศึกษานเิ ทศก ทางทะเล 7. จดั สัมมนาวิชาการเร่อื ง การจัด สถาบนั วทิ ยาศาสตร สถานแสดงพนั ธุสัตวน ำ้ ครั้งท่ี 2 ทางทะเล 8. จดั อบรมนสิ ิตวทิ ยากร ใหก บั นิสติ นสิ ิต คณะ 70 คน 20-28 ต.ค 50 คณะเทคโนโลยีทางทะเล วิทยาเขต เทคโนโลยี สถาบันวิทยาศาสตร จนั ทบรุ ี ทางทะเล ทางทะเล 2.4.2 การให้ความร่วมมอื ในการจดั คา่ ยวทิ ยาศาสตร์ทางทะเล แก่หน่วยงานภายนอก ลำดบั กจิ กรรม/โครงการบรกิ ารวชิ าการ กลุมเปา หมาย จำนวน วนั ท่ี / สถานท่ี ท่ี จัดกิจกรรม 1. โครงการอบรมเยาวชนไทยรวมใจ เยาวชนท่ัวทุกภาค 50 คน 20-22 เมษายน 2550 อนรุ ักษส ง่ิ แวดลอ ม (ตา นภยั โลก การนคิ มอตุ สาหกรรมจงั หวดั ระยอง รอน) คร้งั ท่ี 2 2. จดั กจิ กรรมบูรณาการความรสู ู นกั เรยี นระดบั 715 คน สถาบนั วิทยาศาสตรทางทะเล ทอ งถิ่น ใหกบั โรงเรยี นชลกัลยานกุ ลู มธั ยมศกึ ษาตอนตน 3. อบรมโครงการเยาวชนรกั ถิน่ ..รกั ษ นักเรียนระดบั 50 คน สถาบันวทิ ยาศาสตรทางทะเล สิ่งแวดลอ ม” มัธยมศึกษาตอนตน ม.2-3 รร.วัดแหลม ฉบัง 2.5 การให้บรกิ ารตรวจวเิ คราะห์และบรกิ ารผลิตภณั ฑ์ 37 1) การให้บริการตรวจวิเคราะห์คุณภาพนำ้ แก่เกษตรกรผู้เพาะเล้ียงสตั ว์นำ้ และหนว่ ยงานอ่นื งานวิจัยสิ่งแวดลอมทางทะเล และสถานีวิจัย ชะอำ ไดใหบริการตรวจวิเคราะหคุณภาพน้ำแก เกษตรกรผูเพาะเลี้ยงสัตวน้ำและหนวยงานอ่ืนโดยแบงเปน 2 รูปแบบคือ การใหบริการแบบใหเปลา และแบบคิด คา บรกิ าร ในปง บประมาณ 2550 ไดม ผี ขู อใชบ รกิ ารทง้ั สนิ้ 19 ราย จำนวน 64 ตวั อยา ง แบง เปน การใหบ รกิ ารแบบ ใหเปลา จำนวน 59 ตัวอยา ง 16 ราย และการใหบ ริการแบบคดิ คาบริการ จำนวน 5 ตวั อยา ง 3 รายโดยสวนใหญ วเิ คราะหเ พอ่ื ใชประโยชนท างการเพาะเลีย้ ง 2) การให้บรกิ ารอาหารมีชีวติ ในปง บประมาณ 2550 งานวิจัยการเพาะเล้ียงสัตวแ ละพชื ทะเล และสถานวี จิ ยั ชะอำไดใหบ ริการ แพลงกตอนพืชแบบใหเปลาแกหนวยงานภายนอกซ่ึงเปนสวนราชการท่ีขอหัวเช้ือเพ่ือไปทำงานวิจัยและใชในการ เรยี นการสอน และแกเ กษตรกร รวม 175 ลติ ร สำหรบั แพลงกต อนสัตว ไมม ผี ขู อความอนุเคราะห

รายงานประจำป 2550 สถาบนั วิทยาศาสตรท างทะเล มหาวทิ ยาลยั บรู พา 3) การให้บรกิ ารตรวจโรคสัตวน์ ำ้ ในปง บประมาณ 2550 หนว ยสขุ ภาพสตั วน ำ้ เคม็ งานวจิ ยั เพาะเลยี้ งสตั วแ ละพชื ทะเล ไดใ หบ รกิ าร ตรวจโรคสัตวน ำ้ แกเ กษตรกรรวม 97 ตวั อยา ง จำนวน 31 ราย 4) การให้บรกิ ารตรวจวเิ คราะหต์ วั อยา่ งสิง่ มชี ีวติ ในปงบประมาณ 2550 งานวิจัยความหลากหลายทางชีวภาพทางทะเลไดใหบริการตรวจ วิเคราะหตัวอยางส่ิงมีชีวิตโดยไดใหบริการตรวจวิเคราะหตัวอยางสาหรายทะเล และแพลงกตอนพืชน้ำจืด แก หนวยงานราชการจำนวน 23 ตัวอยาง และใหบรกิ ารตรวจวเิ คราะหต วั อยา งแพลงกต อนพชื และแพลงกตอนสัตว แกหนว ยงานเอกชนซงึ่ เสียคาบริการรวม 85 ตัวอยาง 2.6 การให้คำปรกึ ษาทางวิชาการ ในปง บประมาณ 2550 สถาบนั วทิ ยาศาสตรท างทะเลไดใหคำปรกึ ษาทางวชิ าการแกบุคคลทว่ั ไป ที่ขอขอมูล หรือขอคำปรึกษาทางวิชาการโดยเฉพาะดานเทคโนโลยีการเพาะเล้ียงสัตวทะเลสวยงามทั้งท่ีเขามา ขอคำปรึกษาดว ยตนเอง และขอคำปรึกษาทางโทรศพั ท เปน จำนวนทงั้ สน้ิ 154 คร้งั นอกจากนง้ี านวจิ ยั การเพาะเลย้ี งสตั วแ ละพชื ทะเลยงั ไดเ ปน ทป่ี รกึ ษาและแกไ ขปญ หาในการทำฟารม ปลาการต นู แกฟารม ทไ่ี ดร บั การถายทอดเทคโนโลยีจากสถาบนั ฯ อยางตอเนอ่ื งมาตง้ั แตป  พ.ศ. 2547 เปนจำนวน ทงั้ ส้ิน 12 ฟารม ซ่ึงปจ จบุ นั ฟารมเหลานีไ้ ดม ีผลผลติ ปลาการตนู ออกจำหนายทั้งในและตางประเทศแลว เชน นโี ม ฟารม นพรัตนฟ ารม สมหมายฟารม สุภาภรณฟ ารม เปน ตน และสถาบนั ฯ ยงั รับเปน ทป่ี รกึ ษาอยางเปน ทางการ ใหแกซ ีบอรน ฟารม ภายใตการนำของ ดร. วรเทพ มธุ ุวรรณ และการสนับสนุนของสำนักงานนวัตกรรมแหงชาติ อกี ดว ย ดังรายละเอยี ดในตารางขางลางนี้ ลำดับ ชอ่ื โครงการ ผูรบั ผิดชอบโครงการ แหลงทนุ งบประมาณ (บาท) ที่ 1 การถายทอดเทคโนโลยกี าร ดร. วรเทพ มธุ ุวรรณ สำนกั งานน​ วตั กรรม​ สนช. 924,000 บาท เพาะเลี้ยงปลาทะเลสวยงาม ดร. เสาวภา สวสั ด์ิพรี ะ แหงชาติ (สนับสนนุ ​คา ป​ รกึ ษา​ ซี บอรน ฟารม ในกลมุ ปลาการต ูน นางอมรรตั น ชมรุง ทางวชิ าการ) 396,000 บาท ต้ังแตว นั ที่ 1 กนั ยายน 2549- นายณฐั วฒุ ิ เหลอื งออน บริษทั ซ​บี อรน ​ฟารม รวมท้งั สิ้น วันที่ 31 สงิ หาคม 2551 นางสาววรรณภา กสฤิ กษ (สนับสนนุ ​คาธรรมเนียมก​ าร​ 1,320,000 บาท ใช​เทคโนโลยี คา เดินทาง และ​ คา royalty) 2.7 การฝึกงานของนักวิจัยตา่ งประเทศ สถาบนั วทิ ยาศาสตรทางทะเล มหาวทิ ยาลยั บรู พา เปน สถาบนั วจิ ยั ดา นวทิ ยาศาสตรทางทะเลแหง หนง่ึ ของประเทศไทยทมี่ ีนกั วจิ ยั จากตางประเทศสนใจจะเขามาฝกงานดานการวจิ ยั โดยในปงบประมาณ 2550 ไดม นี กั วิจัยชาวตางประเทศติดตอประสานเพ่ือเขาฝกงานดา นการวิจยั ท่ีสถาบันฯ จำนวนทง้ั สน้ิ 3 ราย ดงั ตอไปนี้ ลำดบั ช่ือ-สกลุ สาขาทีเ่ ขาฝกงาน ระยะเวลา ผูรับผดิ ชอบ ท่ี 1 Mr. Bui Ba Trung เพาะเลย้ี งแพลงกต อนพืช 8 มกราคม – 9 ดร. เสาวภา สวัสดิพ์ ีระ กมุ ภาพนั ธ 2550 นางอมรรัตน ชมรุง นางสาวธิดารตั น นอ ยรกั ษา 38

รายงานประจำป 2550 สถาบนั วิทยาศาสตรท างทะเล มหาวทิ ยาลยั บรู พา 2 Mr. Qiu Jinbiao - การเพาะเล้ยี งส่ิงมีชวี ติ 2 - 29 มิถุนายน ดร. เสาวภา สวสั ด์ิพีระ 3 Mr. Cai Jingbo นายณัฐวุฒิ เหลอื งออน สวยงามนำ้ เค็ม 2550 น.ส. วิรชา เจริญดี น.ส. อรณุ ศรี เจยี มนพนนท - ระบบการเพาะเลยี้ งและ น.ส. พทิ ยรตั น สุขสุเดช ดร. แววตา ทองระอา คณุ ภาพนำ้ ในระบบที่ใชใ น น.ส. ฉลวย มุสกิ ะ น.ส.ธิดารัตน นอยรักษา งานวิจยั เพาะเล้ยี งสตั วน ำ้ เคม็ - งานวิจัยดานสิง่ แวดลอม - ระบบนิเวศของสาหราย ขนาดใหญแ ละหญาทะเล และ การจำแนกชนิด 2.8 การเปน อาจารย์พเิ ศษ / วทิ ยากร บคุ ลากรของสถาบนั ฯ ไดร บั เชญิ ไปเปน อาจารยพ เิ ศษ /วทิ ยากรภายนอกสถาบนั วทิ ยาศาสตรท างทะเล ดังรายละเอียดตอไปน้ี 1) อาจารย์พิเศษ บคุ ลากรของสถาบันฯ ไดร บั เชิญเปน อาจารยพ เิ ศษ รวม 3 ราย จำนวน 6 ครงั้ ลำดบั รายชอื่ ผไู ดรับเชญิ เรื่องทีบ่ รรยาย สถานท่ี / วนั ที่ สถาบันการศกึ ษาท่เี ชิญมา ที่ 1 นางขวญั เรือน ศรนี ยุ แพลงกตอนวิทยา สถาบนั วทิ ยาศาสตร ภาควชิ าวาริชศาสตร ทางทะเล วันท่ี 26 คณะวิทยาศาสตร มกราคม 2550 มหาวทิ ยาลยั บรู พา 2 นางขวัญเรือน ศรีนุย โคพีพอดและการจำแนกชนิด สถาบนั วิทยาศาสตร ภาควชิ าวาริชศาสตร ของโคพพี อด ทางทะเล วันท่ี 10 คณะวทิ ยาศาสตร กรกฎาคม 2550 มหาวิทยาลัยบรู พา 3 ดร. สุเมตต ปุจฉาการ นเิ วศวทิ ยา และภัยพบิ ัติทาง โรงเรียน นายรอ ย โรงเรยี น นายรอย จปร. ส่ิงแวดลอมและการจัดการ จปร./วนั ท่ี 7 สงิ หาคม จงั หวดั นครนายก 2550 2) วทิ ยากรภายนอกมหาวทิ ยาลยั บคุ ลากรของสถาบนั ฯ ไดร บั เชญิ เปน วทิ ยากรภายนอกมหาวทิ ยาลยั รวม 5 ราย จำนวน10 ครั้ง ลำดบั รายช่ือผูไดรบั เชญิ เรอื่ งทีบ่ รรยาย สถานที่ / วันท่ี หนวยงานทีเ่ ชิญมา ท่ี หอ งประชุม กรมอทุ ยาน คณะกรรมการ​ อนาคตสัตวเ ล้ยี งไทยใน สัตวป า และพันธพุ ืช ดำเนนิ การ งานม​ หกรรม​ 1 ดร. วรเทพ มธุ ุวรรณ ทศวรรษหนา วันที่ 28 พฤศจกิ ายน สัตวเลย้ี งแ​ หงป​ ระเทศ​ (พ.ศ. 2550-พ.ศ. 2560) 2549 ไทย 39

รายงานประจำป 2550 สถาบันวิทยาศาสตรทางทะเล มหาวทิ ยาลยั บรู พา ลำดบั รายชือ่ ผไู ดรับเชิญ เรื่องทบี่ รรยาย สถานที่ / วนั ท่ี หนวยงานทเี่ ชญิ มา ที่ 2 ดร. รววิ รรณ วัฒนดลิ ก ฝก อบรมเชิงปฏบิ ัติการ หองประชุมและ ภาควิชาโรคพืช คณะ “HPLC: Principles and its หอ งปฏิบตั กิ าร เกษตร มหาวิทยาลัย Applications on Natural ภาควชิ าโรคพชื คณะ เกษตรศาสตร Products” เกษตร มหาวทิ ยาลยั เกษตรศาสตร / วันที่ 15-18 มกราคม 2550 3 ดร. วรเทพ มธุ ุวรรณ ระบบหมนุ เวยี นน้ำแบบปด หอ งมริ าเคลิ แกรนด เอ สำนักงานนวัตกรรม สำหรบั การเพาะเลย้ี งสัตวทะเล ชัน้ 4 โรงแรมมิราเคลิ แหง ชาติ สวยงาม คอนเวนชั่น กรุงเทพฯ วนั ที่ 24 มกราคม 2550 4 นางสาวธดิ ารตั น นอ ย การจำแนกชนิดสาหรายทะเล มหาวิทยาลัยราชภฏั มหาวิทยาลยั ราชภัฏ รักษา ภายใตโ ครงการ การศึกษา ภูเก็ต ภูเกต็ ความหลากหลายและการ วันท่ี 14 - 20 กุมภาพันธ พฒั นาศักยภาพสาหรา ยทะเล 2550 บริเวณชายฝง ทะเลทางภาคใต ของประเทศไทย 5 ดร. แววตา ทองระอา สภาวะสิ่งแวดลอ มโลก ในงาน โรงเรยี นวดั แหลมฉบงั โรงเรยี นวดั แหลมฉบัง นิทรรศการแหลมฉบัง เทิดไท วนั ท่ี 22 กมุ ภาพันธ องคราชัน สรา งสรรคว นั 2550 วิชาการ 6 นางสาวธดิ ารตั น ความหลากหลายทางชีวภาพ ภาควชิ าชีววิทยา ภาควชิ าชวี วทิ ยา นอ ยรักษา ของแพลงกตอนพชื ทะเล คณะวทิ ยาศาสตร คณะวิทยาศาสตร มหาวทิ ยาลัยรามคำแหง มหาวทิ ยาลัยรามคำแหง วนั ท่ี 26 - 28 กุมภาพันธ 2550 7 น.ส. ธิดารัตน นอยรักษา เขารว มเกบ็ ตัวอยาง ภาคตะวนั ออกของ สาหรายทะเลขนาดใหญ และ ประเทศไทย จำแนกชนดิ ภายใตงานวจิ ัย วันที่ 7 -13 พฤษภาคม สาหรา ยประยุกต เพอ่ื ศกึ ษา 2550 ฤทธิ์ทางยา และสารออกฤทธิ์ ทางชีวภาพ 8 ดร. สเุ มตต ปจุ ฉาการ ความหลากหลายของส่งิ มชี วี ติ มหาวทิ ยาลัยราชภัฎ ทอี่ ยูใตทองทะเล นครปฐม วนั ที่ 10 สงิ หาคม 2550 9 นางสาวธิดารตั น ความหลากหลายทางชีวภาพ หาดนางรำ อำเภอสตั หีบ นอ ยรกั ษา ของสาหรา ยทะเล จงั หวัดชลบรุ ี วนั ที่ 5 - 6 กนั ยายน 2550 40

รายงานประจำป 2550 สถาบนั วิทยาศาสตรทางทะเล มหาวิทยาลัยบรู พา ลำดับ รายชอื่ ผไู ดร ับเชญิ เรอ่ื งทบี่ รรยาย สถานท่ี / วันที่ หนวยงานที่เชญิ มา ท่ี 10 นางสาวธดิ ารตั น การจำแนกชนิดสาหรา ยทะเล มหาวิทยาลัยราชภัฏ สาขาวิชาชวี วทิ ยา นอ ยรักษา ภายใตโครงการ การศึกษา ภูเกต็ คณะวทิ ยาศาสตรแ ละ ความหลากหลายและการ วนั ที่ 24 - 28 กันยายน เทคโนโลยี มหาวิทยาลยั พัฒนาศักยภาพสาหรา ยทะเล 2550 ราชภัฏภเู กต็ บรเิ วณชายฝง ทะเลทางภาคใต ของประเทศไทย 2.9 การเปนกรรมการที่ปรึกษา / กรรมการผู้ทรงคุณวุฒิท้ังภายในและภายนอกมหาวิทยาลัย กรรมการวทิ ยานพิ นธภ์ ายนอกมหาวทิ ยาลัยและกรรมการวชิ าชพี ระดับชาตหิ รือนานาชาติ บคุ ลากรของสถาบนั ฯ ไดร บั เชญิ เปน กรรมการทป่ี รกึ ษา / กรรมการผทู รงคณุ วฒุ ทิ งั้ ภายในและภายนอก มหาวทิ ยาลัย ดงั รายละเอยี ดในตารางตอ ไปน้ี ภายในมหาวิทยาลยั ลำดับ ชื่อผูไดร ับเชิญ ชือ่ คณะกรรมการ หนว ยงานทเี่ ชญิ / วนั /เดือน/ป ท่ี ท่ไี ดรบั เชิญ ที่ไดการรับแตงต้ัง / รบั เชญิ แตงต้งั 1 ดร. แววตา ทองระอา กรรมการผแู ทนบัณฑิตวิทยาลัย ใน บัณฑติ วิทยาลยั วนั ท่ี 16 พฤศจกิ ายน การสอบปากเปลา วิทยานพิ นธ มหาวิทยาลัยบูรพา 2549 นางสาวนันทิยา แปน ถงึ นสิ ติ ระดบั ปริญญาโท สาขา วิชาวิทยาศาสตรส ิ่งแวดลอม มหาวิทยาลยั บรู พา 2 ดร. ทรรศนิ กรรมการสอบเคาโครงวทิ ยานิพนธ ภาควิชาวารชิ ศาสตร วันที่ 19 ธนั วาคม 2549 ปณิธานะรักษ คณะวทิ ยาศาสตร มหาวิทยาลัยบรู พา 3 ดร. ทรรศิน ปณธิ านะ กรรมการทปี่ รึกษาวิทยานิพนธ ภาควชิ าวาริชศาสตร วันท่ี 20 ธันวาคม 2549 รกั ษ คณะวิทยาศาสตร มหาวทิ ยาลยั บรู พา 4 ดร.วรเทพ มุธุวรรณ กรรมการผแู ทนบณั ฑติ วิทยาลยั บณั ฑติ วทิ ยาลัย วันที่ 15 กมุ ภาพันธ คณะกรรมการสอบปากเปลา มหาวิทยาลยั บรู พา 2550 วทิ ยานพิ นธ นางสาวกิตติยา อปุ ถมั ภ นสิ ติ ปริญญาโท สาขาวิชาวาริชศาสตร เรื่องการใชแรธ าตุของลกู กุงขาว (Litopenaeus vannamei) 41

รายงานประจำป 2550 สถาบนั วทิ ยาศาสตรทางทะเล มหาวทิ ยาลัยบรู พา ลำดบั ชอื่ ผูไดร บั เชญิ ชอ่ื คณะกรรมการ หนว ยงานทเี่ ชิญ / วนั /เดือน/ป ท่ี ทีไ่ ดร บั เชญิ ที่ไดการรับแตงตง้ั / รับเชญิ แตง ตัง้ 5 ดร. วรเทพ มุธวุ รรณ กรรมการผูแทนบัณฑติ วิทยาลยั บัณฑิตวิทยาลยั วันที่ 25 เมษายน 2550 คณะกรรมการสอบปากเปลา มหาวิทยาลัยบูรพา สอบ วนั ท่ี 8 พฤษภาคม วิทยานพิ นธ บัณฑิตวทิ ยาลัย 2550 เวลา 14.00 น. นายมนตรี ไชยชาติ ศธ 0528.03/0325 นิสิต ปรญิ ญาโท สาขา วันท่ี 25 เมษายน วชิ าวารชิ ศาสตร ภาคปกติ เรอ่ื ง 2550 การกำจัดเพรยี งถ่ัวงอก (Octolasmis spp.) ในเหงอื ก ปูมา (Portunus pelagicus) และปทู ะเล (Scylla serrata) 6 ดร. วรเทพ มธุ ุวรรณ กรรมการสอบเคา โครงวิทยานพิ นธ คณะวทิ ยาศาสตร วนั ท่ี 29 พฤษภาคม 7 ดร. สุเมตต ปุจฉาการ นายกวิน กลมกลอม นสิ ิต ภาควชิ าวารชิ ศาสตร 2550 ปรญิ ญาโทสาขาวชิ า วารชิ ศาสตร ท่ี ศธ 0528.06/0704 สอบ วนั ท่ี 30 ภาควชิ าวารชิ ศาสตร คณะ วันท่ี 29 พฤษภาคม พฤษภาคม 2550 วิทยาศาสตร 2550 เรื่อง การใชส ารเคมเี หน่ียวนำการ ลงเกาะของลกู หอยหวาน Babylonia areolata Link 1807 รองประธานกรรมการคณะ โครงการอนุรกั ษ ประกาศ อพ.สธ. ดำเนนิ งานโครงการอนุรกั ษ พนั ธกุ รรมพืชอนั เน่อื งมาจาก พนั ธกุ รรมพชื 78/2550 พระราชดำริ สมเด็จพระเทพรตั น ราชสุดาฯ สยามบรมราชกมุ ารี อนั เนอื่ งมาจากพระ วนั ท่ี 1 ตลุ าคม 2549 มหาวทิ ยาลยั บรู พา ราชดำริ – วนั ที่ 30 กันยายน สมเด็จพระเทพรัตน 2554 ราชสดุ าฯ สยามบรม ราชกมุ ารี ภายนอกมหาวิทยาลยั ลำดับ ชือ่ ผไู ดร บั เชิญ ช่ือคณะกรรมการทไ่ี ดการรับ หนว ยงานที่เชิญ / แตง ต้งั วนั /เดือน/ป ที่ แตงต้งั / รับเชิญ ท่ีไดร ับเชญิ 1 ดร. วรเทพ มุธุวรรณ คณะอนกุ รรมการดานวิชาการ มลู นธิ เิ พื่อการอนุรกั ษและ วันท่ี 16 มนี าคม 2549 อนกุ รรมการ มลู นธิ ิเพอ่ื การอนรุ ักษแ ละฟน ฟู ฟนฟูปะการงั และชายหาด ปะการังและชายหาด 2 ดร. วรเทพ มธุ วุ รรณ คณะกรรมการฝา ยวิชาการ คำสง่ั กรมประมงที่ วันท่ี 28 สิงหาคม 2549 พจิ ารณาสถานภาพ 798/2549 สตั วปาท่ีเปนสัตวนำ้ ตาม วันที่ 28 สิงหาคม 2549 พระราชบญั ญตั ิสงวนและ คมุ ครองสัตวป า พ.ศ. 2535 42

รายงานประจำป 2550 สถาบันวิทยาศาสตรทางทะเล มหาวิทยาลัยบรู พา ลำดบั ช่ือผูไ ดรบั เชิญ ชือ่ คณะกรรมการทไ่ี ดก ารรบั หนว ยงานทเ่ี ชิญ / แตง ตัง้ วัน/เดอื น/ป ที่ แตงต้ัง / รบั เชิญ ที่ไดรับเชญิ 3 ดร. วรเทพ มธุ ุวรรณ คณะกรรมการกำกับการ กรมอุทยานแหง ชาติ วนั ท่ี 27 กนั ยายน 2549 กรรมการ ศกึ ษา โครงการประเมนิ มูลคา สัตวปา และพันธพุ ืชคำส่ัง ผลกระทบทางเศรษฐกจิ ของ กรมอทุ ยานสัตวปา และ สตั วทะเลสวยงาม พนั ธพุ ชื ที่ 1461/2549 4 ดร. วรเทพ มุธวุ รรณ คณะกรรมการอำนวยการศูนย กระทรวงศกึ ษาธกิ าร วนั ที่ 29 พฤศจิกายน กรรมการ ศึกษาการเพาะเล้ียงสตั วน ้ำ คำสัง่ กระทรวงศกึ ษาธิการ 2549 ทะเลสาบสงขลา ท่ี สอศ. 416/2549 5 ดร. วรเทพ มธุ วุ รรณ คณะอนกุ รรมการ คณะกรรมการอาชีวศึกษา วนั ที่ 25 มกราคม 2550 ท่ีปรกึ ษา กำหนดรูปแบบและรายละเอียด ที่ 1/2550 การกอ สรางศูนยศ กึ ษาการ เพาะเลย้ี งสัตวน ำ้ ทะเลสาบ สงขลา 6 ดร. วรเทพ มธุ ุวรรณ คณะกรรมการกำกับติดตาม คำสัง่ จงั หวดั ชลบรุ ี วันท่ี 23 กมุ ภาพันธ 2550 กรรมการ โครงการกอสรางอาคารโลก ท่ี 355/2550 ใตท ะเล 7 ดร. วรเทพ มธุ วุ รรณ คณะกรรมการสอบโครงรา ง คณะวิศวกรรมสงิ่ แวดลอม สอบ วันท่ี 19 มนี าคม กรรมการ วิทยานพิ นธ คณะวศิ วกรรมศาสตร 2550 นางสาวมณวกิ านต ขจรบญุ จฬุ าลงกรณม หาวิทยาลัย เร่อื ง การคดั เลอื กหัวเชือ้ ไนตริไฟอิงแบคทีเรีย เพ่ือการ ประยุกตใชกับตวั กรองชวี ภาพ สำหรับระบบหมุนเวยี นนำ้ ของ บอเพาะเล้ยี งกงุ ทะเลแบบปด 8 ดร. แววตา ทองระอา กรรมการวิทยานพิ นธภ ายนอก Asian Institute of วันท่ี 10 เมษายน 2550 มหาวทิ ยาลยั ในการสอบ Technology Thesis Final Defense ของ Ms. Sawitree Vicheanpong เร่อื ง Bioaccumulation of Cd in the Selected Aquatic Animal as an Indicator of Cd Pollution in the Inner Gulf of Thailand 9 ดร. วรเทพ มธุ วุ รรณ คณะอนุกรรมการเครือขา ย คำสั่งคณะสำนกั งาน วันท่ี 5 กรกฎาคม 2550 อุดมศึกษาภาคตะวันออก ฝาย คณะกรรมการการ การวจิ ยั อุดมศึกษา ท่ี 237/2550 43

รายงานประจำป 2550 สถาบันวทิ ยาศาสตรทางทะเล มหาวิทยาลัยบูรพา ลำดบั ชอื่ ผูไดรับเชิญ ชอ่ื คณะกรรมการทไี่ ดการรับ หนว ยงานที่เชิญ / แตงต้ัง วัน/เดอื น/ป ที่ แตงต้ัง / รับเชิญ ทไ่ี ดรบั เชญิ 10 ดร. แววตา ทองระอา คณะกรรมการผชู ำนาญการ สำนกั วิเคราะหผ ลกระทบ วันที่ 1 สงิ หาคม 2550 (ผูแทนอธกิ ารบดี) พิจารณารายงานการวเิ คราะห สงิ่ แวดลอม ผลกระทบส่ิงแวดลอมดา น สำนกั นโยบายและแผน โครงการสำรวจและหรือผลิต ทรัพยากรธรรมชาตแิ ละ ปโ ตรเลียม สิง่ แวดลอม 11 ดร. จติ รา ตรี ะเมธี อาจารยท ี่ปรึกษารวม ภาควิชาพืชศาสตรแ ละ วนั ท่ี 4 กนั ยายน 2550 วทิ ยานพิ นธ ทรพั ยากรการเกษตร คณะเกษตรศาสตร มหาวิทยาลยั ขอนแกน 44

รายงานประจำป 2550 สถาบันวิทยาศาสตรทางทะเล มหาวทิ ยาลยั บรู พา 3. ดา้ นการสนับสนุนการเรยี นการสอน การ​สนับสนุน​การ​เรียน​การ​สอน​เปน​ภารกิจ​หน่ึง​ท่ี​สถาบัน​วิทยาศาสตร​ทางทะเล​ใหความสำคัญ​ โดย​ เปด โอกาสใ​หน​ กั ว​ ทิ ยาศาสตรแ​ ละเ​จา หนา ทข​ี่ องส​ ถาบนั ว​ ทิ ยาศาสตรท​ างทะเลไ​ดใ​ ชค​ วามรแ​ู ละป​ ระสบการณจ​ ากก​ าร​ วจิ ยั แ​ ละก​ ารป​ ฏบิ ตั งิ านใ​หเ​ กดิ ป​ ระโยชนต​ อ ก​ ารเ​รยี นก​ ารส​ อนใ​นร​ ะดบั ต​ า งๆ​อาทเิ ชน ​การด​ แู ลแ​ ละใ​หค ำปรกึ ษาน​ สิ ติ / นกั ศกึ ษาจ​ ากส​ ถาบนั ต​ า งๆ​ในก​ ารท​ ำป​ ญ หาพ​ เิ ศษ/วทิ ยานพิ นธ​ โดยท​ ำหนา ทเ​ี่ ปน อ​ าจารยท ป่ี รกึ ษาห​ รอื ท​ ปี่ รกึ ษาร​ ว ม​ การ​รับ​นิสิต/นักศึกษา​จาก​สถาบันอุดมศึกษา​ตางๆ​ ท้ัง​ใน​และ​ตางประเทศ​เขามา​ฝกงาน​ใน​สวน​ของ​หองปฏิบัติการ​ หรือ​งานต​ างๆ​โดย​มี​นกั ​วิทยาศาสตรข​ อง​สถาบนั ​วิทยาศาสตร​ทางทะเลค​ อย​ใหการด​ แู ล​ซ่งึ ใ​นป​ ง บประมาณ​2550​ มี​ผลการดำเนินงาน​ด​ งั น้ี 3.1 การทำปญั หาพิเศษ/วิทยานพิ นธ์ ​ สถาบันฯ​ไดรับ​นิสิต/นักศึกษา​จาก​สถาบัน​ตางๆ​เขามา​ทำ​ปญหา​พิเศษ​และ​วิทยานิพนธ​โดย​มี​นัก​ วทิ ยาศาสตรข​ องส​ ถาบนั ฯเ​ปน อ​ าจารยท ปี่ รกึ ษาห​ รอื ท​ ป่ี รกึ ษาร​ ว ม​นสิ ติ /นกั ศกึ ษาจ​ ะไ​ดร บั ก​ ารส​ นบั สนนุ ท​ รพั ยากรใ​น​ การท​ ำง​านวจิ ยั จ​ ากท​ างส​ ถาบนั ฯ​เชน ​สารเคม​ี วสั ดส​ุ นิ้ เปลอื งต​ า งๆ​เครอ่ื งมอื แ​ ละอ​ ปุ กรณท​ ใ​ี่ ชใ​ นก​ ารว​ จิ ยั ​เปน ตน ​ใน​ ปง บประมาณ​พ.ศ.​2550​มน​ี สิ ติ /นกั ศกึ ษาจ​ ากส​ ถาบนั การศกึ ษาต​ า งๆม​ าท​ ำง​านวจิ ยั เ​พอื่ เ​ปน ป​ ญ หาพ​ เิ ศษ/วทิ ยานพิ นธ​ ระดบั ป​ รญิ ญาตรี​รวมทง้ั สิ้น​9​ราย​รายละเอยี ด​ดงั ​ตาราง ลำดับ ชอื่ เร่อื งปญหาพิเศษ/วทิ ยานพิ นธ ชอื่ นิสิต สถาบนั การศกึ ษา​และค​ ณะ ชอื่ อาจารยท ี่ปรึกษา/ ที่ ท่ปี รกึ ษารว ม 1 Bioaccumulation​of​cadmium​in​ นางสาวสาวติ ร​ี นักศึกษาป​ รญิ ญาโท​สาขา​ ดร.​แววตา​ทองระอา the​selected​aquatic​animal​as​ วิเชียรพงษ วศิ วกรรม​ส่ิงแวดลอ มแ​ ละ​ (ทปี่ รกึ ษารวม) an​indicator​of​cadmium​pollution​ การ​จัดการ​สำนกั ว​ ิชา​ in​the​inner​gulf​of​Thailand​ สิง่ แวดลอม​ทรัพยากร​ และ​การ​พัฒนา​สถาบนั ​ เทคโนโลยีแ​ หง​เอเชยี ​​(AIT) 2 คณุ สมบัต​ิดิน​ตะกอนบ​ างประการ​ นางสาวธญั ญาลกั ษณ​ นิสิต​ปริญญาตรี​ ดร.​แววตา​ทองระอา ในบ​ ริเวณป​ ากแมน ำ้ ​บางปะกง- มาระสะ ภาควิชาว​ าริชศ​ าสตร เกาะสชี งั ​ มหาวทิ ยาลยั บรู พา​​ 3 การก​ ระจาย​ของโ​ลหะหนกั ใ​นด​ ิน​ นางสาวกาญจนา​ นิสิตปรญิ ญาตร​ี นางสาวฉลวย​มุสกิ ะ ตะกอน​บรเิ วณ​ปากแมน ้ำ​บางปะกง​ สุขอ่ำ ภาควชิ าวาริชศาสตร​ ถึงเ​กาะสชี ัง มหาวทิ ยาลัยบรู พา​​ 4 Gonadal​structure​and​​ นางสาวพวงผกา​​ นิสติ ปรญิ ญาตรี​​ ดร.​สุขใจ​​รัตนยวุ กร gametogenesis​of​Donax faba บำรุงราษฎ​ ​ ภาควิชาวารชิ ศาสตร​​ มหาวทิ ยาลัยบูรพา​​ 5 Gonadal​structure​and​gameto- นางสาวสทุ ธลิ กั ษณ​​ นิสิตปริญญาตรี​​​ ดร.​สขุ ใจ​​รตั นยวุ กร genesis​of​Anadara Granosa​ แขง ขนั ​ ภาควชิ าวารชิ ศาสตร​​ มหาวิทยาลัยบูรพา​​ 6 วงส​ บื พันธุข​ อง​หอย​ตลับข​ าว​ นางสาวศริ วิ รรณ​ นสิ ติ ป​ รญิ ญาตรี​​ ดร.​สุขใจ​​รัตนยวุ กร บรเิ วณแ​ หลมก​ ลดั ​​​จงั หวัด​ตราด แววสวัสดิ์​​ คณะเ​ทคโนโลย​ที างทะเล​​ วทิ ยาเขต​สารสนเทศ​ จันทบุรี​​ มหาวทิ ยาลัยบูรพา​​ 45


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook