BUU I ANNUAL REPORT 2020 2563รายงานประจำป มหาวิทยาลัยบูรพา
สารจากอธกิ ารบดี เป็นเวลากวา่ 65 ปี ท่มี หาวิทยาลยั บรู พา ขบั เคลอื่ นดำ�เนินงานตามภารกจิ หลักทกุ ด้าน ใหเ้ ปน็ ไปตามทศิ ทาง ที่ตั้งเป้าหมายไว้ ซ่ึงปรากฏให้เห็นได้จากภารกิจด้านการผลิตบัณฑิต วิจัย บริการวิชาการ และทำ�นุบำ�รุงศิลปะ และวัฒนธรรม โดยในปนี ม้ี หาวทิ ยาลัยบูรพา ตดิ อนั ดบั 5 ของมหาวิทยาลยั ในประเทศไทย ในด้านการเรียนการสอน (Teaching) จากการจดั อนั ดบั มหาวทิ ยาลยั โลก THE World University Rankings 2021 รวมถงึ ยงั อยใู่ นอนั ดบั ที่ 80 จากการจัดอนั ดบั 100 มหาวิทยาลยั นวัตกรรมทัว่ โลกปี 2020 World’s Universities with Real Impact (WURI) นอกจากน้ีผลงานวิจัยทางด้านเคมียังโดดเด่นเป็นอันดับ 3 ของประเทศไทย จากฐานข้อมูล Nature Index 2020 และจากสถติ กิ ารคดั เลือกบคุ คลเข้าศึกษาในระดับอดุ ม ศกึ ษา TCAS’63 รอบ 3 คณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลยั บูรพา ไดร้ ับความนิยมเป็นอันดับ 1 ท่ีมีผ้สู มัครมากทีส่ ุด นอกจากนีม้ หาวทิ ยาลัยบรู พายังมผี ลการประเมนิ คุณธรรม และความโปร่งใสในการดำ�เนินงานของหน่วยงานภาครัฐ (ITA) อยู่ในระดับ A สะท้อนให้เห็นถึงการพัฒนาและ ยกระดับคุณภาพการศึกษา ตลอดจนการบริหารงาน ให้เป็นไปตามมาตรฐานวิชาการและได้รับการยอมรับมากข้ึน ทั้งในระดบั ประเทศและสากล มหาวิทยาลยั บูรพาในฐานะมหาวิทยาลยั หลักใน EEC ได้ประสบความสำ�เรจ็ ในการจัดตั้งศนู ยก์ ารเรยี นรู้ระบบ อตั โนมัติ Automation Park เพื่อเป็นศนู ยก์ ลางการศกึ ษาทางดา้ นระบบอตั โนมตั แิ บบครบวงจร โดยความรว่ มมือ กบั คณะท�ำ งานประสานงานด้านการพฒั นาบุคลากรในเขตพฒั นาพเิ ศษภาคตะวนั ออก (EEC-HDC) และบรษิ ัท มติ ซู บิชิ อเี ล็คทริค แฟคทอร่ี ออโตเมชน่ั (ประเทศไทย) จำ�กัด นอกจากนน้ั ในการด�ำ เนนิ งานด้านการวิจัย ยังได้รบั การ รบั รองคณุ ภาพระดบั ชาตแิ ละระดบั สากล ตามมาตรฐานการด�ำ เนนิ งานของคณะกรรมการพจิ ารณาจรยิ ธรรมการวจิ ยั ในมนุษย์ อีกท้ังในส่วนด้านความรับผิดชอบต่อสังคม มหาวิทยาลัยบูรพายังส่งเสริมและมีส่วนร่วมการดำ�เนินงานที่ ตอบสนองนโยบายรฐั บาล ดว้ ยโครงการยกระดบั เศรษฐกจิ และสงั คมรายต�ำ บลแบบบรู ณาการ หรอื ทเ่ี รยี กวา่ โครงการ 1 ต�ำ บล 1 มหาวทิ ยาลยั ผลงานความสำ�เร็จของมหาวิทยาลัยบูรพาที่ปรากฏ ได้แสดงให้เห็นถึงศักยภาพการดำ�เนินงานตามภารกิจ ทเ่ี กดิ จากความรคู้ วามสามารถ ความทมุ่ เทพลงั กายพลงั ใจของผบู้ รหิ ารและบคุ ลากรทกุ ภาคสว่ น ตลอดจนการสนบั สนนุ จากศิษย์เก่าและเครอื ข่ายองค์กรตา่ ง ๆ ในนามของมหาวิทยาลัยบูรพา ขอขอบคุณผู้มีส่วนร่วมในความสำ�เร็จกับมหาวิทยาลัยทุกภาคส่วน และหวัง เป็นอย่างย่ิงว่าจะได้รับความร่วมมือในการขับเคล่ือนมหาวิทยาลัยบูรพาให้บรรลุวัตถุประสงค์ตามแผนยุทธศาสตร์ และการดำ�เนนิ งานตอ่ ไป รองศาสตราจารย์ ดร.วัชรินทร ์ กาสลกั อธกิ ารบดี รายงานประจ�ำ ปี 2563 ก ม ห า วิ ท ย า ลั ย บู ร พ า
สารจากอธกิ ารบดี เป็นเวลากวา่ 65 ปี ท่มี หาวิทยาลยั บรู พา ขบั เคลอื่ นดำ�เนินงานตามภารกจิ หลักทกุ ด้าน ใหเ้ ปน็ ไปตามทศิ ทาง ที่ตั้งเป้าหมายไว้ ซ่ึงปรากฏให้เห็นได้จากภารกิจด้านการผลิตบัณฑิต วิจัย บริการวิชาการ และทำ�นุบำ�รุงศิลปะ และวัฒนธรรม โดยในปนี ม้ี หาวทิ ยาลัยบูรพา ตดิ อนั ดบั 5 ของมหาวิทยาลยั ในประเทศไทย ในด้านการเรียนการสอน (Teaching) จากการจดั อนั ดบั มหาวทิ ยาลยั โลก THE World University Rankings 2021 รวมถงึ ยงั อยใู่ นอนั ดบั ที่ 80 จากการจัดอนั ดบั 100 มหาวิทยาลยั นวัตกรรมทัว่ โลกปี 2020 World’s Universities with Real Impact (WURI) นอกจากน้ีผลงานวิจัยทางด้านเคมียังโดดเด่นเป็นอันดับ 3 ของประเทศไทย จากฐานข้อมูล Nature Index 2020 และจากสถติ กิ ารคดั เลือกบคุ คลเข้าศึกษาในระดับอดุ ม ศกึ ษา TCAS’63 รอบ 3 คณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลยั บูรพา ไดร้ ับความนิยมเป็นอันดับ 1 ท่ีมีผ้สู มัครมากทีส่ ุด นอกจากนีม้ หาวทิ ยาลัยบรู พายังมผี ลการประเมนิ คุณธรรม และความโปร่งใสในการดำ�เนินงานของหน่วยงานภาครัฐ (ITA) อยู่ในระดับ A สะท้อนให้เห็นถึงการพัฒนาและ ยกระดับคุณภาพการศึกษา ตลอดจนการบริหารงาน ให้เป็นไปตามมาตรฐานวิชาการและได้รับการยอมรับมากข้ึน ทั้งในระดบั ประเทศและสากล มหาวิทยาลยั บูรพาในฐานะมหาวิทยาลยั หลักใน EEC ได้ประสบความสำ�เรจ็ ในการจัดตั้งศนู ยก์ ารเรยี นรู้ระบบ อตั โนมัติ Automation Park เพื่อเป็นศนู ยก์ ลางการศกึ ษาทางดา้ นระบบอตั โนมตั แิ บบครบวงจร โดยความรว่ มมือ กบั คณะท�ำ งานประสานงานด้านการพฒั นาบุคลากรในเขตพฒั นาพเิ ศษภาคตะวนั ออก (EEC-HDC) และบรษิ ัท มติ ซู บิชิ อเี ล็คทริค แฟคทอร่ี ออโตเมชน่ั (ประเทศไทย) จำ�กัด นอกจากนน้ั ในการด�ำ เนนิ งานด้านการวิจัย ยังได้รบั การ รบั รองคณุ ภาพระดบั ชาตแิ ละระดบั สากล ตามมาตรฐานการด�ำ เนนิ งานของคณะกรรมการพจิ ารณาจรยิ ธรรมการวจิ ยั ในมนุษย์ อีกท้ังในส่วนด้านความรับผิดชอบต่อสังคม มหาวิทยาลัยบูรพายังส่งเสริมและมีส่วนร่วมการดำ�เนินงานที่ ตอบสนองนโยบายรฐั บาล ดว้ ยโครงการยกระดบั เศรษฐกจิ และสงั คมรายต�ำ บลแบบบรู ณาการ หรอื ทเ่ี รยี กวา่ โครงการ 1 ต�ำ บล 1 มหาวทิ ยาลยั ผลงานความสำ�เร็จของมหาวิทยาลัยบูรพาที่ปรากฏ ได้แสดงให้เห็นถึงศักยภาพการดำ�เนินงานตามภารกิจ ทเ่ี กดิ จากความรคู้ วามสามารถ ความทมุ่ เทพลงั กายพลงั ใจของผบู้ รหิ ารและบคุ ลากรทกุ ภาคสว่ น ตลอดจนการสนบั สนนุ จากศิษย์เก่าและเครอื ข่ายองค์กรตา่ ง ๆ ในนามของมหาวิทยาลัยบูรพา ขอขอบคุณผู้มีส่วนร่วมในความสำ�เร็จกับมหาวิทยาลัยทุกภาคส่วน และหวัง เป็นอย่างย่ิงว่าจะได้รับความร่วมมือในการขับเคล่ือนมหาวิทยาลัยบูรพาให้บรรลุวัตถุประสงค์ตามแผนยุทธศาสตร์ และการดำ�เนนิ งานตอ่ ไป รองศาสตราจารย์ ดร.วัชรินทร ์ กาสลกั อธกิ ารบดี รายงานประจ�ำ ปี 2563 ก ม ห า วิ ท ย า ลั ย บู ร พ า
สารบญั ก ข สารจากอธกิ ารบดี ง สารบัญ 1 บทสรุปผู้บรหิ าร 11 ผลงาน/กิจกรรมเดน่ ประจ�ำ ปงี บประมาณ พ.ศ. 2563 16 มหาวทิ ยาลัยบรู พา กับการแก้ปัญหา COVID สถานภาพปจั จุบนั ของมหาวทิ ยาลยั บูรพา 16 20 ประวตั ิมหาวทิ ยาลยั 22 วิสยั ทัศน์ พนั ธกจิ 24 โครงสร้างการบริหาร 26 โครงสร้างการแบ่งส่วนงาน 27 คณะกรรมการปฏิบตั หิ น้าท่แี ทนสภามหาวิทยาลยั บูรพา 32 ผู้บริหารมหาวทิ ยาลยั บูรพา ข้อมูลพื้นฐานทสี่ ำ�คัญ 39 74 การจัดระเบยี บและแก้ไขปญั หาธรรมาภิบาล 80 มหาวทิ ยาลัยบูรพา : มหาวิทยาลัยหลกั ใน EEC การจัดการศึกษา 81 93 การผลติ บณั ฑติ 98 การสนบั สนนุ นิสิต เพอ่ื สมั ฤทธิผ์ ลทางการศกึ ษา ข้อมูลภาวะการมีงานท�ำ ของบัณฑติ และความพึงพอใจของผใู้ ชบ้ ณั ฑิต
Contents การวิจยั และนวตั กรรม 100 ผลงานวจิ ัยดีเด่น 104 จำ�นวนโครงการวจิ ยั และงบประมาณอดุ หนุนการวจิ ัย 107 การเผยแพร่ผลงานวิจยั 108 ผลงานวจิ ัยทไ่ี ด้รับการจดทะเบียนทรัพยส์ ินทางปัญญาหรอื การรายงานผลเชิงพาณชิ ย์ 110 บคุ ลากรของมหาวทิ ยาลัยทีไ่ ดร้ บั รางวลั ดา้ นการวิจัย 116 การบรกิ ารวชิ าการและเครอื ขา่ ยความร่วมมอื 118 การบริการวชิ าการ ปีงบประมาณ 2563 118 โครงการท�ำ นบุ ำ�รงุ ศิลปะวฒั นธรรม ปงี บประมาณ 2563 126 การลงนามข้อตกลงความร่วมมอื ปงี บประมาณ 2563 130 การสร้างเครือขา่ ยและความร่วมมอื 134 การบริหารจัดการ 138 การประเมนิ คุณภาพองค์กรและผูบ้ รหิ าร 140 งบประมาณและการบรหิ ารงบประมาณ 143 การบรหิ ารงานบุคคล 148 การพัฒนาทางกายภาพ 155 มหาวิทยาลัยบูรพาในอนาคต 157
บทสรุปผู้บรหิ าร ขอ้ มูลพ้ืนฐานของมหาวิทยาลัยบูรพา มหาวทิ ยาลยั บรู พา ตง้ั อยเู่ ลขที่ 169 ถนนลงหาดบางแสน ต�ำ บลแสนสขุ อ�ำ เภอเมอื ง จงั หวดั ชลบรุ ี มพี นื้ ทท่ี ง้ั สนิ้ 647 ไร่ และมวี ทิ ยาเขต 2 แหง่ ไดแ้ ก่ วทิ ยาเขตจนั ทบรุ ี ตง้ั อยทู่ อ่ี �ำ เภอทา่ ใหม่ จงั หวดั จนั ทบรุ ี มเี นอ้ื ท่ี 450 ไร่ นอกจาก น้ียังมพี ื้นที่ทีอ่ ำ�เภอนายายอาม จังหวัดจนั ทบุรี 776 ไร่ อ�ำ เภอขลุง จงั หวดั จนั ทบุรี 179 ไร่ และอำ�เภอเขาสมิง จงั หวดั ตราด 897 ไร่ และวทิ ยาเขตสระแกว้ ตง้ั อยู่ทอี่ �ำ เภอวัฒนานคร จังหวดั สระแก้ว มี เนอ้ื ที่ 1,369 ไร่ มหาวิทยาลัยบูรพาแบ่งส่วนงานออกเปน็ 34 ส่วนงาน 1 โครงการจัดตง้ั ประกอบดว้ ย 1 ส�ำ นกั งานอธกิ ารบดี 1 สำ�นักงานสภามหาวิทยาลัย 23 คณะ 3 วิทยาลัย 1 โครงการจัดตั้งคณะฯ 1 บัณฑิตวิทยาลัย 2 สถาบัน และ 3 ส�ำ นกั ซึ่งแยกส่วนงานตามทีต่ ั้งได้ดังน้ี 1. มหาวิทยาลัยบรู พา จงั หวัดชลบุรี ประกอบด้วย 1 สำ�นักงานอธิการบดี 1 ส�ำ นักงานสภามหาวทิ ยาลัย 18 คณะ 3 วทิ ยาลยั 1 บัณฑิตวิทยาลยั 2 สถาบนั และ 3 สำ�นัก 2. มหาวิทยาลัยบูรพา วทิ ยาเขตจนั ทบุรี ประกอบดว้ ย 3 คณะ 3. มหาวทิ ยาลัยบูรพา วิทยาเขตสระแก้ว ประกอบดว้ ย 2 คณะ และ 1 โครงการจัดตัง้ คณะฯ ตามพระราชบัญญัติมหาวิทยาลัยบูรพา พ.ศ. 2551 มาตร 7 กำ�หนดให้มหาวิทยาลัยบูรพาเป็นสถาบัน การศกึ ษาและการวจิ ยั มวี ตั ถปุ ระสงคใ์ หก้ ารศกึ ษาด�ำ เนนิ การและสง่ เสรมิ งานวจิ ยั เพอ่ื สรา้ งและพฒั นาองคค์ วามรแู้ ละ เทคโนโลยี ใหบ้ รกิ ารทางวชิ าการ ทะนบุ �ำ รงุ ศาสนา ศลิ ปะ วฒั นธรรม และการกฬี า รวมทงั้ การสนบั สนนุ กจิ กรรมของ รัฐและท้องถ่ินและการมีส่วนร่วมในการพัฒนาชุมชนและสิ่งแวดล้อมในการดำ�เนินงานเพ่ือให้บรรลุตามวัตถุประสงค์ ดงั กล่าว มหาวิทยาลัยบรู พามีระบบและกลไกต่าง ๆ ได้แก่ ขอ้ บงั คับ ระเบยี บ และประกาศ ซงึ่ ในปีงบประมาณ 2563 มหาวทิ ยาลยั บรู พาด�ำ เนนิ งานโดยมี ศาสตราจารย์ กติ ตคิ ณุ ดร.สมหวงั พธิ ยิ านวุ ฒั น์ เปน็ ประธานคณะกรรมการ ปฏิบัติหนา้ ท่ีแทนสภามหาวิทยาลยั และ รองศาสตราจารย์ ดร.วชั รนิ ทร์ กาสลกั เปน็ อธิการบดมี หาวิทยาลยั บูรพา โดยในปีงบประมาณ 2563 มีผลการด�ำ เนินงาน ดังน้ี Dง ANNUAL REPORT 2020 BURAPHA UNIVERSITY
ดา้ นการจัดระเบียบและแกไ้ ขปัญหาธรรมาภิบาล ในปีงบประมาณ 2563 คณะกรรมการปฏิบัติหน้าที่แทนสภามหาวิทยาลัย ได้มีมติท่ีส�ำ คัญ ได้แก่ 1) แต่งต้ัง อธกิ ารบดมี หาวทิ ยาลยั บรู พา 2) เหน็ ชอบแผนยทุ ธศาสตรม์ หาวทิ ยาลยั บรู พา ประจ�ำ ปงี บประมาณ พ.ศ. 2564 - 2567 3) การสรรหานายกสภามหาวทิ ยาลยั และกรรมการสภามหาวิทยาลัยผูท้ รงคณุ วุฒิ 4) การใหป้ ริญญากิตตมิ ศกั ด์ิ 5) ออกขอ้ บงั คบั มหาวทิ ยาลยั บรู พา วา่ ดว้ ยคณะกรรมการสง่ เสรมิ กจิ การมหาวทิ ยาลยั 6) ด�ำ เนนิ งานตามพระราชบญั ญตั ิ การอดุ มศกึ ษา พ.ศ. 2562 โดยจดั ท�ำ ขอ้ บงั คบั มหาวทิ ยาลยั บรู พา วา่ ดว้ ยธรรมาภบิ าล พ.ศ. 2563 และไดแ้ ตง่ ตงั้ คณะ กรรมการตรวจสอบ คณะกรรมการธรรมาภบิ าลและจริยธรรม และคณะกรรมการบรหิ ารความเสี่ยง และ 7) ดำ�เนนิ งานตามพระราชบญั ญตั ิมหาวทิ ยาลัยบรู พา พ.ศ. 2550 ดา้ นการจดั การศกึ ษา ปีการศึกษา 2563 มหาวิทยาลัยบูรพามีการจัดการเรียนการสอนทั้งหมด 222 หลักสูตร จ�ำ แนกเป็นระดับ ปริญญาตรี 112 หลกั สตู ร ปรญิ ญาโท 72 หลกั สูตร และปริญญาเอก 38 หลกั สตู ร ซ่งึ เปน็ หลักสูตรทีจ่ ัดการศึกษา ร่วมกับต่างประเทศ 7 หลกั สตู ร มีนสิ ิตใหม่ 7,935 คน จ�ำ แนกเป็นระดับปรญิ ญาตรี 6,742 คน ปริญญาโท 536 คน และปรญิ ญาเอก 117 คน และมนี สิ ติ ทง้ั หมด 30,263 คน จ�ำ แนกเปน็ ระดบั ปรญิ ญาตรี 27,680 คน ปรญิ ญาโท 1,981 คน และปรญิ ญาเอก 602 คน มีผู้ส�ำ เร็จการศกึ ษา ปีการศึกษา 2562 จ�ำ นวน 8,612 คน จำ�แนกเปน็ ระดบั ปรญิ ญา ตรี 8,016 คน ระดับปริญญาโท 418 คน และระดบั ปริญญาเอก 178 คน ปกี ารศกึ ษา 2561 มบี ณั ฑติ ทสี่ �ำ เรจ็ การศกึ ษาไดง้ านท�ำ หรอื ประกอบอาชพี อสิ ระ ภายในระยะเวลา 1 ปี จ�ำ นวน 1,437 คน (ร้อยละ 76.15) ยังไมม่ งี านทำ�จำ�นวน 379 คน (รอ้ ยละ 20.08) และบณั ฑติ ทยี่ งั ไม่มีงานทำ�และกำ�ลงั ศกึ ษาตอ่ จ�ำ นวน 71 คน (รอ้ ยละ 3.76) และผใู้ ชบ้ ณั ฑติ มรี ะดบั ความพงึ พอใจตอ่ การปฏบิ ตั งิ านของบณั ฑติ อยทู่ รี่ ะดบั มาก มคี ่าคะแนนเฉลี่ย 4.14 มหาวิทยาลัยบูรพาเปิดสอนระดับปฐมวัยถึงชั้นมัธยมศึกษาตอนปลาย โดยโรงเรียนสาธิต “พิบูลบำ�เพ็ญ” ใน ระดับประถมศึกษาปีท่ี 1-6 เปิดสอนหลักสูตรปกติ (ภาษาไทย) และหลักสูตรสองภาษา (Junior International Program : JIP) สว่ นในระดบั มัธยมศกึ ษาปที ่ี 1-6 เปิดสอนหลกั สตู รปกติ (ภาษาไทย) โปรแกรมเน้นความสามารถ ทางภาษา (Language Intensive Program : LIP) โปรแกรมเน้นความสามารถทางวิทยาศาสตร์และคณิตศาสตร์ (Science And Mathematic Program : SAM) และหลกั สตู รการศึกษานานาชาตขิ ัน้ พื้นฐาน (International Ed- ucation Program : IEP) มนี ักเรยี นท้งั หมด 3,190 คน นอกจากน้ีมหาวิทยาลยั บูรพามศี นู ย์ฝึกพาณชิ ย์นาวี ในสงั กัดกรมเจา้ ท่า กระทรวงคมนาคม เป็นสถาบนั สมทบ ซง่ึ เปดิ การสอนในระดบั ปรญิ ญาตรี จ�ำ นวน 2 หลกั สตู ร ปกี ารศกึ ษา 2563 มนี สิ ติ ทง้ั หมด 728 คน มผี สู้ �ำ เรจ็ การศกึ ษา ปีการศกึ ษา 2562 จ�ำ นวน 96 คน รายงานประจ�ำ ปี 2563 Eจ ม ห า วิ ท ย า ลั ย บู ร พ า
ดา้ นการวิจัยและนวัตกรรม ในปีงบประมาณ 2563 มหาวิทยาลยั บรู พามจี �ำ นวนโครงการวิจยั จากแหล่งทุนต่าง ๆ รวม 219 โครงการ โดย ได้รบั ทุนจากแหลง่ เงนิ รายไดม้ หาวทิ ยาลัย 167 โครงการ และแหล่งทุนภายนอกมหาวิทยาลยั จำ�นวน 52 โครงการ มงี บประมาณท้งั สน้ิ 183,697,588 บาท จำ�แนกเป็นงบประมาณจากแหลง่ เงินรายไดม้ หาวทิ ยาลัย 16,629,715 บาท (ร้อยละ 9.05) และแหล่งทุนภายนอกมหาวิทยาลัย 167,067,873 บาท (รอ้ ยละ 90.95) สำ�หรับเงนิ อุดหนนุ รัฐบาล ในปีน้ี มหาวทิ ยาลยั ไมไ่ ด้รับงบจดั สรร มีผลงานวิจัยที่ได้รับการตีพิมพ์เผยแพร่ รวม 744 บทความ ได้รับการตีพิมพ์ในวารสารระดับนานาชาติมาก ทีส่ ุด จำ�นวน 348 บทความ รองลงมาคอื บทความวิจัยทต่ี พี ิมพ์ในวารสารระดับชาติ จำ�นวน 267 บทความ ผลงาน ตีพิมพใ์ นรายงานสืบเนอื่ งระดับชาติ จำ�นวน 81 บทความ และผลงานท่ตี พี มิ พใ์ นรายงานสบื เน่อื งระดบั นานาชาติ 48 บทความ ตามล�ำ ดบั มจี �ำ นวนครง้ั ในการอา้ งองิ (Citation) ผลงานวจิ ยั ในฐานขอ้ มลู Scopus ในปี พ.ศ. 2563 จ�ำ นวน 51 คร้ัง มีผลงานทย่ี ่ืนคำ�ขอจดทะเบียนทรัพยส์ ินทางปัญญารวม 92 ผลงาน จำ�แนกเป็นการยื่นค�ำ ขอรบั อนุสทิ ธิบตั ร จ�ำ นวน 7 ผลงาน สิทธบิ ัตรการประดษิ ฐ์ จำ�นวน 30 ผลงาน สิทธิบัตรการออกแบบผลติ ภัณฑ์ จำ�นวน 49 ผลงาน และย่นื จดแจง้ ลิขสทิ ธ์ิ จำ�นวน 6 ผลงาน ด้านการบรกิ ารวชิ าการ และเครอื ข่ายความรว่ มมอื ส�ำ หรบั การบรกิ ารวิชาการ ในปีงบประมาณ 2563 มีจำ�นวนโครงการบรกิ ารวิชาการรวม 497 โครงการ มงี บ ประมาณทงั้ สนิ้ 317,989,384.96 บาท สว่ นใหญเ่ ปน็ งบประมาณจากแหลง่ ทนุ อนื่ จ�ำ นวน 274,368,951.96 บาท (รอ้ ย ละ 86.28) จำ�นวน 467 โครงการ รองลงมาไดร้ ับจากทุนจากเงนิ อดุ หนุนรฐั บาล 42,807,700 บาท (รอ้ ยละ 13.46) จำ�นวน 1 โครงการ และจากเงนิ รายได้มหาวทิ ยาลยั 812,733 บาท (ร้อยละ 0.26) จำ�นวน 29 โครงการ มหาวทิ ยาลยั บรู พาไดด้ �ำ เนนิ การสรา้ งเครอื ขา่ ยความรว่ มมอื ทางวชิ าการกบั สถาบนั การศกึ ษาและองคก์ รตา่ ง ๆ ในประเทศ 55 ความร่วมมือ และมกี ารลงนามขอ้ ตกลงความรว่ มมือและมกี ารดำ�เนนิ กจิ กรรมต่าง ๆ กับสถาบันการ ศึกษาและองค์กรตา่ งประเทศ 24 ความร่วมมือ ดา้ นการเปน็ มหาวทิ ยาลยั หลักใน EEC มหาวทิ ยาลยั บรู พาลงนามความรว่ มมอื กบั สาํ นกั งานคณะกรรมการนโยบายเขตพฒั นาพเิ ศษภาคตะวนั ออก เพอ่ื ประกาศตัวเปน็ เป็นมหาวิทยาลัยหลักใน EEC โดยมีภารกิจหลักในการขับเคลอ่ื น พฒั นาก�ำ ลังคนสู่ 10 อุตสาหกรรม เป้าหมาย ผ่านคณะทํางานประสานงานด้านการพัฒนาบุคลากรในเขตพัฒนาพิเศษภาคตะวันออก (EEC-HDC) ซ่ึง มหาวทิ ยาลยั บรู พาไดจ้ ดั งานแถลงขา่ วแถลงความรว่ มมอื ผลกั ดนั EEC Automation Park เมอ่ื วนั ศกุ รท์ ี่ 18 กนั ยายน พ.ศ. 2563 โดยด�ำ เนินกจิ กรรมและการทำ�งานเชงิ รกุ เพอื่ ผลติ บุคคลากรทตี่ รงต่อความต้องการของอุตสาหกรรม ฉF ANNUAL REPORT 2020 BURAPHA UNIVERSITY
ด้านการบรหิ ารจัดการ มหาวิทยาลัยบรู พา ใช้ระบบเกณฑ์คณุ ภาพการศกึ ษาเพื่อการด�ำ เนนิ การทเี่ ปน็ เลศิ (Education Criteria for Performance Excellence : EdPEx) ในการดำ�เนินการประกันคุณภาพการศึกษา ในระดับส่วนงาน และระดับ มหาวทิ ยาลัย ส�ำ หรบั การประเมนิ ในระดบั หลกั สตู ร ปกี ารศกึ ษา 2562 มหาวทิ ยาลยั บรู พายงั คงใชเ้ กณฑ์ AUN-QA มหี ลกั สตู ร ท่ีผา่ นเกณฑ์ ร้อยละ 99.10 และไม่ผา่ นเกณฑ์ รอ้ ยละ 0.90 มหาวิทยาลัยบูรพาได้เข้าสู่การประเมินคุณธรรมและความโปร่งใสในการดำ�เนินงานของหน่วยงานภาครัฐ (Integrity and Transparency Assessment: ITA) ประเภทสถาบันอุดมศึกษาของรัฐและในกำ�กับของรัฐ สังกัด ส�ำ นักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา มผี ลการประเมินระดบั A ส�ำ หรบั การจดั ท�ำ งบประมาณและการบรหิ ารงบประมาณ มหาวทิ ยาลยั ไดร้ บั การจดั สรรงบประมาณจากรฐั บาล จำ�นวน 1,801.0694 ล้านบาท และงบประมาณเงินรายได้มหาวิทยาลัย จำ�นวน 2,950.9320 ล้านบาท สัดส่วนงบ ประมาณจากรัฐบาลต่องบประมาณเงนิ รายได้ เทา่ กบั 37.90 ตอ่ 62.10 โดยในปงี บประมาณ 2563 มีรายได้ 4,734.26 ลา้ นบาท คา่ ใชจ้ ่าย 4,221.1200 ล้านบาท ดา้ นการบรหิ ารงานบคุ คล มหาวทิ ยาลยั บรู พามพี นกั งานมหาวทิ ยาลยั 3,396 คน จ�ำ แนกเปน็ คณาจารย์ 1,455 คน (ร้อยละ 42.84) และสนบั สนุนวชิ าการ 1,941 คน (ร้อยละ 57.16) ในปีงบประมาณ 2563 มีคณาจารย์ประจำ� ได้รบั การอนุมตั ิใหด้ �ำ รงตำ�แหนง่ ทางวิชาการสูงขนึ้ จำ�นวน 118 คน สง่ ผลใหป้ ัจจบุ นั มหาวทิ ยาลัยบรู พามคี ณาจารย์ ด�ำ รงตำ�แหน่งอาจารย์ 982 คน (รอ้ ยละ 67.49) ผ้ชู ว่ ยศาสตราจารย์ 396 คน (รอ้ ยละ 27.22) และรองศาสตราจารย์ 77 คน (ร้อยละ 5.29) นอกจากนยี้ งั มกี ารส�ำ รวจขอ้ มลู เพอ่ื สง่ เสรมิ สกู่ ารเปน็ องคก์ รสขุ ภาวะ พฒั นาโครงสรา้ งพน้ื ฐาน สภาพแวดลอ้ ม การจัดการของเสีย เพ่ือสง่ เสรมิ มหาวทิ ยาลัยสู่ความยั่งยืน รายงานประจำ�ปี 2563 Gช ม ห า วิ ท ย า ลั ย บู ร พ า
ผลงาน/กจิ กรรมเดน่ ประจำ�ปีงบประมาณ พ.ศ. 2563 รายงานประจำ�ปี 2563 1 ม ห า วิ ท ย า ลั ย บู ร พ า
พระบาทสมเดจ็ พระวชริ เกลา้ เจา้ อยหู่ วั มพี ระบรมราชโองการโปรดเกลา้ โปรด กระหม่อม แต่งต้ัง รองศาสตราจารย์ ดร.วัชรินทร์ กาสลัก เป็นอธิการบดี มหาวทิ ยาลยั บรู พา คนที่ 8 ตามค�ำ สั่งหวั หนา้ คณะรกั ษาความสงบแหง่ ชาติ ทแ่ี ต่งต้ังคณะบุคคลปฏิบตั หิ นา้ ทแ่ี ทนสภามหาวทิ ยาลยั บูรพา และอธิการบดีมหาวิทยาลัยบูรพา ตั้งแต่ 11 ตุลาคม 2559 นั้น การแก้ไขปัญหาต่าง ๆ ภายในมหาวิทยาลัย เป็นไปอย่างเรียบร้อย และได้มีการสรรหาอธิการบดี โดยคณะกรรมการปฏิบัติหน้าที่แทนสภามหาวิทยาลัยบูรพา ได้มีมติเห็นชอบให้เสนอขอพระราชทานโปรดเกล้าโปรดกระหม่อมแต่งตั้ง รองศาสตราจารย์ ดร.วัชรินทร์ กาสลัก ดำ�รงต�ำ แหนง่ อธกิ ารบดมี หาวทิ ยาลยั บรู พา ตามมาตรา 27 แหง่ พระราชบญั ญตั มิ หาวทิ ยาลยั บรู พา พ.ศ. 2550 ตง้ั แต่ วันท่ี 15 มิถนุ ายน 2563 2 ANNUAL REPORT 2020 BURAPHA UNIVERSITY
มหาวิทยาลยั บรู พากบั การจัดอนั ดบั มหาวทิ ยาลัย มหาวิทยาลัยบูรพา อยู่ในอันดับที่ 80 จากการจัดอันดับ 100 มหาวิทยาลัยนวัตกรรม ปี 2020 World’s Universities with Real Impact (WURI) จดั ใหม้ หาวิทยาลัยบูรพาอยู่ในอนั ดบั ท่ี 80 จากการจดั อันดับ 100 มหาวิทยาลัยนวัตกรรมปี 2020 (WURI 2020 : Global Top 100 Innovative Universities) เป็น มหาวทิ ยาลยั หนงึ่ เดยี วในประเทศไทยทไี่ ดร้ บั การจดั อนั ดบั ในครง้ั น้ี ซง่ึ ไดม้ กี ารประกาศผลการจดั อนั ดบั ในการประชมุ ออนไลนเ์ มื่อวันท่ี 11 มถิ นุ ายน พ.ศ. 2563 นอกจากน้ีมหาวิทยาลยั บูรพายงั อยูใ่ นอนั ดับท่ี 23 จากการจัดอันดับ TOP 50 Industrial Application และ อนั ดบั ที่ 40 จาก TOP 50 Entrepreneurial Spirit มหาวิทยาลัยบูรพาได้เข้าเป็นสมาชิกของ Hanseatic League of Universities ในเดือนกุมภาพันธ์ พ.ศ. 2563 HanseaticLeague of Universities (HLU) ก่อต้ังโดย Hanze University of Applied Science, ประเทศ เนเธอร์แลนด์ในปี 2018 ด้วยวัตถุประสงค์ท่ีจะยกระดับความร่วมมือมหาวิทยาลัยพันธมิตร จํานวน 190 สถาบัน ปจั จบุ ันเปิดให้มหาวิทยาลยั ทวั่ โลกเข้าเปน็ สมาชิก การจัดอันดับมหาวิทยาลัยนวัตกรรมในปี 2020 น้ี จัดข้ึนเป็นคร้ังแรกโดยมุ่งเน้นการประยุกต์ใช้วิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยีเป็นพื้นฐานสําหรับการจัดอันดับมหาวิทยาลัยโลก แทนท่ีจะเป็นเพียงผลงานวิจัยและการอ้างอิงตาม ท่ีสถาบนั การจดั อันดับมหาวทิ ยาลยั อื่น ๆ ใช้ในการเปรยี บเทยี บและประเมนิ คณุ ภาพของมหาวิทยาลยั โดยแบ่งออก เป็นหมวดยอ่ ยดงั นี้ • Industrial Application • Entrepreneurial Spirit • Ethic Values • Student Mobility มหาวิทยาลัยบูรพาได้ส่งผลงานวิจยั เชงิ นวัตกรรม เพอ่ื จัดอนั ดับในครง้ั นท้ี งั้ หมด 6 โครงการ หมวด Industrial Application 1. Curriculum Development: Biotechnology Program 2021 คณะวิทยาศาสตร์ 2. Development of commercial feminine cleansing whipped foam from the extract of Barbed grassand probiotics to create a new skincare product คณะเภสชั ศาสตร์ รายงานประจ�ำ ปี 2563 3 ม ห า วิ ท ย า ลั ย บู ร พ า
3. Development of orally dissolving Astaxanthin tablet for older adults prepared by excipients fordirect compression คณะเภสชั ศาสตร์ 4. AI for Automated Investing System คณะวทิ ยาการสารสนเทศ 5. EEC Automation Park: The Center of HDC. Innovation and Automation Education in EEC คณะวิศวกรรมศาสตร์ หมวด Entrepreneurial Spirit 1. Startup Business in Geoinformatics คณะภูมิสารสนเทศศาสตร์ มหาวทิ ยาลยั บรู พา โดดเดน่ ดา้ นการสอน ตดิ อนั ดบั 5 ของประเทศไทย จากการจดั อนั ดบั มหาวทิ ยาลัยโลก THE World University Rankings 2021 เมื่อวันที่ 2 กันยายน 2563 สำ�นักจัดอันดับ Times Higher Education (THE) ได้ประกาศผล การจดั อนั ดบั มหาวิทยาลยั โลก โดยเกณฑ์ในการจัด อันดบั ใน THE World University Rankings 2021 ประกอบดว้ ยตัวชี้วัด 5 ด้าน คือ 1) ดา้ นการสอน (Teaching : 5 indicators) 30% 2) ด้านการวิจัย (Research : 3 indicators) 30% 3) การได้รบั การอา้ งองิ (Citations : 1 indi- cator) 30% 4) ความเปน็ นานาชาติ (International out- look : 3 indicators) 7.5% 5) รายได้จากการถ่ายทอดความรู้ (Knowl- edge transfer income) 2.5% โดยมหาวิทยาลัยบูรพา เป็นอันดับที่ 5 ของ มหาวทิ ยาลยั ในประเทศไทย ในดา้ นการเรยี นการสอน (Teaching) ได้รบั คะแนน 21.2 คะแนน และในภาพ รวม (Overall Ranking) อนั ดับโลกท่ี 1001+ 4 ANNUAL REPORT 2020 BURAPHA UNIVERSITY
มหาวิทยาลัยบรู พา ตดิ TOP 3 ของมหาวทิ ยาลัยไทย สาํ หรับผลงานวจิ ัยทางดา้ นเคมี Nature Index เผยแพร่ข้อมลู อนั ดับสถาบัน/องคก์ รวจิ ัย ในปี 2020 ปรากฏว่า มหาวิทยาลัยบรู พา ตดิ Top 3 ของมหาวทิ ยาลยั ในประเทศไทย สาํ หรบั ผลงานวจิ ยั ทางดา้ นเคมี จากฐานขอ้ มลู Nature Index 2020 และอยทู่ อ่ี นั ดบั 6 ของมหาวทิ ยาลยั ไทย เม่อื จัดอนั ดบั ในภาพรวมดา้ นวิจัย ผลการจัดอนั ดบั ในรายสาขาวิชาอืน่ ๆ มดี ังน้ี • สาขา Chemistry อย่ใู นอนั ดับท่ี 3 Nature Index เป็นฐานข้อมูลผลงานวิจัยที่ตีพิมพ์ในวารสารที่มี • สาขา Earth and Environmental คณุ ภาพสงู ครอบคลมุ วารสารวจิ ยั 82 วารสาร ในปี 2020 สาํ หรบั Sciences อยใู่ นอนั ดบั ที่ 4 รอบ 1 ปที ผ่ี า่ นมา นบั จากวนั ท่ี 9 มถิ นุ ายน 2019 - 31 พฤษภาคม • สาขา Physical Sciences อยูใ่ นอนั ดับ 2020 ได้มกี ารจัดอนั ดบั สถาบนั /องค์กรวจิ ยั ตา่ ง ๆ ทัว่ โลกทม่ี ผี ล ที่ 5 งานปรากฏในฐานข้อมูล Nature Index ตามจํานวน (Count) • สาขา Life Sciences อยใู่ นอนั ดับท่ี 7 และสดั สว่ นในผลงาน (Share) มหาวทิ ยาลัยบูรพา ติด TOP 10 คณะและมหาวทิ ยาลัยยอดฮติ ของ TCAS’63 รอบ 3-4 ที่ประชุมอธกิ ารบดแี ห่งประเทศไทย เปิดสถติ กิ ารคดั เลอื กบุคคลเขา้ ศกึ ษาในระดบั อดุ มศึกษา TCAS’63 รอบ 3-4 โดยมหาวทิ ยาลัยบรู พามีคณะที่ได้รับความนยิ มติดอนั ดบั TOP 10 ท่ีมผี ้สู มคั รมากที่สดุ ดงั น้ี TCAS รอบ 3 อันดบั ที่ 1 คณะพยาบาลศาสตร์ หลักสูตรพยาบาลศาสตรบณั ฑิต พย.บ. อนั ดับที่ 6 คณะสหเวชศาสตร์ หลกั สูตรวิทยาศาสตรบัณฑิต เทคนคิ การแพทย์ วท.บ. อันดบั ท่ี 7 คณะมนุษยศาสตรแ์ ละสังคมศาสตร์ หลักสูตรศิลปศาสตรบัณฑิต ภาษาองั กฤษ ศศ.บ. TCAS รอบ 4 อันดบั ท่ี 2 คณะพยาบาลศาสตร์ หลกั สูตรพยาบาลศาสตรบัณฑติ พย.บ. อันดบั ที่ 3 คณะรฐั ศาสตรแ์ ละนิตศิ าสตร์ หลกั สูตรรัฐประศาสนศาสตรบัณฑิต การบรหิ ารทอ้ งถน่ิ รป.บ. อนั ดับที่ 6 คณะมนุษยศาสตรแ์ ละสังคมศาสตร์ หลกั สูตรนเิ ทศศาสตรบัณฑติ นศ.บ. อันดับท่ี 8 คณะเภสัชศาสตร์ หลกั สูตรเภสชั ศาสตรบณั ฑิต ภ.บ. รายงานประจ�ำ ปี 2563 5 ม ห า วิ ท ย า ลั ย บู ร พ า
1 ตำ�บล 1 มหาวทิ ยาลัย การสง่ เสรมิ ด�ำ เนนิ งานทส่ี อดรบั กบั ยทุ ธศาสตรม์ หาวทิ ยาลยั ในดา้ นการมสี ว่ นรว่ มและการรบั ผดิ ชอบตอ่ สงั คม มหาวิทยาลัยบูรพาพร้อมเดินหน้าโครงการยกระดับเศรษฐกิจและสังคมรายตำ�บลแบบบูรณาการ หรือ 1 ตำ�บล 1 มหาวทิ ยาลัย ขานรับนโยบายจากกระทรวงการอุดมศกึ ษา วทิ ยาศาสตร์ วิจัยและนวตั กรรม (อว.) น�ำ ไปส่กู ารจ้างงาน ในกิจกรรมพัฒนาต่าง ๆ ของแต่ละตำ�บล อาทิ การสร้างและพัฒนาอาชีพใหม่ การพัฒนาการท่องเที่ยวชุมชน การ สรา้ งความเขม้ แขง็ ใหว้ สิ าหกิจชุมชน การฟน้ื ฟสู ่งิ แวดลอ้ ม เปน็ ตน้ รวมทั้งเกบ็ ขอ้ มลู ในชมุ ชนเพอื่ ทำ� Big Data มาใช้ ในการวเิ คราะหแ์ ละก�ำ หนดรปู แบบการแกป้ ญั หาในแตล่ ะชมุ ชนใหแ้ กน่ สิ ติ นกั ศกึ ษา บณั ฑติ จบใหม่ รวมถงึ ประชาชน จ�ำ นวน 60,000 คน โครงการ 1 ตาํ บล 1 มหาวิทยาลยั นับเปน็ กลไกสําคัญในการปรับเปลย่ี นมหาวทิ ยาลัยไทย เพื่อสนบั สนุนการ สรา้ งความเขม้ แขง็ ทางเศรษฐกจิ และสงั คมแกช่ มุ ชนทอ้ งถน่ิ ทม่ี หาวทิ ยาลยั ตง้ั อยู่ ปรบั เปลย่ี นบทบาทของมหาวทิ ยาลยั เพอ่ื การพฒั นาทอ้ งถนิ่ อยา่ งแทจ้ รงิ มหาวทิ ยาลยั บรู พาจงึ มงุ่ เนน้ พฒั นาเพอื่ ตอบโจทยต์ ามแนวทางโครงการ 1 ต�ำ บล 1 มหาวทิ ยาลยั และเพอ่ื ใหส้ มกบั ปณธิ านของมหาวทิ ยาลยั ทวี่ า่ “ขมุ ปญั ญาตะวนั ออก เพอื่ อนาคตของแผน่ ดนิ ” พรอ้ มมี สว่ นในการพฒั นาอนาคตของชาติ ใชค้ วามรู้ ความเชย่ี วชาญในทกุ สว่ นงาน เพอ่ื พฒั นาชมุ ชนและใหช้ มุ ชนพง่ึ พาตวั เอง ไดอ้ ยา่ งแทจ้ รงิ ดงั นนั้ บณั ฑติ ประชาชน และนกั ศกึ ษาทกุ คนในต�ำ บลทไ่ี ดร้ บั การจา้ งงาน จะไดเ้ ขา้ รว่ มพฒั นาทกั ษะทงั้ 4 ดา้ นก่อน คือ ด้านดิจิทลั ด้านการวางแผนการเงนิ ของคน ดา้ นการพฒั นาทักษะของชมุ ชน และดา้ นภาษาอังกฤษ กอ่ นทจ่ี ะเขา้ ไปพฒั นาชุมชนทีก่ �ำ หนดไว้ เพ่ือให้เกิดประสิทธภิ าพสูงสดุ โดยแบ่งการดำ�เนนิ งานเปน็ 3 ระยะ ดงั น้ี 6 ANNUAL REPORT 2020 BURAPHA UNIVERSITY
โครงการ อว. สรา้ งงาน ระยะที่ 1 รองรบั ผทู้ ่ไี ดร้ ับผลกระทบจากสถนการณ์โควดิ -19 รวมไปถึงเป็นการเสริม สร้างศักยภาพ พัฒนาทกั ษะการท�ำ งานในดา้ นต่าง ๆ ให้กับบณั ฑติ ประชาชน หรอื นักศึกษา เป็นการดำ�เนินงานใน ลกั ษณะการช่วยงานและถา่ ยทอดองคค์ วามรู้ เทคโนโลยี และนวตั กรรมของหนว่ ยงานให้แก่ชุมชนในพน้ื ทีเ่ ปา้ หมาย โครงการ อว. สรา้ งงาน ระยะที่ 2 มหาวทิ ยาลยั บรู พาไดม้ กี ารจา้ งงานในพน้ื ทภ่ี าคตะวนั ออกใหก้ บั ประชาชนรวม 400 คน โดยมุ่งเนน้ การเกบ็ ขอ้ มลู เชิงพนื้ ทีจ่ ากประชาชน ผู้นำ�ชุมชน หรอื หนว่ ยงานทเ่ี กย่ี วข้อง เพอื่ พฒั นาภมู ิปญั ญา นวตั กรรมในดา้ นตา่ ง ๆ อาทิ ดา้ น Smart Farming ดา้ นการสรา้ งอาชพี ดา้ นการพฒั นาเศรษฐกจิ สรา้ งสรรค์ ดา้ นการ จดั การขยะ และดา้ นอ่นื ๆ อกี มากมาย โครงการ อว. สร้างงาน ระยะที่ 3 อธิการบดีมหาวทิ ยาลัยบูรพาไดใ้ หค้ วามส�ำ คญั ตอ่ พ้ืนทภ่ี าคตะวนั ออกอยา่ ง มาก โดยมอบหมายใหส้ �ำ นกั บรกิ ารวชิ าการท�ำ หนา้ ทห่ี ลกั ในการด�ำ เนนิ โครงการดงั กลา่ ว โดยมพี นื้ ทรี่ บั ผดิ ชอบ 3 แหง่ ไดแ้ ก่ บางแสน จนั ทบรุ ี และสระแก้ว จ�ำ นวน 104 ต�ำ บล เกดิ การจา้ งงานกวา่ 2,000 ตำ�แหน่ง อกี ทัง้ ยงั รับผดิ ชอบ ดแู ลเครือขา่ ยภาคตะวนั ออกอกี 4 สถาบันการศึกษา รายงานประจ�ำ ปี 2563 7 ม ห า วิ ท ย า ลั ย บู ร พ า
ศูนยก์ ารเรียนรูร้ ะบบอตั โนมัติ Automation Park เม่อื วนั ศุกรท์ ี่ 18 กนั ยายน พ.ศ.2563 ได้จัดงานแถลงขา่ วแถลงความรว่ มมือผลกั ดนั EEC Automation Park โดยมหาวิทยาลัยบูรพา เป็นศูนย์กลางพัฒนาเทคโนโลยีรองรับโรงงานอุตสาหกรรมการผลิตยุค 4.0 เพ่ือแสดงความ รว่ มมอื ของสถาบนั การศกึ ษา หนว่ ยงานรฐั และบรษิ ทั เอกชน โดยมหี นว่ ยงานและองคก์ รภาครฐั และเอกชน และภาค อุตสาหกรรม เข้าร่วมมากกว่า 80 แห่ง ท้ังน้ี ศูนย์การเรียนรู้ระบบอัตโนมัติ เป็นศูนย์กลางการพัฒนากำ�ลังคนด้าน อตั โนมตั แิ ละหนุ่ ยนตท์ สี่ อดคลอ้ งกบั อตุ สาหกรรม 4.0 โดยปจั จบุ นั ประเทศไทยยงั มบี คุ ลากรทม่ี คี วามรแู้ ละมศี กั ยภาพ ด้านอุตสาหกรรม 4.0 จำ�นวนน้อย และมีเพียงการใช้เทคโนโลยีระดับเคร่ืองจักรเท่านั้น แต่ยังไม่มีการเชื่อมโยงและ วเิ คราะหข์ อ้ มลู ระดบั เครอื่ งจกั รในระดบั IT system ซงึ่ ตอ้ งมกี ารคดั กรองขอ้ มลู ทเี่ ปน็ ประโยชนต์ อ่ การน�ำ ไปใช้ ดงั นนั้ การยกระดบั การใชห้ ุน่ ยนตแ์ ละระบบอัตโนมัตขิ องภาคอตุ สาหกรรมในพ้ืนที่ EEC มุง่ สู่อตุ สาหกรรม 4.0 จะกอ่ ให้เกดิ การดงึ ดดู การลงทนุ ภาคอตุ สาหกรรมทใ่ี ชเ้ ทคโนโลยกี ารผลติ อตั โนมตั ิ ในพน้ื ท่ี EEC ดว้ ยความพรอ้ มดา้ นก�ำ ลงั คนและ การผลติ ก�ำ ลงั คนอยา่ งตอ่ เนอ่ื ง อกี ทงั้ ยงั เชอ่ื มโยงการศกึ ษาขนั้ พนื้ ฐาน อาชวี ะ และอดุ มศกึ ษา เพอื่ ยกระดบั มาตรฐาน การศกึ ษาด้านหุน่ ยนตแ์ ละระบบอตั โนมตั ิ ของสถาบนั การศกึ ษาในพนื้ ที่ EEC นอกจาก EEC Automation Park เปน็ หนว่ ยงานทเี่ ปน็ ศนู ยก์ ลางการพฒั นาก�ำ ลงั คน นวตั กรรม และการเรยี นรู้ Automation and Robotics ในเขตพนื้ ที่ EEC แล้ว ยังเป็นหน่วยงานประสานการดำ�เนนิ กจิ กรรมทเี่ กย่ี วขอ้ งกับการ พฒั นากำ�ลังคนของ EEC Automation and Robotics Network โดย EEC Automation Park ดำ�เนนิ กิจกรรมและ การทำ�งานเชิงรุกเพ่ือผลิตบุคลากรท่ีตรงต่อความต้องการของอุตสาหกรรมใหม่ แบ่งการทำ�งานออกเป็น 3 กิจกรรม หลกั ดังน้ี 1. ศนู ยจ์ ดั การเรยี นรู้ Automation park หรอื Learning Center ประกอบไปดว้ ย การเรยี นรู้ Smart factory model line, Co-working space และ Fabrication laboratory โดย Smart Factory-Model Line ทต่ี ิดตั้งใน learning Center Hall ของ Automation Park เป็นเคร่ืองจกั รสายการผลติ ขนาดยอ่ มทใี่ ชเ้ ทคโนโลยตี ามแนวทาง Industry 4.0 ผสมผสานการนาํ เทคโนโลยีดา้ นระบบอัตโนมตั ิโรงงาน (Factory Automation) และเทคโนโลยดี า้ น สารสนเทศ (Information Technology) เขา้ ดว้ ยกนั โดยเซลลก์ ารผลติ และ Robot AGV สามารถสอื่ สารกนั เอง จนได้ ผลติ ภณั ฑส์ มบรู ณต์ ามออเดอรท์ ส่ี ง่ั ผา่ นหนา้ จอแทป็ เลต็ และดว้ ยเทคโนโลยกี ารผลติ ใหมน่ ี้ จะมกี ารสง่ ผา่ นขอ้ มลู ผา่ น ระบบ Could เพอ่ื มอนิเตอร์ข้อมูลแบบ Real time ซึ่งตอ่ ยอดงานด้าน Data Science ในการทํา Data Analytics ทบี่ คุ ลากรดา้ นห่นุ ยนตแ์ ละระบบออโตเมชั่น 8 ANNUAL REPORT 2020 BURAPHA UNIVERSITY
ควรเรียนรู้และทําความเข้าใจให้รู้จริง เพราะต่อไปรูปแบบการผลิตโดยใช้เทคโนโลยีน้ีจะเป็นต้นแบบให้กับ โรงงานอตุ สาหกรรม ทจ่ี ะสามารถนาํ ขอ้ มลู ทหี่ ลากหลายมาผสมผสานเพอ่ื การตดั สนิ ใจในการวางแผนในกระบวนการ ผลิต การซ่อมบาํ รงุ เครือ่ งจักร เพอื่ บรหิ ารจดั การงานไดอ้ ยา่ งรวดเร็ว ส่งผลใหค้ วบคมุ และลดต้นทนุ การผลติ ไดอ้ ย่าง เห็นผล ส่วนพน้ื ที่ Co-working space จะเปดิ ใหเ้ ปน็ พืน้ ทส่ี ําหรับ ผูป้ ระกอบการ SME ภาคอตุ สาหกรรม, Systems Integrator และกลมุ่ Startup เขา้ มาใชเ้ พอื่ ประกอบกจิ กรรม เชน่ การเจรจา ทางธรุ กจิ และความรว่ มมอื การเชา่ พนื้ ที่ ดาํ เนนิ กจิ กรรมทางธรุ กจิ การพฒั นาผลติ ภณั ฑร์ ว่ มกบั กลมุ่ ผเู้ ชยี่ วชาญของ Automation Park และเครอื ขา่ ย เปน็ ตน้ สาํ หรบั พืน้ ที่ Fabrication Laboratory จัดเป็นพน้ื ทีบ่ ่มเพาะทกั ษะและความรดู้ า้ นการขึน้ รูปชน้ิ งานต้นแบบรวมไป ถงึ ความรดู้ า้ นระบบสมองกลฝงั ตวั (Embedded System) เพอ่ื พฒั นาศกั ยภาพ นกั เรยี น นกั ศกึ ษา และบคุ คลทสี่ นใจ 2. ศนู ยฝ์ กึ อบรม Automation park หรอื Training center ประกอบไปดว้ ยกิจกรรมการอบรมทีเ่ ป็น Short Course ในรูปแบบธนาคารหน่วยกิต หรอื Credit bank โดยปจั จบุ นั ไดเ้ ปดิ อบรมไปแล้วโดยใชพ้ ืน้ ท่ีของอาคารคณะ วศิ วกรรมศาสตร์ ซ่งึ มุ่งเนน้ ผลลพั ธก์ ารเรยี นรู้ หรือ learning outcome ทางด้าน Industry 4.0 หรอื e-Factory โดยในสว่ นนไี้ ดร้ ว่ มมอื อย่างใกลช้ ิดกบั บรษิ ัท มติ ซบู ิชิ อเิ ล็คทริค ซึ่งการฝึกอบรมทักษะทเี่ กดิ ขึ้นนี้ ครอบคลมุ ต้งั แต่ ระดบั Shop floor จนถึงระดับ IT system โดยแบง่ เปน็ 1) หลกั สตู รมาตรฐานของบรษิ ทั มติ ซบู ชิ ิ แฟคทอร่ี ออโตเมชน่ั (ประเทศไทย) จาํ กดั จาํ นวน 24 หลกั สตู ร 2) หลักสูตรท่ีตอบสนองความต้องการของภาคอุตสาหกรรม (Customized course) ที่เน้นการใช้ งานอุปกรณ์จริง โดยจัดรวมโมดูลการเรียนรู้ ท่ีจําเป็น สําหรับประยุกต์ใช้ในงานต่างๆ ตามความต้องการของภาค อตุ สาหกรรม 3) หลักสูตร Related skill ทเ่ี กยี่ วขอ้ งกบั โรงงานอัตโนมตั ิ เชน่ การออกแบบเคร่อื งจักร การลดของเสยี ในอุตสาหกรรม เปน็ ต้น กล่มุ เปา้ หมายของผเู้ ข้าอบรม นอกจากจะเปน็ กําลังคนจากภาคอุตสาหกรรมแลว้ Automation Park มองถึง กําลังคนรนุ่ ใหมข่ องประเทศ ไดแ้ ก่ นกั เรยี นระดบั มธั ยมศกึ ษา นกั ศกึ ษาทง้ั ระดบั อาชวี ศกึ ษาและระดับมหาวิทยาลัย เพือ่ วางรากฐานความรูด้ า้ นระบบอตั โนมตั ิโรงงานและการวิเคราะห์ขอ้ มูลทส่ี อดคล้องตอ่ Industry 4.1 อยา่ งแทจ้ ริง 3. ศนู ยเ์ ครอื ขา่ ยความรว่ มมอื Co-working space เปน็ หนว่ ยงานประสานความรว่ มมอื เครอื ขา่ ยสถาบนั พฒั นา กาํ ลงั คนดา้ น Automation ดว้ ยการรว่ มจดั กจิ กรรมการเรยี นรทู้ เี่ กย่ี วกบั Industry 4.0 การจดั คอรส์ ฝกึ อบรมรว่ มกนั การแลกเปลย่ี นชดุ อปุ กรณแ์ ละเครอ่ื งมอื (Share facilities) การแลกเปลยี่ นวทิ ยากร (Trainer) การสรา้ งงานวจิ ยั และ นวัตกรรม และการสร้างศูนย์กลางข้อมูล (Data Center) ต้านระบบอัตโนมัติและหุ่นยนต์ในเขตพื้นที่ EEC ด้วย โดยปัจจุบันอยู่ในขั้นตอนการหารือความร่วมมือกับกลุ่มผู้ประกอบการระบบอัตโนมัติและหุ่นยนต์ไทย หรือ TARA โดยจะมีการลงนามความร่วมมือในช่วงเดอื นตลุ าคม พ.ศ. 2563 รายงานประจำ�ปี 2563 9 ม ห า วิ ท ย า ลั ย บู ร พ า
มหาวทิ ยาลยั บรู พา เปน็ เจา้ ภาพสมั มนาแลกเปลย่ี นความคดิ เหน็ เกยี่ วกบั ขอ้ มลู เชงิ พน้ื ทีใ่ นมหาวิทยาลัย กลุ่มภาคตะวันออก วันศุกร์ที่ 22 พฤศจิกายน พ.ศ. 2562 ณ ห้องประชุมเทาทอง ศูนย์ปฏิบัติการโรงแรม มหาวิทยาลัยบูรพา พลอากาศเอกประจิน จ่ันตอง ประธานคณะกรรมาธิการการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม วุฒิสภา ในโอกาสเป็นประธานในการสัมมนาแลกเปลี่ยนความคิดเห็นเก่ียวกับข้อมูลเชิงพ้ืนที่ในมหาวิทยาลัยกลุ่มภาค ตะวนั ออก ซง่ึ มภี ารกจิ ในการพจิ ารณารา่ งพระราชบญั ญตั ิ กระท�ำ กจิ การพจิ ารณาสอบหาขอ้ เทจ็ จรงิ หรอื ศกึ ษาเรอ่ื งใด ๆ ที่เกี่ยวกับการอุดมศึกษา ความเป็นอิสระทางวิชาการของสถาบันอุดมศึกษา การบริหาร การส่งเสริม การสนับสนุน และการพฒั นาดา้ นวทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี การวจิ ยั และการสรา้ งสรรคน์ วตั กรรม พจิ ารณาศกึ ษา ตดิ ตาม เสนอแนะ และเรง่ รดั การปฏริ ปู ประเทศ และแผนแมบ่ ทภายใต้ ยทุ ธศาสตร์ ทอี่ ยใู่ นหน้าทแ่ี ละอำ�นาจ และอ่ืน ๆ ท่เี ก่ยี วขอ้ ง ในโอกาสนี้ รองศาสตราจารย์ ดร.วชั รนิ ทร์ กาสลัก ผรู้ ักษาการแทนอธิการบดี และคณะผบู้ รหิ ารมหาวทิ ยาลัย บูรพาร่วมสัมมนากับคณะกรรมาธิการเพ่ือให้ข้อมูลและแลกเปลี่ยนความคิดเห็นเกี่ยวกับการพัฒนาการอุดมศึกษา ในพื้นที่และนำ�เสนอแผนการดำ�เนินงานของมหาวิทยาลัยในระยะ 5 ปี และแนวทางการดำ�เนินการท่ีเกี่ยวข้องต่อที่ ประชุมดว้ ย 10 ANNUAL REPORT 2020 BURAPHA UNIVERSITY
มหาวทิ ยาลยั บูรพา กบั การแกป้ ญั หา COVID รายงานประจ�ำ ปี 2563 11 ม ห า วิ ท ย า ลั ย บู ร พ า
มหาวทิ ยาลัยบรู พา จัดสรรงบประมาณจาํ นวน 220 ลา้ นบาท เพื่อให้การช่วยเหลือนสิ ติ จากสถานการณ์การแพร่ระบาดของเชอื้ ไวรสั COVID-19 มหาวิทยาลัยบูรพา ได้คํานึงถึงผลกระทบทางเศรษฐกิจที่สืบเนื่องจากสถานการณ์การแพร่ระบาดของเชื้อ ไวรัส COVID-19 จึงจดั สรรงบประมาณจาํ นวน 220 ล้านบาท เพ่ือใหก้ ารชว่ ยเหลอื นสิ ติ ในช่วงภาคเรียนที่ 1/2563 ไดแ้ ก่ 1) การลดค่าเทอม 10% ใหแ้ กน่ สิ ติ ทุกระดับปรญิ ญา ทุกหลักสตู ร ทกุ รายการ 2) การลดค่าหอพัก นิสิตภายในมหาวิทยาลัย 20% 3) ทุนส่งเสริมการศึกษานิสิตระดับปริญญา ตรีทุกหลักสูตร เพ่ือช่วยบรรเทาความเดือดร้อนจากการได้รับ ผลกระทบจาก สถานการณ์ COVID-19 จํานวน 10,000 ทุน 4) สาํ นกั คอมพวิ เตอร์ พฒั นาระบบเพอื่ รองรบั การเรยี นการสอนออนไลนโ์ ดยคาํ นงึ ถงึ การไดร้ บั ประโยชนส์ งู สดุ ของคณาจารย์ บคุ ลากร และนสิ ติ 5) กองทุนอบุ ัตภิ ัยสาํ หรับ นิสติ ช่วยเหลอื กรณี COVID-19 6) มหาวทิ ยาลยั ไดด้ าํ เนนิ การดา้ นโครงสรา้ ง พน้ื ฐานรองรบั มาตรการความปลอดภยั ในสถานการณ์ COVID-19 และ 7) บริการ Internet Package สําหรับนิสิตที่ขาดแคลน และมีความจําเป็น ต้องเรียนในรูปแบบออนไลน์ เนือ่ งจากสถานการณ์ COVID-19 กองทะเบียนและประมวลผลการศึกษา ได้มีการขยายเวลาการลงทะเบียนล่าช้าออนไลน์สําหรับภาคฤดูร้อน ปีการศึกษา 2562 โดยไม่ต้องเสียค่าปรับไปจนถึงวันที่ 23 เมษายน 2563 และ ผู้ท่ีสําเร็จการศึกษาในปีการศึกษา 2562 ทีอ่ นุมัตจิ บระหวา่ ง วันที่ 16 ธันวาคม 2562 ถงึ 24 เมษายน 2563 ทางกองทะเบยี นและประมวลผลการศึกษา จะจดั สง่ ใบรับรองคณุ วุฒแิ ละ transcript ทางไปรษณยี ์ดว่ นพเิ ศษในประเทศ (ems) ฟรี ทส่ี าํ คญั มหาวทิ ยาลยั บรู พา มกี องทนุ อบุ ตั ภิ ยั สาํ หรบั นสิ ติ ซงึ่ ครอบคลมุ อบุ ตั ภิ ยั ทเ่ี กดิ จากอบุ ตั เิ หตุ ภยั ธรรมชาติ ลา่ สดุ ไดป้ รบั ใหค้ รอบคลมุ ภยั จาก โรคระบาดรา้ ยแรงตามประกาศกระทรวงสาธารณสขุ โดยในสถานการณท์ ม่ี กี ารแพรร่ ะบาดของเชอ้ื ไวรสั COVID-19 นนั้ ในกรณที น่ี สิ ติ ตดิ เชอ้ื ไวรสั COVID-19 มหาวทิ ยาลยั จะชดเชยคา่ ใชจ้ า่ ยในการดแู ลนสิ ติ ระหวา่ งการรกั ษาทนั ที 10,000 บาท หากนิสิตเสยี ชวี ิต มหาวิทยาลัยจะจ่ายค่าจัดการงานศพและคา่ ปลงศพ 100,000 นอกจากน้ี ถา้ ผปู้ กครองของ นิสิตเสียชีวิตจากโรคระบาดร้ายแรง ทางมหาวิทยาลัยยังมีเงินช่วยเหลือโดยมีอัตรากําหนดไว้สําหรับพ่อและแม่ที่ เสียชีวติ คนละ 10,000 บาท ด้วย นอกจากนน้ั มหาวทิ ยาลยั บรู พายงั เพม่ิ เตมิ สทิ ธปิ ระกนั กลมุ่ สวสั ดกิ ารของบคุ ลากร ปี 2563 โดย บรษิ ทั เมอื งไทย ประกนั ชีวติ จ�ำ กัด (มหาชน) มอบความคุ้มครองกรณตี ิดเชอื้ หรอื เสียชวี ิต จากไวรสั COVID-19 รับคา่ ชดเชยรายวัน เม่ือตอ้ งรักษาตัวในโรงพยาบาล 1,000 บาท/วนั ไม่เกนิ 30 วนั หรอื หากเสียชวี ติ ไดร้ ับชดเชย 100,000 บาท 12 ANNUAL REPORT 2020 BURAPHA UNIVERSITY
รายงานประจำ�ปี 2563 13 ม ห า วิ ท ย า ลั ย บู ร พ า
นวตั กรรมสู่สงั คม คณะวศิ วกรรมศาสตร์ ผลติ ตูค้ วามดับลบ สู้ COVID-19 ผชู้ ว่ ยศาสตราจารย์ ดร.ภาวณิ ี ศกั ดสิ์ นุ ทรศริ ิ อาจารยป์ ระจ�ำ ภาควชิ าวศิ วกรรมเครอื่ งกล คณะวศิ วกรรมศาสตร์ หัวหน้าโครงการผลิตตู้ความดันลบสู้ภัย COVID-19 และทีมงาน โดยร่วมมือกับวิศวกรรมสถานแห่งประเทศไทยใน พระบรมราชูปถัมภ์ พัฒนาและผลิตตู้ความดันลบสำ�หรับครอบเตียงคนไข้ COVID-19 เพ่ือป้องกันการแพร่กระจาย ของเชือ้ และปกปอ้ งบุคลากรทางการแพทย์จากการติดเชือ้ โดยจะผลิตจำ�นวน 100 ตู้ เพ่อื แจกจ่ายใหก้ ับโรงพยาบาล ทไี่ มม่ หี ้องความดันลบหรือมไี มเ่ พียงพอ ในพื้นทภ่ี าคตะวนั ออก โดยได้รับการสนับสนุนจากกลุ่มนิคมอุตสาหกรรมฉะเชิงเทรา บลูเทค ซิตี้ โดยมีนางสาวกุลพรภัสร์ วงศม์ าจารภญิ ญา เปน็ ตวั แทนในการมอบเงนิ จ�ำ นวน 1,000,000 บาท เพอ่ื สนบั สนนุ สรา้ งตคู้ วามดนั ลบ พรอ้ มดว้ ย บมจ. แอดวานซ์อินโฟร์เซอร์วิส บริษัท ADVANCE METAL SERVICE (AMS) และประชาชนทั่วไปร่วมสมทบทุน เพือ่ มอบใหโ้ รงพยาบาลตา่ ง ๆ ในการดแู ลผตู้ ิดเชอื้ โควิด- 19 ซึง่ ทางคณะวศิ วกรรมศาสตร์ พรอ้ มกบั คณาจารย์ของ มหาวิทยาลัยบรู พาสร้างข้นึ มา โดยมีราคาต้นทนุ ถูกกวา่ เครอ่ื งมอื แพทยท์ ่ีสง่ั เขา้ มาจากต่างประเทศ 14 ANNUAL REPORT 2020 BURAPHA UNIVERSITY
คณะวิศวกรรมศาสตร์ ผลิตนาํ้ ยาฆ่าเชอ่ื แจกชมุ ชนสู้ COVID – 19 ภาควชิ าเคมี คณะวิศวกรรมศาสตร์ ผลิตน้ํายาฆ่าเชือ่ แจกชุมชนสู้ COVID – 19 ในสถานการณ์ที่แอลกอฮอล์ค่อนข้างจำ�เป็นและหายาก ภาควิชาเคมี คณะวศิ วกรรมศาสตร์ มเี ครอื่ งกลน่ั แอลกอฮอลอ์ ยแู่ ลว้ เพอ่ื ใชใ้ นการเรยี นการสอน ของนิสิต ผูช้ ว่ ยศาสตราจารย์ ดร.มัทนา สนั ทัสะโชค หวั หนา้ ภาควิชาวศิ วกรรม เคมี จึงได้ปรึกษากับทีมคณาจารย์และนักวิทยาศาสตร์ เพ่ือใช้เคร่ืองน้ีให้เป็น ประโยชนม์ ากทส่ี ดุ ไดท้ ดสอบกลน่ั แอลกอฮอล์ โดยสามารถกลน่ั ไดม้ ากประมาณ 75% เปน็ มาตรฐานสามารถฆา่ เชอื้ ได้ กลน่ั ไดป้ ระมาณครง้ั ละ 4 ลติ ร สารเรม่ิ ตน้ ท่ี ภาควิชาใช้คือกากนํ้าตาล ตัวน้ีจะกลั่นแป้ง ซ่ึงภาควิชาได้ผลิตไปหลายชุดแล้ว ที่ผลิตก่อนหน้าน้ีเป็นแอลกอฮอล์สูตรน้ําที่ใช้ล้างมือที่ทำ�เป็นเจล แต่หลังจาก เหตุการณร์ นุ แรงขึ้น Ethanol น้นั ขาดตลาด จากนน้ั เราจงึ น�ำ มากลนั่ เอง ซง่ึ กล่นั คร้ังแรกได้ปริมาณไม่มาก ต้องมีการหมักนํ้าตาลก่อน ใช้เวลาประมาณ 14 วัน และตอนนี้เริ่มกลั่นได้เรื่อย ๆ หลังจากนี้นํ้าตาลที่เราหมักไว้สามารถนำ�มาผลิต ไดเ้ รอ่ื ย ๆ และคดิ วา่ นา่ จะเพยี งพอในชว่ งเวลาน้ี แอลกอฮอล์ 2 ตวั คอื Ethanol และ Isopropanol ซง่ึ การผลติ แอลกอฮอลข์ องภาควชิ านี้ ท�ำ ตามเกณฑม์ าตรฐาน ท่ัวไปอยู่แล้ว ซ่ึงเราไม่ได้ผลิตเพ่ือจำ�หน่าย แต่เพ่ือการแบ่งปันไว้ใช้ภายใน มหาวิทยาลยั บรู พา และแบง่ ปันชุมชนรอบขา้ งมหาวทิ ยาลัย รายงานประจ�ำ ปี 2563 15 ม ห า วิ ท ย า ลั ย บู ร พ า
สถานภาพปจั จุบันของมหาวทิ ยาลัยบูรพา มหาวิทยาลัยบูรพา ก่อต้ังมาแล้ว 64 ปี โดยเร่ิมต้ังแต่เป็น วิทยาลัยวิชาการศึกษาบางแสน มหาวิทยาลัย ศรนี ครนิ ทรวโิ รฒ วิทยาเขตบางแสน และมหาวทิ ยาลัยบูรพา ปจั จุบนั มีพืน้ ท่ตี งั้ 3 แหง่ ประกอบดว้ ย มหาวิทยาลยั บรู พา จังหวดั ชลบุรี วทิ ยาเขตจันทบรุ ี และวิทยาเขตสระแกว้ มี 34 ส่วนงาน ใหบ้ รกิ ารการศึกษาในระดับข้ันพน้ื ฐาน และระดบั อดุ มศกึ ษา และในปกี ารศกึ ษา 2563 มหาวทิ ยาลยั บรู พาตดิ อนั ดบั ความนยิ ม Top 10 สาขาทมี่ คี นสมคั รมาก ทสี่ ุดใน TCAS’63 รอบที่ 3 - 4 โดยคณะพยาบาลศาสตร์ ไดร้ ับความนิยมในอนั ดับท่ี 1 สาขาวชิ าเทคนคิ การแพทย์ คณะสหเวชศาสตร์ ได้รบั ความนยิ มในอันดับท่ี 6 และสาขาวิชาภาษาอังกฤษ คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ ได้ รบั ความนิยมในอนั ดับที่ 7 ประวัติมหาวิทยาลัยบูรพา ความเปน็ มากอ่ นทจ่ี ะมาเปน็ มหาวทิ ยาลยั บรู พา เรมิ่ ในปี พ.ศ. 2492 กระทรวงศกึ ษาธกิ ารไดจ้ ดั ตง้ั โรงเรยี นฝกึ หดั ครูช้ันสูงขึ้นที่ซอยประสานมิตร อำ�เภอพระโขนง จังหวัดพระนคร จนถึงปี พ.ศ. 2497 จึงได้รับการยกฐานะข้ึนเป็น “วิทยาลัยวิชาการศึกษา ประสานมติ ร” ตอ่ มาในปี พ.ศ. 2498 ได้ขยายวทิ ยาเขต ออกไปอีก 2 แห่ง ได้แก่ วิทยาลัย วชิ าการศกึ ษาปทมุ วนั และวทิ ยาลยั วชิ าการศกึ ษาบางแสน ในสว่ นของวทิ ยาลยั วชิ าการศกึ ษาบางแสนไดม้ กี ารวางศลิ า ฤกษ์ ในวนั ที่ 8 กรกฎาคม 2498 ที่ตำ�บลแสนสุข อำ�เภอเมอื ง จังหวดั ชลบุรี นบั แตน่ นั้ มาวันท่ี 8 กรกฎาคม ของทุก ปีจงึ เป็นวนั คล้ายวนั สถาปนามหาวิทยาลยั เรยี กวา่ วนั “แปดกรกฎ” วทิ ยาลัยวชิ าการศึกษาบางแสน จงึ เปน็ สถาบนั อุดมศกึ ษาแหง่ แรกของประเทศที่ไดจ้ ดั ต้ังข้ึน ในส่วนภมู ภิ าค สังกัดกรมการฝกึ หดั ครู กระทรวงศกึ ษาธกิ าร โดยเปดิ สอนหลักสูตรการศึกษาบณั ฑติ (กศ.บ.) หลกั สตู ร 4 ปี ตอ่ มาเมอื่ วนั ท่ี 1 กรกฎาคม พ.ศ. 2499 วทิ ยาลยั วชิ าการศกึ ษาบางแสนไดร้ บั โอน “โรงเรยี นพบิ ลู บ�ำ เพญ็ ” สงั กดั กรมสามญั ศกึ ษา ซงึ่ ตงั้ อยทู่ ตี่ �ำ บลแสนสขุ อ�ำ เภอเมอื ง จงั หวดั ชลบรุ ี เพอื่ ปรบั ปรงุ ใหเ้ ปน็ โรงเรยี นสาธติ ของมหาวทิ ยาลยั โดยตง้ั ชอ่ื ใหมว่ า่ โรงเรียนสาธติ “พิบูลบ�ำ เพญ็ ” วทิ ยาลัยวชิ าการศกึ ษาบางแสน พ.ศ. 2501 มผี ้สู ำ�เรจ็ การศึกษาเปน็ รนุ่ แรก จ�ำ นวน 35 คน หลงั จากน้ันในปี พ.ศ. 2505 ได้เปดิ รับบคุ คลท่มี ี วฒุ ิ ป.ม. หรอื พ.ม. หรอื อ.กศ.หรอื ป.กศ.สูง หรอื เทยี บเท่า เขา้ ศึกษาเปน็ นสิ ิตภาคสมทบหลักสูตร การศกึ ษาบณั ฑติ (กศ.บ.) และในปี พ.ศ. 2514 ได้รับโอนอาคารเรียน ท่ีดนิ และสง่ิ กอ่ สร้างของวิทยาลัยบางแสน สงั กัดกรมสามญั ศึกษา ให้มาเปน็ ของวทิ ยาลัยวิชาการศึกษาบางแสน สงั กดั กรมการฝึกหดั ครู ในปี พ.ศ. 2517 วทิ ยาลยั วชิ าการศกึ ษาไดเ้ ปลยี่ นฐานะเปน็ มหาวทิ ยาลยั ศรนี ครนิ ทรวโิ รฒ ตามพระราชบญั ญตั ิ มหาวทิ ยาลยั ศรนี ครินทรวโิ รฒ ย้ายมาสงั กดั ทบวงมหาวิทยาลยั เมื่อวันที่ 27 มิถุนายน พ.ศ. 2517 ดงั น้นั วิทยาลัย วิชาการศึกษาบางแสน จึงเป็นมหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ วิทยาเขตบางแสน และได้เพิ่มสาขาวิชาในการผลิต บณั ฑติ มากข้ึน มกี ารพฒั นากจิ กรรมตามภารกจิ เจรญิ รุดหนา้ ตามล�ำ ดบั จนกระทง่ั วนั ท่ี 29 กรกฎาคม พ.ศ. 2533 จงึ ยกฐานะเปน็ มหาวทิ ยาลยั บรู พา ตามพระราชบญั ญตั มิ หาวทิ ยาลยั บรู พา พ.ศ. 2533 ซงึ่ ประกาศในราชกจิ จานเุ บกษา เล่มท่ี 107 ตอนที่ 131 16 ANNUAL REPORT 2020 BURAPHA UNIVERSITY
ตลอดเวลาทผี่ า่ นมามหาวทิ ยาลยั บรู พา ไดต้ อบสนองหลกั การทว่ี า่ การศกึ ษานนั้ ประชาชนทกุ คนตอ้ งเขา้ ถงึ อยา่ ง เท่าเทียมและท่ัวถึง จึงขยายวทิ ยาเขต 2 แห่ง คอื เมือ่ วนั ท่ี 20 มิถนุ ายน พ.ศ. 2538 ตงั้ วิทยาเขตสารสนเทศจนั ทบุรี จังหวัดจันทบุรี ตามมติคณะรัฐมนตรีขึ้นเป็นแห่งแรก เปิดการเรียนการสอน ในปีการศึกษา 2539 และในปีต่อมา วันที่ 9 กันยายน พ.ศ. 2540 จัดตั้งวิทยาเขตสารสนเทศสระแก้ว จังหวัดสระแก้ว ขึ้นเป็นแห่งที่ 2 เริ่มเปิดการเรียน การสอนในปกี ารศกึ ษา 2541 ภายหลงั ไดม้ กี ารประกาศของมหาวทิ ยาลยั ใชช้ อ่ื วา่ วทิ ยาเขตจนั ทบรุ ี และวทิ ยาเขตสระแกว้ มหาวิทยาลยั ไดม้ กี ารเปล่ยี นแปลงครัง้ สำ�คญั ในวันท่ี 10 มกราคม พ.ศ. 2551 โดยการเปลย่ี นสถานภาพจาก มหาวิทยาลัยสว่ นราชการ เป็นมหาวิทยาลัยในการกำ�กับของรัฐ ตามพระราชบญั ญัตมิ หาวิทยาลัยบรู พา พ.ศ. 2550 ประกาศในราชกิจจานเุ บกษาเลม่ ที่ 125 ตอนท่ี 5 ก ในวันท่ี 9 มกราคม พ.ศ. 2551 ก้าวแรก : วทิ ยาลัยวชิ าการศกึ ษา บางแสน (พ.ศ. 2498 - 2517) ก้าวตอ่ มา : มหาวิทยาลยั ศรนี ครินทรวิโรฒ บางแสน (พ.ศ. 2517 - 2533) ก้าวต่อมา : มหาวทิ ยาลัยบรู พา (พ.ศ. 2533 - ปจั จบุ นั ) รายงานประจำ�ปี 2563 17 ม ห า วิ ท ย า ลั ย บู ร พ า
สัญลักษณข์ องมหาวทิ ยาลยั บูรพา ตรา เครื่องหมาย หรอื สัญลักษณ์ของมหาวิทยาลัยบูรพา แบบที่ 1 แบบที่ 2 แบบท่ี 1 เป็นวงกลมซอ้ นกนั สองวง วงกลมในมีรูปเลขไทย “๙” อยตู่ รงกลาง ล้อมรอบด้วยกนก เปลวเพลงิ ด้านบนมีรัศมีประกอบแปดแฉก ด้านล่างของเลข ๙ เป็นเสน้ โคง้ สามเส้น วงกลมนอกเบ้อื งบน มคี �ำ ว่า “สโุ ข ป̣ าปฏิลาโภ” เบอื้ งล่างมีค�ำ วา่ “มหาวิทยาลัยบรู พา” แบบท่ี 2 เป็นวงกลมซอ้ นกันสองวง วงกลมในมีรปู เลขไทย “๙” อยู่ตรงกลาง ล้อมรอบด้วยกนก เปลวเพลิงด้านบนมีรัศมีประกอบแปดแฉก ดา้ นล่างของเลข ๙ เป็นเสน้ โค้งสามเสน้ วงกลมนอกเบื้องบน มคี �ำ ว่า “มหาวทิ ยาลยั บรู พา” เบื้องลา่ งมีคำ�วา่ “BURAPHA UNIVERSITY” ความหมายของตรา เครื่องหมาย หรือสัญลักษณ์ของมหาวิทยาลัย บรู พา 1. ตราเป็นรูปทรงกลม ล้อมรอบดว้ ยชื่อมหาวิทยาลยั และพทุ ธศาสนสุภาษิตประจ�ำ มหาวิทยาลัย ว่า “สุโข ป̣ าปฏลิ าโภ” มคี วามหมายวา่ ความไดป้ ัญญาให้เกดิ สุข 2. ตรงกลางเปน็ รูปเลขไทย “๙” หมายถงึ รัชสมยั ของพระบาทสมเดจ็ พระเจา้ อยูห่ วั รัชกาลที่ 9 3. มีกนกเปลวเพลิงล้อมรอบ หมายถงึ ความรุ่งโรจนแ์ ละความรุง่ เรอื ง 4. รศั มปี ระกอบมี 8 แฉก หมายถงึ จงั หวดั ในภาคตะวนั ออก 8 จงั หวดั และฐานเดมิ ทง้ั 8 วทิ ยาเขต ของมหาวิทยาลยั ศรนี ครนิ ทรวโิ รฒ 5. ด้านลา่ งเปน็ เสน้ โคง้ หมายถึง ความเคลื่อนไหวและการพัฒนาไมม่ ที ่ีสนิ้ สดุ 18 ANNUAL REPORT 2020 BURAPHA UNIVERSITY
ปณิธานมหาวทิ ยาลัยบรู พา 1. ผลติ บณั ฑิตให้มีปัญญา ใฝ่หาความรู้ และคุณธรรม 2. สรา้ งองค์ความรูใ้ หม่ เพอื่ ความเปน็ เลิศทางวชิ าการ 3. เปน็ ทีพ่ ึง่ ทางวชิ าการ สบื สานวฒั นธรรม ชี้นำ�แนวทางการพฒั นาแกส่ ังคม โดยเฉพาะ ภาคตะวันออก สปี ระจ�ำ มหาวิทยาลัย สีประจ�ำ มหาวทิ ยาลัยคอื สีเทา - ทอง สเี ทาเปน็ สขี องสมอง หมายถงึ ความเจริญทางสติปญั ญา สที อง หมายถงึ คณุ ธรรม สเี ทา - ทอง หมายความวา่ บณั ฑติ จากมหาวทิ ยาลยั บรู พาเปน็ ผกู้ อปรดว้ ยสตปิ ญั ญา และ คณุ ธรรม ตน้ ไมป้ ระจ�ำ มหาวิทยาลัย ตน้ มะพร้าว วันคลา้ ยวนั สถาปนามหาวิทยาลยั 8 กรกฎาคม (แปดกรกฎ) ปรัชญา สรา้ งเสรมิ ปัญญา ใฝห่ าความรูค้ คู่ ุณธรรม ชี้นำ�สงั คม คำ�ขวญั ความไดป้ ญั ญาให้เกิดสุข รายงานประจ�ำ ปี 2563 19 ม ห า วิ ท ย า ลั ย บู ร พ า
วิสยั ทัศน์ พนั ธกจิ ภารกิจหลกั มหาวิทยาลัยเป็นสถาบันการศึกษาและการวิจัย มีวัตถุประสงค์ให้การศึกษา ดำ�เนินการส่งเสริมงานวิจัย เพื่อสร้างและพัฒนาองค์ความรู้และเทคโนโลยี ให้บริการทางวิชาการ ทะนุบำ�รุงศาสนา ศิลปะวัฒนธรรม และ การกฬี า รวมทงั้ การสนับสนนุ กจิ กรรมของรฐั และท้องถ่นิ และการมสี ่วนรว่ มในการพัฒนาชุมชนและส่ิงแวดล้อม วสิ ัยทศั น์ มหาวทิ ยาลยั บรู พาเปน็ ขมุ ปญ ญาตะวนั ออกเพอื่ อนาคตของแผน ดนิ และไดร้ บั การจดั อนั ดบั ใหเ้ ปน็ มหาวทิ ยาลยั ที่ดีทส่ี ดุ 10 อันดบั แรกของประเทศ พันธกจิ มหาวิทยาลัยบูรพาได้กําหนดวัตถุประสงค์แห่งการก่อตั้งไว้ในมาตรา 7 และมาตรา 8 แห่ง พระราชบัญญัติ มหาวทิ ยาลัยบูรพา พ.ศ. 2550 ซ่งึ สภามหาวิทยาลัยได้ให้ความเหน็ ชอบในการนาํ สาระสําคญั ในมาตราดังกล่าวมา ประมวลและประกาศไวเ้ ปน็ พนั ธกจิ ของมหาวทิ ยาลยั ในแผนยทุ ธศาสตร์ มหาวทิ ยาลยั บรู พาเพอื่ การพฒั นามหาวทิ ยาลยั ส่คู วามเป็นเลิศ ฉบับปรบั ปรงุ ปงี บประมาณ พ.ศ. 2560 - 2563 และกรรมการปฏบิ ัติหนา้ ทแ่ี ทนสภามหาวทิ ยาลยั ได้แก้ไขเพิ่มเติมแผนยุทธศาสตร์ฉบับดังกล่าว เป็นยุทธศาสตร์มหาวิทยาลัยบูรพา เพื่อการแก้ปัญหาและพัฒนา มหาวิทยาลัยสคู่ วามเปน็ เลิศ ปงี บประมาณ พ.ศ. 2561 - 2564 ดังน้ี 1. ดําเนินการจัดการศึกษาอย่างเสมอภาคเท่าเทียม ควบคู่กับการเสริมสร้างเสรีภาพทางวิชาการ และการ ใฝ่เรียนรูต้ ลอดชวี ิตบนพนื้ ฐานของหลักคณุ ธรรม จริยธรรม และจรรยาบรรณวชิ าชีพ 2. ดําเนินการพัฒนาคุณภาพงานวจิ ัย เพอ่ื สรา้ งและพัฒนาองค์ความรูใ้ นศาสตร์แขนงต่าง ๆ และ ดําเนนิ การ ใหบ้ รกิ ารวชิ าการ และถา่ ยทอดองคค์ วามรู้ เพอื่ การพฒั นาศกั ยภาพของหนว่ ยงานภาครฐั และ ภาคเอกชน ตลอดจนสังคมชุมชน ให้สามารถรองรับการเปล่ียนแปลงและการพัฒนาท้ังด้านการเมือง เศรษฐกิจ และ สังคมท่มี ีพลวตั สูงได้อย่างมปี ระสทิ ธภิ าพ 3. ดําเนินการส่งเสริมและสนับสนุนกิจกรรมสาธารณะในรูปแบบต่าง ๆ โดยครอบคลุมการทํานุบํารุงศิลปะ วฒั นธรรม ศาสนา และการกฬี า รวมทงั้ แสดงบทบาทผนู้ าํ ในการพฒั นาสงั คม ชมุ ชน และ สง่ิ แวดลอ้ มอยา่ ง ต่อเน่ือง 4. ดําเนนิ การประสาน สรา้ งความสามัคคีระหว่างส่วนงาน ผปู้ ฏบิ ตั งิ าน สมาคมศิษยเ์ ก่า และนสิ ติ เพือ่ รว่ มกัน ขับเคลื่อนมหาวิทยาลัย ให้เป็นสถาบันการศึกษาที่เป็นประโยชน์ต่อสังคม และบรรลุเป้าหมายท่ีต้ังไว้ใน วิสัยทศั น์ 20 ANNUAL REPORT 2020 BURAPHA UNIVERSITY
ยุทธศาสตร์มหาวิทยาลยั บูรพา เพื่อให้การบริหารงานมหาวิทยาลัยบูรพาเป็นไปตามพันธกิจและวิสัยทัศน์ที่กําหนดไว้ในแผนยุทธศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา เพ่ือการแก้ปัญหาและพัฒนามหาวิทยาลัยบูรพาไปสู่ความเป็นเลิศ ปีงบประมาณ พ.ศ. 2561 – 2564 ซงึ่ ไดก้ ําหนดประเดน็ ยุทธศาสตรไ์ ว้จาํ นวน 9 ประเดน็ ดงั น้ี 1. การพัฒนาคุณภาพของบณั ฑติ 2. การพฒั นาคุณภาพการวจิ ัย และการบริการวชิ าการ 3. การพฒั นาศกั ยภาพของผ้ปู ฏบิ ตั ิงาน 4. การมสี ว่ นร่วมและการรับผิดชอบตอ่ สังคม 5. การพฒั นาประสิทธิภาพ การบรหิ ารจัดการภายใน 6. การผลกั ดนั มหาวทิ ยาลยั ใหม้ บี ทบาททสี่ าํ คญั ในการสนบั สนนุ โครงการระเบยี งเขตเศรษฐกจิ ภาค ตะวนั ออก (EEC) และนโยบายไทยแลนด์ 4.0 7. การประสานสรา้ งความสามคั ครี ะหว่างสว่ นงาน ผู้ปฏิบัติงาน ศิษย์เก่า และนิสติ 8. การพัฒนาความสามารถในการหารายได้ของมหาวิทยาลัย ให้สามารถพึ่งพาตนเองได้อย่างเพียงพอและ ย่งั ยนื 9. การพัฒนามหาวิทยาลัยสู่องคก์ รสุขภาวะ รายงานประจำ�ปี 2563 21 ม ห า วิ ท ย า ลั ย บู ร พ า
โครงสร้างการบริหารมหาวิทยาลยั บูรพา นายกสภามหาวทิ ยาลัย ศ.กติ ติคณุ ดร.สมหวัง พธิ ิยานวุ ฒั น คณะกรรมการบริหารงานบคุ คล คณะกรรมการบร ิหาร คณะกรรมการอ ุทธรณ คณะกรรมการตรวจสอบ รศ.ดร.วัชรนิ ทร กาสลกั การเงินและทรัพยสนิ รองทุกขประจาํ มหาวทิ ยาลยั รศ.ดร.ไทย ทิพยสุวรรณกลุ ประธานสภาวชิ าการ ประธานกรรมการ รศ.ดร.สุมนต สกลไชย พล.ต.ต.นพ.ชมุ ศักดิ พฤกษาพงศ ประธานกรรมการ ประธานกรรมการ หวั หนา หนวยตรวจสอบภายใน อธกิ ารบดี นางสาวชบาภรณ มาตแมน รศ.ดร.วัชรินทร กาสลัก อธิการบดี (เริ่ม 15 มิ.ย. 63) ผูรักษาการแทนอธิการบดี (ถึง 14 มิ.ย. 63) รองอธกิ ารบดี หวั หนาสํานกั งานอธกิ ารบดี รองอธิการบดีฝายวิจัยและนวัตกรรม รศ.ดร.สุกัญญา บูรณเดชาชัย ผูชวยอธกิ ารบดี รศ.ดร.จิตติมา เจริญพานชิ (ถึง 15 พ.ค. 63) รองอธิการบดีฝายวิชาการ นางสาววรรณา แนบเชย ผชู ว ยอธกิ ารบดฝี ายยกระดบั คณุ ภาพการวิจัย รศ.ดร.สมถวิล จริตควร (เริ่ม 16 พ.ค. 63) ผศ.ดร.สวามินี ธีระวฒุ ิ (เรม่ิ 1 ก.ค. 63) รองอธิการบดีฝายกิจการสภามหาวิทยาลัย ผชู ว ยอธกิ ารบดฝี า ยพฒั นานวัตกรรมและ ผูชว ยอธิการบดฝี ายบริหารและ ผศ.ดร.วิมลรตั น จตรุ านนท เครอื ขา ยวิจยั พัฒนาทรัพยากรบุคคล รองอธิการบดีฝายกิจการนิสิต ผศ.ดร.จริยาวดี สุริยพันธุ รศ.ดร.ธนวัฒน พิมลจินดา ดร.เอกวทิ ย โทปรุ นิ ทร ผชู วยอธิการบดฝี า ยพัฒนาคุณภาพ ผชู ว ยอธกิ ารบดีฝา ยความสัมพันธ รองอธิการบดีฝายบริหารยุทธศาสตรและ ผศ.ดร.ธรรมนูญ รศั มีมาสเมอื ง (เรม่ิ 1 ก.ค. 63) ระหวางประเทศ วางแผนพัฒนา ผูชว ยอธิการบดฝี ายอทุ ยานวทิ ยาศาสตร ผศ.ดร.พรรณวลัย เกวะระ (เริ่ม 1 ก.ค. 63) ผศ.ดร.ศกั ดิ์ชยั เศรษฐอนวัช ภาคตะวันออก ผชู วยอธิการบดฝี ายวิเทศสัมพันธ รองอธิการบดีฝายการคลังและทรัพยสิน ดร.ชนิ วธุ พิพฒั นภ านุกูล (เริ่ม 1 ก.ค. 63) ผศ.ดร.พรรณวลัย เกวะระ (ถึง 30 ม.ิ ย. 63) ผศ.ดร.สวุ รรณา รศั มขี วัญ ผูชวยอธิการบดีฝา ยพัฒนาหลกั สตู ร ผูชวยอธิการบดีฝา ยพัฒนาโครงสรางพ้ืนฐาน รองอธิการบดีฝายพัฒนาโครงสรางพื้นฐาน และประกันคณุ ภาพ ดร.เทยี นแกว เล่ยี มสวุ รรณ (เริ่ม 1 ธ.ค. 62) ผศ.ดร.อานนท วงษแ กว ผศ.ดร.นริ มล ปญ ญบ ศุ ยกุล (ถึง 30 มิ.ย. 63) ผชู ว ยอธกิ ารบดฝี ายบริหารภาพลกั ษณองคกร รองอธิการบดีฝายอำนวยการและสื่อสารองคกร ผูชวยอธิการบดีฝายพฒั นามาตรฐานการวจิ ยั ดร.พมิ ลพรรณ เลศิ ลำ้ (เร่มิ 1 ก.ค. 63) รศ.ดร.สกุ ญั ญา บูรณเดชาชัย (ถงึ 15 พ.ค. 63) ผศ.ดร.รชนมิ ุข หิรัญสัจจาเลศิ (ถึง 30 มิ.ย. 63) ผชู ว ยอธิการบดฝี า ยอำนวยการและ ผูรักษาการแทนรองอธิการบดีฝายกิจการ ผูชว ยอธกิ ารบดฝี ายวิชาการ เขตพัฒนาพิเศษภาคตะวันออก รศ.ดร.สุชาดา พงศกติ ตวิ บิ ูลย (เร่มิ 1 ก.ค. 63) ผศ.ดร.ณยศ คุรกุ ิจโกศล ผูชวยอธิการบดีฝายทะเบยี นและ รองอธิการบดีฝายวิทยาเขตจันทบุรี ประมวลผลการศึกษา ดร.วศนิ ยวุ นะเตมยี ผูรักษาการแทนฯ ดร.สหัทยา รัตนะมงคลกุล รองอธิการบดีฝายวิทยาเขตสระแกว ผูชวยอธิการบดีฝายกิจการนิสติ ผศ.ดร.วิชดุ า จนั ทรข า งแรม ผูรกั ษาการแทนฯ อ.เจนวิทย นวลแสง ผูชว ยอธิการบดีฝา ยการคลงั และทรพั ยสนิ ส่อื สารองคก ร อ.ภูสติ กุลเกษม ผรู ักษาการแทนฯ ผศ.จกั รกรศิ น บัวแกว (ถึง 30 มิ.ย. 63) ผชู วยอธกิ ารบดฝี ายวิทยาเขตจนั ทบรุ ี ผูชว ยอธิการบดีฝายวางแผนพัฒนา ดร.ลัญจกร สตั ยส งวน (เรมิ่ 1 ก.ค. 63) ผศ.ดร.การุณ สุขสองหอง ผูชวยอธกิ ารบดฝี ายกฎหมาย ดร.ณัฐพล ชมแสง (ถึง 30 มิ.ย. 63) ผูชวยอธกิ ารบดฝี ายวทิ ยาเขตสระแกว ผศ.ดร.ภัทรมน สาตรักษ อ.ธนพร คำวรรณ (เริม่ 1 เม.ย. 63) ดร.ชิตพล ชัยมะดนั (ถึง 30 มี.ค. 63) 22 ANNUAL REPORT 2020 BURAPHA UNIVERSITY
หวั หนาสํานักงาน สภามหาวิทยาลยั นางธนวรรณ ศกั ดากัมปนาท คณะกรรมการส งเสริม สภาวชิ าการ คณะกรรมการอนื ๆ กิจการมหาวิทยาลยั รศ.ดร.วชั รินทร กาสลกั ประธานสภาวชิ าการ ดร.บุญปลูก ชายเกตุ ประธานกรรมการ คณะกรรมการบร ิหาร รสศ.ภดรา.วพทิ นวัสักแงจาง เนอยี ม คณะกรรมการอืน ๆ มหาวิทยาลัยบูรพา ประธานสภาพนกั งาน รศ.ดร.สมนึก ธรี ะกุลพศิ ุทธิ ประธานกรรมการ (ถงึ 4 ส.ค. 62) ประธารนศก.ดรรร.มวกชั ารรินท(เรรมิ กา5สสล.กั ค. 62) คณบดี (คณะ / วิทยาลัย) ผอู าํ นวยการ (สถาบนั / สาํ นกั ) ผูอำนวยการสถาบันภาษา คณบดคี ณะการจดั การและการทองเทีย่ ว อ.ศุภฤทยั อิฐงาม (เริม่ 16 ธ.ค. 62) ดร.พรรณี พมิ าพันธศุ รี ดร.พรรณี พิมาพันธุศ รี รกั ษาการแทนฯ คณบดคี ณะดนตรีและการแสดง (ถึง 15 ธ.ค. 62) อ.สัณหไ ชญ เออ้ื ศลิ ป ผอู ำนวยการสถาบนั วทิ ยาศาสตรท างทะเล คณบดีคณะการแพทยแ ผนไทยอภัยภเู บศร คณบดีคณะวศิ วกรรมศาสตร ดร.รววิ รรณ วัฒนดิลก ผศ.ดร.มารุต ตงั้ วฒั นาชุลพี ร ผรู กั ษาการแทนฯ ผศ.ดร.ณยศ ครุ ุกิจโกศล ผอู ำนวยการสำนกั คอมพวิ เตอร (เร่ิม 3 ต.ค. 62) คณบดีคณะศิลปกรรมศาสตร อ.วทิ วัส พันธมุ จินดา นพ.วชิ าญ เกิดวิชัย (ถงึ 2 ต.ค. 62) รศ.เสกสรรค ตนั ยาภริ มย ผูอำนวยการสำนักบริการวชิ าการ คณบดคี ณะพยาบาลศาสตร คณบดคี ณะศึกษาศาสตร ดร.เกรียงศกั ด์ิ พราหมณพันธุ (ถงึ 30 พ.ค. 63) ผศ.ดร.พรชัย จลู เมตต รศ.ดร.สฎายุ ธรี ะวณชิ ตระกูล นายพีรพัฒน ม่งั ค่งั (เรมิ่ 1 มิ.ย. 63) คณบดีคณะแพทยศาสตร คณบดีคณะสหเวชศาสตร ผอู ำนวยการสำนกั หอสมดุ ผศ.นพ.ทวลี าภ ต๊นั สวสั ดิ์ (เริ่ม 1 พ.ค. 63) ผศ.ดร.มารุต ตง้ั วฒั นาชลุ ีพร อ.เหมรัศมิ์ วชริ หัตถพงศ (เรม่ิ 15 ม.ค. 63) ผศ.นพ.พสิ ิษฐ พิริยาพรรณ (ถึง 30 เม.ย. 63) คณบดีคณะสาธารณสขุ ศาสตร นางวันทนา กติ ิศรวี รพันธุ (ถงึ 14 ม.ค. 63) คณบดีคณะภมู สิ ารสนเทศศาสตร รศ.ดร.ยวุ ดี รอดจากภยั ดร.กฤษนยั น เจริญจติ ร คณบดีวิทยาลยั นานาชาติ คณบดคี ณะเทคโนโลยีทางทะเล คณบดคี ณะเภสัชศาสตร ดร.ปรญิ ญา นาคปฐม ดร.บัลลงั ก เนือ่ งแสง รศ.ดร.ภกญ.มยรุ ี ตันตสิ ิระ (เร่มิ 16 ธ.ค. 62) คณบดีคณะวทิ ยาศาสตรและศิลปศาสตร คณบดีคณะมนุษยศาสตรและสงั คมศาสตร ผศ.ดร.สวุ รรณา รัศมีขวัญ ดร.วศิน ยุวนะเตมีย ดร.สชุ าดา รัตนวาณิชย ผูรกั ษาการแทนฯ (ถึง 16 ธ.ค. 62) คณบดีคณะอญั มณี คณบดีคณะรัฐศาสตรและนิตศิ าสตร คณบดีวิทยาลัยพาณิชยศาสตร รศ.ดร.พมิ พทอง ทองนพคุณ รศ.วา ทเ่ี รือตรี ดร.เอกวิทย มณีธร ผศ.ดร.ระพีพร ศรีจำปา คณบดคี ณะเทคโนโลยกี ารเกษตร คณบดคี ณะโลจิสติกส คณบดวี ทิ ยาลยั วทิ ยาการวิจยั และ ดร.ประทปี อูปแกว (เริ่ม 3 ต.ค. 62) รศ.ดร.ณกร อนิ ทรพ ยุง วทิ ยาการปญญา ดร.ไพทลู แกว หอม (ถึง 2 ต.ค. 62) คณบดีคณะวิทยาการสารสนเทศ ผศ.ดร.ภทั ราวดี มากมี คณบดีคณะวิทยาศาสตรและสังคมศาสตร ผศ.ดร.กฤษณะ ชินสาร คณบดบี ณั ฑติ วทิ ยาลยั ผศ.ดร.วิชุดา จนั ทรข า งแรม คณบดคี ณะวิทยาศาสตร รศ.ดร.นุจรี ไชยมงคล ประธานโครงการจัดตัง้ คณะพาณิชยศาสตร ผศ.ดร.เอกรัฐ ศรสี ขุ และบริหารธุรกจิ คณบดคี ณะวิทยาศาสตรก ารกีฬา ผศ.ดร.ระพีพร ศรจี ำปา รศ.ดร.นฤพนธ วงศจ ตรุ ภัทร หมายเหตุ : เสน ทบึ ( ) แทนสายบังคบั บญั ชา เสน ประ ( - - - ) แทนสายงานทีป รกึ ษาหรอื สายประสานงาน * คณะกรรมการสงเสรมิ กจิ มหาวิทยาลยั ยงั ไมมีการแตง ตัง รายงานประจ�ำ ปี 2563 23 ม ห า วิ ท ย า ลั ย บู ร พ า
โครงสรา้ งการแบง่ สว่ นงานมหาวทิ ยาลยั บรู พา มหาวทิ ยาลัยบรู พา จังหวดั ชลบรุ ี 1 สำนักงานสภามหาวิทยาลัย นางธนวรรณ ศกั ดากมั ปนาท หัวหนาสำนักงานสภามหาวิทยาลัย 2 สำนักงานอธิการบดี 9 คณะเภสชั ศาสตร 18 คณะศึกษาศาสตร นางสาววรรณา แนบเชย รศ.ดร.ภกญ.มยรุ ี ตนั ตสิ ริ ะ รศ.ดร.สฎายุ ธรี ะวณชิ ตระกลู คณบดี คณบดี ผูรักษาการแทนหัวหนาสำนักงานอธิการบดี 19 คณะสหเวชศาสตร 10 คณะมนษุ ยศาสตรแ ละสังคมศาสตร ผศ.ดร.มารตุ ตง้ั วฒั นาชลุ พี ร (เริ่ม 16 พ.ค. 62) ดร.สชุ าดา รตั นวาณชิ ย คณบดี คณบดี รศ.ดร.สกุ ญั ญา บรู ณเดชาชยั 20 คณะสาธารณสุขศาสตร ผูรักษาการแทนหัวหนาสำนักงานอธิการบดี (ถึง 15 พ.ค. 62) 3 คณะการจัดการและการทอ งเทย่ี ว 11 คณะรฐั ศาสตรและนติ ศิ าสตร รศ.ดร.ยวุ ดี รอดจากภยั รศ.วา ทเ่ี รอื ตรี ดร.เอกวทิ ย มณธี ร ดร.พรรณี พมิ าพนั ธศุ รี คณบดี คณบดี คณบดี 21 วิทยาลัยนานาชาติ 4 คณะดนตรแี ละการแสดง 12 คณะโลจสิ ติกส ดร.ปรญิ ญา นาคปฐม อ.สณั หไ ชญ เออ้ื ศลิ ป รศ.ดร.ณกร อนิ ทรพ ยงุ คณบดี(เริ่ม 16 ธ.ค. 62) คณบดี คณบดี ผศ.ดร.สวุ รรณา รศั มขี วญั ผูรักษาการแทนฯ (ถึง 15 ธ.ค. 62) 5 คณะการแพทยแ ผนไทยอภยั ภเู บศร 13 คณะวิทยาการสารสนเทศ นพ.วชิ าญ เกดิ วชิ ยั 22 วิทยาลัยพาณิชยศาสตร ผศ.ดร.กฤษณะ ชนิ สาร ผศ.ดร.ระพพี ร ศรจี ำปา คณบดี (ถึง 2 ต.ค. 63) คณบดี ผศ.ดร.มารตุ ตง้ั วฒั นาชลุ พี ร 14 คณะวิทยาศาสตร คณบดี ผศ.ดร.เอกรฐั ศรสี ขุ ผูรักษาการแทนฯ (เริ่ม 3 ต.ค. 62) 23 วทิ ยาลยั วทิ ยาการวจิ ัยและ 6 คณะพยาบาลศาสตร คณบดี วิทยาการปญญา ผศ.ดร.พรชยั จลู เมตต 15 คณะวิทยาศาสตรการกีฬา ผศ.ดร.ภทั ราวดี มากมี คณบดี รศ.ดร.นฤพนธ วงศจ ตรุ ภทั ร คณบดี 7 คณะแพทยศาสตร คณบดี 24 บณั ฑติ วทิ ยาลยั ผศ.นพ.พสิ ษิ ฐ พริ ยิ าพรรณ รศ.ดร.นจุ รี ไชยมงคล 16 คณะวศิ วกรรมศาสตร คณบดี (ถึง 30 เม.ย. 63) ผศ.ดร.ณยศ ครุ กุ จิ โกศล คณบดี ผศ.นพ.ทวลี าภ ตน๊ั สวสั ด์ิ คณบดี 25 สถาบนั วิทยาศาสตรท างทะเล คณบดี (เริ่ม 1 พ.ค. 63) ดร.รววิ รรณ วฒั นดลิ ก 17 คณะศิลปกรรมศาสตร 8 คณะภูมิสารสนเทศศาสตร รศ.เสกสรรค ตนั ยาภริ มย คณบดี ดร.กฤษนยั น เจรญิ จติ ร คณบดี คณบดี 24 ANNUAL REPORT 2020 BURAPHA UNIVERSITY
จังหวัดจนั ทบรุ ี จงั หวัดสระแกว 1 คณะเทคโนโลยีทางทะเล 1 คณะเทคโนโลยกี ารเกษตร ดร.บลั ลังก เนอื งแสง ดร.ประทปี อปู แกว คณบดี คณบดี (เริ่ม 3 ต.ค. 62) 2 คณะวทิ ยาศาสตรและศลิ ปศาสตร ดร.ไพทลู แกวหอม ดร.วศนิ ยวุ นะเตมยี คณบดี (ถึง 2 ต.ค. 62) คณบดี 2 คณะวิทยาศาสตรและสังคมศาสตร 3 คณะอญั มณี ผศ.ดร.วิชดุ า จนั ทรขา งแรม รศ.ดร.พิมพท อง ทองนพคณุ คณบดี คณบดี 3 โครงการจดั ตง้ั คณะพาณชิ ยศาสตร 26 สถาบนั ภาษา ผศ.ดร.พรรณี พมิ าพนั ธศุ รี และบรหิ ารธรุ กิจ ผูรักษาการแทนฯ (ถึง 15 ธ.ค. 62) ผศ.ดร.ระพพี ร ศรีจำปา อ.ศภุ ฤทยั อฐิ งาม ประธาน ผูอำนวยการ (เริ่ม 16 ธ.ค. 62) 27 สำนักคอมพิวเตอร อ.วทิ วสั พนั ธมุ จนิ ดา ผูอำนวยการ 28 สำนักบริการวิชาการ นายพรี พฒั น มง่ั คง่ั ผูอำนวยการ (เริ่ม 1 มิ.ย. 63) ผศ.ดร.เกรยี งศกั ด์ิ พราหมณพนั ธุ ผูอำนวยการ (ถึง 30 พ.ค. 63) 29 สำนักหอสมดุ นางวนั ทนา กติ ศิ รวี รพนั ธุ ผูอำนวยการ (ถึง 14 ม.ค. 63) อ.เหมรศั ม์ิ วชริ หตั ถพงศ ผูอำนวยการ (เริ่ม 15 ม.ค. 63) รายงานประจำ�ปี 2563 25 ม ห า วิ ท ย า ลั ย บู ร พ า
คณะกรรมการปฏิบตั หิ น้าที่แทนสภามหาวิทยาลัยบรู พา ประธานกรรมการ ศ.กิตติคุณ ดร.สมหวัง พิธิยานวุ ัฒน์ กรรมการ ศ.ดร.สรุ พล นิติไกรพจน์ ศ.ดร.สุนทร บุญญาธกิ าร รศ.ดร.สุมนต์ สกลไชย รศ.ดร.สมนึก ธรี ะกุลพิศุทธ์ิ ดร.บุญปลูก ชายเกตุ พล.ต.ต. นพ.ชุมศกั ด ์ิ พฤกษาพงษ์ รศ.ดร.สนธิ เตชานันท์ กรรมการและเลขานุการ นางอรสา ภาววิมล ผชู้ ว่ ยเลขานุการ นายสุภทั ร บุญส่ง นายทวีศกั ด ิ์ นาโสก ผศ.ดร.วมิ ลรตั น ์ จตรุ านนท์ นางธนวรรณ ศกั ดากมั ปนาท 26 ANNUAL REPORT 2020 BURAPHA UNIVERSITY
ผู้บรหิ ารมหาวทิ ยาลยั บูรพา อธกิ ารบดี รศ.ดร.วัชรนิ ทร ์ กาสลัก อธกิ ารบดมี หาวทิ ยาลยั บรู พา (เริม่ 15 มิถนุ ายน 2563 - ปัจจบุ ัน) ผรู้ ักษาการแทนอธิการบดี (ถึง 14 มถิ นุ ายน 2563) รองอธกิ ารบดี รศ.ดร.สมถวิล จรติ ควร รศ.ดร.จิตตมิ า เจริญพานชิ ผศ.ดร.เอกวทิ ย์ โทปุรินทร์ รองอธิการบดฝี า่ ยวิชาการ รองอธกิ ารบดีฝ่ายวจิ ัยและนวัตกรรม รองอธิการบดีฝ่ายกจิ การนิสติ ผศ.ดร.ศกั ด์ิชัย เศรษฐ์อนวัช ผศ.ดร.สุวรรณา รศั มีขวญั ผศ.ดร.อานนท ์ วงษ์แกว้ รองอธิการบดีฝา่ ยบริหารยุทธศาสตร์ รองอธิการบดีฝ่ายการคลงั รองอธกิ ารบดฝี ่ายพฒั นา และวางแผนพัฒนา และทรัพย์สิน โครงสรา้ งพ้ืนฐาน ผศ.ดร.วมิ ลรัตน ์ จตุรานนท์ ผศ.ดร.ณยศ ครุ ุกจิ โกศล ผศ.ดร.วศนิ ยุวนะเตมีย์ รองอธิการบดี ผรู้ กั ษาการแทนรองอธิการบดี ผรู้ ักษาการแทนรองอธิการบดี ฝา่ ยกจิ การเขตพฒั นาพเิ ศษภาคตะวันออก ฝา่ ยกจิ การสภามหาวทิ ยาลัย ฝา่ ยวทิ ยาเขตจันทบุรี ผศ.ดร.วชิ ดุ า จันทร์ข้างแรม รศ.ดร.สุกญั ญา บูรณเดชาชยั ผ้รู ักษาการแทนรองอธิการบดี รองอธิการบดฝี ่ายสอื่ สารองคก์ ร ฝา่ ยวทิ ยาเขตสระแก้ว (ถึง 15 พฤษภาคม 2563) รายงานประจำ�ปี 2563 27 ม ห า วิ ท ย า ลั ย บู ร พ า
ผชู้ ่วยอธิการบดี รศ.ดร.สุชาดา พงศ์กิตตวิ บิ ลู ย์ ผศ.ดร.ธรรมนูญ รัศมีมาสเมอื ง ผศ.ดร.สหัทยา รตั นะมงคลกลุ ผชู้ ่วยอธิการบดีฝา่ ยวชิ าการ ผชู้ ่วยอธกิ ารบดฝี า่ ยพัฒนาคุณภาพ ผู้ช่วยอธิการบดีฝ่ายทะเบียน (เรมิ่ 1 กรกฎาคม 2563 - ปัจจบุ นั ) และประมวลผลการศกึ ษา (เร่มิ 1 กรกฎาคม 2563 - ปัจจุบนั ) ผศ.ดร.สวามินี ธีระวุฒิ ผศ.ดร.จริยาวด ี สรุ ิยพันธุ์ ดร.ชนิ วธุ พิพัฒนภ์ านุกูล ผชู้ ว่ ยอธิการบดฝี ่ายยกระดบั คุณภาพงานวิจัย ผชู้ ่วยอธิการบดฝี ่ายพัฒนานวตั กรรม ผ้ชู ่วยอธิการบดีฝ่ายอทุ ยานวิทยาศาสตร์ (เรม่ิ 1 กรกฎาคม 2563 - ปัจจุบนั ) และเครือขา่ ยวจิ ยั ภาคตะวันออก (เร่ิม 1 กรกฎาคม 2563 - ปจั จบุ ัน) ผศ.ดร.การณุ สุขสองหอ้ ง ผศ.ดร.ภัทรมน สาตรกั ษ์ อาจารย์เจนวิทย์ นวลแสง ผชู้ ว่ ยอธิการบดฝี า่ ยวางแผนพฒั นา ผชู้ ว่ ยอธิการบดีฝ่ายกฎหมาย ผู้ชว่ ยอธิการบดฝี า่ ยกจิ การนิสิต ผศ.ดร.พรรณวลยั เกวะระ รศ.ดร.ธนวัฒน ์ พิมลจนิ ดา ดร.พมิ ลพรรณ เลศิ ลํ้า ผูช้ ว่ ยอธกิ ารบดี ผชู้ ว่ ยอธกิ ารบดีฝ่ายบรหิ าร ผู้ชว่ ยอธิการบดี และพัฒนาทรัพยากรบคุ คล ฝ่ายความสมั พันธ์ระหว่างประเทศ ฝา่ ยบริหารภาพลักษณ์องค์กร (เร่ิม 1 กรกฎาคม 2563 - ปัจจบุ นั ) (เรม่ิ 1 กรกฎาคม 2563 - ปจั จุบัน) ผูช้ ว่ ยอธกิ ารบดีฝ่ายวเิ ทศสัมพนั ธ์ (ถึง 30 มิถุนายน 2563) 28 ANNUAL REPORT 2020 BURAPHA UNIVERSITY
ดร.เทยี นแกว้ เลยี่ มสวุ รรณ อาจารย์ภูสติ กลุ เกษม ผศ.จกั รกรศิ น์ บวั แกว้ ผู้ชว่ ยอธกิ ารบดี ผู้รักษาการแทนผูช้ ว่ ยอธกิ ารบดี ผ้ชู ว่ ยอธกิ ารบดี ฝ่ายพัฒนาโครงสร้างพ้ืนฐาน ฝา่ ยการคลังและทรัพย์สนิ ฝา่ ยอ�ำ นวยการและสื่อสารองค์กร (ถงึ 30 มิถุนายน 2563) ดร.ลญั จกร สตั ย์สงวน อาจารยธ์ นพร คำ�วรรณ์ ผศ.ดร.รชนมิ ขุ หริ ัญสัจจาเลศิ ผ้ชู ว่ ยอธกิ ารบดีฝา่ ยวทิ ยาเขตจันทบุรี ผู้ชว่ ยอธิการบดฝี ่ายวิทยาเขตสระแก้ว ผูช้ ว่ ยอธิการบดฝี า่ ยพฒั นามาตรฐานการวจิ ัย (เริม่ 1 กรกฎาคม 2563 - ปัจจบุ ัน) (เรม่ิ 1 เมษายน 2563 - ปัจจุบนั ) (ถงึ 30 มถิ ุนายน 2563) ดร.ณฐั พล ชมแสง ดร.ชติ พล ชยั มะดัน ผศ.ดร.นริ มล ปัญญ์บุศยกลุ ผชู้ ว่ ยอธิการบดีฝ่ายวทิ ยาเขตจนั ทบรุ ี ผ้ชู ว่ ยอธิการบดฝี า่ ยวิทยาเขตสระแก้ว ผู้ชว่ ยอธิการบดีฝา่ ยพัฒนาหลกั สตู ร (ถึง 30 มถิ นุ ายน 2563) (ถงึ 30 มนี าคม 2563) และประกนั คุณภาพ (ถึง 30 มถิ ุนายน 2563) รายงานประจ�ำ ปี 2563 29 ม ห า วิ ท ย า ลั ย บู ร พ า
หัวหน้าสว่ นงาน ผศ.ดร.พรรณ ี พิมาพันธ์ุศรี นพ.วิชาญ เกดิ วชิ ยั ผศ.ดร.มารตุ ตง้ั วัฒนาชลุ พี ร อาจารย์สณั หไ์ ชญ์ เอ้อื ศลิ ป์ คณบดคี ณะการจดั การ คณบดคี ณะการแพทยแ์ ผนไทย คณบดีคณะสหเวชศาสตร์ คณบดีคณะดนตรีและการแสดง และการทอ่ งเทีย่ ว อภัยภเู บศร รกั ษาการแทนคณบดคี ณะการ รกั ษาการแทนผู้อ�ำ นวยการ (ถึง 2 ตุลาคม 2562) แพทย์แผนไทยอภยั ภเู บศร สถาบันภาษา (เริ่ม 3 ตุลาคม 2562 - ปจั จบุ นั ) (ถึง 15 ธันวาคม 2562) ดร.ไพทลู แกว้ หอม ดร.ประทีป อูปแก้ว ดร.บัลลงั ก์ เนอ่ื งแสง ผศ.ดร.พรชยั จลู เมตต์ คณบดคี ณะเทคโนโลยีการเกษตร รักษาการแทนคณบดี คณบดคี ณะเทคโนโลยที างทะเล คณบดคี ณะพยาบาลศาสตร์ คณะเทคโนโลยีการเกษตร (ถึง 2 ตุลาคม 2562) (เริ่ม 3 ตลุ าคม 2562 - ปจั จบุ นั ) ผศ.นพ.พสิ ิษฐ์ พิรยิ าพรรณ ผศ.นพ.ทวีลาภ ตัน๊ สวัสด์ิ ดร.สุชาดา รตั นวาณิชยพ์ นั ธ์ รศ.วา่ ทเ่ี รอื ตรี ดร.เอกวทิ ย ์ มณธี ร คณบดีคณะแพทยศาสตร์ คณบดีคณะแพทยศาสตร์ คณบดีคณะมนษุ ยศาสตร์ คณบดีคณะรฐั ศาสตร์ (ถึง 30 เมษายน 2563) (เริม่ 1 พฤษภาคม 2563) และสงั คมศาสตร์ และนิติศาสตร์ ดร.กฤษนัยน์ เจรญิ จิตร ภญ.รศ.ดร.มยุรี ตันติสิระ รศ.ดร.ณกร อนิ ทร์พยงุ ผศ.ดร.กฤษณะ ชินสาร คณบดคี ณะภูมสิ ารสนเทศศาสตร์ คณบดีคณะเภสชั ศาสตร์ คณบดีคณะโลจสิ ตกิ ส์ คณบดคี ณะวิทยาการสารสนเทศ ผศ.ดร.เอกรัฐ ศรีสขุ ผศ.ดร.นฤพนธ์ วงศ์จตรุ ภทั ร ดร.วศิน ยวุ นะเตมยี ์ ผศ.ดร.วชิ ดุ า จันทร์ขา้ งแรม คณบดคี ณะวิทยาศาสตร์ คณบดคี ณะวทิ ยาศาสตรก์ ารกฬี า คณบดคี ณะวทิ ยาศาสตร์ คณบดีคณะวิทยาศาสตร์ และสังคมศาสตร์ และศลิ ปศาสตร์ 30 ANNUAL REPORT 2020 BURAPHA UNIVERSITY
ผศ.ดร.ณยศ คุรกุ จิ โกศล รศ.เสกสรรค ์ ตันยาภิรมย์ รศ.ดร.สฎายุ ธีระวณิชตระกูล รศ.ดร.ยุวด ี รอดจากภยั คณบดคี ณะวศิ วกรรมศาสตร์ คณบดีคณะศิลปกรรมศาสตร์ คณบดคี ณะศกึ ษาศาสตร์ คณบดคี ณะสาธารณสขุ ศาสตร์ รศ.ดร.พมิ พ์ทอง ทองนพคณุ ผศ.ดร.สุวรรณา รัศมีขวญั ดร.ปรญิ ญา นาคปฐม ผศ.ดร.ระพพี ร ศรีจำ�ปา คณบดีคณะอญั มณี รักษาการแทนคณบดี คณบดีวทิ ยาลยั นานาชาติ คณบดีวิทยาลยั พาณิชยศาสตร์ วิทยาลัยนานาชาติ (เรมิ่ 16 ธันวาคม 2562 - (ถงึ 15 ธันวาคม 2562) ปัจจุบนั ) รศ.ดร.ภทั ราวด ี มากมี รศ.ดร.นจุ ร ี ไชยมงคล ดร.รววิ รรณ พัฒนดลิ ก อาจารย์วทิ วสั พนั ธุมจินดา คณบดีวทิ ยาลยั วทิ ยาการวจิ ัย คณบดบี ัณฑิตวิทยาลยั ผ้อู ำ�นวยการสถาบนั วทิ ยาศาสตร์ ผูอ้ ำ�นวยการสำ�นักคอมพิวเตอร์ ทางทะเล และวทิ ยาการปญั ญา ผศ.ดร.เกรยี งศกั ด ์ิ พราหมณพนั ธ์ุ นายพีรพฒั น์ มงั่ คั่ง นางวันทนา กติ ศิ รีวรพันธ์ุ นายเหมรัศม์ ิ วชริ หตั ถพงศ์ ผอู้ �ำ นวยการส�ำ นักบริการวิชาการ ผอู้ �ำ นวยการส�ำ นกั บริการวชิ าการ ผูอ้ �ำ นวยการส�ำ นกั หอสมดุ ผ้อู �ำ นวยการส�ำ นักหอสมดุ (ถึง 30 พฤษภาคม 2563) (เรม่ิ 1 มิถุนายน 2563 - ปจั จบุ นั ) (ถึง 14 มกราคม 2563) (เร่มิ 15 มกราคม 2563 - ปัจจุบัน) ดร.ศภุ ฤทัย อฐิ งาม นางธนวรรณ ศักดากัมปนาท รศ.ดร.สุกัญญา บรู ณเดชาชยั นางสาววรรณา แนบเชย ผูอ้ �ำ นวยการสถาบนั ภาษา หวั หนา้ สำ�นักงานสภา ผ้รู กั ษาการแทนหัวหน้า ผู้รกั ษาการแทนหัวหน้า (เริ่ม 16 ธนั วาคม 2562 - มหาวทิ ยาลัย ส�ำ นกั งานอธกิ ารบดี ส�ำ นักงานอธิการบดี (ถึง 15 พฤษภาคม 2563) (เรมิ่ 16 พฤษภาคม 2563 - ปจั จบุ ัน) ปจั จุบนั ) รายงานประจำ�ปี 2563 31 ม ห า วิ ท ย า ลั ย บู ร พ า
ขอ้ มูลพื้นฐานทีส่ �ำ คญั ท่ีตัง้ แผนที่ และการขแบ้อง่ สม่วูลนงพาน้ืนฐานท่ีสาคัญ ท่ีตั้ง แผนที่ และการแบ่งส่วนงาน มหาวิทยาลยั บรู พาตงั้ อย่ภู าคตะวนั ออก มที ่ีตงั้ อย่ใู น 3 จังหวัด คอื ม• หามวหาิทวยทิ ยาาลลยั ยั บบูรพรู าพจงั าหตวัดัง้ ชลอบยุรี ่ภูตัง้ าอคยู่เลตขะทวี่ 1ัน69อถอนกนลงมหาีทดบี่ตาง้งั แอสนยต่ใู ำ�นบล3แสจนสังขุ หอวำ�เัดภอคเมือือง จังหวดั • มชหลาบวุรทิ ี มยีพาล้ืนัยทบี่ทูรง้ั พสาน้ิ จ6ัง4ห7วไัดรช่ แลลบะรุ มี ตวี ิทง้ั อยยาเู่ ขลตขท2่ี 1แ6ห9่ง ถไดนแ้ นกล่ งหาดบางแสน ตำบลแสนสุข อำเภอเมือง • จมังหาววดั ทิ ชยลาบลรุ ัยี บมรูพี พื้นาทว่ที ิท้ังยสา้ินเข6ต4จ7ันทไรบ่ แรุ ีลตะ้ังมอวียทิ ่ทู ยอ่ี า�ำ เขภตอท2า่ แใหหม่ง่ จไดงั หแ้ กวดั่ จันทบรุ ี มีเนอื้ ที่ 450 ไร่ นอกจากน้ยี ัง • มมหพี า้นืวททิ ท่ียี่อาลำ�เยั ภบอูรนพาายาวยิทอยาามเขจตงั จหันวทัดจบนัุรีทตบงั้ รุอี ย7ทู่76่ีอำไเรภ่ ออำ�ทเา่ภใอหขมล่ งุจงัจหงั หวดัวดัจนัจนัททบบุรีุรมี 1เี น79อื้ ทไร่ี 4่ แ5ล0ะไอรำ�่ เภอเขาสมงิ นจอังกหจวาดั กตนรายี้ ดงั ม8ีพ9ื้น7ทไรี่ท่ ่ีอำเภอนายายอาม จงั หวดั จันทบรุ ี 776 ไร่ อำเภอขลุง จงั หวดั จันทบุรี 179 ไร่ • แมลหะาอวำิทเภยาอลเขยั าบสรู มพิงาจวังทิ หยวาัดเขตตรสารดะ8แ9ก7ว้ ตไรง้ั ่อยู่ท่ีอำ�เภอวฒั นานคร จงั หวดั สระแกว้ มีเนอ้ื ท่ี 1,369 ไร่ • มหาวทิ ยาลยั บูรพา วิทยาเขตสระแกว้ ต้ังอยู่ทอ่ี ำเภอวัฒนานคร จงั หวดั สระแกว้ มเี น้ือที่ 1,369 ไร่ วิทยาเขตสระแกว้ 1,369 ไร่ 2 คณะ 1 โครงการจดั ตง้ั มหาวทิ ยาลยั บูรพา วิทยาเขตจันทบรุ ี 647 ไร่ อ.ท่าใหม่ 452 ไร่ 1 สำนกั งานอธิการบดี อ.นายายอาม 776 ไร่ 1 สำนกั งานสภาฯ อ.ขลุง 175 ไร่ 18 คณะ 3 วิทยาลยั อ.เขาสมิง 897 ไร่ 1 บณั ฑติ วทิ ยาลัย 3 คณะ 2 สถาบัน 3 สำนัก 32 ANNUAL REPORT 2020 BURAPHA UNIVERSITY
จำนวนหลักสูตร จำ�นวนหในลปกัีกาสรศูตึกษรา 2563 มหาวทิ ยาลยั บรู พามีสว่ นงานวิชาการ 23 คณะ 3 วิทยาลยั และ 1 โครงการ จัดตใง้ั นปมีกีหาลรักศสึกตู ษราท่เี2ป5ดิ 6ส3อนมทหั้งหาวมิทดย2า2ล2ัยบหูรลพกั าสมูตีสร่วเนปง็นาหนลวักิชสากูตารระ2ด3ับปครณญิ ะญ3าตวริที 1ย1า2ลัยหลแักลสะตู ร1ปโรคิญรงญกาาโรทจัดตั้ง มหี 7ล2กั สหตูลรกั ทสี่เตู ปรดิ แสลอะนปทรง้ั ญิหญมดาเอ2ก2238หลหักลสกั ตู สรูตรเปม็นหาลวกั ิทสยูตารลรยัะบดูรบั พปาริญมีกญาารตปรรี ะ1เ1ม2ินใหนลรักะดสบัูตรหลปักรสิญูตญราปโทระก7อ2บหดล้วกัยสตู ร แล2ะปอรงิญคป์ญราะเอกกอบ38คหือลอกั งสคตู ป์ รระมกหอาบวททิ ่ี ย1ากลยัารบกูรำพกาับมีกาาตรปฐราะนเขมอินงใกนารระปดรับะหกลันกัคสุณตู ภราปพรระะกดอับบหดลว้ กั ยส2ตู รองแคล์ปะระกอบ คือ องคอ์ปงครป์ะกระอกบอทบ่ี 1ท่ีก2ารกการ�ำ ดกบัำเมนานิ ตกราฐราปนรขะอกงนั กคาุณรปภราะพกรันะคดณุ บั ภหาลพักรสะตู ดรับเพห่ือลกกั าสรูตพรัฒแนลาะดอ้วงยคเ์ปกณระฑก์อAบUทNี่ -2QกAารดำ�เนนิ การ ปร(ะนกอันกคจณุ ากภคาณพระะแดพบั ทหยลศกั าสตู รเ์ พทือ่ีใชกเ้ากรณพฑฒั ์นWาFดMว้ Eย:เกWณoฑrl์dAUFeNd-QerAat(iนoอnกoจfากMคeณdะicแaพl ทEยdศuาcสaตtiรo์nทีใ่ทช่ีใเ้ ชก้กณบั ฑ์ WFME: WoหrลldักสFeูตdรแeพraทtiยoศnาสoตf รM์ทeั่วdปicรaะlเทEศduแcลaะtวioทิ nยทาล่ีใชยั ก้พบั าหณลชิ กั ยสศตู ารสแตพรท์ ยี่ใชศเ้ ากสณตฑรท์ Aว่ั BปEรSะTเท21ศ:แTลhะeวทิAยllาiaลnยั cพeาณonชิ ยศาสตร์ ทใ่ี ชBเ้ uกsณinฑe์ sAsBESdTu2c1a:tiTohneaAnldliaSnccheoolanrsBhuipsinfoesrsTEodmuocarrtoiown, an2d1SstchCoelnartsuhryipOforgraTnoizmaotiroronwข,อaงป2ร1ะstเทCศentury Orgญaีป่n่นุizทatี่ใiหoก้nาขรอรงับปรรอะงเมทาศตญรฐป่ี านุ่ นทกใ่ี าหรก้ เารรียรนบั กราอรงสมอานตดรฐา้ นานบกราหิ ราเรรยีธนุรกกิจา)รสโดอยนใดนา้ ปนกีบารรหิ ศาึกรษธรุาก2จิ 5)6โด2ยมในีหปลกีักาสรตู ศรกึ ทษีผ่ าา่ น2562 มีหเลกักณสฑูต์อรงทคี่ผ์ป่ารนะเกกอณบฑท์อี่ 1งคก์ปารระกกำกอับบมทาี่ ต1รกฐาารนกจำ�กำนับวมนาต2ร2ฐ1านหลจักำ�สนูตวรนค2ดิ 2เ1ปน็หหลลักักสสูตตู รรคผิดา่ นเปเก็นณหฑลักฯ์ สรูต้อรยผล่าะนเกณฑ์ฯ ร้อย99ล.ะ1099แ.ล1ะ0มแหี ลละักมสีหตู ลรทักีไ่สมูตผ่ ร่าทน่ีไเมก่ผณ่าฑนเ์อกงณคป์ฑร์อะงกคอ์ปบรทะก่ี 1อบกาทรี่ ก1ำกกับารมกาำ�ตกรับฐามนาตจรำฐนาวนนจ2ำ�นหวลนักส2ตู รหฯลักคสดิ ูตเปรน็ฯ คิดเป็น หลหกั ลสกัูตสรไูตมรผ่ไม่าน่ผา่เกนณเกฑณฯ์ ฑร์ฯ้อรย้อลยะล0ะ.900.9จ0ากจาหกลหกั ลสักตู สรูตทรั้งทห้ังมหดม2ด2232ห3ลหกั ลสกั ูตสรูต(รไม(ไร่ มว่รมวหมลหกั ลสักูตสรูตทรีข่ ทอขี่ งอดงรดับรแบั ลแะลขะอขยอกเลิก ลหาลอยหักอกลสกเกัูตลรสริกะูต)หหรหลวลักา่ลางสัอกภูตอสารกูตค)รรกหะไามหลร่ผกัวศา่่สาึกงนตู ษภเรากาไคมณก่ผฑา่า์กรนศาเกึกรณกษำ�าฑก์กับามรากตำกรฐับามนาหตลรฐักาสนูตหรลนกั ั้นสตู สรานเหนั้ ตสุเนาเื่อหงตจุเานก่อื องจาจาการอยา์จผาู้รรับยผผ์ ิดรู้ ชับอผบดิ หชอลบักสูตร จานวนหลักสตู ร 300 250 240 233 235 229 222 200 ปริญญาตรี ปริญญาโท 150 114 109 109 109 112 ปริญญาเอก รวม 100 83 81 83 79 72 50 43 43 43 41 38 0 2559 2560 2561 2562 2563 แผนแภผนมู ภิทมู ี่ 1ทิ ี่-11- จ1�ำ จนำวนนวหนหลลกั ักสสตู ูตรร ปปกีกี าารรศศกึ ึกษษาา2525595–9 2–5265363ทม่ี า : กองบรกิ ารการศึกษา ทม่ี า : กองบริการการศกึ ษา รายงานประจำ�ปี 2563 33 ม ห า วิ ท ย า ลั ย บู ร พ า
ในปกี ารศกึ ษา 2563 มหาวทิ ยาลยั บูรพาตดิ อนั ดบั ความนยิ ม TOP 10 สาขาท่ีมีผู้สมัครมากที่สุด TCAS’63 รอบ 3-4 โดยคณะพยาบาลศาสตร์ ไดร้ บั ความนยิ มในอนั ดบั ที่ 1 สาขาวชิ าเทคนคิ การแพทย์ คณะสหเวชศาสตร์ ไดร้ บั ความนยิ มในอนั ดบั ที่ 6 และสาขาวชิ าภาษาองั กฤษ คณะมนษุ ยศาสตรแ์ ละสงั คมศาสตร์ ไดร้ บั ความนยิ มในอนั ดบั ท่ี 7 TCAS รอบ 3 อันดบั ที่ 1 คณะพยาบาลศาสตร์ หลักสตู รพยาบาลศาสตรบณั ฑติ พย.บ. อนั ดับที่ 6 คณะสหเวชศาสตร์ หลกั สูตรวิทยาศาสตรบณั ฑติ เทคนคิ การแพทย์ วท.บ. อนั ดับที่ 7 คณะมนษุ ยศาสตร์และสังคมศาสตร์ หลกั สูตรศิลปศาสตรบณั ฑิต ภาษาองั กฤษ ศศ.บ. TCAS รอบ 4 อันดับที่ 2 คณะพยาบาลศาสตร์ หลักสตู รพยาบาลศาสตรบัณฑิต พย.บ. อนั ดับที่ 3 คณะรฐั ศาสตร์และนิตศิ าสตร์ หลกั สูตรรฐั ประศาสนศาสตรบัณฑติ การบริหารท้องถนิ่ รป.บ. อันดบั ที่ 6 คณะมนษุ ยศาสตรแ์ ละสังคมศาสตร์ หลกั สตู รนเิ ทศศาสตรบัณฑติ นศ.บ. อนั ดับท่ี 8 คณะเภสัชศาสตร์ หลักสูตรเภสัชศาสตรบณั ฑติ ภ.บ. 34 ANNUAL REPORT 2020 BURAPHA UNIVERSITY
จ�ำ นวนนสิ ติ มหาวิทยาลัยบูรพา มีจำ�นวนนิสิตท้ังหมด 30,263 คน จำ�แนกเป็นระดับปริญญาตรี 27,680 คน คิดเป็น จศรรรปแวอ้อั้บิทำ�ลกึรยนยญินะยษลลปวาิสาญะนะศริตมาปญิาไ95ต5คจป1กร2รรร2จรปร1กคแีสดีก1ญอ้อบัับออ้255..,ลลิดดิรรนต99ใ้าำำ1.งยยง55.เญิเิญีุ่มมุ่เเก4า99ร6รวพพ6รปปลลนน99ลลสส6เลศญญบัโ8์แ7งงียียน็น็อะะาานววเ้--มมนนึกลไงงาารรปกขขคอคด33้มรราา22สิิสโโษนน้ออ้ะาามปปมรยีททยอ้อ้ออ33นส้551ิตติลยยววเาญิหหกีีกนนง..ยยยยทใู่661งูททชิิชดลล2255แาานาาคลลใู่ใู่00ก2ญิิ7าาค44ะะสส้งั้งัล33รรนนววผกะะิดวว5หหวศศ66โิททิกกงาิิกกคตต99นทิทิลา่น6เมมจจกึึกอ00โาายยลล11ปนคคเยยทก่มุ3ดดนนโรร..ษษยาาปมุุ่่ม..11นน็นลาา44รรารรสลลกกาาจา่สส00า้มศศ1ับบั66้อ้อรยรยัยัรรางแแะหาาาา22,จีรยยนน้อีจะะบบขม9ขขลลปปเสสสส55มบั�ำลลททหิสิสยำ�8าูรรูาาาะะรรตต่ว่ว66นาะะติตินมพพั่ั่งงวววล1กน็ปปิญญินนรร33ยใใวิชิชใใชิาาาวะส์์สแ55รรไนนกกญญนนมคนาามมกดาิินญญ22ขุขุลาาปปมมรรววา1นาาีจจีมนทว..้ภภรระญญะะจีจี66ิทิทีกกีตโโ7ำำา่รรน9ิสาาททสี่ดดตำำ88าาคยยนนลาา.บัับพพ,นนติ0ษุรรับับุดจ่อเเาา1ดิววอออ11นนอศศจจวว7ศศใ�ปปำยเนน5เ,,ยยดคสิสิกกหำำึกกึนนนป99นาารรศ2นนู่ใใู่นนิตติอืษษสส88นนมญิิญื่อนโนน็ว11าิิสสววใใด11ตตมาาสิสิ่นง11กกครสนนญญติตินน7รรยิติตนี77อ้ลลคค22นนตรรใใแ์์แาา,บททหห่มุุม่55สิ9ะะ55ยนนตตสริคคลลัง้้ังดด,,ามม66สส3ลติค์แรร11ติะะนนหหคคง33บัับ่่าา5ีีะเล66ิดเเไ77ปรรดิิดมมกขขททบบจจด77ะรรเ,,ับับค6เเดดาาสี99นิคคะะปัณัณบัับปปล้สววไไคค.33นงเเูโโแ5ดด็นนน33ด็นน็ิชชิหหงัฑฑนนนน55กผ5ส้ส้00คสิสิาารรลรน็น็จโโติติว,,คคูงูงมมน้้ลลออคคติิต้อมง22ไไำ�ศศา่แกกนนยยยยดดนนดิิดอไไกย66ศแเึึกกลววดดีจีจลลปว้วุ้ษษุเเย33าลนาษษ่า่าจจปปะ้้ใใา่า่ำำะะา้รยยา่สกกเเะำำาากปคค็็นนนนปปหรงศศจจแแลล66ตนนเววรรรมมต้า้าับาาำำมป3นนเ้เ้..ร้อ้อนนญิ55หหคคแีแีสสนนอ่เ0จจากก์น็ยย55พียยีมมนนตตววจญเยำำ99.เเลลรนงง2ปปาานนรรววแแยีำ�แแ,,ถะะแแาะ11ยย์แแ์4โโอ่ื็็นนนนนนนลลงงึเนนผผ55ดมมลลง11รอสิสิรระะกกรวนน22้้มมาาะะแบัมะะ้อ77ปปิตติกอ้เเนตตกกลลสสปปลดด..าปคคยไไรรย00ลลดดาาังงัดดน็็น6บับัตะิิญญ1นนลร77ลคครรออลลล้้ล0รรปปอง้ั5ิญะรรญญะมมดดงงคคะะดดแ2รร,ับบัยออศศ9ดดญาาดิิดลล03ตญิิญโโู่ใมมยยคาาเเ4ับบัเเงงดด.3นป่ออาปปญญาา1สส่า่าออน4ปปยย.กกตกกกงงีตต02น็็นยยาา2บบรรมมททรลรรค4คตตรรา่่า66ิิญญ5าาาาี์์ส่ีส่ีงง้้ออุ่สมรรนดิ00งงจจ65กกตตญญดุุดีียยจปป่ว22สเำำ,แแ966่่ออป7รลลาานนนนีีสสา,,ลลคคคคเเอ77ตตะะ4น็-งูงูขนนววกกะะืออืนน44รรงกก22นนรา่ืออื่ตตร33ามมีี22ลววอ้5ว22ะคครงง00ออ่่นีีนค11่า่างยมม6ิ77ชคครท..ดิิดเเสิิสเเ2255มนนนาาล,,บัปป0นนาเเงั่ิติต6644,,ปปาตตืื่่ออ99ะว้าา้ใน88เเปกอง้ัง้ังงน็็นน44หหกกแแิท00สิแแาร1ย44รรลลนินิปมมยตติตรญิ.อ้้อคคใู่ะะแแาา9กีคคารป่่ปนใยยนนออยยผผญ9ศนนานบัีีลลกยยถถนนราารนะะูใ่ใู่ึึงงลกกศสนนนโะสิุ่มาาทกึตดสิ ตรริสษตริับใ5า์สาทนบ3ขุขง้ัร26ัณาหภะ5วฑคดมา6ชิ พนบัดติ3า 5500,,000000 4444,,224488 จจาานนววนนนนิสิสิตติ ททั้ง้งั หหมมดด 4400,,000000 3377,,668833 4400,,994499 3355,,667744 3333,,771188 3300,,226633 รปปปปปปรววรรรรรรมมิญญิิญิญญิิญญญญญญญาาาาาาตโเตเโออททรรกกีี 3300,,000000 3355,,331188 3311,,770000 3300,,669999 2277,,668800 2200,,000000 2255116666,,990033882211 1100,,000000 55,,229922 2255114466,,,,22330055773388 22551122,,66,,00991133443311 2255882211,66,2299220000 00 221155,,5522779933 แผนภมูแแผผิทนนี่ 1ภภูมมู -ทิิท2ี่่ี 11จ--�ำ 22นจจวำำนนนนววนนิสนนิติสิสทติิตทท้ัง้ังั้งหหหมมมดดดปปปกีกี ีกาารราศศรึกึกศษษกึาา ษ2255า552995––52295566–33 2563 1122,,000000 1111,,227744 จจาานนววนนนนสิิสติติ ใใหหมม่่ 1100,,000000 1100,,226666 77,,008877 77,,884488 88,,995544 77,,993355 ปปปรปปปรววรรรรรรมมิญิญญิญิิญิญญญญญญญาาาาาาตโตโเเออททรรกกีี 88,,000000 66,,772244 77,,448899 88,,334433 66,,774422 66,,000000 44,,000000 22,,000000 00 228855991155229977 225555333663110000 22553334466221155 225577554433667722 22555511663311336677 ททีม่มี่ าา :: กกอองงบบรริิกกาารรแกกผาารรนศศภกึกึ แแษษมู ผผาาทิ นนแแ่ีภภ1ลลมููมะะทิิท-กกี่ี่ออ311งงททจ-- ะะ�ำ33เเนบบจจวยีียำำนนนนนววแแนนนลลสินนะะปปิสสิิตติติรรใะะใใหหหมมมมมววลล่่่ ปปปผผีกีกีกลลาากการราารศศรรึึกกศศศษษึกึกกึ าาษษษาา22า55552995––52295566–332563 ทมี่ า : กองบริการการศกึรราาษยยางงแาาลนนะปปกรรอะะงจจทำำะปปเบีี ียพพรนา..ยศศแล..งะา22ปน55รป66ะร33มะวจลำ�ผ33ปล55ี 2ก5าร6ศ3ึกษา 35 ม ห า วิ ท ย า ลั ย บู ร พ า
การรับนสิ ติ ปรญิ ญาตรี การรับนิสิตปรญิ ญาตรี 12,000 10,266 การรับนิสติ ปรญิ ญาตรี 1111102200664248828462,,,,,,,,,,,,,,,,,00000000000000000000000000000000000000000000000000000 8,57140,266 8,57140,266 7,087 7,848 8,343 6,735 6,742 แผน 8,574 5,8079,087 55,,88997700,,884488 66,,33888877,,334433 6,735 6,742 รแบัผจนริง 5,8079,087 5,890 6,387 6,735 6,742 แรับผจนริง 2559 5,809 รับจริง 2563 2560 2561 2562 แผนภ2255มู 55ิท99แแผผ่ี 1นนภภ-ููมม4ิิทที่ี่ ก111 า22---ร5544466ร00กกกบั าาานรรรรรรสิกกััับบบาาิตนนนรริิิสสสปรริิิตตตบัับรปปปนน22ญิ รรร55สิิสิิิญญญ66ติติ ญ11ญญญปปาาารราตตติญญิ ตรรรีีีญญรปปปีาาีีีกกกปโโาาาททกีรรร22ศศศา55ึึึกกกร66ษษษ22ศาาาึก222555ษ555า999 2––5222255555669663333– 0 แผนภูมิท่ี – 2563 2563 3,000 2,467 การรบั นิสิตปรญิ ญาโท 12312132221211,,,,,,,,,,,,,,00550505500055055000000000000000000000000000000000000 2,467 2,467 1,806 1,458 1,919 1,355 แผน 1,806 1,458 1,919 1,355 แรบัผจนริง 927 1,806 1,458 1,919 1,355536 แรับผจนรงิ 927 รับจริง 927 310 325 537 536 0 2559 310 325 537 536 600 2563010 2563125 537 2563 32125456634123451000000000000000000000000000000000000 2562 แผน22ภ55ูม55ทิ99แแแผผผี่ 1นนนภภภ-ูููมมม5ิิิททที่่ี่ี ก111 22า---55ร55566ร00กกกบั าาารรรนกกรรริสััับบบาานนนรรติ รริิิสสสปบบััิิิตตตรนนปปป22ญิรรริสิส55ิิิญญญติติ66ญ11ญญญปปรราาาาญิญิโโโทททโญญทปปปาาีีีกกกปเเาาาออีกรรรกก22ศศศา55ึึึกกกร66ษษษศ22าาาึก222ษ555555า9992–––52222255555596666633333– 548 การรบั นสิ ติ ปริญญาเอก 2563 548 548 81 280 254 267 311 แผน 81 280 254 267 311 รแับผจนรงิ 81 280 254 267 74 311 แรับผจนริง 2559 รับจริง 53 34 74 114 รร0าายยงงแาาผนนปปน22รรภ55ะะ55จจมู 99ำำทิ แแแปปผผผ่ี ีี1นนนพพภภภ-..ูููมมมศศ6ิิิททท.. ี่่่ีี 53 34 74 114 256053 256134 2562 114 2563 ก221112255า---5566ร6666633ร00กกกบั าาานรรรรรรสิ ััับบบิตนนนิิิสสสปิิิตตตร22ปปปญิ55รรริิิ66ญญญ11ญญญญาาาาเเเอออเอกกกกปปปีีีกกกปาาา22ีกรรร55ศศศา66ึึึกกกร22ษษษศาาา กึ 222555ษ555า999 2222555566663333 36 – 36 – 2–5255693 – 2563 36 รายงานประจำปี พ.ศ. 2563 36 ANNUAL REPORT 2020 BURAPHA UNIVERSITY
จำ�นวนบุคลากร มจหำาวนทิ วยนาลบยั ุคบูรลพาากมรีพนกั งานมหาวทิ ยาลัย 3,396 คน จำ�แนกเป็นคณาจารย์ 1,455 คน (รอ้ ยละ 42.84) และ ศตสระนาำ�ดสแับับตหสรปนนารง่ ุนจก4(ทิญร2าวา้อาร.ญริช8ยงอยา4ลวาน์ก)ะชิเ3มุอาแา96ัตมรกลก67ใิหมะหา1.าค4สาร้ด,ว9นน9กสำทิ)ับ4ทรูงย(ผงข1สรีส่าต้ชูอ้น้ึนลุดว่ำคยุนัยแยนจ8ลวบหศ�ำิช4ะรูาน(นา7พรส่ง2กวอ้าตทค7านมยราร.นีาพ2งล1จ1ว2นะ(า,ิช1ร)9ักรา8้อ5แ4งยกาย17ล์าคน3ล.ะรค1น9มะสรน66หอูงโ)5ขา(คงดร8วใ้ึนศนยอ้นิท.า2มยจปย(ส1รลำคีาีงต้อน)ะลณบยรวรยั 5ปลานาอ73จะจรง.1,า1ะาล321ร6รม9ง78ย)ยม6า.2์ใด์คณา7นค2ไนำ�7น)ปปดรแโีงคีแ้งจดบ2ลตนกำยะป5ำ�แ่มร(ร6รแนรคีอะะ3หอก้งณมดเศนยาปบัาามลง่ณจน็สปอะคีาปคตรารณณ5ีริญยจ2า.าด์าา25จญจจรำ69าารายา3ร)รงรโ์ยตยทย9ค์มำ์78ป์ณ1คีแ472,รณห48าะคจ5น7คาจน5าจ่งนค�ำอรา(คไนยรรา(ดนย้อจรป์ ้ร(ป์าย้อ(รรับรรลรยะอ้ ย้อกะะลจย์ยจา9ะ�ำ5ลลำร8ม.ไะะ2อ62ดวี 9น7ร้3ฒุค)ับ.ุม3น4กิ ตั.94าิใ)7รหศ)ผด้ กึแชู้ ำ�ลษว่รยะาง ระดบั ปรคิญณญาจาาตรรยี ป์1ร2ะ1จำคมนีวฒุ (ริกอ้ ายรศลึกะษ8าร.3ะ2ด)บั ปสร�ำญิ หญราับเอพกนมักางกาทน่สี สุดน8ับ4ส7นคนุ นว(ชิ ราอ้ กยลาระ 5ม8ีว.ฒุ21กิ )ารรอศงึกลงษมาาอไดย้แใู่ นก่รระะดดบัับปรญิ ญาตรี มากทสี่ ุดปร9ญิ 8ญ0 าคโทน 4(ร8อ้7ยคลนะ(ร5้อ0ย.4ล9ะ)3ร3อ.4ง7ล)งแมลาะไรดะแ้ ดกับ่ ปรระิญดบัญตาตา่ํ รกี ว1า่2ป1รคญิ นญ(รา้อตยรลี ะ5289.32ค)นส(ำรหอ้ รยับลพะน2ัก7งา.2น5) ระดับปรญิ ญา โท 381 สคนนับ(สรน้อนุยวลชิ ะาก1า9ร.6ม3วี )ุฒรกิ ะาดรับศกึปษราญิ อญย่ใู านเรอะกดบั3ป9รคิญนญ(ารตอ้ รยีมลากะท2่ีส.ดุ019)8ว0ฒุ คิกนา(รรศอ้ ึกยษละาอ5่นื0.4ๆ91) 0รอคงลนงม(รา้อไดย้แลกะ่ 0.52) และ ระดบั ปรระะกดาบั ศตนำ่ กยี วบา่ ตัปรรบิญัณญฑาตติ รี 252ค9นคน(รอ้(รย้อลยะละ02.170.2)5) ระดบั ปริญญาโท 381 คน (ร้อยละ 19.63) ระดับปรญิ ญา หเ(มรอ้อากยย3ลเห9ะตค0ุน.:1 0( ร)้อยลอะาจ2.า0ร1ย) ์รวุฒะดกิ ัาบรปศรึกิญษาญอน่ืาตๆร1ีส0่วนคนให(รญ้อ่เยปล็นะอ0า.5จ2า)รแยล์ทะรี่สะอดนับใปนระโรกงาเศรนียียนบสัตารบธิัณตฑ“ิตพ2ิบคูลนบำ�เพ็ญ” หมายเหตุ : อาจารยมร์ ะหดาับวปิทรญิ ยญาลาตัยรบีส่วูรนพใหาญเ่ ป็นอาจารยท์ สี่ อนในโรงเรยี นสาธิต “พบิ ลู บำเพญ็ ” มหาวิทยาลัยบรู พา จานวนพนักงานมหาวทิ ยาลัย ปงี บประมาณ 2559 - 2563 4,000 3,500 3,000 2,500 2,041 2,053 2,027 1,951 1,941 2,000 1,500 1,000 1,627 1,582 1,532 1,532 1,455 500 0 2559 2560 2561 2562 2563 คณาจารย์ สนบั สนนุ วชิ าการ แผนภมู ิท่ี 1 - 7 จำนวนพนักงานมหาวทิ ยาลัย ปีงบประมาณ 2559 – 2563 ท่ีมา : กแอผงบนรภิหูมาริทแี่ล1ะพ-ฒั 7นจาทำ�นรัพวยนากพรนบุคักคงลานมหาวทิ ยาลัย ปีงบประมาณ 2559 – 2563 ทีม่ า : กองบรหิ ารและพัฒนาทรพั ยากรบุคคล รายงานประจำปี พ.ศ. 2563 37 รายงานประจ�ำ ปี 2563 37 ม ห า วิ ท ย า ลั ย บู ร พ า
จำ�นวนงบประมาณ มจหำาวนิทวยนาลงัยบบปูรพราะมเปา็นณมหาวิทยาลัยในกำ�กับของรัฐ ซ่ึงสภามหาวิทยาลัยมีอำ�นาจหน้าท่ีควบคุมดูแลกิจการ บทขจัดอังัว่ คไงกปมับาขหรหอรามนรกะงวาาิจหโมเทิรยยบกาาหยรบาวียยับาาราิทบไวลแทยยดทิลแยัั่วมา้แะลไยลหจปลอะาัยาัดขะนวลวหออธิปุมิทยั กีองาตัรยมากแะิงโารหขดบหลกเา้อกยปัยาลวบี่ยบกรศ่งิทังวะูราทตยคกมพร่าาุนับับากาลงณแกำ�ยัรเลาๆหประรโะาเน็นดจบยเทมดัดยพยีจรหกกเบ่า่ือปัพาาายปวรรแ้าขยิทกหรหลอาำะยาะงมกหราโปมรายาลนหรยอยชยัดะาไื่นในกเวดวนปทิา์ใ้าก้าอจศนยงหำดัตนากนกมหา่ลุมาโบัางัยายรัตยขแๆปบิกอหวฏางาเลาพรยริบงง่ ฐัื่อตนทัตแปโั้งซนุิงยลรงึง่าแบะบสะนลโาภแปะยยานทรชรมแววนะรหลมัพทมใ์ านะถยาาวแกางึงณิทนากใกยรนรวรำ�าปอทากหลฏยื่นาานัยงิบรรมอใดับตัพนีอนนงิแฒักำุมาโลนานัตยนระาิกบพาจรอาขาวฒัหรนยมอนตนุมแถงา้ง้ัาัตงึมลงทขกบิงหะี่คอำบปววงาหรบิปธวนะีกิทครดมามุะยารดมาณเูแลากลณยัี่ยวรอกาอยับกจกข่าาอ้ยร ในปงี บประมาใณนปพงี บ.ศป.ร2ะ5ม6า3ณมพห.ศา.ว2ทิ 5ย6า3ลมยั หไดารว้ ิทบั ยกาาลรัยจไดัดส้รบัรรกงาบรจปัดรสะรมรางบณปจราะกมราฐัณบจาาลกรจฐั �ำ บนาวลนจำ1น,8ว0น1.07 ลา้ นบาท และมีงบ1ป,8ร0ะ1ม.0า7ณลเง้านินรบาายทไดแลม้ ะหมาีงวบทิ ปยราะลมัยาณจเ�ำงนินรวานยไ2ด,ม้9ห50าว.9ทิ 3ยาลลา้ ยั นจบำานทวนสัด2ส,9ว่ 5น0ง.9บ3ปลรา้ ะนมบาาณทจสาดั กสร่วัฐนบาลต่องบประมาณ เบงานิ ทราสยง่ ไผ4งคดบ,ล่าเ้7ใทปใ3ชหรา่4้จะก้ป.า่2มบัยีง6าบณ53ลป17จ้าร3น.า9ะ.กบ10มร4าฐัาท:ลบณ6้าแา2นลลพ.บ1ตะ.0่าคอศทงา่.มบใ2ชหป5้จาร่า6วะย3ทิม4ายมณ,า2รี ลเ2าง1ยัยิน.มไ1รดารี2้สยา0ไยงู0ดกไ้เลดวทา้ ร้่าา่นวคกบมา่ับาทใทช3ง้ั ้จ7สส.า่ 9น้ิง่ ยผ04ล5:,ใ716ห323้ป4..งี11.บ024ป6มลรหละ้าามา้นวนาบิทณบายาทาพทล.ศัยแ.มล2ีระ5าคย6ไ3า่ ดใม้ชรวีรจ้ มาา่ ยทยไ้งั ด4ส้สิ้น,2งู ก2ว1า่ .1200 ลา้ น รายไดแ้ ละคา่ ใชจ้ ่าย ปงี บประมาณ 2559 - 2563 หนว่ ย : ล้านบาท 7,000 5,055.47 5,219.84 5,289.14 4,734.26 6,000 5,547.20 4,221.12 5,000 2563 4,000 4,231.66 4,304.27 4,394.01 4,357.00 3,000 2,000 1,000 0 2559 2560 2561 2562 รายได้ คา่ ใช้จา่ ย แผนภมู ิที่ 1 - 8 รายได้และค่าใชจ้ า่ ย ปีงบประมาณ 2559 – 2563 ท่ีมา : งบแสดแงผผลนกาภรูมดำทิ เนี่ 1นิ ง-า8น รายไดแ้ ละคา่ ใช้จา่ ย ปีงบประมาณ 2559 – 2563 ที่มา : งบแสดงผลการดำ�เนนิ งาน 38 รายงานประจำปี พ.ศ. 2563 38 ANNUAL REPORT 2020 BURAPHA UNIVERSITY
การจัดระเบียบและแก้ไขปัญหาธรรมาภบิ าล ในปงี บประมาณ พ.ศ. 2563 คณะกรรมการปฏบิ ัตหิ นา้ ทีแ่ ทนสภามหาวิทยาลัยบูรพา ได้มมี ติสำ�คัญ ดังนี้ 1. แต่งตง้ั อธิการบดีมหาวทิ ยาลัยบูรพา ตามท่ีคณะรักษาความสงบแหง่ ชาตไิ ด้มีค�ำ ส่ัง ท่ี 39/2559 ลงวนั ท่ี 12 กรกฎาคม 2559 เร่อื ง การจดั ระเบียบ และแก้ไขปัญหาธรรมาภิบาลในสถาบันอุดมศึกษาและประกาศคณะรักษาความสงบแห่งชาติ ที่ 2/2559 ลงวันท่ี 3 ตลุ าคม 2559 เร่อื ง การก�ำ หนดรายชื่อสถาบันอุดมศกึ ษาอ่นื ตามค�ำ สั่งหัวหน้าคณะ รกั ษาความสงบแหง่ ชาตดิ งั กลา่ ว และรฐั มนตรวี า่ การกระทรวงศกึ ษาธกิ ารโดยค�ำ แนะน�ำ ของคณะกรรมการการอดุ มศกึ ษาไดม้ คี �ำ สงั่ กระทรวงศกึ ษาธกิ าร ท่ี สกอ. 1441/2559 ลงวนั ท่ี 11 ตลุ าคม 2559 และ ท่ี สกอ. 1320/2561 ลงวนั ท่ี 28 กนั ยายน 2561 ใหผ้ ูด้ ำ�รง ต�ำ แหนง่ นายกสภามหาวทิ ยาลยั กรรมการสภามหาวทิ ยาลยั บรู พา อธกิ ารบดหี รอื ผรู้ กั ษาการแทนอธกิ ารบดี และรอง อธกิ ารบดีมหาวิทยาลยั บรู พา ท่ปี ฏิบตั ิหนา้ ที่อยูใ่ นวันที่ค�ำ สงั่ นใ้ี ช้บงั คบั พน้ จากต�ำ แหนง่ หนา้ ท่ี และแตง่ ตงั้ คณะบุคคล ปฏิบตั หิ น้าที่แทนสภามหาวิทยาลัยบรู พาและอธกิ ารบดมี หาวทิ ยาลยั บรู พา ตง้ั แต่วันท่ี 11 ตลุ าคม 2559 เป็นตน้ มา และในการประชมุ คณะกรรมการปฏบิ ตั หิ นา้ ทแี่ ทนสภามหาวทิ ยาลยั บรู พา ครงั้ ที่ 23/2561 เมอ่ื วนั ท่ี 27 ธนั วาคม 2561 การประชุมลบั คร้ังท่ี 2/2562 เมื่อวันที่ 20 กุมภาพันธ์ 2562 การประชมุ ลับ ครั้งที่ 5/2562 เมอ่ื วนั ที่ 23 พฤษภาคม 2562 และการประชุมลับ คร้ังที่ 1/2563 เมื่อวันที่ 30 มกราคม 2563 ได้มีมติเห็นชอบให้เสนอขอพระราชทาน โปรดเกลา้ โปรดกระหมอ่ มแตง่ ตัง้ นายวัชรินทร์ กาสลกั ด�ำ รงต�ำ แหน่ง อธิการบดีมหาวทิ ยาลยั บูรพา ตามมาตรา 27 แห่งพระราชบญั ญัติ มหาวทิ ยาลยั บรู พา พ.ศ. 2550 ซึ่งกระทรวงการอดุ มศกึ ษา วทิ ยาศาสตร์ วิจยั และนวตั กรรม ได้ ตรวจสอบแลว้ ปรากฏวา่ การด�ำ เนนิ การเพอ่ื ใหไ้ ด้มาซึ่งผู้สมควรด�ำ รงต�ำ แหน่งอธิการบดีมหาวิทยาลยั ดงั กล่าวเป็นไป ตามหลกั เกณฑ์ของกฎหมายและข้อบงั คบั ที่เกีย่ วขอ้ ง กระทรวงการอดุ มศกึ ษาวทิ ยาศาสตร์ วจิ ยั และนวตั กรรมจึงขอ ให้นำ�ความกราบบังคมทูลพระกรุณาโปรดเกล้าโปรดกระหม่อมแต่งตั้งต่อไป และสำ�นักเลขาธิการคณะรัฐมนตรีได้ น�ำ ความกราบบงั คมทลู พระกรณุ าขอพระราชทานโปรดเกลา้ โปรดกระหมอ่ มแตง่ ตง้ั แลว้ บดั น้ี ไดม้ พี ระบรมราชโองการ โปรดเกลา้ โปรดกระหมอ่ มแตง่ ตงั้ นายวชั รนิ ทร์ กาสลกั ใหด้ �ำ รงต�ำ แหนง่ อธกิ ารบดมี หาวทิ ยาลยั บรู พา ตง้ั แตว่ นั ท่ี 15 มถิ นุ ายน พ.ศ. 2563 ตามประกาศส�ำ นกั นายกรฐั มนตรี เรอ่ื ง แตง่ ตง้ั อธกิ ารบดมี หาวทิ ยาลยั บรู พา ลงวนั ที่ 17 มถิ นุ ายน พ.ศ. 2563 ซงึ่ ประกาศในราชกจิ จานเุ บกษา เลม่ 137 ตอนพเิ ศษ 144 ง วนั ท่ี 18 มถิ นุ ายน พ.ศ. 2563 เรยี บรอ้ ยแลว้ 2. แผนยทุ ธศาสตรม์ หาวทิ ยาลยั บรู พา ประจ�ำ ปงี บประมาณ พ.ศ. 2564-2567 ในการประชุมคณะกรรมการปฏิบัติหน้าที่แทนสภามหาวิทยาลัยบูรพา ในคราวประชุมครั้งที่ 8/2563 เม่ือ วนั ที่ 18 สิงหาคม พ.ศ 2563 เหน็ ชอบแผนยทุ ธศาสตร์มหาวิทยาลยั บูรพา ประจ�ำ ปงี บประมาณ พ.ศ. 2564-2567 ซึ่ง มีสาระส�ำ คัญโดยสรปุ คือ ได้นำ�เสนอแผนยทุ ธศาสตรข์ องมหาวิทยาลยั ฉบบั ปรับปรงุ ใหม่ โดยเน้น OKRs และกำ�หนด ใหม้ ีการดำ�เนนิ งานอยา่ งเป็นระบบและมีสว่ นรว่ มกบั ทุกภาคสว่ นในระดับมหาวทิ ยาลยั ในการระดมความคดิ เหน็ รวม ทง้ั ท�ำ ความเขา้ ใจรว่ มกนั ในแตล่ ะ Platform ยทุ ธศาสตรท์ ร่ี า่ งมาจากการรบั ฟงั ความคดิ เหน็ ของผบู้ รหิ ารสว่ นงานและ ผ้มู สี ว่ นไดส้ ่วนเสยี โดยรว่ มกันก�ำ หนด Objective และ Key Result ในแผนยทุ ธศาสตร์ทงั้ 3 Platform จากการ รายงานประจ�ำ ปี 2563 39 ม ห า วิ ท ย า ลั ย บู ร พ า
ระดมความคดิ เหน็ ของผู้ทีเ่ กี่ยวขอ้ งในแต่ละ Platform เปน็ Platform Manager เปน็ การศึกษารายละเอียดก�ำ หนด คา่ เปา้ หมาย และตวั ชวี้ ดั พรอ้ มค�ำ อธบิ ายเพอ่ื น�ำ ไปถา่ ยทอดแผนยทุ ธศาสตรส์ กู่ ารปฏบิ ตั แิ ผนยทุ ธศาสตรม์ หาวทิ ยาลยั บรู พา ประจำ�ปงี บประมาณ พ.ศ. 2564-2567 ท่ีสอดคลอ้ งกบั การเปลี่ยนแปลงทางด้านเศรษฐกิจ สังคม นโยบายของ รฐั บาลและนโยบายของกระทรวงการอดุ มศกึ ษา วทิ ยาศาสตร์ วจิ ยั และนวตั กรรม แผนแมบ่ ทประเทศ และยทุ ธศาสตร์ ที่เกีย่ วขอ้ ง โดยสรปุ ผลเป็นประเดน็ ยุทธศาสตรส์ ำ�คญั ในรปู แบบ 3 platform ได้แก่ 1) การยกระดับคุณภาพการศึกษาสู่มาตรฐานสากล และการสร้างบุคลากรคุณภาพ สนองต่อความ ต้องการ ของพ้ืนท่ีภาคตะวันออก 2) การเป็นกลไกหลักในการขับเคลื่อนอุตสาหกรรมเป้าหมายและเป็นที่พึ่งในการพัฒนาพื้นท่ี ภาคตะวันออก อยา่ งยัง่ ยืน 3) การพฒั นาส่อู งค์กรประสทิ ธิภาพสงู เพือ่ การเติบโตอยา่ งยั่งยนื 3. การสรรหานายกสภามหาวิทยาลัยและกรรมการสภามหาวิทยาลัย ผูท้ รงคณุ วุฒิ ตามที่ได้มีประกาศสำ�นักนายกรัฐมนตรี เรื่อง แต่งตั้งอธิการบดีมหาวิทยาลัยบูรพา ซึ่งประกาศในราชกิจจา นุเบกษา เลม่ ท่ี 137 ตอนพเิ ศษ 144 ง เม่อื วันที่ 18 มถิ ุนายน พ.ศ. 2563 สำ�นักงานสภามหาวทิ ยาลัย ไดจ้ ัดการ ประชมุ คณะกรรมการสรรหานายกสภามหาวทิ ยาลยั และกรรมการสภามหาวทิ ยาลยั ผทู้ รงคณุ วฒุ ิ ครง้ั ท่ี 1/2563 เมอื่ วันท่ี 5 สงิ หาคม พ.ศ.2563 ณ หอ้ งประชุม พนั เอกอาทร ชนเห็นชอบ ช้นั 6 หอ้ ง 2 อาคารอดุ มศึกษา 1 สำ�นกั งาน ปลดั กระทรวงการอุดมศกึ ษา วทิ ยาศาสตร์ วิจัยและนวตั กรรม กรงุ เทพมหานคร เพ่อื พจิ ารณาหลักเกณฑ์ วธิ ีการ ขน้ั ตอน และก�ำ หนดปฏทิ นิ ในการด�ำ เนนิ การสรรหานายกสภามหาวทิ ยาลยั และกรรมการสภามหาวทิ ยาลยั ผทู้ รงคณุ วฒุ ิ โดยมี รองศาสตราจารย์ ดร.วัชรินทร์ กาสลัก อธิการบดีมหาวิทยาลัยบูรพา เป็นประธานการประชุม และในการ ประชมุ คณะกรรมการสรรหานายกสภามหาวทิ ยาลยั และกรรมการสภามหาวทิ ยาลยั ผทู้ รงคณุ วฒุ ิ ครงั้ ที่ 2/2563 เมอ่ื วนั ที่ 25 กันยายน พ.ศ.2563 ณ หอ้ งประชมุ พันเอกอาทร ชนเหน็ ชอบ ชั้น 6 ห้อง 2 อาคารอดุ มศกึ ษา 1 สำ�นักงาน ปลัดกระทรวงการอดุ มศกึ ษา วทิ ยาศาสตร์ วจิ ัยและนวัตกรรม กรุงเทพมหานคร ไดม้ ีมติในการตรวจสอบคณุ สมบัติ ข้อมูลประวัติ ผลงาน ประสบการณ์และความรู้ความเช่ียวชาญของผู้ได้รับการเสนอช่ือให้ดำ�รงตำ�แหน่งนายกสภา มหาวทิ ยาลยั และคดั เลอื กผสู้ มควรด�ำ รงต�ำ แหนง่ นายกสภามหาวทิ ยาลยั และกรรมการสภามหาวทิ ยาลยั ผทู้ รงคณุ วฒุ ิ จากบญั ชรี ายชอื่ จากสว่ นงาน จ�ำ นวนสบิ สองคน และคดั เลอื กและจดั ท�ำ ล�ำ ดบั รายชอื่ ผสู้ มควรด�ำ รงต�ำ แหนง่ กรรมการ สภามหาวทิ ยาลยั ผทู้ รงคุณวฒุ จิ ากบัญชรี ายชื่อคณะกรรมการการอดุ มศกึ ษาเสนอจ�ำ นวนหนง่ึ คน คณะกรรมการปฏิบตั ิหน้าท่แี ทนสภามหาวทิ ยาลัยบรู พา ในการประชมุ ครั้งที่ 10/2563 เมื่อวันที่ 15 ตุลาคม พ.ศ. 2563 ท่ีประชุมได้มีมติเห็นชอบและมอบหมายให้มหาวิทยาลัยดำ�เนินการเพื่อทรงพระกรุณาโปรดเกล้า โปรดกระหม่อมแตง่ ตัง้ นายกสภามหาวทิ ยาลยั และกรรมการสภามหาวทิ ยาลยั ผูท้ รงคณุ วฒุ ิ ตามความในมาตรา 21 (5) แหง่ พระราชบญั ญตั มิ หาวทิ ยาลยั บรู พา พ.ศ. 2550 ซง่ึ มหาวทิ ยาลยั ไดด้ �ำ เนนิ การแจง้ ไปยงั ส�ำ นกั งานปลดั กระทรวง การอุดมศกึ ษา วทิ ยาศาสตร์ วิจยั และนวตั กรรม 40 ANNUAL REPORT 2020 BURAPHA UNIVERSITY
Search
Read the Text Version
- 1
- 2
- 3
- 4
- 5
- 6
- 7
- 8
- 9
- 10
- 11
- 12
- 13
- 14
- 15
- 16
- 17
- 18
- 19
- 20
- 21
- 22
- 23
- 24
- 25
- 26
- 27
- 28
- 29
- 30
- 31
- 32
- 33
- 34
- 35
- 36
- 37
- 38
- 39
- 40
- 41
- 42
- 43
- 44
- 45
- 46
- 47
- 48
- 49
- 50
- 51
- 52
- 53
- 54
- 55
- 56
- 57
- 58
- 59
- 60
- 61
- 62
- 63
- 64
- 65
- 66
- 67
- 68
- 69
- 70
- 71
- 72
- 73
- 74
- 75
- 76
- 77
- 78
- 79
- 80
- 81
- 82
- 83
- 84
- 85
- 86
- 87
- 88
- 89
- 90
- 91
- 92
- 93
- 94
- 95
- 96
- 97
- 98
- 99
- 100
- 101
- 102
- 103
- 104
- 105
- 106
- 107
- 108
- 109
- 110
- 111
- 112
- 113
- 114
- 115
- 116
- 117
- 118
- 119
- 120
- 121
- 122
- 123
- 124
- 125
- 126
- 127
- 128
- 129
- 130
- 131
- 132
- 133
- 134
- 135
- 136
- 137
- 138
- 139
- 140
- 141
- 142
- 143
- 144
- 145
- 146
- 147
- 148
- 149
- 150
- 151
- 152
- 153
- 154
- 155
- 156
- 157
- 158
- 159
- 160
- 161
- 162
- 163
- 164
- 165
- 166
- 167
- 168
- 169
- 170
- 171
- 172