Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore รายงานประจำปี 2555 คณะวิทยาการสารสนเทศ

รายงานประจำปี 2555 คณะวิทยาการสารสนเทศ

Published by local library, 2019-12-10 20:53:55

Description: รายงานประจำปี 2555 คณะวิทยาการสารสนเทศ มหาวิทยาลัยบูรพา

Keywords: รายงานประจำปี,คณะวิทยาการสารสนเทศ,มหาวิทยาลัยบูรพา,จดหมายเหตุ มหาวิทยาลัยบูรพา

Search

Read the Text Version

รายงานประจาปี ๒๕๕๔ คณะวิทยาการสารสนเทศ มหาวทิ ยาลัยบูรพา รายงานประจาปี ๒๕๕๕ คณะวิทยาการสารสนเทศ มหาวิทยาลัยบรู พา ๑www.informatics.buu.ac.th

คานา คณะวิทยาการสารสนเทศ จัดทารายงานประจาปีงบประมาณ พ.ศ.๒๕๕๕ (ตุลาคม พ.ศ.๒๕๕๔ - กันยายน พ.ศ.๒๕๕๕) เป็นการสรุปการดาเนินงานของคณะฯ ในรอบปีงบประมาณที่ผ่านมา ซึ่งคณะวิทยาการสารสนเทศ ได้ดาเนินการจัดกิจกรรม ที่หลากหลาย ทั้งด้านวิชาการ การให้ความรู้ การพัฒนาองค์ความรู้ การพัฒนา บุคลากรและองค์กร และกิจกรรมท่ีส่งเสริมคุณลักษณะบัณฑิตท่ีพึงประสงค์ โดยมีผล การดาเนินงานและการพัฒนาหน่วยงานและบุคลากร ดังที่ได้ประมวลไว้ในรายงาน ประจาปีงบประมาณ ๒๕๕๕ ฉบบั นี้ คณะวิทยาการสารสนเทศคาดหวังว่า รายงานประจาปีงบประมาณ พ.ศ.๒๕๕๕ ของคณะวิทยาการ สารสนเทศ ฉบับน้ี จะเป็นเอกสารสาคัญท่ีแสดงถึงการมีคุณภาพตามมาตรฐานในการจัดการศึกษา อันจะ นาไปสู่การสร้างความเช่ือม่ัน ความม่ันใจในมาตรฐาน และคุณภาพของบัณฑิตของคณะวิทยาการสารสนเทศ มหาวทิ ยาลยั บูรพา และเปน็ ประโยชนต์ อ่ ท่านผสู้ นใจ (ผู้ชว่ ยศาสตราจารยส์ วุ รรณา รัศมขี วัญ) คณบดีคณะวิทยาการสารสนเทศ ๒

สารบญั คานา ..............................................................................................................................................................๒ สารบญั ...........................................................................................................................................................๓ ประวตั คิ วามเป็นมา.........................................................................................................................................๔ ปรัชญา วสิ ัยทศั น์ พนั ธกิจ...............................................................................................................................๕ โครงสร้างการแบง่ สว่ นงาน..............................................................................................................................๖ โครงสรา้ งการบรหิ ารงานของส่วนงาน.............................................................................................................๗ คณะกรรมการประจาคณะ..............................................................................................................................๘ คณะกรรมการบรหิ ารคณะ..............................................................................................................................๘ รายชอื่ บคุ ลากร...............................................................................................................................................๙ สาขาวทิ ยาการคอมพวิ เตอร์......................................................................................................................๙ สาขาวชิ าเทคโนโลยสี ารสนเทศ.............................................................................................................. ๑๑ สาขาวิชาวศิ วกรรมซอฟตแ์ วร์ ................................................................................................................ ๑๓ เจ้าหนา้ ท่สี ายสนับสนนุ .......................................................................................................................... ๑๔ งบประมาณ.................................................................................................................................................. ๑๗ การบรหิ าร................................................................................................................................................... ๑๙ การจดั การศึกษา.......................................................................................................................................... ๓๐ การปรบั ปรุงและพฒั นาคุณภาพการศึกษา................................................................................................... ๓๑ ๑. ดา้ นการพฒั นาคุณภาพการศึกษา ..................................................................................................... ๓๑ ๒. ดา้ นนสิ ิตและการผลิตบณั ฑิต ............................................................................................................ ๓๒ การวิจัย........................................................................................................................................................ ๓๔ การบริการวิชาการแก่สงั คม ......................................................................................................................... ๔๐ การทานุบารุงศิลปวัฒนธรรม ....................................................................................................................... ๔๔ การดาเนินงานวเิ ทศสมั พันธ์......................................................................................................................... ๔๕ ความรว่ มมอื กบั สว่ นราชการ และองคก์ รเอกชนภายในประเทศ................................................................... ๔๗ ๓

ประวตั ิความเป็ นมา คณะวิทยาการสารสนเทศจัดตั้งขึ้นอย่างเป็นทางการเมื่อวันท่ี ๙ ธันวาคม พ.ศ. ๒๕๕๒ โดยยกฐานะจาก ภาควิชาวิทยาการคอมพิวเตอร์ ซึ่งเป็นหน่วยงานภายใต้คณะวิทยาศาสตร์ ท่ีถูกจัดตั้งข้ึนเมื่อวันที่ ๔ ตุลาคม พ.ศ. ๒๕๓๖ ทาหน้าท่ีให้การศึกษา พัฒนา ค้นคว้า วิจัย และผลิตบัณฑิตในสาขาวิชาวิทยาการสารสนเทศ (Informatics) การดาเนินกิจกรรมดังกล่าวข้างต้น เป็นไปในทิศทางท่ีสอดคล้องกับนโยบายของภาครัฐที่ ต้องการกระจายแหล่งการเรียนการสอนในระดับอุดมศึกษาทางด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีมาสู่ภาค ตะวันออก เพื่อรองรับการขยายตัวทางเศรษฐกิจ สังคม และอุตสาหกรรมของภาคตะวันออก ซึ่งในปัจจุบันมี สาขาวิชาที่เปิดสอนท้ังหมด ๓ สาขาวิชา ได้แก่ สาขาวิชาวิทยาการคอมพิวเตอร์ สาขาวิชาเทคโนโลยี สารสนเทศ และสาขาวิชาวศิ วกรรมซอฟต์แวร์ โดยหลักสตู รที่อยู่ในความรับผิดชอบของคณะฯ ประกอบดว้ ย ๑. หลักสูตรเทคโนโลยีบัณฑิต สาขาวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศ (ต่อเน่ือง) หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๔๙ ปัจจุบันได้รับความเห็นชอบจากสภามหาวิทยาลัยบูรพาให้ทาการปิดหลักสูตรเป็นที่ เรยี บร้อยแลว้ แตย่ ังคงดาเนินการอยู่เนอื่ งจากยงั มีนิสติ เรียนอยู่ ๒. หลักสูตรวิทยาศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาวิทยาการคอมพิวเตอร์ หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๕๔ (เป็นไปตามกรอบมาตรฐาน TQF) ๓. หลักสตู รวิทยาศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาวิศวกรรมซอฟต์แวร์ หลักสูตรใหม่ พ.ศ. ๒๕๕๔ (เป็นไป ตามกรอบมาตรฐาน TQF) ๔. หลักสตู รวทิ ยาศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาเทคโนโลยสี ารสนเทศ หลกั สูตรใหม่ พ.ศ. ๒๕๕๔ (เป็นไป ตามกรอบมาตรฐาน TQF) ๕. หลักสูตรวิทยาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศ หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๕๔ (เปน็ ไปตามกรอบมาตรฐาน TQF) ๖. หลักสูตรวิทยาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาวิทยาการคอมพิวเตอร์ หลักสูตรใหม่ พ.ศ. ๒๕๕๔ (เปน็ ไปตามกรอบมาตรฐาน TQF) ๗. หลักสูตรปรัชญาดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชาวิทยาการคอมพิวเตอร์ หลักสูตรใหม่ พ.ศ. ๒๕๕๐ หลักสูตรน้ีได้รับการปรับปรุงให้เป็นไปตามกรอบมาตรฐาน TQF และ ได้รับความเห็นชอบจาก สภามหาวิทยาลัยบูรพาแล้ว (หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๕๕) ขณะนี้กาลังรอการตอบรับการ รบั ทราบการรับรองหลกั สตู รจาก สกอ. ปัจจุบันคณะวิทยาการสารสนเทศ ได้เปิดการสอนทั้งหมด ๖ หลักสูตรท่ีเป็นไปตามกรอบมาตรฐาน TQF โดยคณะวทิ ยาการสารสนเทศมนี สิ ิต (ทัง้ ภาคปกตแิ ละภาคพเิ ศษ) ท้งั สิ้น ๑,๔๕๕ คน (ขอ้ มูล ณ วันท่ี ๓๑ พฤษภาคม พ.ศ. ๒๕๕๕) และมกี ารสอนวิชาศกึ ษาทัว่ ไปและวิชาบริการ อีกปีละประมาณ ๘,๐๐๐ คน คณะวิทยาการสารสนเทศ ประกอบด้วย ๓ ส่วนงานย่อย คือ สานักงานคณบดี สานักงานจัดการ ศึกษา และเขตอุตสาหกรรมซอฟต์แวร์ภาคตะวันออก มหาวิทยาลัยบูรพา โดยมีสานักงาน ตั้งอยู่ที่ อาคารสิรินธร ห้อง ๕๐๕ หอ้ ง ๔๑๕ และ อาคาร ๕๐ ปี มหาวทิ ยาลยั บูรพา ห้อง ๔๑๒ ตามลาดบั ๔

ปรัชญา วสิ ัยทศั น์ พนั ธกจิ ปรัชญา สรา้ งเสริมปัญญา ใฝ่หาความรู้ คูค่ ุณธรรม ชน้ี าสงั คม ปณธิ าน ๑. ผลิตบัณฑิตใหม้ ปี ัญญา ใฝหุ าความรู้และคุณธรรม ๒. สร้างองคค์ วามรใู้ หม่ เพ่อื ความเป็นเลศิ ทางวชิ าการ ๓. เป็นที่พง่ึ ทางวิชาการ สืบสานวฒั นธรรม ช้ีนาแนวทางการพัฒนาแกส่ งั คม โดยเฉพาะภาคตะวนั ออก วิสยั ทศั น์ สรา้ งอารยะบัณฑิต มงุ่ แนวคดิ สากล นาพาสังคมอย่างยั่งยนื ดว้ ยวิทยาการสารสนเทศ สร้างอารยะบัณฑิต หมายถึง การผลิตบัณฑิตที่มีความรู้ความสามารถด้านวิทยาการสารสนเทศ ประกอบกับเป็นผู้ท่ีมีศีลธรรมและจรรยาบรรณ สร้างคุณค่าและประโยชน์ให้กับชุมชนของตน สังคมโดยรวม ประเทศชาติ หรือระดบั โลก ได้ในท่ีสดุ แนวคิดสากล หมายถึง การดาเนินกิจกรรมต่างๆ ด้านวิทยาการสารสนเทศ บนพ้ืนฐานของการใช้ บรรทัดฐาน มาตรฐานในระดับโลกหรือระดับสากล นาพาสังคมอย่างย่ังยืนด้วยวิทยาการสารสนเทศ หมายถึง การผลิตองค์ความรู้ ผลงานวิจัย หรือ งานบริการวิชาการ ด้านวิทยาการสารสนเทศ ที่สามารถนาไปช่วยในการพัฒนาสังคมได้อย่างมีคุณค่าและ ตอ่ เน่อื ง พันธกจิ ๑. สร้างอารยะบณั ฑิตทางวทิ ยาการสารสนเทศ ใหส้ อดคล้องกับการพัฒนาประเทศ ๒. ผลิตงานวจิ ัยทางวิทยาการสารสนเทศสู่ระดับสากล ๓. นาพาสังคมด้วยบริการวิชาการทางวทิ ยาการสารสนเทศ เพอื่ สร้างสงั คมอุดมปญั ญา ๔. พฒั นาและส่งเสรมิ ด้านทานบุ ารุงศิลปวฒั นธรรม ๕. สร้างระบบงานบรหิ ารตามหลักธรรมาภิบาล ด้วยเทคโนโลยสี ารสนเทศทท่ี ันสมยั ๕

โครงสร้ างการแบ่ งส่ วนงาน คณะวทิ ยาการสารเทศ มหาวิทยาลัยบรู พา แบง่ โครงสร้างองค์กรออกเป็น ๓ หน่วยงาน ประกอบด้วย สานักงานคณบดี สานกั งานจัดการศึกษา และเขตอุตสาหกรรมซอฟต์แวรภ์ าคตะวนั ออก มหาวิทยาลัยบูรพา คณะวทิ ยาการสารสนเทศ สานกั งานคณบดี สานกั งานจดั การศึกษา เขตอุตสาหกรรมซอฟต์แวร์ ภาคตะวันออก มหาวทิ ยาลัย บรู พา สานักงานคณบดี กากบั ดูแลโดยหวั หน้าสานักงานคณบดี แบง่ เปน็ กลมุ่ งาน ดังนี้  งานการบรหิ าร และการจดั การทว่ั ไป  งานการบรกิ ารการศึกษา  งานบริการวชิ าการ  งานการเงินและพสั ดุ  งานนโยบายและแผน  งานหอ้ งปฏิบตั กิ าร  งานประกนั คุณภาพ  งานกิจการนสิ ติ สานักงานจดั การศึกษา กากับดูแลโดยรองคณบดีฝาุ ยวชิ าการ แบง่ เป็น ๓ สาขาวชิ า ดงั นี้ ๑. สาขาวชิ าวทิ ยาการคอมพวิ เตอร์ ๒. สาขาวชิ าเทคโนโลยสี ารสนเทศ ๓. สาขาวิชาวศิ วกรรมซอฟต์แวร์ เขตอตุ สาหกรรมซอฟตแ์ วรภ์ าคตะวันออก มหาวิทยาลัยบูรพา กากับดูแลโดยผู้อานวยการเขตอุตสาหกรรม ซอฟต์แวรภ์ าคตะวันออก มหาวิทยาลัยบรู พา ๖

โครงสร้ างการบริหารงานของส่ วนงาน คณบดีคณะวิทยาการสารสนเทศ คณะกรรมการบรหิ ารคณะวิทยาการสารสนเทศ คณะกรรมการประจา รองคณบดฝี าุ ยบรหิ าร รองคณบดีฝาุ ยวชิ าการ รองคณบดฝี ุายแผนงาน รองคณบดีฝาุ ยประกัน รองคณบดฝี ุายกิจการ วจิ ยั และบรกิ าร คณุ ภาพและสหกจิ นสิ ิตและกิจการพิเศษ วิชาการ ศกึ ษา หัวหน้าสานักงานคณบดี สาขาวชิ าวิทยาการ ผอู้ านวยการเขต คอมพวิ เตอร์ อตุ สาหกรรมซอฟตแ์ วร์ สาขาวชิ าเทคโนโลยี ภาคตะวนั ออก สารสนเทศ มหาวทิ ยาลัยบูรพา สาขาวชิ าวศิ วกรรม ซอฟตแ์ วร์ ๗

คณะกรรมการประจาคณะ 1. ผชู้ ่วยศาสตราจารย์ ดร.สุวรรณา รศั มีขวัญ ประธาน 2. ศาสตราจารย์ ดร.ชดิ ชนก เหลอื สนิ ทรพั ย์ กรรมการประเภทผ้ทู รงคณุ วฒุ ิ 3. รองศาสตราจารย์ ดร.เสรี ชัดแชม้ กรรมการประเภทผู้ทรงคุณวฒุ ิ 4. ผู้ชว่ ยศาสตราจารย์ ดร.วโิ รจน์ เรืองประเทืองสขุ กรรมการประเภทผู้ทรงคุณวฒุ ิ 5. อาจารย์เสรี ชโิ นดม กรรมการประเภทผู้ทรงคุณวฒุ ิ 6. อาจารย์ภูสติ กุลเกษม กรรมการ 7. ดร.คนึงนิจ กโุ บลา กรรมการ 8. อาจารย์เบญจภรณ์ จันทรกองกลุ กรรมการ 9. อาจารย์ประจกั ษ์ จิตเงนิ มะดัน กรรมการ 10. ดร.อุรรี ัฐ สขุ สวสั ดช์ิ น กรรมการประเภทประธานสาขาวชิ า 11. อาจารย์อธติ า ออ่ นเออ้ื น กรรมการประเภทประธานสาขาวชิ า 12. ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.กฤษณะ ชินสาร กรรมการและเลขานุการ คณะกรรมการบริหารคณะ 1. ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.สุวรรณา รัศมีขวัญ คณบดี 2. อาจารยภ์ สู ิต กลุ เกษม รองคณบดฝี ุายบริหาร 3. ดร.คนงึ นิจ กโุ บลา รองคณบดีฝาุ ยวิชาการ 4. ผชู้ ่วยศาสตราจารย์ ดร.กฤษณะ ชนิ สาร รองคณบดีฝาุ ยแผนงาน วจิ ัย และบริการวิชาการ และ 5. อาจารยเ์ บญจภรณ์ จนั ทรกองกลุ ประธานสาขาวทิ ยาการคอมพวิ เตอร์ 6. อาจารย์ประจักษ์ จติ เงนิ มะดัน รองคณบดฝี าุ ยประกนั คณุ ภาพและสหกิจศกึ ษา 7. ดร.อุรรี ัฐ สุขสวัสดชิ์ น รองคณบดีฝาุ ยกิจการนิสติ และกจิ การพิเศษ 8. อาจารย์อธติ า อ่อนเอ้ือน ประธานสาขาวิชาเทคโนโลยสี ารสนเทศ ประธานสาขาวิชาวศิ วกรรมซอฟต์แวร์ ๘

รายชื่อบุคลากร สาขาวิทยาการคอมพิวเตอร์ หอ้ ง โทรศัพท์ รปู /อเี มล ที่ ชื่อ - สกลุ ทางาน ภายใน ๑ ผศ. ดร.กฤษณะ ชินสาร SD ๓๐๖๑ ประธานสาขาวชิ าวทิ ยาการคอมพวิ เตอร์ ๓๑๗ [email protected] ๒ ผศ. ดร.สุวรรณา รศั มขี วัญ SD ๓๐๖๑ ๕๑๗ [email protected] ๓ ดร.สนุ ิสา รมิ เจรญิ SD ๓๐๕๙ ๕๑๗ [email protected] ๔ อาจารย์จิระ จตุรานนท์ SD ๒๐๔๕ ๕๑๗ [email protected] ๕ อาจารยพ์ งษ์วุฒิ ดวงศรี SD ๒๐๔๔ ตอ่ ๒๒ ๕๑๑ [email protected] ๖ ดร.จักริน สุขสวสั ดช์ิ น SD ๒๐๔๔ ต่อ ๒๕ ๕๑๑ ๙

ที่ ช่อื - สกลุ ห้อง โทรศัพท์ รูป/อเี มล ๗ อาจารยภ์ สู ติ กุลเกษม ทางาน ภายใน [email protected] SD ๒๐๔๕ ๕๑๗ [email protected] ๘ อาจารย์เบญจภรณ์ จนั ทรกองกลุ SD ๒๐๔๕ ๕๑๗ ๙ อาจารย์พรวณัฐ ธนพลภคั วัฒน์ [email protected] SD ๒๐๔๔ ต่อ ๒๑ ๕๑๑ [email protected] ๑๐ ดร.โกเมศ อมั พวนั SD ๓๐๕๙ ๕๑๗ [email protected] ๑๐

สาขาวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศ หอ้ ง โทรศัพท์ รูป/อเี มล ที่ ชอื่ - สกลุ ทางาน ภายใน ๑ ดร.อรุ ีรฐั สุขสวสั ด์ชิ น SD ๓๐๕๙ ประธานสาขาวิชาเทคโนโลยสี ารสนเทศ ๕๑๗ ๒ ผศ.วชิ ยั บุญเจือ [email protected] SD ๒๐๔๔ ต่อ ๑๖ ๕๐๙ [email protected] ๓ ผศ.ดร.สรุ างคนา ธรรมลขิ ิต SD ๒๐๔๔ ตอ่ ๑๕ ๕๐๙ [email protected] ๔ ดร.ณฐั นนท์ ลีลาตระกูล SD ๒๐๔๔ ต่อ ๑๓ ๕๐๙ ๕ อาจารยว์ ิทวัส พนั ธุมจนิ ดา [email protected] SD ๒๐๔๔ ตอ่ ๒๖ ๕๑๐ [email protected] ๖ อาจารย์ประวทิ ย์ บญุ มี SD ๒๐๔๔ ตอ่ ๑๘ ๕๑๑ [email protected] ๑๑

ท่ี ชอ่ื - สกลุ ห้อง โทรศพั ท์ รปู /อเี มล ๗ อาจารยก์ นั ทิมา อ่อนละออ ทางาน ภายใน ๘ อาจารยว์ รวิทย์ วรี ะพนั ธ์ุ SD ๒๐๔๔ ต่อ ๑๗ ๕๑๑ ๙ อาจารย์ประจักษ์ จิตเงินมะดัน [email protected] SD ๒๐๔๔ ต่อ ๒๕ ๕๑๑ [email protected] SD ๒๐๔๔ ตอ่ ๒๘ ๕๐๗ [email protected] ๑๒

สาขาวชิ าวิศวกรรมซอฟตแ์ วร์ ท่ี ชื่อ - สกลุ หอ้ ง โทรศัพท์ รูป/อีเมล ทางาน ภายใน ๑ อาจารยอ์ ธิตา อ่อนเอื้อน SD ๓๑๙๓ ประธานสาขาวิชาวิศวกรรมซอฟต์แวร์ ๔๑๐ [email protected] ๒ อาจารยธ์ วชั ชยั เอย่ี มไพโรจน์ SD ๓๑๙๓ ๔๑๐ ๓ ผศ.นวลศรี เดน่ วฒั นา [email protected] SD ๓๑๙๓ ๔๑๐ [email protected] ๔ ดร.คนงึ นจิ กโุ บลา SD ๒๐๔๔ ตอ่ ๑๒ ๕๐๙ [email protected] ๕ Mr. John Gatewood Ham SD ๒๐๔๔ ตอ่ ๑๖ ๕๐๙ buraphalinuxserver @gmail.com ๖ อาจารย์สรุ างคร์ ัตน์ เชาวโ์ คกสูง SD ๒๐๔๔ ต่อ ๑๑ ๕๐๙ [email protected] ๑๓

เจ้าหน้าทสี่ ายสนบั สนุน ที่ ช่อื - สกลุ /ติดตอ่ ตาแหนง่ งานทเ่ี กี่ยวข้อง รปู ใหบ้ ริการประสานงานดา้ น ๑ นางระวนี นั ท์ ชูสินชินภทั ร เจ้าหนา้ ท่ี บรหิ ารงานทว่ั ไปและบุคลากร - สานักงานคณบดี คณะวิทยาการ บรหิ ารงาน - งานสารบรรณ - Eastern Software Park, สารสนเทศ ชัน้ ๕ อาคารสริ ินธร ทวั่ ไป BUU - โทร. ๓๐๖๑ - ใหบ้ ริการการขอใช้บริการ เครอ่ื งแม่ขา่ ยและระบบ - [email protected] เครอื ข่าย - การขอใชบ้ ัตรเข้า ๒ นางสาวนิตยา ตริ พงษ์พัฒน์ เจา้ หน้าท่ี หอ้ งปฏบิ ัตกิ ารของคณะ - ใหบ้ รกิ ารการใช้ - สานักงานคณบดี คณะวิทยาการ บรหิ ารงาน ห้องปฏบิ ัติการคอมพิวเตอร์ - ใหค้ าปรึกษาปัญหาทางดา้ น สารสนเทศ ชั้น ๕ อาคารสริ ินธร ทว่ั ไป ซอฟต์แวรแ์ ละฮาร์ดแวร์ - โทร. ๓๐๖๑ - ให้บรกิ ารขา่ วประชาสัมพนั ธ์ ของคณะ และเวบ็ ไซตค์ ณะ - [email protected] - ใหบ้ ริการรบั -ส่งเอกสาร ใบ ๓ นายเหมรัศมิ์ วชริ หตั ถพงศ์ นกั วิชาการ คาร้องต่าง ๆ ทเ่ี กี่ยวขอ้ งกบั งานทะเบยี นและสถติ ิของ - หอ้ ง ๔๑๕ สานักงานจดั การศึกษา คอมพวิ เตอร์ นสิ ติ ระดบั บณั ฑิตศกึ ษา ให้ อาจารยท์ ป่ี รึกษาและคณบดี คณะวทิ ยาการสารสนเทศ ลงนาม - ประสานงานเก่ยี วกับตาราง - โทร. ๓๐๙๖ เรยี น ตารางสอบ ของคณะ - ประกันคุณภาพการศึกษา - [email protected] ๔ นายเกรยี งศักด์ิ ปานโพธิท์ อง นกั วิชาการ - ห้อง ๔๑๕ สานักงานจดั การศึกษา คอมพิวเตอร์ คณะวิทยาการสารสนเทศ - โทร. ๓๐๙๖ - [email protected] ๕ นายสทิ ธพิ งษ์ ฉิมไทย นกั วชิ าการ - หอ้ ง ๔๑๕ สานักงานจดั การศึกษา คอมพวิ เตอร์ คณะวทิ ยาการสารสนเทศ - โทร. ๓๐๙๖ - [email protected] ๖ นางสาวกุลชลี รัตนคร นกั วชิ าการ - ห้อง ๕๐๔ สานักงานคณบดี คณะ ศกึ ษา วิทยาการสารสนเทศ - โทร. ๒๐๔๔ ตอ่ ๒๓ - [email protected] ๑๔

ที่ ชือ่ - สกุล/ตดิ ต่อ ตาแหนง่ งานท่ีเกีย่ วข้อง รปู - ให้บรกิ ารดา้ นกิจการนิสติ ๗ นายกรสหนนั ท์ ต่อพงษ์พันธุ์ นกั วชิ าการ ของคณะวทิ ยาการสารสนเทศ - รบั -ส่งเอกสาร ใบคาร้อง - หอ้ ง ๔๑๕ สานกั งานจัดการศึกษา ศกึ ษา ต่างๆ ทเ่ี ก่ยี วข้องกับงาน ทะเบียนและสถติ ิของนิสิต คณะวทิ ยาการสารสนเทศ ระดบั ปริญญาตรี - จองใชห้ ้องเรียนของคณะ - โทร. ๓๐๙๖ - ประสานงานเกี่ยวกับจัดการ เรียนการสอน/ สอบ ของ - [email protected] คณะ - ประสานงานรายวิชาศึกษา ๘ นางสาวกมลวรรณ แสงระวี นักวชิ าการ ท่ัวไป ๘๘๕๑๐๑ - ให้บรกิ ารด้านงานการเงิน - ห้อง ๕๐๔ สานักงานคณบดี คณะ ศึกษา การรบั เงนิ การจ่ายเงนิ และ ให้คาปรึกษาเก่ียวกับระเบยี บ วทิ ยาการสารสนเทศ ทางการเงนิ - โทร. ๒๐๔๔ ต่อ ๒๔ - ให้บรกิ ารด้านงานการเงนิ การรบั เงิน การจา่ ยเงิน และ - [email protected] ให้คาปรกึ ษาเกย่ี วกับระเบยี บ ทางการเงนิ ๙ นางสาวหรรษา รอดเงิน นักวิชาการเงิน - ให้บรกิ ารจัดซอื้ /จัดจา้ ง - ห้อง ๕๐๔ สานักงานคณบดี คณะ และบญั ชี - ยมื /คืน ครภุ ัณฑ์ วิทยาการสารสนเทศ - ให้บริการด้านเอกสาร สง่ิ พมิ พ์ และดแู ลห้องเรียน - โทร. ๓๐๖๐ - [email protected] ๑๐ นางสาวรมัญญา ประสทิ ธบิ ญุ นกั วชิ าการเงิน - หอ้ ง ๕๐๔ สานักงานคณบดี คณะ และบัญชี วทิ ยาการสารสนเทศ - โทร. ๒๐๔๔ ตอ่ ๒๕ - [email protected] ๑๑ นางสาวศิรจิ นั ทร์ แซล่ ้ี นักวิชาการ - หอ้ ง ๕๐๔ สานักงานคณบดี คณะ พัสดุ วิทยาการสารสนเทศ - โทร. ๒๐๔๔ ต่อ ๒๔ - [email protected] ๑๒ นายสธุ น ทองปาน ลูกจา้ ง - ห้อง ๕๐๔ สานักงานคณบดี คณะ วิทยาการสารสนเทศ - โทร. ๓๐๖๐ ๑๓ นางสาวสุธาทิพย์ ทรัพยป์ ระเสรฐิ ลูกจา้ ง - ให้บรกิ ารด้านเอกสาร - ห้อง ๕๐๔ สานักงานคณบดี คณะ สิ่งพมิ พ์ และดแู ลห้องเรยี น วทิ ยาการสารสนเทศ - โทร. ๓๐๖๐ ๑๕

จานวนคณาจารยป์ ระจาจาแนกตามคุณวุฒกิ ารศึกษา ปีการศึกษา ปรญิ ญาตรี ปริญญาโท ปรญิ ญาเอก รวม ๒๕๕๒ ๑ ๑๕ ๖ ๒๒ ๒๕๕๓ ๒๓ ๒๕๕๔ ๑ ๑๕ ๗ ๒๔.๕ ปีการศึกษา ๑ ๑๕ ๘.๕ รวม ๒๕๕๒ ๒๒ ๒๕๕๓ จานวนคณาจารยป์ ระจาจาแนกตามตาแหนง่ ทางวชิ าการ ๒๓ ๒๕๕๔ ๒๔.๕ อาจารย์ ผศ. รศ. ศ. ๑๗ ๕ - - ๑๘ ๕ - - ๑๙.๕ ๕ - - ๑๖

งบประมาณ ในปงี บประมาณ ๒๕๕๕ คณะวิทยาการสารสนเทศ ได้รับเงินอุดหนุนจากรัฐบาลและต้ังงบเงินรายได้ เพ่อื เป็นค่าใชจ้ า่ ย จานวนเงิน ๓๕,๒๔๑,๗๘๗.๖๓ บาท (สามสิบหา้ ลา้ นสองแสนสีห่ มนื่ หน่ึงพนั เจ็ดร้อยแปดสิบ เจ็ดบาทหกสิบสามสตางค์) ใช้จ่ายจริง ณ วันท่ี ๓๐ กันยายน พ.ศ.๒๕๕๕ จานวนเงิน ๒๓,๔๑๐,๗๗๖.๓๖ บาท (ยส่ี บิ สามล้านสีแ่ สนหนง่ึ หมนื่ เจด็ รอ้ ยเจ็ดสิบหกบาทสามสิบหกสตางค์) รายละเอียดงบประมาณทไี่ ด้รับจากเงนิ อุดหนุนจากรฐั บาลและเงินรายได้คณะฯ จาแนกตามหมวดรายจา่ ย หมวดรายจา่ ย เงินอดุ หนุนจาก เงินรายได้ รวม ร้อยละ รัฐบาล (บาท) (บาท) งบบคุ ลากร (บาท) เงินเดือน ค่าจา้ ง ๒,๑๔๐,๙๐๐.๐๐ ๒,๑๔๐,๙๐๐.๐๐ ๖.๐๗ ๕๗๐,๐๐๐.๐๐ ๗๐,๘๐๐.๐๐ ๖๔๐,๘๐๐.๐๐ ๑.๘๒ งบดาเนนิ การ ค่าตอบแทนใช้สอยและวสั ดุ ๒,๖๖๗,๑๐๐.๐๐ ๑๐,๗๖๗,๙๓๔.๘๙ ๑๓,๔๓๕,๐๓๔.๘๙ ๓๘.๑๒ ค่าสาธารณูปโภค ๑๗๐,๐๐๐.๐๐ ๑๗๐,๐๐๐.๐๐ ๐.๔๘ งบเงนิ อดุ หนนุ ๑,๓๔๘,๐๐๐.๐๐ ๑๒,๓๑๗,๙๕๔.๑๔ ๑๓,๖๖๕,๙๕๔.๑๔ ๓๘.๗๘ เงินอดุ หนุนทว่ั ไป ๒,๓๓๐,๒๒๕.๐๐ ๒,๓๓๐,๒๒๕.๐๐ ๖.๖๑ งบลงทนุ ๑,๘๘๖,๒๔๒.๐๐ ๑,๘๘๖,๒๔๒.๐๐ ๕.๓๕ ค่าครภุ ัณฑ์ คา่ ทดี่ ินและสิ่งก่อสรา้ ง งบกลาง งบกลาง ๘๗๒,๖๓๑.๖๐ ๘๗๒,๖๓๑.๖๐ ๒.๔๘ งบรายจา่ ยอน่ื ๑๐๐,๐๐๐.๐๐ ๑๐๐,๐๐๐.๐๐ ๐.๒๘ งบรายจา่ ยอน่ื ๔,๕๘๕,๑๐๐.๐๐ ๓๐,๖๕๖,๖๘๗.๖๓ ๓๕,๒๔๑,๗๘๗.๖๓ ๑๐๐.๐๐ รวมทั้งส้ิน ๑๗

รายละเอียดรายจ่ายจริงจากเงินอุดหนุนจากรัฐบาลและเงินรายได้ จาแนกตามหมวดรายจ่าย ณ วันท่ี ๓๐ กันยายน พ.ศ.๒๕๕๕ หมวดรายจ่าย เงนิ อดุ หนนุ จาก เงินรายได้ รวม รอ้ ยละ รัฐบาล (บาท) (บาท) งบบคุ ลากร (บาท) เงินเดอื น คา่ จา้ ง ๑,๗๑๔,๗๔๘.๐๐ ๑,๗๑๔,๗๔๘.๐๐ ๔.๘๗ งบดาเนนิ การ ๕๗๐,๐๐๐.๐๐ ๗๐,๘๐๐.๐๐ ๖๔๐,๘๐๐.๐๐ ๑.๘๒ คา่ ตอบแทนใช้สอยและวัสดุ ค่าสาธารณูปโภค ๒,๖๖๗,๐๙๙.๙๐ ๘,๐๔๙,๒๕๙.๓๑ ๑๐,๗๑๖,๓๕๙.๒๑ ๓๐.๔๑ งบเงินอุดหนุน ๔๓,๘๗๓.๙๗ ๔๓,๘๗๓.๙๗ ๐.๑๒ เงินอุดหนุนทั่วไป ๑,๓๔๘,๐๐๐.๐๐ ๔,๖๗๑,๖๔๗.๓๓ ๖,๐๑๙,๖๔๗.๓๓ ๑๗.๐๘ งบลงทนุ ค่าครุภัณฑ์ ๒,๓๒๘,๕๙๑.๐๐ ๒,๓๒๘,๕๙๑.๐๐ ๖.๖๑ ค่าทด่ี นิ และส่งิ ก่อสร้าง ๑,๘๕๖,๑๖๗.๒๕ ๑,๘๕๖,๑๖๗.๒๕ ๕.๒๗ งบกลาง ๓๙,๕๙๘.๖๐ ๓๙,๕๙๘.๖๐ ๐.๑๑ งบกลาง ๕๐,๙๙๑.๐๐ ๕๐,๙๙๑.๐๐ ๐.๑๔ งบรายจ่ายอืน่ งบรายจ่ายอนื่ ๔,๕๘๕,๐๙๙.๙๐ ๑๘,๘๒๕,๖๗๖.๔๖ ๒๓,๔๑๐,๗๗๖.๓๖ ๖๖.๔๓ รวมท้ังสนิ้ ๑๘

การบริหาร ๑. กิจกรรมเดน่ ในรอบปี (ชว่ งเวลา ๑ ตลุ าคม ๒๕๕๔ – ๓๐ กนั ยายน ๒๕๕๕) ๑.๑ ชื่อโครงการ การประชุมวิชาการนานาชาติ Knowledge & Smart Technologies ครั้งที่ ๔ ประจาปี ๒๕๕๕ (KST ๒๐๑๒) ความเปน็ มาของโครงการโดยสรุป การพัฒนาความรู้ความสามารถด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีเป็นกระบวนการที่สาคัญในการ พัฒนาทรัพยากรมนุษย์ของประเทศ เพ่ือรองรับการแก้ปัญหาหลายมิติที่มีความซับซ้อน ทั้งนี้ เพื่อให้ประเทศ ไทยสามารถแขง่ ขันกบั นานาประเทศได้ ซึ่งการพัฒนาความรู้ความสามารถดังกล่าว ถือเป็นบทบาทและหน้าที่ โดยตรงของสถาบันอดุ มศึกษา เนื่องจากเป็นแหล่งความรู้ท่ีทันสมัย มีคุณภาพ และเข้าถึงบุคคลทุกระดับให้ได้ มโี อกาสศึกษาหาความรู้ และมคี วามเปน็ สากล การรวบรวมองคค์ วามรู้ในระดับความคิดเห็นของนักวิชาการและนักวิจัย เป็นกระบวนการหน่ึงในการ สร้างนวัตกรรมแห่งความรู้ที่ยั่งยืนท่ีกล่าวมาข้างต้น ดังน้ัน ในปี พ.ศ.๒๕๕๕ ศูนย์วิจัย Knowledge and Smart Technology ในสงั กดั คณะวิทยาการสารสนเทศ มหาวิทยาลัยบูรพา โดยความร่วมมือกับ Advanced Virtual and Intelligent Computing Research Center ในสังกัดภาควิชาคณิตศาสตร์และวิทยาการ คอมพิวเตอร์ คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, ภาควิชาวิศวกรรมไฟฟูา คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา, วิทยาลัยวิทยาการวิจัยและวิทยาการปัญญา มหาวิทยาลัยบูรพา, คณะเทคโนโลยี สารสนเทศ มหาวิทยาลัยศรีปทุม วิทยาเขตชลบุรี และภาควิชาวิทยาการคอมพิวเตอร์ คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลยั ขอนแก่น จึงจัดให้มีการประชุมวิชาการนานาชาติ Knowledge & Smart Technologies ครั้งท่ี ๔ ประจาปี ๒๕๕๕ (KST ๒๐๑๒) ข้ึน เพื่อเป็นศูนย์กลางของการรวบรวมผลงานวิจัยและแลกเปลี่ยนความ คิดเห็นสาหรับนักวิชาการ นักวิจัย คณาจารย์ นิสิต นักศึกษา และผู้สนใจท่ัวไป ในศาสตร์สาขา Computational Intelligence, Intelligent Application และ Emergent Intelligent Technologies อนงึ่ เพอื่ เป็นการเปิดโอกาสใหน้ ักวิจยั รุ่นใหม่ คณะกรรมการจัดการเห็นควรให้มีการคงมีบทความภาษาไทยไว้ บางส่วนโดยจดั ไวใ้ น Special Thai Track ผรู้ ับผิดชอบโครงการ ผศ.ดร.กฤษณะ ชินสาร หัวหน้าห้องปฏิบัติการวิจัย Knowledge & Smart Technologies คณะ วทิ ยาการสารสนเทศ มหาวิทยาลัยบรู พา ระยะเวลา และวนั เวลาในการจดั ทาโครงการ ระหวา่ งวันท่ี ๗ – ๘ กรกฎาคม พ.ศ.๒๕๕๕ ๑๙

กิจกรรมของโครงการ ๑. การตีพิมพ์ผลงานในการประชุมวิชาการ โดยมีคณะกรรมการกลั่นกรองคุณภาพผลงานจากท้ัง ภายในและภายนอกมหาวิทยาลัยบูรพา ซึ่งในจานวนน้ีเป็นผู้ทรงคุณวุฒิจากต่างประเทศร่วมเป็น คณะกรรมการกลั่นกรองด้วย ท้ังนี้ กระบวนการพิจารณาบทความทั้งหมดจะเป็นไปตาม มาตรฐานการพิจารณาบทความของสมาคม IEEE โดยสมาชิก IEEE Thailand Section จะร่วม เปน็ คณะกรรมการพจิ ารณาดว้ ย ๒. การนาเสนอผลงานวิชาการในหัวข้อที่กาลังได้รับความสนใจจากวิทยากรผู้ทรงคุณวุฒิจากท้ังใน และตา่ งประเทศ (Invited Speaker) ๓. Keynote Speaker และ Invited Speaker จากในและตา่ งประเทศ ผลทีเ่ กดิ จากความสาเร็จของโครงการ คณะวิทยาการสารสนเทศ ได้ใหบ้ ริการวชิ าการแก่สงั คมซึ่งเปน็ ภารกจิ หลกั ของสถาบันอดุ มศกึ ษาที่พึง ใหบ้ ริการวชิ าการแก่สังคม ชุมชน และประเทศซาติ ตามตัวบง่ ชี้ที่ ๕.๑ และ ๕.๒ ของการประกันคณุ ภาพ การศกึ ษาภายใน สถานศกึ ษา ระดบั อดุ มศกึ ษา ซงึ่ มีผู้สนใจเขา้ รว่ มโครงการมากกว่า ๒๐๐ คน ซงึ่ ได้ ดาเนินการตามยทุ ธศาสตร์ของคณะฯ ตาม “ประเดน็ ยุทธศาสตรท์ ่ี ๓ บริการวิชาการทางวทิ ยาการสารสนเทศ เพอื่ กาหนดทิศทางหรือตอบสนองความต้องการของสงั คม โดยคานงึ ถึงการใชป้ ระโยชนต์ อ่ ยอด การลดตน้ ทุน และการนากลบั มาใช้ใหม่” (กลยุทธ์ท่ี ๗ และ ๘) โดยผลงานวิจยั ทไ่ี ด้รบั การคดั เลอื กจากการประชมุ วิชาการใน ครัง้ น้ี จะได้รับการตีพมิ พ์ในฐานขอ้ มลู ทเี่ ป็นทีย่ อมรบั ในระดับนานาชาติ (IEEE Xplore) ซ่งึ บคุ ลากรของคณะฯ ผชู้ งึ่ มีส่วนรว่ มในการจัดการประชมุ สามารถนาความรปู้ ระประสบการณ์ท่ไี ดร้ บั จากการจดั ประชมุ วิชาการ ระดับนานาชาติ ไปเผยแพร่ต่อสาธารณะ เพ่ือยกระดับมาตรฐานการจัดประชมุ วิชาการของประเทศไทยต่อไป อีกท้ังยงั ได้มโี อกาสแลกเปลี่ยนเรยี นรู้กับคณาจารย์และนักวจิ ัย จากท้ังภายในและต่างประเทศ เพอื่ นา ประสบการณ์ท่ีไดร้ บั กลบั มาประยุกต์ใชใ้ นการเรยี นการสอนและการวิจยั ของตนเองและนิสติ ทอ่ี ยู่ในที่ปรกึ ษา และยังเป็นเวทสี าหรับการสร้างเครอื ข่ายวจิ ยั และการประชมุ วิชาการนานาชาตริ ะหว่างสถาบัน รวมท้ังนิสิต คณะวทิ ยาการสารสนเทศทกุ หลักสตู รและทุกระดับสามารถเข้าร่วมประชุมวิชาการระดับนานาชาติโดยไมเ่ สยี คา่ ใชจ้ า่ ย ซง่ึ มวี ิทยากรอาคันตุกะท่ีมคี วามเชี่ยวชาญด้านการ Simulation จากประเทศญปี ุน (Assoc. Prof. Dr. Ryo Takagi) อนั จะเป็นประโยชน์โดยตรงในการพฒั นางานวิจยั ของตน และยงั เปน็ การสรา้ งเครือข่ายการ วิจัย นอกจากนี้ ผเู้ ข้ารว่ มงานยังไดร้ ับความร้เู ก่ียวกบั CELLULAR AUTOMATA-BASED ERROR CORRECTING CAPABILITY โดย Associate Professor Dr.Sartra Wongthanavasu โดย จากภาควชิ า วิทยาการคอมพวิ เตอร์ มหาวิทยาลยั ขอนแก่น ๒๐

ภาพประกอบโครงการ รปู 1 บรรยากาศการรับลงทะเบยี น รูป 2 ศาสตราจารย์ นายแพทย์ สมพล พงศ์ไทย อธิการบดมี หาวิทยาลยั บรู พา กล่าวตอ้ นรบั และเปดิ งาน ๒๑

รูป 3 ศาสตราจารย์ นายแพทย์ สมพล พงศ์ไทย อธกิ ารบดีมหาวิทยาลัยบูรพา มอบของท่รี ะลึกให้ Assoc. Prof. Dr. Ryo Takagi (Keynote Speaker) รูป 4 ภาพรวมหมู่ ๒๒

รปู 5 The ๒๐๑๑ Tohoku Earthquake and Japanese Railways: an Overview โดย Associate Professor Dr. Ryo Takagi Kogakuin University, Tokyo, Japan. (Keynote Speaker) รูป 6 CELLULAR AUTOMATA-BASED ERROR CORRECTING CAPABILITY โดย Associate Professor Dr. Sartra Wongthanavasu Department of Computer Science Faculty of Science, Khon Kaen University, Thailand (Invited Speaker) ๒๓

๒๔

๑.๒ ชอ่ื โครงการ โครงการการแขง่ ขันพัฒนาโปรแกรมคอมพวิ เตอรแ์ ห่งประเทศไทย ครง้ั ท่ี ๑๔ (NSC๒๐๑๒) ความเป็นมาของโครงการโดยสรุป คอมพวิ เตอรม์ บี ทบาทสาคญั มากในชีวิตประจาวันและนับวันย่ิงมีบทบาทยิ่งข้ึนในทุกขณะ การพัฒนา ทักษะในการเขียนโปรแกรมหรือซอฟต์แวร์คอมพิวเตอร์น้ัน ประเทศไทยมีศักยภาพในการแข่งขันกับ ตา่ งประเทศได้ แต่การผลิตบุคลากรท่ีจะมาพัฒนาโปรแกรมคอมพิวเตอร์ให้เพียงพอนั้น จาต้องอาศัยบุคลากร จานวนมากเพื่อเพ่ิมศักยภาพในการแข่งขันให้กับประเทศ จากความจาเป็นดังกล่าว ศูนย์เทคโนโลยี อิเล็กทรอนิกส์และคอมพิวเตอร์แห่งชาติ ร่วมกับ สานักงานส่งเสริมอุตสาหกรรมซอฟต์แวร์แห่งชาติ จึงได้ จัดทาโครงการการแข่งขันพัฒนาโปรแกรมคอมพิวเตอร์แห่งประเทศไทย น้ี เพ่ือเป็นการกระตุ้นให้นักเรียน นิสิต นักศึกษาได้มีโอกาสพัฒนาทักษะการพัฒนาซอฟต์แวร์และนาเอาความรู้ท่ีได้เรียนมาประยุกต์ใช้ในการ สร้างสรรค์ผลงาน โดยสนับสนุนเงินทุนเพ่ือเป็นแรงจูงใจและกระตุ้นให้นักเรียน นิสิต นักศึกษาทาการพัฒนา ซอฟตแ์ วร์ดว้ ยตนเองและเปดิ โอกาสให้มีการประกวดแขง่ ขนั ชิงเงนิ รางวัลในระดับประเทศ อันจะเป็นการสร้าง เวทีสาหรับเยาวชนและผทู้ ี่สนใจในการพัฒนาความรสู้ ู่การเปน็ นกั วิจัยระดับอาชีพตอ่ ไป จาก “โครงการสนับสนุนการพัฒนาซอฟต์แวร์ขนาดเล็ก” ซึ่งได้เริ่มดาเนินการครั้งแรกต้ังแต่ ปีงบประมาณ ๒๕๓๗ ศูนยฯ์ ได้ปรับกลยุทธใ์ นการดาเนินโครงการโดยจัดให้มีเวทีการแข่งขันในระดับประเทศ และเปลี่ยนชื่อเป็น “การแข่งขันพัฒนาโปรแกรมคอมพิวเตอร์แห่งประเทศไทย (National Software Contest – NSC)” ในปี พ.ศ. ๒๕๔๒ ซึ่งผู้ชนะเลิศในแต่ละประเภทจะได้รับถ้วยพระราชทานจากสมเด็จ พระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี นับถึงปัจจุบัน มีโครงการที่ได้รับการสนับสนุนไปแล้วทั้งส้ินรวม ๖,๓๕๘ โครงการ (ปี ๒๕๓๗ จานวน ๒๐ โครงการ ปี ๒๕๓๘ จานวน ๒๑ โครงการ ปี ๒๕๓๙ จานวน ๘๕ โครงการ ปี ๒๕๔๐ จานวน ๙๒ โครงการ ปี ๒๕๔๑ จานวน ๑๐๓ โครงการ ปี ๒๕๔๒ จานวน ๑๖๕ โครงการ ปี ๒๕๔๓ จานวน ๓๐๕ โครงการ ปี ๒๕๔๔ จานวน ๔๔๑ โครงการ ปี ๒๕๔๕ จานวน ๔๒๖ โครงการ ปี ๒๕๔๖ จานวน ๔๖๒ โครงการ ปี ๒๕๔๗ จานวน ๔๗๘ โครงการ ปี ๒๕๔๘ จานวน ๕๔๕ โครงการ ปี ๒๕๔๙ จานวน ๕๖๘ โครงการ ปี ๒๕๕๐ จานวน ๕๗๑ โครงการ ปี ๒๕๕๑ จานวน ๖๖๕ โครงการ ปี ๒๕๕๒ จานวน ๖๖๙ โครงการ และ ปี ๒๕๕๓ จานวน ๗๔๒ โครงการ) ท้ังนี้จากจานวนโครงการที่นักเรียน นิสิต และ นักศึกษาส่งเข้ามาร่วมในโครงการรวม ๑๑,๙๓๖ ข้อเสนอโครงการ จากสถาบันการศึกษาทั่วประเทศจานวน กว่า ๑๐๐ สถาบัน การดาเนนิ งานโครงการทผ่ี า่ นมา ศูนย์ฯ พบว่าจานวนโครงการที่ส่งเข้าประกวดมากขึ้นทุกๆ ปี และมี แนวโน้มที่เพิ่มขึ้น ข้อเสนอโครงการมีความหลากหลาย จึงมีความจาเป็นในการสรรหาผู้ที่มีความรู้และ เชยี่ วชาญ เพอ่ื เข้ามาร่วมเป็นคณะกรรมการใหพ้ อเพียงเพอื่ ให้โครงการดาเนินการไปอย่างมีประสิทธิภาพ และ ได้มีการกาหนดหัวข้อในการสนับสนุนไว้ เพ่ือให้เกิดประโยชน์ในการนาผลงานไปประยุกต์ใช้ และ/หรือ เผยแพร่ตามเปูาหมายของโครงการ นอกจากน้ียังคานึงถึงเทคโนโลยีท่ีอยู่ในกระแสความนิยมเพ่ือทาให้การ แขง่ ขนั เปน็ ไปดว้ ยความเขม้ ข้นยง่ิ ขนึ้ ตลอดการดาเนินงานทผี่ ่านมา กล่าวได้ว่าแนวทางการสนับสนุนโครงการ พัฒนาซอฟต์แวร์ที่ศูนย์ฯ และ สานักงานส่งเสริมอุตสาหกรรมซอฟต์แวร์แห่งชาติ ได้ดาเนินการมาแล้วน้ัน ประสบผลสาเร็จในระดับหน่ึง ดังจะเห็นได้จากปริมาณข้อเสนอโครงการที่เสนอเข้ามาเพ่ือขอรับทุนเพ่ิมข้ึน ทุกๆ ปี คุณภาพโครงการท่ีผ่านการพิจารณามีการปรับปรุงเพ่ือให้สอดคล้องกับหัวข้อท่ีศูนย์ฯ และสานักงาน ส่งเสริมอุตสาหกรรมซอฟต์แวร์แห่งชาติ มุ่งเน้นและกระตุ้นให้เกิดการคิดในเชิงสร้างสรรค์อย่างเป็นระบบ หน่วยงานภายนอกท้ังทางภาครฐั และเอกชน ได้ให้ความสนใจและยินดเี ขา้ ร่วมในโครงการ สมควรสนับสนุนให้ ๒๕

ดาเนินการโครงการน้ีต่อไป โครงการนี้นับว่ามีส่วนสาคัญยิ่งในการผลักดันและยกระดับผลงานเยาวชนให้ ปรากฏสู่สาธารณชนและสู่ภาคเอกชน เป็นการริเร่ิมและกระตุ้นให้นักเรียน นิสิต นักศึกษา ตระหนักและเห็น คุณค่าของการพัฒนาซอฟต์แวร์ รวมถึงกระตุ้นให้กลุ่มเยาวชนที่เป็นฐานกาลังในการพัฒนาของประเทศสร้าง เสริมทักษะการเรียนรู้คอมพวิ เตอรซ์ อฟตแ์ วร์ นอกจากนี้ยังเป็นตัวกลางในการสร้างเวทีสาหรับผู้ที่สนใจในงาน การพัฒนาซอฟต์แวร์ อนั จะเปน็ รากฐานท่ีสาคญั ยิ่งต่อการสร้างนักวิจัยและการพฒั นาประเทศในอนาคตต่อไป นอกจากนั้น ศูนย์ฯ ยังได้ร่วมกับ สานักงานส่งเสริมอุตสาหกรรมซอฟต์แวร์แห่งชาติ และสมาคม อตุ สาหกรรมเทคโนโลยีสารสนเทศไทย ส่งผลงานซอฟต์แวีร์ที่ได้รับรางวัลชนะเลิศเข้าร่วมการประกวดในงาน Asia Pacific ICT Awards (APICTA) ในประเภทนักเรียน และนิสิต นักศึกษา ซึ่งงาน APICTA น้ี เป็นการ ประกวดผลงานด้านซอฟต์แวร์ในด้านต่างๆ สาหรับประเทศในภูมิภาคเอเชีย-แปซิฟิกท่ีจัดข้ึนเพ่ือส่งเสริม ผู้ประกอบการและอตุ สาหกรรมดา้ นไอซที ีของประเทศในภมู ภิ าค เปดิ โอกาสใหม้ ีการนาเสนอผลงานซอฟต์แวร์ ทม่ี คี ุณภาพ และศกั ยภาพทางธรุ กิจและการตลาดจากผู้ประกอบการ ผู้เช่ียวชาญ ภาคการศึกษา และนักเรียน นิสิต นักศึกษา โดยประเทศในภูมิภาคผลัดเปลี่ยนหมุนเวียนกันเป็นเจ้าภาพ โดยประเทศไทยสามารถคว้า รางวลั จากเวทดี งั กล่าวอยา่ งต่อเนื่องทกุ ปี เพื่อให้การดาเนินโครงการมีประสิทธิภาพและสัมฤทธิผลย่ิงขึ้น ศูนย์ฯ ได้ร่วมกับมหาวิทยาลัยใน ภูมิภาค จัดต้ังหน่วยประสานงานของโครงการระดับภูมิภาคขึ้น เพ่ือช่วยดาเนินการและประสานงานใน โครงการ ได้แก่ การประชาสัมพันธ์ การมอบทุน การพิจารณาโครงการ รวมทั้งการสนับสนุนทางด้านเทคนิค การฝึกอบรมระยะส้ัน ซ่ึงจะเป็นประโยชน์ต่อโครงการต่อไป ในการนี้ มหาวิทยาลัยบูรพา โดยคณะวิทยาการ สารสนเทศ ไดร้ ว่ มเป็นศนู ยป์ ระสานงานภาคตะวนั ออกของโครงการ ผูร้ บั ผดิ ชอบโครงการ คณะวิทยาการสารสนเทศ มหาวิทยาลัยบูรพา โดยความร่วมกับ ศูนย์เทคโนโลยีอิเล็กทรอนิกส์และ คอมพิวเตอรแ์ หง่ ชาติ (NECTEC) สานกั งานพฒั นาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ กระทรวงวิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยี และสานักงานสง่ เสริมอุตสาหกรรมซอฟต์แวร์แห่งชาติ (องค์การมหาชน) ระยะเวลา และวนั เวลาในการจดั ทาโครงการ วันท่ี ระหว่างเมษายน ๒๕๕๔ ถึง มีนาคม ๒๕๕๕ กรกฎาคม ๒๕๕๔ มิถุนายน – ๒๐ สิงหาคม ๒๕๕๔ กจิ กรรม กนั ยายน ๒๕๕๔ แถลงข่าวโครงการ ๒๐ กนั ยายน ๒๕๕๔ รับขอ้ เสนอโครงการ ตลุ าคม ๒๕๕๔ ประชมุ พจิ ารณาข้อเสนอโครงการ ตุลาคม ๒๕๕๔ ประกาศผลขอ้ เสนอโครงการทผ่ี ่านเขา้ รอบ กนั ยายน - ธันวาคม ๒๕๕๔ ทาสัญญาและพธิ มี อบทนุ งวดแรก ๓ มกราคม ๒๕๕๕ อบรมเสริมทักษะการโปรแกรม มกราคม ๒๕๕๕ ระยะเวลาพฒั นาซอฟต์แวร์ กาหนดส่งมอบรายงานและผลงาน ประชุมตดั สินผลโครงการรอบกอ่ นชิงชนะเลศิ และมอบทุน สนบั สนุนงวดทีส่ อง ๒๖

ประกาศผลโครงการท่ีผา่ นการพิจารณา ๒๔ มกราคม ๒๕๕๕ และโครงการทีผ่ า่ นเขา้ รอบชิงชนะเลศิ กุมภาพันธ์ ๒๕๕๕ จดั การประกวดรอบชิงชนะเลิศ มนี าคม ๒๕๕๔ ปดิ โครงการ กิจกรรมของโครงการ 1. การส่งข้อเสนอโครงการของนักเรยี น นสิ ิต นักศกึ ษา โดยมอี าจารยท์ ป่ี รกึ ษาโครงงานเปน็ ผรู้ บั รอง และ มคี ณะกรรมการกล่ันกรองคณุ ภาพข้อเสนอโครงการ 2. ข้อเสนอที่ได้รับการพิจารณาจะได้รับเงินสนบั สนุนการพัฒนาโครงการจากศนู ยเ์ ทคโนโลยคี อมพิวเตอร์ และอเี ล็กทรอนิกสแ์ หง่ ชาติ ผลทเ่ี กิดจากความสาเร็จของโครงการ คณะวทิ ยาการสารสนเทศ ได้ใหบ้ ริการวิชาการแกส่ งั คมซึ่งเปน็ ภารกจิ หลักของสถาบนั อดุ มศึกษาท่ีพึง ให้บริการวชิ าการแกส่ งั คม ชุมชน และประเทศซาติ ตามตัวบง่ ชที้ ี่ ๕.๑ และ ๕.๒ ของการประกนั คุณภาพ การศึกษาภายใน สถานศึกษา ระดบั อดุ มศึกษา ซึง่ มีผสู้ นใจเขา้ ร่วมโครงการมากกวา่ ๓๕๐ คน โดยคณะ วิทยาการสารสนเทศ ไดด้ าเนินการตามยทุ ธศาสตรข์ องคณะฯ ตามประเดน็ ยทุ ธศาสตรท์ ี่ ๓ บรกิ ารวชิ าการ ทางวิทยาการสารสนเทศ เพื่อกาหนดทิศทางหรือตอบสนองความต้องการของสังคม โดยคานึงถงึ การใช้ ประโยชน์ตอ่ ยอด การลดตน้ ทุน และการนากลบั มาใช้ใหม่ (กลยุทธท์ ี่ ๗ และ ๘) ซึ่งบุคลากรและนิสิตของคณะ วทิ ยาการสารสนเทศ ได้มโี อกาสแลกเปล่ียนเรียนรู้กับคณาจารย์และนสิ ติ นักศกึ ษา จากสถาบันอน่ื เพื่อนา ประสบการณ์ท่ไี ด้รบั กลับมาประยกุ ตใ์ ชใ้ นการเรยี นการสอนและการวจิ ัยเพื่อพัฒนาซอฟต์แวร์ทีม่ ีประสทิ ธภิ าพ และตรงกบั ความต้องการของสงั คมมากขนึ้ ภาพประกอบโครงการ รบั ลงทะเบียนหนา้ งาน ๒๗

ศาสตราจารย์ นายแพทย์ สมพล พงศ์ไทย อธกิ ารบดีมหาวทิ ยาลัยบรู พา กล่าวตอ้ นรับและเปิดโครงการ ดร.กว้าน สตี ะธนี รองผู้อานวยการ NECTEC กล่าวต้อนรบั ผเู้ ข้ารว่ มแข่งขัน มอบเงนิ รางวันรอบที่ ๑ ๒๘

ผู้เข้าร่วมแข่งขนั ท่ผี า่ นคดั เลือกรอบท่ี ๑ ถ่ายรูปรว่ มกนั บรรยากาศทั่วไปในการฝึกอบรมกอ่ นการแข่งขันในรอบที่ ๒ ๒. บุคลากรดีเดน่ ตารางบคุ ลากรทีไ่ ดร้ ับรางวลั ต่างๆ ในปีงบประมาณ ๒๕๕๕ ผ้รู ับรางวลั ชือ่ รางวัลท่รี บั องคก์ รที่ใหร้ างวลั สถานท่รี ับรางวลั ๒๙

การจดั การศึกษา ตารางสรุปจานวนกิจกรรมการพัฒนานิสิตของคณะ/วิทยาลัย ด้านการจัดบริการแก่นิสิต และการส่งเสริม กิจกรรมนักศกึ ษาท่คี รบถ้วน และสอดคล้องกบั คุณลกั ษณะของบัณฑิตท่ีพึงประสงค์ ปกี ารศกึ ษา ๒๕๕๕ กจิ กรรมการพฒั นานสิ ติ จานวน จานวนนสิ ติ ผู้ กิจกรรม เข้ารับบริการ ๑. การจดั บรกิ ารแก่นสิ ิต ๗ ๑,๖๐๐ ๒. การส่งเสริมกิจกรรมนิสิตท่ีครบถ้วนและสอดคล้องกับคุณลักษณะของ ๑๑ ๓,๐๓๐ บณั ฑติ ท่พี งึ ประสงค์ ๓๐

การปรับปรุงและพฒั นาคุณภาพการศึกษา ๑. ด้านการพัฒนาคณุ ภาพการศึกษา ๑.๑ การสง่ เสริมบคุ ลากรไปศึกษาต่อ ฝกึ อบรม ดูงาน และประชุมสัมมนา ตารางสรปุ การสง่ บุคลากรไปศึกษาต่อ ฝึกอบรม ดงู าน และประชุมสมั มนาในประเทศและต่างประเทศ ลาดับ ประเภท ในประเทศ ต่างประเทศ รวมทั้งหมด คน คร้ัง คน คร้งั คน ครง้ั ๑. ศึกษาต่อ ๕ ๑ - - ๕๑ ๒. ฝึกอบรม ๓๘ ๓๒ - - ๓๘ ๓๒ ๓. ดูงาน ๒ ๑ ๒๒ ๑ ๒๔ ๒ ๔. ประชมุ สัมมนา ๓๘ ๑๑ - - ๓๘ ๑๑ ๑.๒ การส่งเสรมิ การผลติ ตารา ผจู้ ัดทา ๑.๒.๑ สรปุ บุคลากรของสว่ นงานผลิตตารา จานวน ...๐...... เรอื่ ง ๑.๒.๒ ตารางรายละเอียดการผลติ ตารา ลาดบั ช่อื ตารา ๑. ๒. ๓. ๑.๓ การผลติ และการพัฒนาส่อื การศกึ ษา ๑.๓.๑ สรุป ส่วนงานผลิตและการพฒั นาสอื่ การศกึ ษา จานวน .......๙....... เร่อื ง ๑.๓.๒ ตารางรายละเอียดการผลติ และการพฒั นาสือ่ การศึกษา ลาดับ ชือ่ ส่ือที่ผลิตและพัฒนา ผู้จดั ทา ๑ เอกสารประกอบการสอนรายวชิ า ๘๘๖๒๐๔: Science ผศ.ดร กฤษณะ ชินสาร and Mathematics for Computing ๒ เอกสารประกอบการสอนรายวิชา ๓๒๑๓๑๐/๘๘๗๓๐๑ อ.เบญจภรณ์ จนั ทรกองกลุ : Quantitative Analysis ๓ เอกสารประกอบการสอนรายวิชา ๘๘๖๒๐๔: Science ดร.สนุ ิสา รมิ เจริญ and Mathematics for Computing ๔ เอกสารประกอบการสอนรายวชิ า ๘๘๖๒๐๒ ดร.สุนิสา ริมเจรญิ Programming Fundamental II ๕ เอกสารประกอบการสอนรายวิชา ๘๘๖๒๐๑ ดร.สุนิสา รมิ เจริญ Programming Fundamental II ๖ เอกสารประกอบการสอนรายวิชา ๓๑๐๓๗๑ ดร.สนุ สิ า รมิ เจริญ Information Storage and Retrieval ๓๑

๗ เอกสารประกอบการสอนรายวชิ า ๓๑๐๓๕๖: Graphics ดร.อรุ รี ฐั สขุ สวัสดิช์ น Programming ๘ เอกสารประกอบการสอนรายวชิ า และ VCD ดร.อุรรี ฐั สุขสวัสดิช์ น ๘๘๗๒๑๑: Mathematics for Information Technology ๙ เอกสารประกอบการสอนรายวิชา ๓๑๐๓๕๕ ดร.อรุ ีรัฐ สขุ สวัสดิช์ น Computer Graphics ๒. ด้านนสิ ติ และการผลิตบณั ฑติ หลักสูตรและสาขาวิชาทเี่ ปิดสอน สาขาวิชาวิทยาการคอมพิวเตอร์ ระดบั ปรญิ ญาเอก ๑. ปรชั ญาดุษฎีบัณฑิต ระดับปรญิ ญาโท ๒. วทิ ยาศาสตรมหาบัณฑิต ระดับปริญญาตรี ๓. วิทยาศาสตรบณั ฑิต ระดบั ปริญญาโท สาขาวชิ าเทคโนโลยีสารสนเทศ ระดบั ปรญิ ญาตรี ๑. วทิ ยาศาสตรมหาบัณฑติ ๒. วทิ ยาศาสตรบณั ฑติ สาขาวิชาวศิ วกรรมซอฟตแ์ วร์ ระดบั ปรญิ ญาตรี ๑. วทิ ยาศาสตรบณั ฑิต จานวนนสิ ิต รวม ชนั้ ปที ี่ ๑ ช้นั ปีท่ี ๒ ช้ันปที ่ี ๓ ช้ันปที ี่ ๔ จานวนนิสติ ปกี ารศกึ ษา ๒๕๕๕ ๑๙๖ ๙๙ ๑๒๙ ๑๐๓ ๕๒๗ สาขาวชิ า ๑๙๑ ๗๙ - ๑๑๒ ๓๘๒ ปริญญาตรี วทิ ยาการคอมพวิ เตอร์ ๑๙๐ ๑๓๔ - - ๓๒๔ เทคโนโลยสี ารสนเทศ วศิ วกรรมซอฟตแ์ วร์ ๔๕ - -๙ บัณฑติ ศึกษา ๑๙ ๒๔ - - ๔๓ วทิ ยาการคอมพิวเตอร์ เทคโนโลยสี ารสนเทศ ๓๒

จานวนผสู้ าเร็จการศึกษา ปกี ารศกึ ษา ๒๕๕๔ จานวน สาขาวชิ า ๙๒ ปรญิ ญาตรี ๑๐๙ วิทยาการคอมพวิ เตอร์ เทคโนโลยสี ารสนเทศ - วิศวกรรมซอฟตแ์ วร์ บัณฑิตศึกษา - วิทยาการคอมพวิ เตอร์ ๔ เทคโนโลยสี ารสนเทศ ๓๓

การวจิ ยั ๑ การวิจยั จากงบประมาณเงนิ รายได้ ๑.๑ สรปุ โครงการวจิ ัยจากงบประมาณเงนิ รายได้ ปงี บประมาณ ๒๕๕๕ จานวน ๖ ทนุ เปน็ จานวนเงนิ ๗๒๐,๐๐๐.๐๐ บาท ๑.๒ ตารางรายละเอยี ดโครงการวจิ ยั ปีงบประมาณ ๒๕๕๕ จากงบประมาณเงินรายได้ ลาดับ ชือ่ โครงการวจิ ัย ผวู้ จิ ยั จานวนเงิน (บาท) ๑ โปรแกรมการปูองกนั เบาหวานโดย ดร.อรุ ีรัฐ สุขสวัสดิช์ น ใชเ้ ทคนิคการทาเหมอื งข้อมลู ๑๒๐,๐๐๐.๐๐ ๑๒๐,๐๐๐.๐๐ ๒ ระบบแนะนาภาพยนตรโ์ ดยใช้ ดร.จักรนิ สขุ สวัสดชิ์ น เทคนคิ การกรองร่วมและขน้ั ตอนวิธี ๑๒๐,๐๐๐.๐๐ แบบเคมีนส์ ๑๒๐,๐๐๐.๐๐ ๓ การคน้ หารปู แบบทีเ่ กิดขึ้นบ่อยและ ดร.โกเมศ อมั พวัน สมา่ เสมอเคอันดบั แรกจาก ๑๒๐,๐๐๐.๐๐ ฐานข้อมลู รายการ ๑๒๐,๐๐๐.๐๐ ๔ การพยากรณ์ดัชนีราคาหลักทรัพย์ ดร.สุนสิ า ริมเจริญ ไทยโดยวธิ กี ารจดั การทางานของ ข้นั ตอนวธิ เี ชงิ วิวฒั นาการ ๕ การออกแบบและประยุกต์ใชร้ ะบบ อาจารย์ประจักษ์ จติ เงนิ มะดัน โทรศัพท์ผา่ นเครอื ข่ายคอมพิวเตอร์ โดยใช้ Asterisk เปน็ พ้ืนฐานสาหรบั คณะวิทยาการสารสนเทศ มหาวิทยาลยั บรู พา ๖ การศกึ ษา ออกแบบ และพัฒนา อาจารยก์ นั ทมิ า อ่อนละออ ระบบสารสนเทศเพอ่ื การบรหิ าร จดั การการประชุมวิชาการ ระดับประเทศโดยการใหบ้ ริการแบบ SaaS ๓๔

๒ ทนุ วจิ ยั จากแหล่งทนุ อ่ืน ๒.๑ สรุป โครงการวจิ ยั เดิมจากแหลง่ ทุนอ่นื จานวน ๔ ทุน เป็นจานวนเงนิ ๑,๓๔๘,๐๐๐.๐๐ บาท ๒.๒ ตารางรายละเอียดโครงการวิจัยเดมิ จากแหล่งทุนอืน่ ลาดับ ชอ่ื โครงการวิจยั ผ้วู ิจยั จานวนเงนิ โครงการวจิ ัย (บาท) ปีงบประมาณ ๑ การเรียนรแู้ บบผสมสาหรบั ผชู้ ว่ ยศาสตราจารย์ ดร. ๒๔๔,๐๐๐.๐๐ ๒๕๕๕ การประมาณมลู คา่ สวุ รรณา รศั มีขวญั ๒๔๔,๐๐๐.๐๐ ๒๕๕๕ ซอฟต์แวร์ ๒๕๖,๐๐๐.๐๐ ๒๕๕๕ ๒ วิธกี ารแบบผสมสาหรบั การ ผชู้ ว่ ยศาสตราจารย์ ดร. ๖๐๔,๐๐๐.๐๐ ๒๕๕๕ สกัดคุณลักษณะของชุด กฤษณะ ชนิ สาร ข้อมูลบนเครอื ข่ายเพ่ือระบุผู้ บกุ รกุ แบบเวลาจริง ๓ การแกป้ ัญหาการวางแผน ผชู้ ว่ ยศาสตราจารย์ ดร. ยา้ ยแหลง่ ทางานของโม กฤษณะ ชินสาร บาลยเ์ อเจนต์ดว้ ยวธิ กี ารเชิง พลวัต ๔ การคดั กรองโรคจอตามสี ง่ิ ผชู้ ว่ ยศาสตราจารย์ ดร. ซมึ เยิ้มข้นจากผปู้ วุ ย กฤษณะ ชินสาร เบาหวานด้วยการเรียนรู้รวม (Exudates in Diabetes Patient Classification using Ensemble Learning) ๓ โครงการวจิ ยั ทท่ี าร่วมกบั องค์กรอนื่ ๓.๑ สรุป โครงการวจิ ยั เดิมท่ีทาร่วมกับองค์กรอืน่ จานวน ๐ ทุน เปน็ จานวนเงิน ๐.๐๐ บาท ๓.๒ ตารางรายละเอียดโครงการวจิ ัยเดิมทท่ี าร่วมกับองค์กรอนื่ ลาดบั ชอื่ โครงการวิจยั ผวู้ จิ ยั จานวนเงนิ โครงการวิจัย -- (บาท) ปงี บประมาณ - -- ๓.๓ สรุป โครงการวิจยั ทท่ี าร่วมกับองค์กรอ่นื ปงี บประมาณ ๒๕๕๕ จานวน ๐ ทุน เป็นจานวนเงิน ๐.๐๐ บาท ๓๕

๓.๔ ตารางรายละเอียดโครงการวจิ ัยปีงบประมาณ ๒๕๕๕ จากงบประมาณแหลง่ ทุนอื่น ลาดับ ช่อื โครงการวิจยั ผูว้ จิ ัย จานวนเงนิ -- - (บาท) - ๔ งานวิจัยทไ่ี ดร้ บั ตีพมิ พ์ในวารสารวิชาการในประเทศ ๔.๑ สรปุ งานวจิ ัยเดมิ ทไ่ี ด้รับตีพมิ พ์ในวารสารวิชาการในประเทศ ปีงบประมาณ ๒๕๕๕ จานวน ....๐...... เรื่อง ๔.๒ ตารางรายละเอยี ดงานวจิ ยั เดมิ ทไี่ ดร้ ับตพี ิมพใ์ นวารสารวิชาการ ปงี บประมาณ ๒๕๕๕ ชื่อผู้วิจยั ช่อื เร่อื งผลงานวิจัย ช่ือ/ ปี/ฉบบั /วันเดอื นปี/หนา้ ทีต่ ีพิมพ์ งานวิจัย ของวารสาร ปงี บประมาณ ๔.๓ สรปุ งานวิจยั ทีไ่ ดร้ ับตีพิมพ์ในวารสารวิชาการในประเทศ ปงี บประมาณ ๒๕๕๕จานวน ๕ เร่อื ง ๔.๔ ตารางรายละเอียดงานวจิ ยั ปีงบประมาณ ๒๕๕๕ ที่ได้รับตีพิมพใ์ นวารสารวิชาการในประเทศ ปงี บประมาณ ๒๕๕๕ ช่อื ผู้วิจัย ชือ่ เร่ืองผลงานวิจัย ช่ือ/ ป/ี ฉบับ/วันเดือนปี/หน้าท่ี ผูช้ ว่ ยศาสตราจารย์ ดร.สรุ างคนา การประยุกตเ์ วบ็ เซอรว์ สิ สาหรบั ตพี มิ พ์ ของวารสาร ธรรมลิขติ บูรณาการระบบบรหิ ารการเรียน การสอน Moodle และระบบงาน NCIT ๒๐๑๒ The ๔th National ผู้ชว่ ยศาสตราจารยน์ วลศรี เด่น ทะเบยี น Conference on Information วัฒนา ระบบจดั การข้อมูลวฒั นธรรม Technology /Apirl ๒๖- สาหรบั ศนู ยข์ ้อมลุ กลางทางวฒั นา ๒๗,๒๐๑๒ page ๒๖๘ อาจารยอ์ ธติ า อ่อนเอื้อน ธรรม NCIT ๒๐๑๒ The ๔th National Conference on Information ดร.คนึงนิจ กุโบลา ระบบจดั การขอ้ มลู นกั วิจยั Technology /Apirl ๒๖- “Researcher Society” ๒๗,๒๐๑๒ page ๒๗๔ NCIT ๒๐๑๒ The ๔th National การตรวจจบั จุดบกพร่องบนสิ่งทอ Conference on Information โดยการหาเสน้ ขอบภาพรว่ มกับ Technology /April ๒๖-๒๗, โครงข่ายประสาทเทยี ม ๒๐๑๒ page ๒๘๐ NCCIT ๒๐๑๒ The ๘th ๓๖ National Conference on Computing And Information Technology ๙ -๑๐ May ๒๐๑๒ Page ๑๔๒

อาจารยอ์ ธิตา อ่อนเอ้ือน การแกป้ ัญหาความเบาบางของ JCSSE ๒๐๑๒ Ninth ขอ้ มลู ในระบบแนะนาภาพยนตร์ International Joint ดร.อุรรี ฐั สขุ สวสั ด์ิชน Conference on Computer การแก้ปัญหาความเบาบางของ Science and Software ดร.จกั ริน สขุ สวสั ดิ์ชน ขอ้ มลู ในระบบแนะนาภาพยนตร์ Engineering (JCSSE) ๓๐ May- ๑ Kime ๒๐๑๒ Page ผ้ชู ว่ ยศาสตราจารย์ ดร.กฤษณะ การเลอื กคุณลักษณะข้อมูลไม่ Proceedings of the ๒๐๑๒ ๔th ชินสาร สมดลุ ดว้ ยวิธกี ารแบบผสม International Conference on Knowledge and Smart ผชู้ ่วยศาสตราจารย์ ดร.สุวรรณา การเลอื กคณุ ลักษณะข้อมลู ไม่ Technology (KST) July ๗-๘, รศั มีขวัญ สมดลุ ดว้ ยวธิ ีการแบบผสม ๒๐๑๒ Page ๙๘ Proceedings of the ๒๐๑๒ ๔th ผ้ชู ว่ ยศาสตราจารย์ ดร.กฤษณะ NeuroEAs-Based Algorithm International Conference on ชนิ สาร Portfolios for Classification Knowledge and Smart Problems Technology (KST) July ๗-๘, ดร.สุนิสา ริมเจรญิ ๒๐๑๒ Page ๙๘ NeuroEAs-Based Algorithm Proceedings of the ๒๐๑๒ ๔th Portfolios for Classification International Conference on Problems Knowledge and Smart Technology (KST) July ๗-๘, ๒๐๑๒ Page ๖๑ Proceedings of the ๒๐๑๒ ๔th International Conference on Knowledge and Smart Technology (KST) July ๗-๘, ๒๐๑๒ Page ๖๑ Proceedings of the ๒๐๑๒ ๔th International Conference on Knowledge and Smart Technology (KST) July ๗-๘, ๒๐๑๒ Page ๖๒ Proceedings of the ๒๐๑๒ ๔th International Conference on Knowledge and Smart Technology (KST) July ๗-๘, ๒๐๑๒ Page ๖๒ ๓๗

๕ โครงการวจิ ัยท่ไี ดร้ ับตพี ิมพใ์ นวารสารวชิ าการต่างประเทศ ๕.๑ สรุป งานวิจยั เดิมท่ไี ดร้ ับตพี มิ พ์ในวารสารวชิ าการต่างประเทศ ปีงบประมาณ ๒๕๕๕ จานวน ....๐..... เร่อื ง ๕.๒ ตารางรายละเอยี ดงานวจิ ยั เดมิ ทไี่ ดร้ ับตพี ิมพ์ในวารสารวชิ าการ ต่างประเทศ ปีงบประมาณ ๒๕๕๕ ชือ่ ผู้วิจยั ชือ่ เรื่องผลงานวจิ ัย ชอ่ื / ปี/ฉบับ/วนั เดือนปี/หนา้ และ งานวิจัย ประเทศของวารสารท่ีตีพิมพ์ ปงี บประมาณ ๕.๓ สรุป งานวจิ ัยทไี่ ดร้ บั ตีพิมพ์ในวารสารวิชาการต่างประเทศ ปีงบประมาณ ๒๕๕๕ จานวน ......๐..... เรื่อง ๕.๔ ตารางรายละเอยี ดงานวิจยั ปีงบประมาณ ๒๕๕๓ ที่ได้รบั ตพี มิ พใ์ นวารสารวิชาการตา่ งประเทศ ปงี บประมาณ ๒๕๕๕ ชือ่ ผู้วจิ ัย ช่อื เร่ืองผลงานวจิ ัย ชอ่ื / ป/ี ฉบับ/วนั เดอื นปี/หน้า และประเทศของวารสารทต่ี ีพมิ พ์ ๖ งานวิจัยทนี่ าเสนอในที่ประชมุ ทางวิชาการภายในประเทศ ๖.๑ สรุป งานวิจยั เดิมท่ีนาเสนอในทีป่ ระชุมทางวิชาการภายในประเทศ จานวน .....๐..... เร่ือง ๖.๒ ตารางรายละเอยี ดงานวจิ ยั เดมิ ทน่ี าเสนอในที่ประชุมทางวชิ าการในประเทศ ช่ือผู้วจิ ัยและร่วมวิจัย ช่ือเรอ่ื งผลงานวจิ ัย ชอ่ื การประชมุ และ งานวิจยั ปีงบประมาณ สถานท่จี ดั ประชุม ๖.๓ สรุป งานวิจยั เดิมทน่ี าเสนอในที่ประชุมทางวชิ าการภายในประเทศ จานวน ......๐....... เรือ่ ง ๖.๔ ตารางรายละเอยี ดงานวิจัยปีงบประมาณ ๒๕๕๕ ท่ีนาเสนอในที่ประชมุ ทางวิชาการในประเทศ ช่อื ผู้วิจัยและร่วมวจิ ัย ชอ่ื เรอ่ื งผลงานวจิ ัย ชือ่ การประชุม และสถานที่จัด ประชุม ๗ งานวิจยั ทีน่ าเสนอในที่ประชุมทางวิชาการในต่างประเทศ ๗.๑ สรุป งานวจิ ยั เดมิ ทน่ี าเสนอในที่ประชุมทางวชิ าการในตา่ งประเทศ จานวน .......๐...... เรอื่ ง ๗.๒ ตารางรายละเอียดงานวจิ ัยเดิมทีน่ าเสนอในที่ประชุมทางวชิ าการในตา่ งประเทศ ช่ือการประชมุ และ ช่อื ผู้วจิ ยั และร่วมวจิ ยั ช่ือเรอื่ งผลงานวิจัย สถานทีแ่ ละประเทศที่ งานวจิ ัยปีงบประมาณ จัดประชุม ๓๘

๗.๓ สรปุ งานวิจยั เดมิ ที่นาเสนอในที่ประชมุ ทางวิชาการในต่างประเทศ จานวน ........๐..... เรือ่ ง ๗.๔ ตารางรายละเอยี ดงานวิจยั ปีงบประมาณ ๒๕๕๕ ท่ีนาเสนอในที่ประชุมทางวิชาการในต่างประเทศ ชอ่ื การประชมุ และ ชอ่ื ผู้วิจยั และร่วมวิจยั ชื่อเร่ืองผลงานวจิ ัย สถานท่ี และประเทศที่ งานวจิ ัยปีงบประมาณ จัดประชมุ ๓๙

การบริการวชิ าการแก่สังคม ๑ โครงการบรกิ ารวชิ าการแกส่ งั คมเงนิ งบประมาณเงนิ รายได้ ๑.๑ สรปุ โครงการบรกิ ารวชิ าการแก่สงั คมงบประมาณเงินรายได้ จานวน ๒ โครงการ จานวนเงิน ๗๔,๐๐๐ บาท ๑.๒ ตารางรายละเอยี ดโครงการบรกิ ารวิชาการแกส่ ังคมทไี่ ดร้ ับการจดั สรรงบประมาณเงินรายได้ ลาดบั ช่ือโครงการ ผู้รบั ผดิ ชอบ งบประมาณ (บาท) ๑ โครงการติวเขม้ โอลมิ ปิกวชิ าการ นายเหมรศั มิ์ วชิรหตั ถพงศ์ ๑๐,๐๐๐.๐๐ ๒. โครงการพฒั นาและยกระดับมาตรฐาน ดร.ณฐั นนท์ ลีลาตระกลู ๖๔,๐๐๐.๐๐ วชิ าชพี ด้านวทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี ในภาคการผลิตและบรกิ ารรว่ มกับ สวทช. ๒ โครงการบริการวชิ าการแกส่ งั คมเงนิ สนับสนุนจากแหลง่ ทุนอื่น ๒.๑ สรปุ โครงการบริการวิชาการแกส่ ังคมจากแหลง่ ทนุ อื่น จานวน ๑๐ โครงการ จานวนเงนิ ๓,๔๓๐,๖๔๙.๙๑ บาท ๒.๒ ตารางรายละเอียดโครงการบรกิ ารวิชาการแกส่ ังคมที่ไดร้ ับการจัดสนบั สนนุ จากแหลง่ ทุนอืน่ ลาดบั ชอ่ื โครงการ ผรู้ ับผดิ ชอบ แหล่งทุน งบประมาณ เทศบาลตาบล (บาท) ๑ โครงการดแู ลและบารงุ รักษาปรับปรงุ ผ้ชู ่วยศาสตราจารย์ บางปลา ๙๘,๐๐๐.๐๐ แกไ้ ขระบบสารบรรณอิเล็กทรอนกิ ส์ นวลศรี เด่นวฒั นา วิทยาลัยการ สาธารณสุขสริ ิน ๖๕๐,๐๐๐.๐๐ ของเทศบาลตาบลบางปลา ธรจงั หวัด ขอนแก่น ๑๓๕,๖๔๙.๙๑ ปงี บประมาณ ๒๕๕๕ ๑๐๐,๐๐๐.๐๐ ผลู้ งทะเบียน ๒ โครงการดูแลบารุงรักษาระบบ ผู้ช่วยศาสตราจารย์ สนบั สนุน สารสนเทศ และเวบ็ ไซต์ นวลศรี เดน่ วัฒนา (Information System Application and Web Site Maintenance) ของวทิ ยาลัยการ สาธารณสขุ สริ ินธรจังหวดั ขอนแก่น ประจาปีงบประมาณ ๒๕๕๕ ๓ โครงการประชุมวิชาการนานาชาติ ผชู้ ว่ ยศาสตราจารย์ Knowledge and Smart ดร.กฤษณะ ชินสาร ๔๐

Technologies ประจาปี ๒๕๕๕ ภายนอก ๔ โครงการปรบั ปรงุ แก้ไขและดูแล ผู้ช่วยศาสตราจารย์ สถาบนั ระบรม ๖๖๐,๐๐๐.๐๐ บารงุ รกั ษาระบบสารสนเทศ นวลศรี เดน่ วัฒนา ราชชนก สนบั สนนุ งานบริหารจัดการ (Back office) ของสถาบันระบรมราชชนก ประจาปงี บประมาณ ๒๕๕๕ ๕ โครงการปรบั ปรุงแกไ้ ขซอฟต์แวร์ ผู้ช่วยศาสตราจารย์ วิทยาลัยการ ๓๐๐,๐๐๐.๐๐ ระบบสารสนเทศของวทิ ยาลยั การ นวลศรี เดน่ วัฒนา สาธารณสุขสริ นิ สาธารณสขุ สริ นิ ธร จงั หวดั ขอนแกน่ ธร จงั หวดั ประจาปีงบประมาณ ๒๕๕๕ ขอนแก่น ๖ โครงการปรับปรุงและดแู ลบารุงรักษา ผู้ชว่ ยศาสตราจารย์ สถาบันพระบรม ๘๔๐,๐๐๐.๐๐ ระบบรบั สมคั รนักศึกษาของสถาบนั นวลศรี เด่นวฒั นา ราชชนก พระบรมราชชนก ประจาปี งบประมาณ ๒๕๕๕ ๗ โครงการบริการวิชาการอบรมเชงิ อาจารย์ธวัชชยั เอี่ยม ผลู้ งทะเบียน ๒๑,๐๐๐.๐๐ ปฏบิ ตั ิการหลักสูตร\"การใช้ R เพ่อื ไพโรจน์ การวเิ คราะห์ขอ้ มูลเชงิ สถิติ\" ๘ โครงการบรกิ ารวชิ าการหลกั สูตร\" อาจารยธ์ วชั ชยั เอี่ยม ผู้ลงทะเบียน ๖,๐๐๐.๐๐ ระบบบริหารจดั การประชมุ ออนไลน์: ไพโรจน์ ซอฟตแ์ วร์และการบริการ (E- Meeting)\" ๙ โครงการพัฒนาปรับปรงุ และดแู ล อาจารย์ธวชั ชยั เอ่ยี ม สานกั งาน ๓๕๐,๐๐๐.๐๐ บารงุ รกั ษาระบบโปรแกรมและเครื่อง ไพโรจน์ ปลดั กระทรวง แมข่ ่ายของเครอื ขา่ ยสงั คมคุย วทิ ยาศาสตร์และ เทคโนโลยี ๑๐ โครงการการแขง่ ขนั พัฒนาโปรแกรม ผชู้ ่วยศาสตราจารย์ ศูนยเ์ ทคโนโลยี ๒๗๐,๐๐๐.๐๐ คอมพวิ เตอร์แห่งประเทศไทยครั้งท่ี ดร.กฤษณะ ชนิ สาร อเิ ลก็ ทรอนิกส์ ๑๔ (NSC๒๐๑๒) และคอมพิวเตอร์ แหง่ ชาติ ๔๑

๓ การเปน็ วิทยากรและการบรรยายพเิ ศษ ๓.๑ สรปุ บุคลากรไดร้ บั เชิญเป็นวิทยากรและการบรรยายพเิ ศษ จานวน ..........คน ......... เรอ่ื ง ๓.๒ ตารางรายละเอียดการเป็นวทิ ยากรและการบรรยายพิเศษ ลาดบั องค์กร/หน่วยงานทจ่ี ัด เรื่อง สถานที่ ชอื่ ผไู้ ดร้ ับเชญิ เป็น ๑ ภาควิชาวทิ ยาศาสตร์การ วิทยากร อาหาร คณะวทิ ยาศาสตร์ วิธีการใช้โปรแกรม คณะ นายประจักษ์ จิตเงนิ ๒ งานประกนั คุณภาพ กอง บรกิ ารการศึกษา Power Point สาหรับ วิทยาศาสตร์ มะดนั ๓ สานักบริหารเทคโนโลยี เสนอผลงานทาง สารสนเทศเพื่อพฒั นา การศึกษา วิชาการ ๔ สถาบันพระบรมราชนก กรรมการประเมนิ กองบริการ นางสาวนวลศรี เดน่ วัฒนา ๕ สานกั บรหิ ารเทคโนโลยี คุณภาพการศึกษา การศึกษา สารสนเทศเพ่ือพฒั นา การศึกษา การประชมุ เชิง สานกั บรหิ าร นางสาวนวลศรี เด่นวัฒนา ๖ สานักบรหิ ารเทคโนโลยี ปฏบิ ตั กิ าร การดาเนนิ เทคโนโลยี สารสนเทศเพ่ือพัฒนา การศกึ ษา กจิ กรรมระบบเครือขา่ ย สารสนเทศเพ่ือ สารสนเทศเพ่ือการ พัฒนาการศกึ ษา พฒั นาการศึกษา หัวขอ้ \"เพ่ิมสมรรถนะ องค์กรดว้ ยระบบสาร บรรณโอเพนซอร์ส\" ระบบจดั ทาคู่มือ สถาบนั พระบรม นางสาวนวลศรี เด่นวฒั นา ออกแบบโปสเตอร์ แผ่น ราชนก พับฯ การประชุมเชงิ สานกั บรหิ าร นางอธติ า อ่อนเอื้อน ปฏบิ ัตกิ าร การดาเนนิ เทคโนโลยี กจิ กรรมระบบเครือข่าย สารสนเทศเพื่อ สารสนเทศเพื่อการ พฒั นาการศึกษา พฒั นาการศกึ ษา หวั ขอ้ \"เพ่ิมสมรรถนะ องค์กรดว้ ยระบบสาร บรรณโอเพนซอรส์ \" การประชุมเชิง สานักบรหิ าร นายธวัชชัย เอยี่ มไพโรจน์ ปฏิบตั ิการ การดาเนิน เทคโนโลยี กิจกรรมระบบเครือข่าย สารสนเทศเพ่ือ สารสนเทศเพื่อการ พัฒนาการศึกษา พัฒนาการศกึ ษา หวั ขอ้ \"เพิม่ สมรรถนะ องค์กรด้วยระบบสาร ๔๒

๗ โรงเรยี นพนสั พิทยาคาร บรรณโอเพนซอร์ส\" โรงเรียนพนสั นายจกั ริน สขุ สวัสดช์ิ น โอลิมปิกวชิ าการ พิทยาคาร ๘ โรงเรยี นพนัสพิทยาคาร โอลมิ ปิกวชิ าการ โรงเรียนพนัส นางอุรีรัฐ สุขสวสั ดชิ์ น ๙ โรงเรียนพนัสพทิ ยาคาร โอลิมปิกวชิ าการ พทิ ยาคาร ๑๐ โรงเรยี นพนสั พิทยาคาร โอลิมปิกวชิ าการ นายณัฐนนท์ ลลี าตระกูล ๑๑ โรงเรยี นพนสั พทิ ยาคาร โอลมิ ปิกวชิ าการ โรงเรียนพนสั นางสาวสนุ สิ า รมิ เจริญ ๑๒ โรงเรียนพนัสพทิ ยาคาร โอลมิ ปิกวิชาการ พทิ ยาคาร นายเหมรศั ม์ิ วชิรหัตถพงศ์ นายโกเมศ อัมพวัน โรงเรียนพนสั พิทยาคาร โรงเรียนพนสั พิทยาคาร โรงเรยี นพนัส พิทยาคาร ๔ การเขยี นบทความเผยแพรท่ างส่ิงพิมพ์ ๔.๑ สรปุ จานวนการเขียนบทความเผยแพรท่ างส่งิ พิมพ์ ..........๐.............. เร่ือง ๔.๒ ตารางรายละเอยี ดการเขยี นบทความเผยแพร่ทางสิง่ พมิ พ์ ลาดับ ช่ือผูเ้ ขียน ชอ่ื บทความ ชอื่ วารสารทต่ี ีพมิ พ์/ปที ีพ่ ิมพ์/ฉบับที่ พิมพ์/วนั เดอื นปที ตี่ ีพิมพ์/หนา้ ทีล่ ง พมิ พ์ ๔๓

การทานุบารุงศิลปวฒั นธรรม ๑ โครงการทานุบารุงศลิ ปวัฒนธรรม ประเภทงบประมาณเงินรายได้ ๑.๑ สรปุ ทุนงบประมาณเงินรายได้ จานวน ๓ โครงการ จานวนเงิน ๔๑๗๕๐.๐๐ บาท ๑.๒ ตารางรายละเอียดโครงการทานบุ ารุงศิลปวฒั นธรรมทนุ งบประมาณเงินรายได้ ลาดบั โครงการ ผู้รบั ผดิ ชอบ งบประมาณ (บาท) ๑ โครงการทาบญุ คณะวิทยาการ ฝาุ ยกิจการนิสิต ๒๓,๐๘๐.๐๐ สารสนเทศ ๗,๗๗๐.๐๐ ๒ โครงการรดน้าดาหัว เนื่องในเทศกาล สานักงานคณบดี ๑๐,๙๐๐.๐๐ วนั สงกรานต์ ๓ โครงการ ๓ คณะรว่ มใจชว่ ยเหลือ ฝาุ ยกจิ การนิสติ ฟน้ื ฟูศาสนสถาน ๒ โครงการทานบุ ารงุ ศลิ ปวัฒนธรรมประเภทงบประมาณอื่น (ไม่รวมโครงการจากงบประมาณแผ่นดิน) ๒.๑ สรปุ ทนุ อนื่ ๆ จานวน .......๐.......โครงการ จานวนเงนิ ...........๐.............. บาท ๒.๒ ตารางรายละเอยี ดโครงการทานุบารงุ ศลิ ปวัฒนธรรมแหลง่ ทนุ อ่ืน ลาดับ ชอ่ื โครงการ ผ้รู ับผดิ ชอบ งบประมาณ (บาท) ๔๔

การดาเนินงานวเิ ทศสัมพนั ธ์ ๖.๑ การตกลงความรว่ มมอื กบั ตา่ งประเทศ ตารางชื่อสถาบนั และประเทศทตี่ ้งั ของสถาบันท่ไี ดต้ กลงลงนามความรว่ มมือกบั มหาวทิ ยาลยั บรู พา ชื่อสถาบนั ต่างประเทศ ช่ือประเทศที่สถาบนั ต้งั อยู่ โครงการลงนามข้อตกลงความร่วมมอื ทาง France การศึกษาระห่าง Telecom Breagne France ๖.๒ กิจกรรมทางวิชาการระหวา่ งประเทศ ตารางโครงการพัฒนาผ่านสานกั งานเพื่อการพัฒนาระหวา่ งประเทศ กระทรวงการตา่ งประเทศ (สพร.) ชอื่ หน่วยงาน ช่อื ประเทศ จานวน จานวน รวม ตา่ งประเทศ ท่ีตั้งสถาบัน บุคลากร นิสติ ตารางโครงการแลกเปลย่ี นนิสิตและบุคลากรของสถาบันไทยกบั ต่างประเทศ (University Mobility in Asia and the Pacific : UMAP) ช่อื หน่วยงาน ชอ่ื ประเทศ จานวน จานวน รวม ตา่ งประเทศ ท่ีต้ังสถาบนั บคุ ลากร นสิ ิต Dali University Dali University ๑ ๑ ๒ ตารางโครงการ GMS โครงการแลกเปลยี่ นบุคลากรและนสิ ิตกบั ประเทศอนภุ ูมิภาคลุ่มแม่น้าโขง ช่อื หน่วยงาน ช่อื ประเทศ จานวน จานวน รวม ต่างประเทศ ทีต่ ั้งสถาบัน บคุ ลากร นสิ ิต ตารางโครงการแลกเปล่ียนนิสิตและบคุ ลากรของสถาบันไทยกบั ต่างประเทศ (ASEM-DUO Fellowship Progamme/ DUO-Thailand) ช่อื หน่วยงาน ชื่อประเทศ จานวน จานวน รวม ต่างประเทศ ทต่ี ้งั สถาบัน บคุ ลากร นสิ ติ ตารางแสดงโครงการเครือข่ายมหาวิทยาลยั อาเซยี น (ASEAN University Network : AUN) ช่ือหน่วยงาน ชื่อประเทศ จานวน จานวน รวม ตา่ งประเทศ ทตี่ ้งั สถาบัน บคุ ลากร นิสติ ๔๕

ตารางแสดงโครงการความรว่ มมือกบั หน่วยงานต่างประเทศอ่ืน ๆ กจิ กรรม ชอ่ื หน่วยงาน ช่ือประเทศ จานวน จานวน รวม บุคลากร นิสติ ๒ ตา่ งประเทศ ทต่ี ัง้ สถาบัน ๒- การบรรยายพิเศษ เรื่อง Web University of กมั พชู า Programming with PHP Battambong ๖.๓ โครงการแลกเปล่ยี นดา้ นวัฒนธรรม ประเภทกจิ กรรม ตารางโครงการแลกเปลี่ยนด้านวฒั นธรรม สถาบนั / ประเทศทแ่ี ลกเปลี่ยนวฒั นธรรม ๔๖

ความร่วมมอื กบั ส่วนราชการ และองค์กรเอกชนภายในประเทศ ตารางความร่วมมือของส่วนงานมหาวิทยาลัยบูรพากับส่วนราชการ หรือองคก์ รเอกชนภายในประเทศ ปี ๒๕๕๕ (ตง้ั แต่ ๑ ตลุ าคม ๒๕๕๔ – ๓๐ กันยายน ๒๕๕๕) ผูล้ งนามข้อตกลงของ เรอ่ื งที่มีการลงนามความ ผู้ลงนาม/หนว่ ยงานภายนอก วนั /เดือน/ปี มหาวิทยาลัยบูรพา ร่วมมอื ทลี่ งนาม ทีล่ งนาม ผศ.ดร.สรุ างคณา ธรรมลิขิต การจัดประชมุ วชิ าการ - ภาควิชาคณิตศาสตรแ์ ละ ๑๖ ม.ค. ๒๕๕๕ ผรู้ กั ษาการแทนคณบดี นานาชาติ Knowledge วทิ ยาการคอมพวิ เตอร์ คณะ คณะวิทยาการสารสนเทศ and Smart วทิ ยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์ Technologies ๒๐๑๒ มหาวทิ ยาลยั - ภาควิชาวศิ วกรรมไฟฟูา คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวทิ ยาลยั บรู พา - วิทยาลยั วทิ ยาการวิจยั และ วิทยาการปัญญา มหาวิทยาลยั บรู พา - คณะเทคโนโลยสี ารสนเทศ มหาวิทยาลัยศรีปทมุ วิทยา เขตชลบรุ ี - ภาควิชาวิทยาการ คอมพวิ เตอร์ คณะ วิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแกน่ - คณะวิทยาศาสตรแ์ ละ เทคโนโลยี มหาวทิ ยาลัยอัสสมั ชนั ๔๗


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook