Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore รายงานประจำปี 2553 สถาบันวิทยาศาสตร์ทางทะเล

รายงานประจำปี 2553 สถาบันวิทยาศาสตร์ทางทะเล

Published by local library, 2019-12-05 21:36:27

Description: รายงานประจำปี 2553 สถาบันวิทยาศาสตร์ทางทะเล มหาวิทยาลัยบูรพา

Keywords: รายงานประจำปี,สถาบันวิทยาศาสตร์ทางทะเล,มหาวิทยาลัยบูรพา,จดหมายเหตุ มหาวิทยาลัยบูรพา

Search

Read the Text Version

รายงานประจำป 2553 สถาบันว�ทยาศาสตรทางทะเล มหาว�ทยาลยั บูรพา ลำ� ดบั ช่ือบทความวิจยั ชอ่ื วารสาร ปี คณะผวู้ จิ ยั ชอ่ื ฐาน จ�ำนวนครั้ง ปี พ.ศ.ได้ ท่ี ฉบับท่ี หนา้ ท่ีตพี มิ พ์ ขอ้ มลู เช่น ทไ่ี ดร้ ับการ รับการ ISI, Scopus, อา้ งอิง AGRICOLA อ้างอิง 2010 (Times etc. cited) Jan. 2010 4 Antifungal activity Mar.Drugs 2007, 5 Watanadilok R, ISI 1 evaluation of the (2), 40-51    Sawangwong Jan., constituents of P, Rodrigues C, 1 2010; Haliclona baeri Cidade H, Pinto 2009 and Haliclona M, Pinto E, Silva 2 2010 cymaeformis, col- A, Kijjoa A lected from the 1 gulf of Thailand 5 Dibromotyro- ZEITSCHRIFT FUR Kijjoa A, Bessa J, ISI sine derivatives, NATURFORSCHUNG Wattanadilok R, a maleimide, SECTION B-A JOUR- Sawangwong P, aplysamine-2 NAL OF CHEMICAL Nascimento MSJ, and other con- SCIENCES, 2005, 60 Pedro M, Silva stituents of the (8): 904-908    AMS, Eaton G, marine sponge van Soest R, Herz Pseudoceratina W purpurea 6 11,17-dideoxy- ZEITSCHRIFT FUR Kijjoa A, Wat- ISI agelorin A and NATURFORSCHUNG tanadilok R, B, new bromo- C-A JOURNAL OF Sonchaeng P , tyrosine deriva- BIOSCIENCES, 2001, Silva AMS, Eaton tives and analogs 56 (11-12), 1116- G, Herz W from the marine 1119          sponge Suberea aff. praetensa 7 Secondary me- BIOCHEMICAL Sawangwong P, ISI tabolites from a SYSTEMATICS AND Wattanadilok marine sponge ECOLOGY 2008, R, Kijoa A, Silva Cliona patera 36 (5-6) : 493-496    AMS, Eaton G, Herz W 42

Annual Report 2010 Institute of Marine Science, Burapha University ล�ำดบั ช่อื บทความวิจยั ชื่อวารสาร ปี คณะผูว้ จิ ยั ชอ่ื ฐาน จำ� นวนครัง้ ปี พ.ศ.ได้ ท่ี ฉบบั ท่ี หน้าที่ตพี ิมพ์ ข้อมูล เช่น ทไ่ี ดร้ ับการ รับการ ISI, Scopus, อ้างองิ 8 Fatty acids Songklanabarin J. J. Pratoomyot., AGRICOLA อ้างองิ Apr. composition of Sci. Technol. 2005 P. Srivilas., T. (Times 2010 10 micro algal 27(6) Noiraksar etc. cited) Aug. species Scopus 2010; ISI, Google 2 Mar. 9 Anticancer activ- Marine Drugs, Kijjoa A, scholar 2010 ity evaluation of 2007, 5(2): 6-22. Wattanadilok R, 1 kuanoniamines Campos N, et al. ISI Apr. A and C isolated 2010 from the marine sponge Oceana- pia sagittria, col- lected from the Gulf of Thailand 10 Antifungal activity Mar. Drugs 2007, 5 Watanadilok R, evaluation of the (2), 40-51    Sawangwong constituents of P, Rodrigues C, Haliclona baeri Cidade H, Pinto and Haliclona M, Pinto E, Silva cymaeformis, col- A, Kijjoa A lected from the gulf of Thailand 2. ด้านบรกิ ารวชิ าการ ภารกิจหลักด้านหน่ึงของสถาบันวิทยาศาสตร์ทางทะเลคือการบริการวิชาการเพื่อเผยแพร่ความรู้เก่ียว กับวิทยาศาสตร์ทางทะเลรวมท้ังการอนุรักษ์ทรัพยากรและส่ิงแวดล้อมทางทะเลสู่สังคม โดยเฉพาะอย่างย่ิงสถาบัน วทิ ยาศาสตรท์ างทะเลยงั มสี ถานะเปน็ แหลง่ เรยี นรตู้ ลอดชวี ติ ตามพระราชบญั ญตั กิ ารศกึ ษาแหง่ ชาติ พ.ศ. 2542 มาตรา 25 ทกี่ ลา่ วไวว้ า่ “รฐั ตอ้ งสง่ เสรมิ การดำ� เนนิ งานและการจดั ตง้ั แหลง่ การเรยี นรตู้ ลอดชวี ติ ทกุ รปู แบบ ไดแ้ ก่ หอ้ งสมดุ ประชาชน พิพธิ ภณั ฑ์ หอศลิ ป์ สวนสัตว์ สวนสาธารณะ สวนพฤกษศาสตร์ อุทยานวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ศูนย์การกฬี าและนันทนาการ แหลง่ ขอ้ มลู และแหลง่ การเรียนรอู้ น่ื อย่างพอเพียงและมีประสิทธิภาพ” ซึง่ สถาบัน วิทยาศาสตร์มีสถานเล้ียงสัตว์น้�ำเค็มและพิพิธภัณฑ์วิทยาศาสตร์ทางทะเล ท่ีจัดเป็นแหล่งเรียนรู้ตามอัธยาศัยส�ำหรับ เยาวชนและประชาชนทวั่ ไป ซงึ่ สถาบนั ฯไดร้ บั คดั เลอื กใหเ้ ปน็ แหลง่ เรยี นรตู้ น้ แบบ 1 ใน 31 แหลง่ ของประเทศ นอกจาก 43

รายงานประจำป 2553 สถาบันวท� ยาศาสตรทางทะเล มหาว�ทยาลยั บูรพา สถานเลี้ยงสัตว์น�้ำเค็มและพิพิธภัณฑ์วิทยาศาสตร์ทางทะเลแล้ว สถาบันฯ ยังมีกิจกรรมด้านการบริการวิชาการแก่ สงั คมอกี หลากหลาย ไดแ้ ก่ การจดั คา่ ยวทิ ยาศาสตรแ์ ละการอนรุ กั ษท์ รพั ยากรธรรมชาตทิ างทะเล การจดั การถา่ ยทอด เทคโนโลยี การฝึกงานให้แก่เกษตรกรและผู้ที่สนใจ การให้ค�ำปรึกษาหรือความรู้เกี่ยวกับวิทยาศาสตร์ทางทะเลแก่ บุคคลทั่วไปในรูปแบบต่างๆ การได้รับเชิญไปเป็นอาจารย์พิเศษหรือวิทยากรบรรยายพิเศษ ซึ่งกิจกรรมต่างๆถือว่ามี ความสำ� คญั ในการบรู ณาการความรทู้ ไี่ ดจ้ ากการวจิ ยั ของสถาบนั ฯไปสกู่ ารใหบ้ รกิ ารวชิ าการแกส่ งั คมอยา่ งเปน็ รปู ธรรม เป็นต้น เพอ่ื ใหก้ ารดำ� เนนิ งานมปี ระสทิ ธภิ าพและเปน็ ไปตามนโยบาย เปา้ หมาย และยทุ ธศาสตรข์ องสถาบนั ฯ ใน แต่ละปีงบประมาณจึงมีการจัดทำ� แผนปฏิบัติงานด้านบริการวิชาการประจำ� ปีงบประมาณ พ.ศ. 2553 ให้สอดคล้อง และสนบั สนุนแผนยุทธศาสตรห์ ลกั ของสถาบนั ฯ ดงั รายละเอยี ดดงั ตอ่ ไปน้ี การจดั แสดงในสถานเลี้ยงสตั ว์น�ำ้ เคม็ และพิพธิ ภณั ฑ์วทิ ยาศาสตรท์ างทะเล สถานเลี้ยงสัตว์น้�ำเค็มและพิพิธภัณฑ์วิทยาศาสตร์ทางทะเล เป็นส่วนจัดแสดงส�ำหรับให้ความรู้แก่ สาธารณชนทบี่ คุ คลทวั่ ไปสามารถเขา้ มาชมเพอื่ หาความรแู้ ละไดร้ บั ความเพลดิ เพลนิ ไปดว้ ย จงึ ตอ้ งมกี ารพฒั นาปรบั ปรงุ การจัดแสดงอย่างต่อเน่ือง และมีการประเมินความพึงพอใจของผู้เข้าชมเป็นประจ�ำทุกเดือน ในปีงบประมาณ พ.ศ. 2553 ไดม้ กี ารพัฒนาและปรบั ปรงุ การจัดแสดง และมีผลการประเมนิ ความพงึ พอใจดงั ต่อไปนี้ 1. สถานเลย้ี งสตั ว์น้ำ� เคม็ 1.1 การปรบั ปรุงตู้แสดงพนั ธ์สุ ตั ว์นำ�้ ขนาดใหญ่ จากการที่สถาบันวิทยาศาสตร์ทางทะเลได้รับงบประมาณส�ำหรับการปรับปรุงตู้แสดงพันธ์สัตว์น้�ำขนาด ใหญจ่ าก 200 ตนั เป็น 1,000 ตนั ในสถานเลย้ี งสตั ว์น้�ำเค็มมาตั้งแต่ปงี บประมาณ 2551 ซง่ึ ได้ดำ� เนนิ การก่อสรา้ งจน แลว้ เสรจ็ และปรบั ระบบยงั ชพี สตั วน์ ำ�้ ใหส้ ามารถรองรบั สตั วน์ ำ้� ทตี่ อ้ งทำ� การยา้ ยมาจากตปู้ ลาเดมิ จากนนั้ ไดด้ ำ� เนนิ การ ทยอยยา้ ยปลามายงั ตใู้ หมใ่ นระหวา่ งวนั ที่ 19 พฤศจกิ ายน ถงึ 1 ธนั วาคม 2552 และเปดิ ใหป้ ระชาชนเขา้ ชมในสว่ นของ ตแู้ สดงพนั ธส์ุ ตั วน์ ำ้� ขนาดใหญต่ งั้ แตว่ นั ที่ 5 ธนั วาคม 2553 เปน็ ตน้ ไป เมอื่ ด�ำเนนิ การตามขอ้ กำ� หนดการรบั เหมากอ่ สรา้ ง เรยี บรอ้ ยแล้ว บรษิ ัทกรนี ทรมั ปไ์ ด้ส่งมอบงานทงั้ หมดใหแ้ ก่สถาบนั วทิ ยาศาสตร์ทางทะเลเม่อื วันท่ี 14 มีนาคม 2553 ในสว่ นทเี่ ปน็ ทตี่ งั้ ของตแู้ สดงพนั ธส์ุ ตั วน์ ำ�้ ขนาดใหญเ่ ดมิ ไดท้ ำ� การปรบั ปรงุ ใหเ้ ปน็ ลานเรยี นรสู้ ำ� หรบั ใชใ้ นการจดั กจิ กรรม หมนุ เวยี นเพอ่ื ใหค้ วามรดู้ ้านวทิ ยาศาสตร์ทางทะเล ที่มีปฏสิ ัมพันธก์ บั ผู้เข้าชมต่อไป 1.2 การจัดแสดงพันธ์สุ ตั ว์โบราณที่ยังมีชีวติ สถานเล้ียงสัตว์น�้ำเค็มได้ด�ำเนินการน�ำหอยงวงช้าง (Nautilus sp.) ซึ่งเป็นสัตว์ยุคโบราณท่ียังสามารถ ดำ� รงชีวิตมาอยไู่ ด้จนถึงยคุ ปัจจบุ ัน มาจัดแสดงในสถานเลย้ี งสตั วน์ ้ำ� เคม็ 2. พพิ ิธภัณฑ์วิทยาศาสตร์ทางทะเล 2.1 การพัฒนาและปรบั ปรงุ การจัดแสดงในพพิ ธิ ภัณฑ์วิทยาศาสตร์ทางทะเล พพิ ิธภณั ฑ์วิทยาศาสตร์ทางทะเลเปน็ สว่ นหนง่ึ ของสถาบนั วทิ ยาศาสตรท์ างทะเลทเ่ี ปิดให้ นิสิต นกั ศกึ ษา และประชาชนท่ัวไปเข้าชม โดยมีวัตถุประสงค์ให้เป็นแหล่งเรียนรู้สำ� คัญเก่ียวกับด้านวิทยาศาสตร์ทางทะเล เช่น สิ่ง มีชีวิตท่ีอาศัยอยู่ในทะเล ระบบนิเวศในทะเล และการใช้ประโยชน์จากทะเล เป็นต้น นอกจากนี้ยังรวมถึงการจัดท�ำ 44

Annual Report 2010 Institute of Marine Science, Burapha University พพิ ธิ ภณั ฑอ์ า้ งองิ รว่ มกบั ฝา่ ยวจิ ยั วทิ ยาศาสตรท์ างทะเล เพอ่ื เปน็ แหลง่ อา้ งองิ ทางดา้ นอนกุ รมวธิ าน ซงึ่ ในปงี บประมาณ พ.ศ. 2552 พพิ ิธภัณฑว์ ทิ ยาศาสตร์ทางทะเลไดม้ ีการด�ำเนินการปรับปรุงและพฒั นาพิพธิ ภณั ฑฯ์ ดังตอ่ ไปน้ี 2.1.1 ท�ำการตกแตง่ และซอ่ มแซมปา้ ยชือ่ ส่งิ มชี วี ติ ในทะเลให้ทนั สมยั และสวยงาม เปน็ ตน้ 2.1.2 จดั หาขอ้ มลู เพม่ิ เตมิ และปรบั ปรงุ ชดุ นทิ รรศการทม่ี อี ยเู่ ดมิ ในสว่ นของตจู้ ดั แสดงตา่ งๆ ในพพิ ธิ ภณั ฑ์ วทิ ยาศาสตรท์ างทะเล 2.2 การพฒั นาโปรแกรมส�ำหรับฐานข้อมลู ในพพิ ิธภัณฑ์อา้ งอิง ฝ่ายบริการวิชาการได้ด�ำเนินการเขียนโปรแกรมฐานข้อมูลของพิพิธภัณฑ์อ้างอิง และทำ� การปรับปรุง โปรแกรมหลังจากการทดลองใช้เรียบร้อยแล้ว ซ่ึงเจ้าหน้าท่ีของงานพิพิธภัณฑ์อ้างอิงและงานวิจัยความหลากหลาย ทางชีวภาพทางทะเลได้เร่ิมต้นบันทึกข้อมูลตัวอย่างในพิพิธภัณฑ์อ้างอิงแล้ว 444 ตัวอย่าง และได้มีการจัดท�ำคู่มือ ประกอบในเบอ้ื งต้นเรยี บร้อยแล้ว 3. การประเมนิ ความพงึ พอใจในการเข้าชมสถานเล้ียงสัตว์น�้ำเคม็ และพิพิธภณั ฑ์วทิ ยาศาสตรท์ าง ทะเล สถาบันฯ ได้ให้งานการตลาดและประชาสัมพันธ์ท�ำการส�ำรวจความพึงพอใจของผู้เข้าชมเป็นประจ�ำทุก เดือนใน 3 ด้าน ได้แก่ การเขา้ ชมสถานเลี้ยงสตั วน์ �้ำเคม็ การเข้าชมพพิ ิธภัณฑ์วทิ ยาศาสตรท์ างทะเล และวทิ ยากรใน กรณีท่ีขอมาลว่ งหนา้ ซ่ึงในปีงบประมาณ พ.ศ. 2553 ผลการประเมินความพงึ พอใจเฉลี่ยในรอบปี พบว่า สถานเล้ียง สตั วน์ ำ�้ เคม็ ไดร้ บั ความพงึ พอใจรอ้ ยละ 78.20 พพิ ธิ -ภ5ณั0-ฑว์ ทิ ยาศาสตรท์ างทะเลไดร้ บั ความพงึ พอใจรอ้ ยละ 76.89 และ วทิ ยากรไดร้ บั ความพึงพอใจรอ้ ยละ 88.06% ดังแสดงในแผนภมู ิขา้ งล่างนี้ สถานเลยี้ งสัตวน์ ํ้าเคม็ พพิ ธิ ภณั ฑว์ ทิ ยาศาสตรท์ างทะเล วทิ ยากร 100 80 ระดับความพ ึงพอใจ (ร ้อยละ) 60 40 20 0 ก.ย.-53 ส.ค.-53 ก.ค.-53 ม.ิ ย.-53 พ.ค.-53 เม.ย.-53 มี.ค.-53 ก.พ.-53 ม.ค.-53 ธ.ค.-52 พ.ย.-52 ต.ค.-52 วภแภทิาลาพยพะาทวทศทิี่ี ่ า ยส1า ตก 1รแร์ทสตดาั้งงงแทแคตสะวเ่เดาดลมงอื แคพนลวงึตะาพลุวมอาทิพใคยจงึมาพ(กพรอร้อ.ใศตจย.้ลัง2แะ(5ต)ร5่เ้ใอด2นยอื กลถนาะึงตร)เกุลขนัา้าใคยนชมามกยาส2นร5ถเ5าขพ2น้า.ศชถเล.มงึ ี้ย2สกง5ถนัส5าตัย3นวาเย์นลน�้ำยี้ เง2คส5็มั5ต3พว์นิพํา้ิธเภคัณม็ ฑว์พทิ พิ ยธิ าภศณัาสฑต์ ร์ทางทะเล การจัดนิทรรศการ 45 นอกจากการจดั แสดงนิทรรศการเพือ่ ใหค้ วามรู้เก่ียวกบั วทิ ยาศาสตร์ทางทะเลใน พิพิธภณั ฑว์ ิทยาศาสตร์ทางทะเลแลว้ สถาบนั ฯ ยงั มีการออกไปจดั นิทรรศการตามสถานท่ีต่างๆ ที่

รายงานประจำป 2553 สถาบันวท� ยาศาสตรท างทะเล มหาว�ทยาลัยบรู พา การจดั นทิ รรศการ นอกจากการจัดแสดงนิทรรศการเพ่ือให้ความรู้เก่ียวกับวิทยาศาสตร์ทางทะเลในพิพิธภัณฑ์วิทยาศาสตร์ ทางทะเลแล้ว สถาบันฯ ยังมีการออกไปจัดนิทรรศการตามสถานท่ีต่างๆ ที่ได้รับการเชิญชวนและขอความร่วมมือ ในการจัดนิทรรศการ โดยการออกไปจัดนิทรรศการนั้นจะมุ่งเน้นให้ความรู้ความเข้าใจที่ถูกต้องเกี่ยวกับสัตว์ทะเลแก่ บคุ คลท่ัวไปทส่ี นใจสัตวท์ ะเล โดยเฉพาะอย่างยงิ่ ความรูท้ ี่ได้จากการศกึ ษาวิจยั ของนักวทิ ยาศาสตร์ของสถาบนั ฯ เช่น การเลย้ี งปลาทะเลสวยงาม ระบบการเลย้ี งปลาทะเลสวยงาม ตปู้ ลาทะเลทเี่ ปน็ มติ รกบั สง่ิ แวดลอ้ ม เปน็ ตน้ ดว้ ยความ รว่ มมือของฝา่ ยต่างๆ ในสถาบันฯ เช่น ฝ่ายพิพิธภณั ฑฯ์ ฝา่ ยวจิ ยั ฝ่ายสถานเล้ยี งสัตว์นำ้� เคม็ และฝ่ายบรกิ ารวิชาการ นอกจากน้ียังให้ความอนุเคราะห์และให้ยืมตัวอย่างท้ังแผ่นนิทรรศการ สัตว์สต๊ัฟ และตัวอย่างสัตว์ที่มีชีวิตเพ่ือนำ� ไป จดั นิทรรศการอกี ด้วย ในปีงบประมาณ พ.ศ. 2553 สถาบันฯ ได้มีการจัดนิทรรศการทั้งภายในและภายนอกมหาวิทยาลัย ดัง รายละเอียดต่อไปน้ี ตารางที ่ 17 การจัดนทิ รรศการภายในมหาวทิ ยาลัย ล�ำดบั หน่วยงานทจ่ี ดั นิทรรศการเรือ่ ง วัน/เดือน/ปี ท่ี วนั ที่ 1-10 ธันวาคม พ.ศ. 2552 นทิ รรศการเฉลมิ พระเกียรติ 1 สถาบันวทิ ยาศาสตร์ทางทะเล พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว วันท่ี 7 - 20 เมษายน พ.ศ. 2553 ภมู พิ ลอดลุ ยเดช วันที่ 19-25 พฤษภาคม พ.ศ. 2553 2 สถาบันวิทยาศาสตร์ทางทะเล นทิ รรศการเผยแพรว่ ัฒนธรรมไทย วันที่ 1-5 มิถุนายน พ.ศ. 2553 3 สถาบันวิทยาศาสตรท์ างทะเล วันสงกรานต์ 4 สถาบนั วิทยาศาสตรท์ างทะเล ปีสากลแห่งความหลากหลายทาง ชีวภาพ 2010 วันส่งิ แวดลอ้ มโลก ตารางท่ี 18 การจัดนิทรรศการภายนอกมหาวทิ ยาลัย ลำ� ดบั หน่วยงาน/สถานทจ่ี ัด นิทรรศการเร่ือง วัน/เดอื น/ปี ท่ี 1 จงั หวัดชลบรุ ี วันเบกิ ฟา้ สคี ราม คณุ ธรรมน�ำส่ิงแวดลอ้ ม วันท่ี 10-12 กันยายน 2552 2 งาน Techno Mart ณ เมืองทอง - แนะน�ำสถาบนั ฯ วนั ที่ 1-4 ธานี กระทรวงวิทยาศาสตร์และ - การท�ำหนิ เป็นเทียม ตุลาคม 2552 เทคโนโลยี - ระบบกรองชีวภาพกบั ต้ปู ลาทะเลสวยงาม - ตูป้ ลาทะเลทเ่ี ป็นมิตรกับส่งิ แวดลอ้ มและตปู้ ลาทะเล ทไ่ี ม่มีผลกระทบตอ่ ส่ิงแวดล้อม - กระพรุนหวั กลบั - ปลาอมไข่ - มา้ น้ำ� แคระ 46

Annual Report 2010 Institute of Marine Science, Burapha University ล�ำดับ หน่วยงาน/สถานท่ีจัด นทิ รรศการเรอื่ ง วนั /เดือน/ปี ที่ 3 งาน “80 พรรษา องค์ราชนั ย์ วัน - แนะนำ� สถาบันฯ วนั ท่ี 19-20 วชิ าการ ประจ�ำปี 2552” - ฉลาม พฤศจิกายน โรงเรียนบางปะกงบวรวิทยายน 2552 4 งานมหกรรมสัตว์เลยี้ งแหง่ - แนะนำ� สถาบนั ฯ วันท่ี 18-20 ประเทศไทยคร้งั ท่ี 9 สวนสามพราน - การท�ำหินเปน็ เทยี ม ธันวาคม 2552 จังหวัดนครปฐม - ระบบกรองชวี ภาพกับตปู้ ลาทะเลสวยงาม - ตูป้ ลาทะเลทเ่ี ปน็ มิตรกับสง่ิ แวดลอ้ มและต้ปู ลาทะเล ทไ่ี ม่มีผลกระทบต่อสิง่ แวดล้อม - กระพรนุ หัวกลบั - มา้ น�้ำแคระ - กจิ กรรมพับกระดาษเป็นรูปสัตว์ทะเล - กจิ กรรมสัตว์เลยี้ งทายนิสัย 5 นทิ รรศการในงาน “โลกสัตว์เลี้ยง” ร่วมจัดทำ� นิทรรศการในงาน “โลกสตั วเ์ ล้ียง” วนั ท่ี 7-11 ณ ศนู ย์การค้าแหลมทองบางแสน - เตา่ สตฟั๊ ฟ์ กรกฎาคม จงั หวดั ชลบรุ ี - โมเดลฉลาม 2553 - ตู้ปลาสวยงาม - ตู้มา้ น้�ำ - ต้แู มงกะพรนุ หัวกลบั - นทิ รรการการเลย้ี งปลาสวยงาม - นิทรรศการเตา่ ทะเล 6 การนำ� เสนอผลงานวิจยั แหง่ ชาติ - นทิ รรศการความหลากหลายทางชีวภาพของฟองนำ้� วนั ท่ี 26-30 2553 จากชายฝ่งั ทะเลภาคตะวันออกของไทย สิงหาคม 2553 Thailand Research Expo 2010 - ตวั อยา่ งฟองน้ำ� หูช้าง - ตัวอยา่ งฟองน�้ำบรู พา การจัดโครงการและกิจกรรมวิชาการดา้ นวทิ ยาศาสตร์ทางทะเล ภารกิจหน่ึงในด้านการบริการวิชาการคือการจัดทำ� โครงการบริการวิชาการสู่สังคมท่ีให้ความรู้เกี่ยวกับ วทิ ยาศาสตรท์ างทะเลและการอนรุ กั ษท์ รพั ยากรธรรมชาตทิ างทะเลในรปู แบบตา่ งๆ กนั เชน่ โครงการคา่ ยวทิ ยาศาสตร์ ทางทะเล โครงการอนรุ กั ษท์ รพั ยากรธรรมชาตแิ ละสง่ิ แวดลอ้ มทางทะเล โครงการสมั มนาทางวชิ าการ และการเสวนา ต่างๆ อย่างต่อเนื่องเป็นประจ�ำทุกปี ส�ำหรับในปีงบประมาณ พ.ศ. 2553 สถาบันวิทยาศาสตร์ทางทะเลได้มีการจัด โครงการบริการวชิ าการรปู แบบต่างๆ ดงั รายละเอยี ดดังในตารางตอ่ ไปน้ี 47

รายงานประจำป 2553 สถาบันว�ทยาศาสตรทางทะเล มหาวท� ยาลยั บรู พา ตารางที่ 19 โครงการ/กิจกรรมวิชาการดา้ นวิทยาศาสตร์ทางทะเล ล�ำดับท่ี ชอื่ โครงการ ผู้รบั ผดิ ชอบ งบประมาณ (บาท) 1 โครงการวนั เด็กแห่งชาติ ประจำ� ปี พ.ศ. 2553 สถาบันวิทยาศาสตรท์ างทะเล 40,000 80,000 2 โครงการคา่ ยวทิ ยาศาสตร์ทางทะเล ครง้ั ท่ี 25 นายมาโนช โกมลวนชิ 56,400 3 โครงการค่ายวิทยาศาสตร์ เพ่ือการอนรุ ักษ์ นายมาโนช โกมลวนชิ 56,400 ทรพั ยากรธรรมชาตทิ างทะเล ส�ำหรบั เยาวชน 4 โครงการเผยแพรว่ ิทยาศาสตรท์ างทะเล และการ นายมาโนช โกมลวนิช อนรุ กั ษท์ รพั ยากรสูภ่ ูมภิ าคสัญจร พ.ศ. 2553 ตารางที่ 20 โครงการบรกิ ารวชิ าการแกส่ งั คมทไ่ี ด้รับการจัดสนับสนุนจากแหล่งทนุ อน่ื ลำ� ดบั ชือ่ โครงการ ผูร้ บั ผิดชอบ แหล่งทนุ งบประมาณ ที่ (บาท) 90,000 1 “คา่ ยวทิ ยาศาสตร์ เพอื่ การอนรุ กั ษ์ สถาบันวิทยาศาตร์ โรงเรียนเลยพิทยาคม จ.เลย ทรัพยากรธรรมชาตแิ ละส่งิ แวดล้อม ทางทะเล 32,500 ทางทะเล ส�ำหรบั โรงเรียนเลย พิทยาคม 2 “คา่ ยวิทยาศาสตร์ เพื่อการอนรุ ักษ์ สถาบนั วทิ ยาศาตร์ ศนู ยก์ ารศึกษานอกโรงเรยี น ทรัพยากรธรรมชาตแิ ละสง่ิ แวดล้อม ทางทะเล อ�ำเภอสามพราน จ.นครปฐม ทางทะเล สำ� หรบั ศูนยก์ ารศึกษานอกโรงเรียนอำ� เภอ สามพราน จ.นครปฐม การให้บริการตรวจวเิ คราะห์และบรกิ ารผลิตภัณฑ์ 1. การใหบ้ ริการตรวจวิเคราะห์คุณภาพนำ�้ แก่เกษตรกรผู้เพาะเล้ยี งสตั วน์ ้ำ� และหนว่ ยงานอื่น งานวจิ ยั สง่ิ แวดลอ้ มทางทะเล และสถานวี จิ ยั ชะอำ� ไดใ้ หบ้ รกิ ารตรวจวเิ คราะหค์ ณุ ภาพนำ�้ แกเ่ กษตรกร ผเู้ พาะเลีย้ งสตั วน์ �้ำและหนว่ ยงานอืน่ โดยแบง่ เปน็ 2 รปู แบบ คอื การให้บรกิ ารแบบใหเ้ ปลา่ และแบบคดิ ค่าบริการ ใน ปีงบประมาณ พ.ศ. 2553 ได้มีผู้ขอใชบ้ ริการท้ังสน้ิ 36 ราย จำ� นวน 64 ตวั อยา่ ง แบง่ เปน็ การให้บรกิ ารแบบใหเ้ ปล่า จำ� นวน 4 ตวั อยา่ ง 4 ราย และการใหบ้ รกิ ารแบบคดิ คา่ บรกิ าร จ�ำนวน 60 ตวั อยา่ ง 32 รายโดยสว่ นใหญว่ เิ คราะหเ์ พอื่ ใชป้ ระโยชน์ทางการเพาะเลี้ยง 2. การใหบ้ รกิ ารอาหารมชี ีวติ ในปงี บประมาณ พ.ศ. 2553 งานวจิ ยั การเพาะเลยี้ งสตั วแ์ ละพชื ทะเล และสถานวี จิ ยั ชะอ�ำ ไดใ้ หบ้ รกิ าร แพลงกต์ อนพชื แบบใหเ้ ปลา่ แกห่ นว่ ยงานภายนอกซงึ่ เปน็ สว่ นราชการทขี่ อหวั เชอื้ เพอื่ ไปท�ำงานวจิ ยั และใชใ้ นการเรยี น การสอนและแกเ่ กษตรกร รวมทงั้ สน้ิ 49 ลติ ร ส่วนแพลงกต์ อนสัตวไ์ ม่มีผู้ขอใช้บริการ 48

Annual Report 2010 Institute of Marine Science, Burapha University 3. การให้บริการตรวจโรคสตั ว์น�ำ้ ในปีงบประมาณ พ.ศ. 2553 หน่วยสุขภาพสัตว์นำ�้ เค็ม งานวิจัยเพาะเล้ียงสัตว์และพืชทะเล ได้ให้ บรกิ ารตรวจโรคสตั วน์ ำ�้ แกเ่ กษตรกร ไดม้ ผี ขู้ อใชบ้ รกิ ารทงั้ สนิ้ 13 ราย จำ� นวน 16 ตวั อยา่ ง แบง่ เปน็ การใหบ้ รกิ ารแบบ ให้เปล่า จำ� นวน 14 ตวั อย่าง 11 ราย และการให้บรกิ ารแบบคิดค่าบรกิ าร จ�ำนวน 2 ตวั อยา่ ง 2 รายโดยสว่ นใหญ่ วเิ คราะหเ์ พ่ือใชป้ ระโยชนท์ างการเพาะเล้ยี ง 4. การให้บริการตรวจวิเคราะห์ตวั อย่างสง่ิ มีชีวติ ปงี บประมาณ พ.ศ. 2553 งานวจิ ยั ความหลากหลายทางชวี ภาพทางทะเลไดใ้ หบ้ รกิ ารตรวจวเิ คราะห์ ตวั อยา่ งส่ิงมีชีวิตได้แก่ แพลงกต์ อนพชื และสัตวห์ นา้ ดิน แบบให้เปล่า รวม 2 ราย จ�ำนวน 64 ตวั อยา่ ง และ เอคไค โนเดิรม์ 16 ตวั อย่าง การให้ค�ำปรกึ ษาทางวิชาการ ในปงี บประมาณ พ.ศ. 2553 สถาบนั วทิ ยาศาสตรท์ างทะเลไดใ้ หค้ ำ� ปรกึ ษาทางวชิ าการแกบ่ คุ คลทว่ั ไปทขี่ อ ขอ้ มลู หรอื ขอคำ� ปรกึ ษาทางวชิ าการเกย่ี วกบั วทิ ยาศาสตรท์ างทะเลโดยเฉพาะดา้ นเทคโนโลยกี ารเพาะเลยี้ งสตั วท์ ะเล สวยงาม รวมทั้งระบบการเพาะเลีย้ งสัตวน์ ้�ำ ทัง้ ท่ีมาขอคำ� ปรกึ ษาด้วยตนเอง ขอคำ� ปรกึ ษาทางโทรศัพท์ และผ่านทาง เวบ็ บอรด์ ของสถาบนั ฯ เปน็ จ�ำนวนท้งั สนิ้ ประมาณ 170 คร้งั การฝกึ งานของนักวจิ ยั ต่างประเทศ สถาบันวิทยาศาสตร์ทางทะเล มหาวิทยาลัยบูรพา เป็นสถาบันวิจัยด้านวิทยาศาสตร์ทางทะเลแห่งหนึ่ง ของประเทศไทยทม่ี ีนกั วจิ ัยจากต่างประเทศสนใจเขา้ มาฝึกงานด้านการวิจยั โดยในปงี บประมาณ พ.ศ. 2553 ได้มนี ัก วจิ ัยชาวต่างประเทศทีม่ าปฏิบตั ิงานวจิ ยั ทีส่ ถาบันฯ จำ� นวนทัง้ ส้นิ 6 ราย ดงั ต่อไปน้ี ตารางท่ี 21 นักวจิ ัยต่างประเทศทม่ี าปฏบิ ัติงานวิจยั ลำ� ดบั ที่ ชอ่ื -สกุล สาขาท่ีเข้าปฏิบตั งิ าน ระยะเวลา ผรู้ บั ผดิ ชอบ ดร.วรเทพ มุธวุ รรณ 1 1.) Miss Pham Phuong Linh งานวจิ ยั การเพาะเลย้ี ง 20 กมุ ภาพนั ธ์ - 20 ดร.เสาวภา 2). Mr. Pham Trung Hieu สตั ว์และพืชทะเล กันยายน 2553 สวสั ดิ์พรี ะ 3). Miss. Tran Thi Le Trang 4). Mr. Tran Van D ung ดร. ชุตวิ รรณ เดชสกลุ วัฒนา 2 1). Prof.Antone Motta งานวจิ ยั เทคโนโลยี 1-30 กันยายน 2553 2). Mr.Bon Gianpaolo ชีวภาพทางทะเล ตุลาคม 2553 - (โครงการแลกเปล่ียนอาจารย์ กมุ ภาพันธ์ 2554 และนักศกึ ษากับสหภาพยโุ รปใน โครงการ Erasmus Mundus/ Progect Bridging the Gap) 49

รายงานประจำป 2553 สถาบนั ว�ทยาศาสตรท างทะเล มหาวท� ยาลัยบูรพา การเป็นวทิ ยากร บุคลากรของสถาบันฯ ได้รับเชิญไปเป็นวิทยากรภายใน และภายนอก สถาบันวิทยาศาสตร์ทางทะเล ดงั รายละเอียดตอ่ ไปน้ี 1 . วทิ ยากร บุคลากรของสถาบันฯ ไดร้ ับเชญิ เปน็ วทิ ยากรภายใน รวม 2 คน จ�ำนวน 3 คร้ัง ตารางที่ 22 การไดร้ บั เชญิ เป็นวทิ ยากรภายในมหาวิทยาลัยบูรพา ล�ำดบั รายชอื่ ผไู้ ด้รบั เชิญ เรอ่ื งท่ีบรรยาย สถานท่ี / วนั ที่ สถาบนั การ ที่ ศกึ ษาที่เชิญมา คณะวทิ ยาศาสตร์ 1 นายสุชา ความหลากหลายทางชวี ภาพ พพิ ธิ ภัณฑธ์ รรมชาตเิ กาะ และ มหาวิทยาลัยบรู พา ม่ันคงสมบูรณ์ ของเพรยี งหัวหอม ทะเลไทย เขาหมาจอ จ.ชลบรุ ี วันที่ 6-11 พฤศจิกายน 2552 คณะวทิ ยาศาสตร์ มหาวทิ ยาลยั บรู พา 2 นางสาวธดิ ารตั น์ ความหลากหลายทางชีวภาพ พิพธิ ภัณฑ์ธรรมชาตเิ กาะและ น้อยรกั ษา ของสาหร่ายทะเล ทะเลไทย เขาหมาจอ จ. ชลบรุ ี คณะวิทยาศาสตร์ วันท่ี 6-11 พฤศจิกายน 2552 มหาวทิ ยาลัยบรู พา 3 นายสชุ า มน่ั คง สิ่งมีชีวิตในทะเล เทศบาลเมืองพทั ยา สมบูรณ์ วันท่ี 30 สงิ หาคม 2553 2. วทิ ยากรภายนอกมหาวิทยาลยั บุคลากรของสถาบนั ฯ ไดร้ ับเชิญเปน็ วทิ ยากรภายนอกมหาวทิ ยาลัย ท้งั สน้ิ 5 ราย จ�ำนวน 14 ครั้ง ดังรายละเอยี ดต่อไปน้ี ตารางที่ 23 การไดร้ ับเชิญเป็นวทิ ยากรภายนอกมหาวทิ ยาลยั ล�ำดับ รายชือ่ ผู้ได้รบั เชิญ เรอื่ งทีบ่ รรยาย สถานท่ี / วนั ท่ี หน่วยงานทเี่ ชิญมา ท่ี 1 ดร.สเุ มตต์ ปจุ ฉาการ วิทยากรรว่ มอภปิ รายเรื่อง โรงแรมมารวยการ์เด้นท์ สำ� นกั งานนโยบาย ปัญหา ชอ่ งว่าง อปุ สรรคของ กรุงเทพฯ วันที่ 23 กันยายน และแผนทรัพยากร งานวจิ ัยความหลากหลายทาง 2552 ธรรมชาติและสิ่ง ชวี ภาพ และความตอ้ งการของ แวดล้อม หนังสือท่ี นักวิจัยในการประชมุ สัมมนา ทส 1013/ 6809 งานวจิ ยั ความหลากหลายทาง วันที่ 9กันยายน ชวี ภาพ 2552 2 ดร.สุเมตต์ ปจุ ฉาการ ผดู้ ำ� เนินรายการการประชุม สวนสัตว์เปดิ เขาเขยี ว หนังสือท่ี พว วิชาการคณะปฏบิ ตั งิ าน จ.ชลบรุ ี วนั ที่ 22 ตลุ าคม 0001(อพ.) 3409/ วิทยาการ อพ. สธ. คร้ังท่ี 4 2552 2552 วันท่ี 24 “ทรัพยากรไทย : ผันสวู่ ถิ ใี หม่ สิงหาคม 2552 ในฐานไทย” โครงการ อพ.สธ. 50

Annual Report 2010 Institute of Marine Science, Burapha University ลำ� ดบั รายชื่อผูไ้ ดร้ ับเชญิ เร่อื งทบ่ี รรยาย สถานที่ / วันที่ หน่วยงานทีเ่ ชิญมา ท่ี 3 ดร.จติ รา ตีระเมธี วิทยากรบรรยายเชงิ ปฏิบตั กิ าร ห้องประชุม อาคาร 1 พิพธิ ภณั ฑ์ธรรมชาติ ในหัวข้อ “บทบาทและคุณคา่ พพิ ธิ ภณั ฑ์ธรรมชาติวิทยา วทิ ยาเกาะและ ของแพลงก์ตอนทะเล” ส�ำหรับ เกาะและทะเลไทย ทะเลไทย อ.สตั หีบ นกั เรียนชนั้ มธั ยมศึกษาปที ่ี 4 อ.สตั หบี จ.ชลบุรี จ.ชลบุรี โรงเรียนสตรนี นทบรุ ี จังหวัด วันที่ 16 ธันวาคม 2552 นนทบรุ ี จ�ำนวน 35 คน 4 ดร.สุเมตต์ ปจุ ฉาการ วทิ ยากรและแถลงข่าวการ โรงแรม ราชาครี ี รสี อร์ท โครงการ BRT สง่ มอบทุ่นก�ำหนดแนวเขต แอนด์ สปา อ.ขนอม หนังสือที่ BRT อนรุ ักษโ์ ลมาสชี มพู อ. ขนอม จ.นครศรธี รรมราช 2552/0357 ลงวนั จ. นครศรีธรรมราช และเปิด วนั ที่ 18 ธันวาคม 2552 ที่ 16 พฤศจิกายน ตวั หนังสือ “Marine Biodi- 2552 versity : A photographic journey to Khanom – Mu Ko Thale, SE Thailand” 5 นายมาโนช โกมลวนิช เยาวชนกับการอนุรกั ษ์ วันท่ี 19 กุมภาพันธ์ 2553 โรงเรียนอนบุ าลเมอื ง 6 ดร.กติ ธิ ร สรรพานชิ ทรัพยากรทางทะเล ใหม่ จ.ชลบรุ ี 7 ดร.แววตา ทองระอา การอบรมเชงิ ปฏิบตั ิการการ สถาบันวจิ ัยและพฒั นา สถาบนั วิจยั และ 8 นายมาโนช โกมลวนชิ จ�ำแนกชนิดหอยฝาเดียว ทรพั ยากรทางทะเล ชายฝ่งั พฒั นาทรพั ยากร 9 นายมาโนช โกมลวนชิ ทะเล และปา่ ชายเลน ทางทะเล ชายฝัง่ จังหวัดภเู ก็ต วันท่ี 15-18 ทะเล และปา่ ชายเลน มีนาคม 2553 จังหวัดภูเกต็ เสวนา: กินอาหารทะเลอย่างไร โรงแรมอมารี ดอนเมือง แอร์ กรมอนามัย ในภาวะวกิ ฤติโลกรอ้ น พอรต์ วันที่ 30 มีนาคม 53 กระทรวงสาธารณสขุ ระบบนเิ วศทางทะเล และการ วนั ท่ี 8 เมษายน 2553 สวนสตั ว์เปิดเขาเขยี ว อนุรักษท์ รัพยากรทางทะเล การอนุรกั ษท์ รัพยากร ปา่ ชาย วนั ท่ี 24 กนั ยายน 2553 สำ� นกั งานการนคิ ม เลน-สตั วท์ ะเล ให้กับเยาวชน อตุ สาหกรรม ค่ายเยาวชนรักษส์ ง่ิ แวดล้อม แหลมฉบงั นอ้ มถวายวนั แม่ 51

รายงานประจำป 2553 สถาบนั ว�ทยาศาสตรทางทะเล มหาวท� ยาลัยบรู พา ลำ� ดับ รายชอื่ ผู้ไดร้ ับเชญิ เร่ืองทบี่ รรยาย สถานที่ / วนั ท่ี หนว่ ยงานท่เี ชญิ มา ที่ 10 ดร.สุเมตต์ ปุจฉาการ วทิ ยากรค่ายวทิ ยาศาสตร์ทาง พิพธิ ภัณฑธ์ รรมชาติวทิ ยา โรงเรียนวัด ทะเล เกาะและทะเลไทย สุทธวิ ราราม กรงุ เทพฯ หนังสือท่ี วนั ที่ 18 เมษายน 2553 ศธ 04014.43/0346 ลงวันที่ 1 เมษายน 2553 11 ดร.สุเมตต์ ปจุ ฉาการ วิทยากรศกึ ษาดูงานความ สถาบันฯ วนั ท่ี 19-20 โรงเรยี นนยิ มศลิ ป์ หลากหลายทางชีวภาพ มถิ ุนายน 2553 อนสุ รณ์ จ.เพชรบุ รณ์ หนงั สอื ท่ี ศธ 04108.016/246 ลงวันที่ 7 มถิ นุ ายน 2553 12 ดร.สุเมตต์ ปุจฉาการ วิทยากรบรรยายเร่อื ง อนั ตราย กองเวชศาสตรใ์ ต้น้�ำและ กรมแพทย์ทหาร 13 ดร.สุเมตต์ ปุจฉาการ จากสตั ว์ทะเล การบนิ กรมแพทยท์ หารเรอื เรอื หนงั สือท่ี กห 14 ดร.สเุ มตต์ ปจุ ฉาการ กรุงเทพฯ วันท่ี 7 กรกฎาคม 0526/1411 ลงวันท่ี 2553 1 กรกฎาคม 2553 วิทยากรกิจกรรมคา่ ยเรียนรู้ พิพธิ ภณั ฑ์ธรรมชาติวทิ ยา พิพธิ ภณั ฑธ์ รรมชาติ ทรัพยากรธรรมชาติ เกาะและทะเลไทย อ.สัตหีบ วทิ ยาเกาะและทะเล จ. ชลบุรี วันที่ 21 สงิ หาคม ไทย หนังสอื ที่ พทธ 2553 53/2553 ลงวันท่ี 4 สงิ หาคม 2553 วิทยากรหลักสตู รแพทย์ โรงเรียนพยาบาล กองการ โรงเรยี นพยาบาล เวชศาสตร์ใต้น�้ำและความกด ศึกษา กรมแพทย์ทหารเรอื กรมแพทยท์ หาร อากาศ กรุงเทพฯ วันท่ี 2 กันยายน เรอื หนงั สอื ท่ี กห 2553 0526.6.1/993 ลงวัน ที่ 11 สงิ หาคม 2553 การเปน็ กรรมการท่ีปรึกษา / กรรมการผทู้ รงคุณวฒุ ทิ ง้ั ภายในและภายนอกมหาวทิ ยาลยั บุคลากรของสถาบนั ฯ ได้รบั เชิญเป็นกรรมการทป่ี รึกษา / กรรมการผู้ทรงคณุ วฒุ ิทง้ั ภายในและภายนอก มหาวิทยาลัย ดังรายละเอยี ดในตารางตอ่ ไปน้ี 52

Annual Report 2010 Institute of Marine Science, Burapha University ตารางท่ี 24 การได้รับเชิญเปน็ กรรมการท่ีปรึกษา / กรรมการผทู้ รงคุณวฒุ ิภายในมหาวทิ ยาลัย ล�ำดับ ช่ือผู้ได้รับเชิญ ชอ่ื คณะกรรมการ หน่วยงานทีเ่ ชิญ / วัน/เดือน/ปี ที่ ทไี่ ดก้ ารรบั แตง่ ต้งั / รับเชิญ แตง่ ต้ัง ทีไ่ ด้รบั เชญิ 1 ดร.วรเทพ มธุ วุ รรณ คณะกรรมการประจำ� หลกั สูตรวิทยา คณะวทิ ยาศาสตร์ วนั ที่ 11 ธันวาคม 2552 ดร.เสาวภา สวสั ด์ิพรี ะ ศาสตรมหาบณั ฑิต มหาวทิ ยาลัยบรู พา 2 ดร.วรเทพ มุธวุ รรณ คณะกรรมการประจำ� หลกั สูตร คณะวทิ ยาศาสตร์ วนั ท่ี 11 ธันวาคม 2552 วิทยาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวชิ า มหาวทิ ยาลัยบรู พา วทิ ยาศาสตรส์ ง่ิ แวดล้อม 3 ดร.ทรรศนิ ปณิธานะ กรรมการพจิ ารณาเค้าโครง คณะวทิ ยาศาสตร์ วนั ท่ี 4 ธันวาคม 2552 รักษ์ วทิ ยานพิ นธ์ มหาวทิ ยาลยั บูรพา 4 ดร.สุพรรณี คณะอนกุ รรมการพิจารณากลน่ั องค์การบรหิ ารสว่ น วันที่ 12 มกราคม 2553 ลโี ทชวลิต กรอง ตรวจสอบงานพันธส์ุ ัตว์น้�ำ จงั หวัดชลบรุ ี โครงการโลกใตท้ ะเล 5 ดร.วรเทพ มุธุวรรณ กรรมการพิจารณาเค้าโครง คณะวทิ ยาศาสตร์ วันท่ี 9 กมุ ภาพนั ธ์ ดุษฎีนิพนธ์ มหาวิทยาลัยบรู พา 2553 6 นายประหยัด มะหมดั คณะอนกุ รรมการพิจารณากล่ัน องค์การบรหิ ารส่วน วนั ที่ 12 มกราคม 2553 กรอง ตรวจสอบงานพันธ์ุสตั ว์นำ้� จังหวัดชลบรุ ี โครงการโลกใตท้ ะเล 7. ดร.สพุ รรณี คณะกรรมการตรวจการจ้าง องคก์ ารบรหิ ารส่วน วันที่ 30 มถิ นุ ายน 2553 ลโี ทชวลติ โครงการโลกใตท้ ะเล สัญญาจ้างที่ 3 จังหวดั ชลบรุ ี 8. นายสุรพล ปยุ้ เจรญิ คณะกรรมการควบคุมงานโครงการ องค์การบรหิ ารส่วน วันที่ 30 มถิ ุนายน 2553 โลกใต้ทะเล สญั ญาจ้างท่ี 3 จงั หวดั ชลบรุ ี ตารางท่ี 25 การไดร้ บั เชิญเปน็ กรรมการที่ปรึกษา / กรรมการผูท้ รงคุณวฒุ ิภายนอกมหาวทิ ยาลัย ลำ� ดับ ชอื่ ผ้ไู ด้รับเชิญ ชื่อคณะกรรมการ หนว่ ยงานทเ่ี ชญิ / แต่งต้ัง วนั /เดือน/ปี ที่ ทไี่ ดก้ ารรับแตง่ ตั้ง / รับเชิญ ทไ่ี ด้รับเชิญ 1 ดร.แววตา ทองระอา ผูท้ รงคณุ วุฒิเพ่ือพจิ ารณาผลงาน สถาบนั วิจยั และพฒั นา หนงั สอื ที่ ศธ วจิ ยั /บทความเพอ่ื ลงตพี มิ พว์ ารสาร มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ 0513.12504-พ เกษตรศาสตร์ สาขาวิทยาศาสตร์ ฝา่ ยประยกุ ตแ์ ละถ่ายทอดงาน วันท่ี 28 กนั ยายน วจิ ัย 2552 2 ดร.กิติธร สรรพานชิ คณะกรรมการด�ำเนนิ งานโครงการ โครงการอนุรักษพ์ นั ธกุ รรมพชื 1 ตลุ าคม 2549 อนุรักษ์พันธกุ รรมพชื อนั เนอื่ งมา อันเน่ืองมาจากพระราชดำ� ริ – 30 กันยายน จากพระราชดำ� รฯิ มหาวิทยาลยั สมเดจ็ พระเทพรัตนราชสุดาฯ 2554 บรู พา สยามบรมราชกมุ ารี 53

รายงานประจำป 2553 สถาบันว�ทยาศาสตรทางทะเล มหาว�ทยาลัยบูรพา ล�ำดบั ชอ่ื ผู้ไดร้ บั เชิญ ช่อื คณะกรรมการ หน่วยงานที่เชิญ / แตง่ ต้ัง วนั /เดือน/ปี ท่ี ทไ่ี ดก้ ารรบั แตง่ ตั้ง / รบั เชิญ ที่ได้รบั เชญิ 3 ดร.กติ ิธร สรรพานชิ คณะปฏิบตั ิงานวทิ ยาการโครงการ โครงการอนรุ กั ษ์พันธุกรรมพชื ค�ำส่งั แต่งตงั้ คณะ อนรุ กั ษ์พนั ธุกรรมพืชอนั เนื่องมา อนั เนอื่ งมาจากพระราชดำ� ริ ปฏิบตั ิงานวิทยา จากพระราชดำ� ริฯ กองทัพเรอื (อพ. สมเดจ็ พระเทพรตั นราชสุดาฯ การฯ คำ� สงั่ ท่ี สธ.-ทร.) สยามบรมราชกุมารี อพ.สธ. 29/2552 ลงวันที่ 1 ตุลาคม 2552-30 กันยายน 2553 4 ดร.สเุ มตต์ ปุจฉาการ กรรมการผทู้ รงคุณวุฒิประเมนิ ผล คณะประมง มหาวทิ ยาลัย วันที่ 4 งานประชุมวชิ าการ มหาวิทยาลัย เกษตรศาสตร์ หนงั สือท่ี ศธ พฤศจกิ ายน – เกษตรศาสตร์ ครงั้ ท่ี 48 0513.10401/ ว.1780 ลงวนั วนั ท่ี 4 ธนั วาคม ที่ 8 ต.ค. 52 2552 5 ดร. แววตา คณะกรรมการตรวจสอบขอ้ เทจ็ ศาลากลางจงั หวดั ชลบุรี คำ� สงั่ จงั หวดั ชลบรุ ี ทองระอา จริงกรณหี อยตายบริเวณอา่ วชลบรุ ี ท่ี 2858/2552 อำ� เภอเมืองชลบรุ ี จงั หวดั ชลบุรี วนั ท่ี 5 พฤศจกิ ายน 2552 6 ดร.จิตรา ตรี ะเมธี กรรมการสอบปากเปล่า สอบ สาขาวิชาวทิ ยาศาสตร์ วนั ที่ 18 ประมวลความรอบรู้ ระดบั ปรญิ ญา ทางทะเล คณะประมง พฤศจิกายน โท สาขาวชิ าวทิ ยาศาสตรท์ าง มหาวทิ ยาลัยเกษตรศาสตร์ 2552 ทะเล คณะประมง มหาวทิ ยาลัย เกษตรศาสตร์ 7 ดร.จติ รา ตรี ะเมธี กรรมการสอบปากเปลา่ สอบ สาขาวิชาวิทยาศาสตร์ วันที่ 18 ประมวลความรอบรรู้ ะดบั ทางทะเล คณะประมง พฤศจิกายน ปริญญาโท มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ 2552 สาขาวิชาวทิ ยาศาสตร์ทาง ทะเล คณะประมง มหาวทิ ยาลยั เกษตรศาสตร์ 8 นางสาวชเนตตี สีต้น คณะอนกุ รรมการฝา่ ยสถานที่ งาน กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ วันที่ 18-20 มหกรรมสัตวเ์ ล้ียงแห่งประเทศไทย ธันวาคม 2553 ครัง้ ท่ี 9 9 ดร.วรเทพ มธุ วุ รรณ ผทู้ รงคุณวุฒิตรวจพิจารณารายงาน คณะกรรมการวิจัยและ วนั ท่ี 21 ธนั วาคม ความก้าวหนา้ งานวิจยั พฒั นาของวุฒสิ ภา ส�ำนกั งาน 2552 เลขาธกิ ารวฒุ ิสภา 54

Annual Report 2010 Institute of Marine Science, Burapha University ลำ� ดับ ชื่อผไู้ ดร้ ับเชญิ ชอ่ื คณะกรรมการ หน่วยงานทเี่ ชิญ / แตง่ ตงั้ วนั /เดอื น/ปี ท่ี ทีไ่ ดก้ ารรับแตง่ ต้ัง / รบั เชิญ ทไ่ี ด้รบั เชิญ วันที่ 28 ธันวาคม 10 ดร.สุเมตต์ ปจุ ฉาการ Reviewer Publication of the E-mail from Dr. Hiroshi 2552 –วนั ท่ี 18 Seto Marine Biological Labora- Aoyama 28 December มกราคม 2553 tory 2009 วนั ท่ี 12 มกราคม 2553 11 ดร.จติ รา ตรี ะเมธี กรรมการสอบปากเปลา่ กรรมการ สาขาวิชาชวี วิทยา ภายนอกในการสอบวิทยานพิ นธ์ คณะวทิ ยาศาสตร์ คำ� ส่งั คณะ นกั ศกึ ษาระดบั ปริญญาโทสาขาวชิ า มหาวิทยาลยั ขอนแก่น กรรมการด�ำเนนิ คณะวทิ ยาศาสตร์ มหาวิทยาลัย งานโครงการ ขอนแกน่ อนุรักษพ์ นั ธกุ รรม พชื อันเน่อื งมา 12 ดร.กิตธิ ร สรรพานชิ ท่ปี รึกษาคณะทำ� งานโครงการ กองทพั เรอื / ผบ.ทร. จากพระราช อนรุ กั ษพ์ ันธกุ รรมพชื อนั เนื่องมา ด�ำรฯิ กองทพั จากพระราชด�ำรฯิ กองทพั เรอื เรอื (เฉพาะ)ที่ 2/2553 ลงวนั 13 ดร.กติ ธิ ร สรรพานชิ ผทู้ รงคณุ วฒุ ิในการพิจารณาร่าง สถาบนั วจิ ยั และพัฒนา ท่ี 26 มกราคม โครงการวจิ ยั เพือ่ ขอรับทุนอดุ หนุน มหาวิทยาลยั ศิลปากร 2553 การวิจยั หนังสอื ราชการที่ ศธ. 14 ดร.วรเทพ มธุ วุ รรณ ผูท้ รงคุณวฒุ พิ ิจารณาบทความวจิ ัย กองบรรณาธิการวารสาร 0520.208/0780 วทิ ยาศาสตร์ มหาวทิ ยาลัย ลงวันที่ 26 ขอนแกน่ มีนาคม 2553 วนั ท่ี 2 เมษายน 15 ดร.วรเทพ มุธุวรรณ คณะกรรมการจดั ท�ำยทุ ธศาสตร์ กรมประมง 2553 ปลาสวยงาม วนั ท่ี 20 เมษายน 16 ดร.วรเทพ มุธุวรรณ คณะทำ� งานจัดต้ังศนู ย์การเรยี นรู้ จังหวดั ชลบุรี 2553 ของโครงการจดั การชายฝ่งั แบบ วันที่ 15 บรู ณาการจังหวดั ชลบรุ ี พฤษภาคม 2553 55

รายงานประจำป 2553 สถาบันว�ทยาศาสตรท างทะเล มหาว�ทยาลยั บูรพา ล�ำดับ ช่อื ผไู้ ด้รบั เชญิ ชอื่ คณะกรรมการ หนว่ ยงานท่เี ชญิ / แต่งตัง้ วนั /เดอื น/ปี ท่ี ทไ่ี ด้การรับแต่งต้ัง / รับเชิญ ทไ่ี ดร้ ับเชิญ วันที่ 31 17 ดร.วรเทพ มธุ ุวรรณ คณะกรรมการกล่นั กรองบทความ บรรณาธิการวารสาร พฤษภาคม 2553 วิจัย/วชิ าการ วารสารวทิ ยาศาสตร์ วทิ ยาศาสตรบ์ รู พา วนั ท่ี 15 มีนาคม บูรพา 2553 วนั ที่ 21 ธนั วาคม 18 ดร.วรเทพ มธุ วุ รรณ กรรมการควบคุมวทิ ยานพิ นธร์ ะดับ Faculty of Aquaculture, 2552 ดร.เสาวภา ปริญญาโท Nha Trang University, วันที่ 20 สวัสด์ิพีระ Vietnam พฤษภาคม 2553 วันท่ี 8 มถิ นุ ายน 19 ดร.วรเทพ มธุ วุ รรณ ผู้ทรงคุณวฒุ ติ รวจพจิ ารณารายงาน คณะกรรมการวจิ ัยและ 2553 ความกา้ วหน้างานวจิ ัย พฒั นาของวฒุ สิ ภา สำ� นกั งาน วนั ที่ 17 สงิ หาคม เลขาธิการวุฒิสภา 2553 วันท่ี 2 กันยายน 20 ดร.วรเทพ มุธุวรรณ ทีป่ รกึ ษาคณะท�ำงานปฏบิ ัตงิ านด้าน จงั หวดั ชลบรุ ี 2553 ดร.เสาวภา ประมง ลงวันที่ 20 สวสั ด์ิพีระ เมษายน 2553 วนั ที่ 1-30 21 ดร.วรเทพ มธุ ุวรรณ ผ้ทู รงคณุ วุฒิ คณะกรรมการอำ� นวย มหาวทิ ยาลยั ขอนแก่น พฤษภาคม - การพพิ ธิ ภณั ฑ์สตั ว์นำ�้ จังหวดั 2553 หนองคาย 22 ดร.วรเทพ มุธุวรรณ คณะกรรมการกลั่นกรองบทความ บรรณาธิการวารสาร วิจยั /วชิ าการ วารสารวิทยาศาสตร์ วทิ ยาศาสตร์บูรพา บูรพา 23 ดร.วรเทพ มธุ วุ รรณ ผทู้ รงคุณวฒุ ิตรวจพจิ ารณา(ร่าง) คณะกรรมการวิจัยและ รายงานการวจิ ัยฉบับสมบูรณ์ พฒั นาของวฒุ ิสภา สำ� นักงาน เลขาธิการวฒุ ิสภา 24 ดร.สเุ มตต์ ปจุ ฉาการ Marine Biodiversity Expert Asian Institute of Tech- ให้ค�ำปรึกษาจัดท�ำรายงาน nology “Technical assistance for the set-up of a credit-facility to support ecosystems friendly accommodations in coastal areas in Thailand” 56

Annual Report 2010 Institute of Marine Science, Burapha University ลำ� ดับ ช่ือผูไ้ ดร้ บั เชิญ ชอื่ คณะกรรมการ หนว่ ยงานที่เชิญ / แตง่ ตัง้ วนั /เดือน/ปี ท่ี ที่ไดก้ ารรับแต่งตัง้ / รบั เชญิ ที่ได้รับเชิญ 25 ดร.สเุ มตต์ ปุจฉาการ ทีป่ รกึ ษา/ผูเ้ ช่ียวชาญดา้ นทรพั ยากร บรษิ ัท เทสโก้ จ�ำกดั หนังสอื ท่ี TES ทางทะเลและชายฝงั่ 194 -ENV/53 / ศกึ ษาผลกระทบส่ิงแวดลอ้ มและ ลงวนั ที่ 30 สขุ ภาพ โครงการขยายทา่ เทียบเรอื กรกฎาคม 53 พรอ้ มวางท่อน�ำ้ มันใตท้ ะเล และ 1 สงิ หาคม -31 กอ่ สรา้ งถังเก็บผลิตภณั ฑ์เพิ่มเติม ตุลาคม 2553 ของคลังปิโตรเลียมภาคตะวนั ออก 26 ดร.สเุ มตต์ ปจุ ฉาการ ผทู้ รงคณุ วุฒใิ นการจัดทำ� สาระ โรงเรียนพลู ตาหลวง อ. สัตหีบ วนั ท่ี 31 สงิ หาคม วทิ ยาศาสตรเ์ พิ่มเติม จ. ชลบุรี 2553 เร่อื ง เรม่ิ ตน้ กับวทิ ยาศาสตร์ทาง ทะเล 27 ดร.สุเมตต์ ปจุ ฉาการ กรรมการผทู้ รงคุณวฒุ ภิ ายนอก คณะประมง ค�ำส่ัง บัณฑติ นเิ วศวิทยาการกินอาหารของปลา มหาวิทยาลยั เกษตรศาสตร์ วิทยาลยั ท่ี โมง (Pangasius bocourti Sau- บางเขน 0780/2553 vage, 1880) ในแม่นำ้� โขง บรเิ วณ ลงวันที่ 19 จงั หวดั หนองคาย เมษายน 2553 28 ดร.สเุ มตต์ ปจุ ฉาการ กรรมการสอบโครงรา่ งวทิ ยานพิ นธ์ คณะสิ่งแวดลอ้ มและ คำ� ส่ัง บัณฑติ Multielement in coral skel- ทรพั ยากรศาสตร์ วิทยาลัย ท่ี eton: Suratthani, Thailand มหาวทิ ยาลัยมหดิ ล ศาลายา 2078/2553 ลงวนั ท่ี 2 กนั ยายน 2553 29 ดร.จิตรา ตรี ะเมธี กรรมการผทู้ รงคุณวฒุ ิภายนอกใน นกั ศกึ ษาระดบั ปรญิ ญาโท วันท่ี 6 กันยายน การสอบวทิ ยานิพนธ์ (กรรมการ สาขาวิชาชวี วทิ ยา 2553 สอบปากเปล่า) คณะวทิ ยาศาสตร์ มหาวทิ ยาลัยขอนแก่น 30 ดร.จิตรา ตรี ะเมธี กรรมการสอบเค้าโครงวิทยานพิ นธ์ ระดบั ปริญญาโทสาขาวิชา วนั ที1่ 0 กนั ยายน (กรรมการสอบปากเปลา่ ) วิทยาศาสตรท์ างทะเล 2553 คณะประมง หาวทิ ยาลัย เกษตรศาสตร์ 57

รายงานประจำป 2553 สถาบันว�ทยาศาสตรท างทะเล มหาว�ทยาลัยบูรพา การสนบั สนนุ การเรียนการสอน การสนับสนุนการเรียนการสอนเป็นภารกิจหนึ่งที่สถาบันวิทยาศาสตร์ทางทะเลให้ความส�ำคัญ โดยเปิด โอกาสให้นักวิทยาศาสตร์และเจ้าหน้าท่ีของสถาบันวิทยาศาสตร์ทางทะเลได้ใช้ความรู้และประสบการณ์จากการวิจัย และการปฏบิ ตั งิ านมาบรู ณาการใหเ้ กดิ ประโยชนต์ อ่ การเรยี นการสอนในระดบั ตา่ งๆ อาทเิ ชน่ การดแู ลและใหค้ ำ� ปรกึ ษา นสิ ติ /นกั ศกึ ษาจากสถาบนั ตา่ งๆ ในการท�ำปญั หาพเิ ศษ/วทิ ยานพิ นธ์ โดยท�ำหนา้ ทเ่ี ปน็ อาจารยท์ ป่ี รกึ ษาหรอื ทป่ี รกึ ษา ร่วม การรบั นิสิต/นักศกึ ษาจากสถาบนั อุดมศกึ ษาตา่ งๆทัง้ ในและตา่ งประเทศเข้ามาฝกึ งานในสว่ นของหอ้ งปฏิบตั ิการ หรอื งานตา่ งๆ โดยมนี กั วทิ ยาศาสตรข์ องสถาบนั วทิ ยาศาสตรท์ างทะเลคอยใหก้ ารดแู ล ซง่ึ ในปงี บประมาณ พ.ศ. 2553 มีผลการดำ� เนนิ งาน ดังนี้ 1. การทำ� ปญั หาพิเศษ/วิทยานพิ นธ์ สถาบันฯได้รับนิสิต/นักศึกษาจากสถาบันต่างๆ เข้ามาท�ำปัญหาพิเศษและวิทยานิพนธ์ โดยมีนัก วิทยาศาสตร์ของสถาบันฯเป็นอาจารย์ที่ปรึกษาหรือท่ีปรึกษาร่วม นิสิต/นักศึกษาจะได้รับการสนับสนุนทรัพยากรใน การท�ำงานวิจัยจากทางสถาบันฯ เช่น สารเคมี วสั ดสุ นิ้ เปลืองตา่ งๆ เครื่องมือและอุปกรณ์ท่ีใชใ้ นการวจิ ยั เปน็ ตน้ ใน ปงี บประมาณ พ.ศ. 2553 มนี สิ ติ /นกั ศกึ ษาจากสถาบนั การศกึ ษาตา่ งๆ มาทำ� งานวจิ ยั เพอ่ื เปน็ ปญั หาพเิ ศษ/วทิ ยานพิ นธ์ ระดับปรญิ ญาตรี ดังตาราง ตารางที ่ 26 การรับนิสิตเขา้ มาทำ� ปัญหาพิเศษ/วทิ ยานิพนธ์ ลำ� ดบั ชอื่ เรอ่ื งปัญหาพเิ ศษ/ ชอ่ื นิสิต สถาบนั การศึกษาและคณะ ชื่ออาจารย์ทีป่ รกึ ษา/ ที่ วทิ ยานพิ นธ์ (ระบนุ ิสติ ปริญญาระดับใด) ทปี่ รึกษาร่วม 1 ระยะการสืบพนั ธุ์ของสาหรา่ ย นางสาวศริ กิ ลุ โตข�ำ ปรญิ ญาตรี นางสาวธดิ ารตั น์ Sargassum บรเิ วณหาด คณะวทิ ยาศาสตร์ นอ้ ยรักษา นางรอง จงั หวดั ชลบุรี มหาวทิ ยาลยั บูรพา 2 ศกึ ษาพฤติกรรมของปลาอมไข่ นางสาวนิชา สขุ เจริญ ปรญิ ญาตรี ดร.เสาวภา สวสั ดิ์พีระ ครบี ยาว คณะวิทยาศาสตร์ นายณัฐวุฒิ เหลืองออ่ น มหาวทิ ยาลัยบรู พา 3 ฤทธ์ยิ ับยง้ั การเจรญิ เตบิ โต นางสาวชมพนู ชุ ศรีพ่มุ ปริญญาตรี ผศ. ดร. จันทรวรรณ และการกระตุ้น apoptosis นางสาวจฑุ ามาศ ทองลิ่ม คณะสหเวชศาสตร์ แสงแข ของเซลลม์ ะเรง็ ปากมดลูก มหาวิทยาลัยบรู พา นางสาวรัตนาภรณ์ HeLa cells โดยสารสกัด ศรวี ิบูลย์ หยาบจาก Actinomycetes 4 การศึกษาชนดิ ของไลปดิ และ นางสาวอลิสา กลุ จนั ทะ นกั ศกึ ษาปริญญาตรี นางสาวรัตนาภรณ์ เมนาควโิ นน ในแอคตโิ นมัยซีท นางสาวนที จนั ทร คณะวิทยาศาสตร์ ศรวี บิ ลู ย์ มหาวทิ ยาลยั บูรพา อาจารย์อดุ มลกั ษณ์ ธิติรักษ์พานชิ 58

Annual Report 2010 Institute of Marine Science, Burapha University ลำ� ดบั ชอ่ื เร่ืองปัญหาพเิ ศษ/ ชอื่ นสิ ติ สถาบันการศึกษาและคณะ ชอ่ื อาจารย์ท่ปี รึกษา/ ท่ี วทิ ยานิพนธ์ (ระบุนิสติ ปริญญาระดับใด) ทปี่ รกึ ษารว่ ม 5 การกระตุน้ ภูมคิ ุ้มกนั ปลา นางสาวธารารตั น์ ภาควชิ าเทคโนโลยชี ีวภาพ ดร.จันทรจ์ รสั กะพงขาว (Lates calcarifer) สังขท์ อง คณะวทิ ยาศาสตร์ วัฒนะโชติ ในการป้องกนั การติดเชอื้ โรค มหาวิทยาลยั บูรพา จดุ ขาวน้ำ� เคม็ ที่เกดิ จากปรสิต Cryptocryon irritant 6 การกระตุ้นระบบภมู คิ มุ้ กัน นางสาวอญั ชลี คณะเทคโนโลยีการประมง ดร.จนั ทร์จรสั ของปลาข้าวเมา่ นำ�้ ลึกใน ปอ้ งเมือง และทรพั ยากรทางน�้ำ วัฒนะโชติ การปอ้ งกันการติดเชื้อปรสิต มหาวิทยาลยั แมโ่ จ้ Cryptocryon irritant 7 การศึกษาสมบตั ิและฤทธิ์ นายเอกรัตน์ ชาตนิ าฮี ภาควิชาชีวเคมี คณะ ดร.จนั ทรจ์ รสั ยับยง้ั แบคทีเรยี ของสิง่ สกัด วิทยาศาสตร์ มพาวทิ ยาลัย วฒั นะโชติ โปรตนี จากปะการงั ออ่ น บูรพา Sinularia spp. 8 การติดเชื้อปรสิต Perkinsus นางสาวดวงธิดา เทียมศริ ิ คณะเทคโนโลยีการประมง ดร.สุพรรณี ลีโทชวลิต sp. ปริมาณแบคทีเรยี Vibrio และทรพั ยากรทางน�้ำ spp. และเลคตินในระบบ มหาวิทยาลัยแมโ่ จ้ ภูมิค้มุ กันของหอยตลับขาว (Meretrix casta, GMELIN, 1791) บริเวณชายฝัง่ ทะเล เมืองใหม่ จงั หวดั ชลบุรี 9 ปรสติ ของปลาขา้ งเหลือง นางสาวสวุ ิชา ชะอุ่มฤทธ์ิ คณะเทคโนโลยีการประมง ดร.สุพรรณี ลีโทชวลิต (Caranx leptolepis) บรเิ วณ และทรพั ยากรทางนำ�้ จงั หวัดชลบุรี มหาวิทยาลยั แมโ่ จ้ การรับนสิ ติ /นักศกึ ษาฝึกงาน สถาบันวิทยาศาสตร์ทางทะเล ไดร้ บั นสิ ิต นักศึกษาในระดบั ปรญิ ญาตรี จากสถาบันการศกึ ษาต่างๆ ท่วั ประเทศ เข้ารบั การฝึกงานในฝ่ายตา่ งๆ ของสถาบันวิทยาศาสตรท์ างทะเล ได้แก่ ฝ่ายวิจยั ฝา่ ยสถานเลยี้ งสัตวน์ �้ำเค็ม ฝา่ ยพพิ ธิ ภณั ฑว์ ทิ ยาศาสตรท์ างทะเล และสถานวี จิ ยั สำ� หรบั ในปงี บประมาณ พ.ศ. 2553 มนี สิ ติ นกั ศกึ ษา เขา้ รบั การ ฝึกงานท้ังสนิ้ 58 คน จากสถาบันการศึกษา จ�ำนวน 13 สถาบัน ดงั รายละเอียดตอ่ ไปน้ี 59

รายงานประจำป 2553 สถาบนั วท� ยาศาสตรท างทะเล มหาว�ทยาลยั บรู พา ตารางท ่ี 27 การรบั นิสติ /นักศึกษาฝกึ งาน จำ� นวนนิสติ (คน) 17 ลำ� ดบั ชอื่ สถานศึกษา 3 1. มหาวทิ ยาลัยบูรพา 1 2. มหาวทิ ยาลัยบรู พา วทิ ยาเขตสารสนเทศจันทบุรี 2 3. มหาวทิ ยาลยั แม่โจ้ 2 4. สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง 8 5. มหาวทิ ยาลัยราชภฏั อุบลราชธานี 2 6. มหาวิทยาลยั ราชภฏั เพชรบรุ ี 3 7. มหาวิทยาลยั มหาสารคาม 1 8. มหาวทิ ยาลยั เทคโนโลยรี าชมงคลธญั บุรี 4 9. มหาวิทยาลยั สงขลานครินทร์ วิทยาเขตสุราษฏร์ธานี 2 10. มหาวิทยาลยั แมฟ่ ้าหลวง 10 11. มหาวทิ ยาลัยอบุ ลราชธานี 3 12. วทิ ยาลัยอาชวี ศกึ ษาชลบุรี 58 13. มหาวิทยาลยั ราชภฏั อุดรธานี รวม การท�ำนุบ�ำรุงศิลปวัฒนธรรม เพอ่ื เปน็ การสบื สานประเพณขี องไทยที่นับวันจะจางหายไปจากสังคมไทย สถาบันวิทยาศาสตรท์ างทะเล ไดเ้ ล็งเห็นถงึ ความสำ� คญั ของประเพณที งี่ ดงามของไทย จงึ ไดจ้ ัดท�ำโครงการตา่ งๆเพ่ือเปน็ การรกั ษาประเพณขี องไทย ไว้ ส�ำหรบั ปงี บประมาณ พ.ศ. 2553 สถาบันฯได้จดั โต๊ะหมู่บูชาไว้ส�ำหรบั ผ้เู ข้าเย่ียมสถาบนั ฯ ได้สรงนำ�้ พระพทุ ธรปู ตัง้ แต่วันท่ี 1-30 เมษายน 2553 การอนุรกั ษท์ รัพยากรธรรมชาตแิ ละสิ่งแวดลอ้ ม การอนุรักษ์ทรัพยากรและส่ิงแวดล้อมเป็นนโยบายหน่ึงของสถาบันวิทยาศาสตร์ทางทะเล ท่ีสถาบัน ตระหนักและให้ความส�ำคัญ ดังน้ันในแต่ละปีสถาบันฯจะมีโครงการหรือกิจกรรมด้านวิชาการที่เกี่ยวข้องกับการ อนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติมาอย่างต่อเนื่อง โดยในปีงบประมาณ พ.ศ. 2553 มีโครงการท่ีเก่ียวข้องกับการอนุรักษ์ ทรพั ยากรธรรมชาตแิ ละสิ่งแวดลอ้ มทางทะเล ดังน้ี 1. โครงการค่ายวทิ ยาศาสตร์ทางทะเลส�ำหรับเยาวชน ครง้ั ที่ 25 เมอื่ วันท ี่ 29 มนี าคม - 2 เมษายน 2553 โครงการคา่ ยวทิ ยาศาสตรท์ างทะเลสำ� หรบั เยาวชน เปน็ โครงการวชิ าการทส่ี ถาบนั ฯดำ� เนนิ การมาอยา่ งตอ่ เนือ่ งตั้งแต่ปี พ.ศ. 2529 มาจนถึงปจั จบุ ันเปน็ ปที ่ี 25 โดยได้รับการสนบั สนุนจากงบประมาณแผน่ ดิน โดยมีเปา้ หมาย ของโครงการต้องการให้เยาวชนท่ีอยู่ในระดับช้ันมัธยมศึกษาตอนปลายได้มีโอกาสได้รับความรู้ความเข้าใจท่ีถูกต้อง เกี่ยวกับวิทยาศาสตร์ทางทะเลและการน�ำความรู้ความเข้าใจที่ได้ไปสู่การอนุรักษ์ทรัพยากรและส่ิงแวดล้อมทางทะเล อยา่ งถกู ตอ้ งทจ่ี ะน�ำไปสกู่ ารรจู้ กั ใชท้ รพั ยากรใหเ้ กดิ ประโยชนส์ งู สดุ และคมุ้ คา่ และน�ำไปถา่ ยทอดสนู่ กั เรยี นในโรงเรยี น 60

Annual Report 2010 Institute of Marine Science, Burapha University และชมุ ชนหรอื ท�ำกจิ กรรมดา้ นการอนรุ กั ษท์ รพั ยากรธรรมชาตใิ น โรงเรยี นและชุมชนต่อไป ส�ำหรับในปีงบประมาณ พ.ศ. 2553 เป็นการจัด โครงการค่ายวิทยาศาสตร์ทางทะเลของสถาบันฯ เป็นครั้งท่ี 25 ไดร้ บั งบประมาณจากงบประมาณแผน่ ดนิ เปน็ จำ� นวนเงนิ 80,000 บาท ดำ� เนนิ การเขา้ คา่ ยในระหวา่ งวนั ที่ 29 มนี าคม – 2 เมษายน พ.ศ. 2553 มเี ยาวชนเข้ารว่ มโครงการทัง้ ส้นิ 53 คน ผู้เข้าร่วมโครงการฯ กิจกรรมส�ำหรับเยาวชนจะมี ทั้งการให้ความรู้และการออกไปเพ่ิมพูนประสบการณ์ด้วยการ ออกภาคสนามเพื่อศึกษาส�ำรวจระบบนิเวศชายฝั่ง เมื่อเสร็จส้ิน โครงการไดม้ กี ารประเมนิ ความพงึ พอใจของผเู้ ขา้ รว่ มโครงการ พบ วา่ ไดร้ บั ความพงึ พอใจโดยรวมจากผเู้ ขา้ รว่ มโครงการรอ้ ยละ 82.8 2. โครงการค่ายวิทยาศาสตรเ์ พอ่ื การอนรุ กั ษ์ ทรพั ยากรธรรมชาติทางทะเลส�ำหรับเยาวชน เมอ่ื วันท่ี 12-14 กรกฎาคม 2553 โครงการคา่ ยวทิ ยาศาสตรเ์ พอื่ การอนรุ กั ษท์ รพั ยากร ธรรมชาตทิ างทะเลสำ� หรับเยาวชน เปน็ โครงการด้านการอนุรักษ์ ท่ีสถาบันฯ เริ่มด�ำเนินการเมื่อปีงบประมาณ พ.ศ. 2550 โดย มุ่งเน้นไปยังเยาวชนที่มีอายุระหว่าง 12-15 ปี ซ่ึงก�ำลังศึกษา อยู่ในช้ันมัธยมศึกษาตอนต้น และเป็นวัยท่ีกระตือรือร้นใน การเรียนรู้ และก�ำลังอยู่ในวัยท่ีจะเปล่ียนแปลงไปเป็นผู้ใหญ่ ซ่ึงเป็นหัวเล้ียวหัวต่อท่ีส�ำคัญโดยเฉพาะเยาวชนที่มีภูมิล�ำเนา อยู่ในบริเวณชายฝั่งทะเลภาคตะวันออกควรมีความรู้ท่ีถูกต้อง เก่ียวกับทรัพยากรธรรมชาติทางทะเลท่ีเป็นภูมิประเทศท่ีส�ำคัญ ของถิน่ กำ� เนิดและนำ� ไปถ่ายทอดส่ชู มุ ชนและโรงเรยี นได้ สถาบัน วิทยาศาสตร์ทางทะเลจึงได้จัดท�ำโครงการท่ีมุ่งเน้นการให้ความรู้ และเสรมิ สรา้ งประสบการณต์ รงใหแ้ กเ่ ยาวชนกลมุ่ น้ี เพอื่ เปน็ การ ปลกู ฝงั ความรแู้ ละจติ ส�ำนกึ ทดี่ ตี อ่ การกา้ วไปสคู่ วามเปน็ ผใู้ หญท่ ม่ี ี ความเขา้ ใจและมคี วามรบั ผดิ ชอบตอ่ ทรพั ยากรธรรมชาตทิ างทะเล อย่างมีคณุ ภาพตอ่ ไปในอนาคต ในปงี บประมาณ พ.ศ. 2553 สถาบนั ฯ ไดร้ บั การสนบั สนนุ งบประมาณเพอื่ ดำ� เนนิ การกจิ กรรมในโครงการ คา่ ยวทิ ยาศาสตรเ์ พอ่ื การอนรุ กั ษท์ รพั ยากรธรรมชาตทิ างทะเลส�ำหรบั เยาวชนเปน็ จ�ำนวนเงนิ 56,400 บาท มเี ยาวชน ผเู้ ข้าร่วมโครงการฯ เปน็ นกั เรียนในระดับช้ันมธั ยมศกึ ษาปที ี่ 3 จ�ำนวนทงั้ สิน้ 53 คน เมอ่ื เสร็จสิน้ โครงการไดม้ กี าร ประเมนิ ความพึงพอใจซึ่งมคี วามพงึ พอใจในภาพรวมของผเู้ ขา้ รว่ มโครงการร้อยละ 81.7 61

รายงานประจำป 2553 สถาบันว�ทยาศาสตรทางทะเล มหาว�ทยาลัยบรู พา 3. ดา้ นการบรหิ ารจดั การ การพฒั นาบุคลากร สถาบันวิทยาศาสตร์ทางทะเล มีนโยบายในการพัฒนาบุคลากรเพื่อเป็นการเพิ่มศักยภาพในการท�ำงาน ดว้ ยการสง่ บคุ ลากรใหไ้ ปศกึ ษาดงู าน อบรม ประชมุ สมั มนา ตามสายวชิ าชพี การไปศกึ ษาตอ่ ทง้ั ในและตา่ งประเทศ และจัดท�ำโครงการพัฒนาบุคลากรเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพในการท�ำงาน โดยตั้งเป้าหมายไว้ว่าบุคลากรร้อยละ 80 จะไดร้ บั โอกาสในการพฒั นาตามสายวิชาชีพในปงี บประมาณ พ.ศ. 2553 เมือ่ นำ� ข้อมูลการพฒั นาบคุ ลากรทัง้ ในและ ตา่ งประเทศมารวมกนั จะพบว่าการพัฒนาบุคลากรในทกุ ประเภท ไดร้ ับการพฒั นาในทกุ ระดับเท่าเทียมกนั ตารางที่ 28 สรุปจำ� นวนการส่งบคุ ลากรไปศกึ ษาตอ่ ฝกึ อบรม ดงู าน และประชุมสัมมนาในประเทศ ลำ� ดบั ประเภท ในประเทศ ตา่ งประเทศ รวมทงั้ หมด คน ครัง้ คน คร้ัง คน ครัง้ 1. ศกึ ษาต่อ ----- - 2. ฝึกอบรม 39 22 3 4 42 26 3. ดูงาน 5 2 13 6 18 8 4. ประชุมสมั มนา 36 23 4 3 40 26 5. อนื่ ๆ ----- - นอกจากนสี้ ถาบนั วทิ ยาศาสตรท์ างทะเล ยงั ไดจ้ ดั ใหม้ กี ารประชมุ อบรม และสมั มนาภายในใหแ้ กบ่ คุ ลากร ของสถาบันฯ พอสรุปได้ดงั นี้ 1. โครงการอบรมเชงิ ปฏิบตั กิ ารเร่อื งอันตรายจากสารเคมแี ละการซ้อมแผนฉกุ เฉินในหอ้ งปฏบิ ตั ิการ สถาบนั วทิ ยาศาสตรท์ างทะเล มหาวทิ ยาลยั บรู พา เมอื่ วนั ท่ี 14 ธนั วาคม พ.ศ. 2552 ในปจั จบุ นั สถาบนั วทิ ยาศาสตร์ ทางทะเลมีการใชส้ ารเคมหี ลายประเภทในการดำ� เนนิ กจิ กรรมของงานหอ้ งปฏิบัติการ งานสถานเลีย้ งสัตว์น�ำ้ เคม็ รวม ตลอดถึงงานพิพิธภัณฑ์วิทยาศาสตร์ทางทะเลโดยบุคคลท่ีมีส่วนเกี่ยวข้องส่วนใหญ่เป็นนักวิทยาศาสตร์ พนักงาน วิทยาศาสตร์ เจ้าหน้าที่วิทยาศาสตร์ คนงานห้องทดลอง นอกจากน้ีสถาบันฯ ยังมีนิสิต นักศึกษาท่ีเข้ามาฝึกงานมา ทำ� ปญั หาพเิ ศษ วทิ ยานพิ นธ์ หรอื ใชเ้ ครอื่ งมอื วทิ ยาศาสตรโ์ ดยเฉพาะในสว่ นของหอ้ งปฏบิ ตั กิ ารวจิ ยั ซงึ่ บคุ คลดงั กลา่ ว ล้วนก่อใหเ้ กดิ ของเสยี อันตราย ดงั นั้นคณะกรรมการจัดการสารเคมีจึงมีนโยบายจัดอบรมการจดั การสารเคมีขึน้ เพอื่ ให้ทุกท่านทราบแนวทางปฏิบัติเก่ียวกับการจัดการสารเคมีของสถาบัน ฯข้อปฏิบัติต่างๆโดยมุ่งเน้นหาแนวคิดและ แนวทางปฏิบตั ใิ นการจัดการและลดปริมาณของเสยี ท่ถี ูกต้องและให้มปี ริมาณนอ้ ยลง วตั ถปุ ระสงค์ 1. เพ่ือใหผ้ ูเ้ ขา้ รับการอบรมมีความรูเ้ ก่ยี วกับสารเคมี แก๊ส และรงั สี 2. เพ่ือให้ผู้เข้ารับการอบรมมีความรู้และความเข้าใจจากอันตรายเมื่อต้องปฏิบัติงานกับสารเคมี แก๊ส และรงั สี การสรุปผลโครงการ บุคลากรท่ีเข้าร่วมโครงการเป็นบุคลากรท่ีเกี่ยวข้องและท�ำงานในห้องปฏิบัติการวิจัยการฝึกอบรมจึง เป็นการท�ำความเข้าใจระบบการจัดการสารเคมีในห้องปฏิบัติการตลอดจนการจัดการของเสียอันตรายท่ีเกิดในห้อง ปฏบิ ตั กิ ารวิจัยให้ถกู วธิ แี ละไดม้ าตรฐานไมส่ ง่ ผลกระทบตอ่ ส่ิงแวดล้อมโดยมีความพึงพอใจคิดเป็นรอ้ ยละ 84.42 62

Annual Report 2010 Institute of Marine Science, Burapha University 2. โครงการตรวจสขุ ภาพประจำ� ปีบุคลากรสถาบนั วทิ ยาศาสตร์ทางทะเล เมือ่ วันท่ี 10-11 มถิ นุ ายน พ.ศ. 2553 นโยบายด้านสาธารณสุข ไม่ว่าจะเป็นรัฐบาลชุดใดๆ ก็จะให้ความส�ำคัญต่อการส่งเสริมสุขภาพของ ประชาชนเปน็ หลักใหญ่ การทปี่ ระชาชนมีความเปน็ อยู่ดี มีสุขภาพจติ ทีด่ ี ก็จะสง่ ผลใหม้ สี ุขภาพและรา่ งกายมีความ แขง็ แรงด้วย การรณรงคเ์ พื่อสุขอนามัยพน้ื ฐานและการป้องกนั โรคภยั ไข้เจ็บต่างๆ จ�ำเปน็ ต้องครอบคลมุ ทุกด้าน เช่น การรกั ษา การส่งเสรมิ การป้องกนั และฟ้นื ฟูสขุ ภาพ ก่อนทีจ่ ะพบวา่ มปี ัญหาด้านสขุ ภาพดงั กล่าว การคน้ พบปญั หา สขุ ภาพได้กอ่ นเกิดการเจบ็ ปว่ ยหรือช่วยบรรเทาอาการทเ่ี จ็บปว่ ยอยู่ไมใ่ หร้ นุ แรงขึน้ จึงนบั เป็นสิง่ สำ� คัญ สถาบนั วิทยาศาสตรท์ างทะเล มหาวทิ ยาลัยบรู พา เป็นหน่วยงานท่มี ีบคุ ลากรทมี่ ีอายุน้อยกวา่ 35 ปี อยจู่ ำ� นวนหนงึ่ และบุคลากรท่มี ีอายุมากกวา่ 35 ปี เปน็ จำ� นวนมากจากขอ้ มลู ทางด้านสุขภาพพบว่าประชากรทม่ี ีอายุ มากกวา่ 35 ปีขึน้ ไป มโี อกาสเสี่ยงตอ่ โรคความดันโลหิตสูง เบาหวาน มะเรง็ และอ่นื ๆ และประกอบกับนโยบายสง่ เสริมสุขภาพของกระทรวงสาธารณสุขส่งเสริมให้ประชากรได้มีโอกาสตรวจสุขภาพประจำ� ปี เพื่อเป็นการเฝ้าระวัง โอกาสท่ีอาจจะเกิดโรคขึ้นมาสถาบันฯ เห็นถึงความสำ� คัญในเรื่องดังกล่าว จึงได้จัดท�ำโครงการตรวจสุขภาพประจ�ำ ปบี ุคลากรสถาบันวิทยาศาสตร์ทางทะเลข้ึนเพือ่ หวังว่าจะเปน็ ส่วนทห่ี นง่ึ ท่ีจะเข้าไปดแู ลสขุ ภาพของบคุ ลากรใหด้ ีขนึ้ วัตถปุ ระสงค์ 1. เพ่อื ให้บคุ ลากรสถาบันฯ ไดร้ ับการตรวจสุขภาพประจ�ำปี 2. เพอื่ เปน็ การกระตุน้ ให้บุคลากรของสถาบันฯสนใจในสขุ ภาพของตนเองมากยิ่งขึ้น การสรปุ ผลโครงการ บคุ ลากรของสถาบนั ฯมโี อกาสไดต้ รวจสขุ ภาพประจ�ำปไี ดท้ ราบขอ้ มลู เบอ้ื งตน้ เกย่ี วกบั สขุ ภาพของตนเอง ว่ามีอัตราเสี่ยงต่อการเกิดโรคภัยไข้เจ็บมากน้อยเพียงใด การด�ำเนินโครงการในครั้งน้ีส�ำเร็จลุล่วงไปได้ด้วยดีตาม วัตถปุ ระสงค์ทก่ี �ำหนดไวท้ ุกประการโดยมีความพงึ พอใจคดิ เป็นร้อยละ 90.42 63

รายงานประจำป 2553 สถาบนั วท� ยาศาสตรทางทะเล มหาวท� ยาลยั บรู พา การเงนิ และงบประมาณ สถาบนั วทิ ยาศาสตรท์ างทะเล มหาวทิ ยาลยั บรู พา ไดร้ บั งบประมาณในปี พ.ศ. 2553 เพอื่ มาสนบั สนนุ การด�ำเนินงาน 2 ส่วน คือ งบประมาณแผ่นดินและงบประมาณเงินรายได้ โดยในปีงบประมาณ พ.ศ. 2553 สถาบนั วทิ ยาศาสตรท์ างทะเลได้รับจัดสรรงบประมาณมรี ายละเอยี ดดังน้ี ตารางท ี่ 29 งบประมาณเงินรายได้ ประจำ� ปีงบประมาณ พ.ศ. 2553 รายการ จำ� นวนเงิน คดิ เป็นร้อยละ กองทุนเพอื่ การวิจยั 5,349,400 1. งบบุคลากร 8,756,500 22.32 2. งบดำ� เนนิ งาน 1,181,400 36.54 3. งบเงินอดุ หนนุ 2,070,000 4.93 4. งบกลาง 4,137,900 8.64 5. ชดใชเ้ งนิ ยืมมหาวิทยาลัย 721,800 17.28 กองทนุ สนิ ทรพั ยถ์ าวร 745,000 3.01 1. งบด�ำเนนิ งาน 200,000 3.11 2. งบลงทุน 800,000 0.83 กองทุนพัฒนาบคุ ลากร 3.34 1. งบด�ำเนินงาน 100.00 2. งบเงนิ อุดหนุน รวม 23,962,000 หมายเหตุ รวมงบประมาณเงนิ รายได้ (เพมิ่ เติม) ตารางท ่ี 30 งบประมาณแผน่ ดนิ ประจ�ำปงี บประมาณ พ.ศ. 2553 หมวดรายจ่าย จำ� นวนเงิน คดิ เป็นร้อยละ กองทนุ เพอื่ การวิจยั 2,604,300 28.65 1.งบดำ� เนนิ งาน 6,253,900 68.79 2.งบเงนิ อดุ หนนุ 232,800 2.56 กองทุนบรกิ ารวิชาการ 100.00 1.งบเงนิ อดุ หนนุ รวม 9,091,000 64

Annual Report 2010 Institute of Marine Science, Burapha University รายงานทางการเงนิ และบัญชี สถาบนั วิทยาศาสตรท์ างทะเล งบแสดงฐานะการเงิน ณ วนั ท่ี 30 กนั ยายน 2553 (หนว่ ย : บาท) 2552 สนิ ทรัพย์ 2553 46,516.58 สนิ ทรพั ยห์ มุนเวยี น 26,355,959.23 เงินสด 32,891.05 286,160.00 21,325.52 เงินฝากธนาคาร 20,354,148.71 26,709,961.33 ลกู หนเี้ งนิ ยืมนอกงบประมาณ 250,000.00 17,800,000.00 4,762,125.00 วัสดคุ งคลัง 18,905.70 1.00 รวมสินทรัพยห์ มนุ เวยี น 20,655,945.46 1,151,960.81 1,312,871.82 สนิ ทรพั ย์ไมห่ มุนเวยี น 25,026,958.63 51,736,919.96 เงนิ ลงทนุ ระยะยาวภายในหน่วยงาน 17,800,000.00 670,918.76 งานระหว่างก่อสรา้ ง 0.00 271,972.42 อาคาร (สทุ ธ)ิ 467,378.71 8,037.51 2,094,462.12 สง่ิ ปลูกสรา้ ง (สทุ ธิ) 11,882,477.05 688,071.21 ครุภณั ฑแ์ ละอปุ กรณ์ (สุทธ)ิ 8,381,255.58 13,941,291.78 17,674,753.80 รวมสินทรัพย์ไมห่ มุนเวียน 38,531,111.34 447,302.33 รวมสนิ ทรัพย์ 59,187,066.80 447,302.33 13,270,720.63 หนืส้ ินและทุน หนี้สนิ หมนุ เวยี น ใบสำ� คญั คา้ งจา่ ย 670,918.76 เจ้าหนีส้ ินคา้ และบรกิ าร 271,972.42 ภาษีหัก ณ ที่จา่ ย รอน�ำส่ง 8,037.51 รายไดจ้ ากเงนิ บรจิ าครอการรบั รู้ 2,094,462.12 เงินรบั ฝากเงินรายได้ 688,071.21 รายได้จากเงนิ รบั ฝากรอการรับร-ู้ ที่นำ� ไปซือ้ สนิ ทรัพย์ 13,941,291.78 รวมหน้สี ินหมุนเวียน 17,674,753.80 หนส้ี ินหมนุ เวียนอ่ืน เงินรายได้โครงการบรกิ ารวชิ าการ 310,527.33 รวมหน้สี ินหมุนเวยี นอ่นื 310,527.33 รวมหน้ีสนิ 17,985,281.13 65

รายงานประจำป 2553 สถาบันว�ทยาศาสตรทางทะเล มหาว�ทยาลัยบรู พา สถาบนั วทิ ยาศาสตรท์ างทะเล งบแสดงผลการดำ� เนินงานทางการเงิน สำ� หรบั รอบระยะเวลาบญั ชี สิ้นสุดวันที่ 30 กันยายน 2553 (หน่วย : บาท) 2553 2552 รายไดจ้ ากการด�ำเนินงาน รายได้จาการขายสินคา้ และบรกิ าร รายได้คา่ เข้าชม 26,114,380.00 14,945,950.00 รายรบั อื่น (รายได้จากโครงการร้านค้า) 1,585,356.48 1,281,647.84 รายไดจ้ ากคา่ เชา่ หอประชุม 43,620.00 79,020.00 รายไดจ้ ากค่าเช่าสถานท่อี ่นื 12,000.00 0.00 รายได้คา่ ธรรมเนยี มอื่นๆ 102,410.00 564,553.78 รายได้ขายใบสมัครและคา่ สมัครสอบคัดเลอื กพนักงาน 3,000.00 0.00 รายได้ประเภทรายได้จากโครงการบรกิ ารวชิ าการ 18,250.00 83,510.00 รายไดจ้ ากเงินบริจาค รายไดจ้ ากเงนิ บริจาค 296,543.46 398,087.42 รายไดจ้ ากเงินรบั ฝาก รายได้จากเงนิ รับฝาก 1,101,441.66 0.00 รวมรายไดจ้ ากการดำ� เนินงาน 29,277,001.60 17,352,769.04 รายได้ที่ไม่ไดเ้ กดิ จากการดำ� เนนิ งาน รายรับจากการขายสินทรพั ย์ รายรับจากการขายสินทรพั ย์อ่ืน 6,000.00 0.00 รายรับจาการขายครภุ ณั ฑ์ 17,000.00 0.00 รายไดอ้ ่ืน ๆ รายได้เงนิ ปันผล 534,000.00 1,068,000.00 รายไดท้ ่ีไมไ่ ดเ้ กดิ จากการด�ำเนนิ งาน 557,000.00 1,068,000.00 รวมรายได้ 29,834,001.60 18,420,769.04 66

Annual Report 2010 Institute of Marine Science, Burapha University ค่าใช้จ่ายจากการดำ� เนนิ งาน 5,491,890.42 4,226,607.21 คา่ ใช้จา่ ยด้านบุคลากร 11,343,982.63 9,611,533.08 ค่าใช้จา่ ยในการด�ำเนินงาน 4,148,225.00 ค่าใช้จ่ายเงินอดุ หนนุ 2,964,493.32 908,590.08 คา่ เส่ือมราคา 4,105,237.89 2,169,366.89 ค่าใชจ้ า่ ยระหวา่ งหนว่ ยงาน 1,062,920.23 คา่ ใช้จา่ ยอ่ืน 222,114.98 28,275,944.24 318,564.95 รวมค่าใชจ้ า่ ยจากการด�ำเนนิ งาน 28,275,944.24 18,297,582.44 รวมค่าใชจ้ ่าย 1,558,057.36 18,297,582.44 รายไดส้ ูง/ (ต�ำ่ ) กวา่ ค่าใช้จา่ ยสทุ ธิ 123,186.60 สถาบนั วิทยาศาสตรท์ างทะเล งบกระแสเงินสด ส�ำหรบั รอบระยะเวลาบญั ช ี สน้ิ สดุ วันที่ 30 กนั ยายน 2553 2553 2552 กระแสเงินสดจากกิจกรรมด�ำเนินงาน เงนิ สดรบั : รายไดค้ ่าเข้าชม 26,114,380.00 14,945,950.00 รายรบั อน่ื 1,585,356.48 1,281,647.84 รายได้ค่าเชา่ ห้องประชมุ 43,620.00 79,020.00 รายไดจ้ ากเงินบริจาค 296,543.46 398,087.42 รายได้ประเภทรายไดจ้ ากโครงการบริการวชิ าการ 18,250.00 83,510.00 รายได้ขายใบสมคั รและสมัครสอบคัดเลอื กพนักงาน 3,000.00 0.00 รายได้คา่ เชา่ สถานท่ี 12,000.00 0.00 รายได้จากเงนิ รับฝาก 1,101,441.66 0.00 รายไดค้ ่าธรรมเนียมอน่ื ๆ 102,410.00 564,553.78 การลดลงในลูกหนีเ้ งินยมื นอกงบประมาณ 36,160.00 0.00 การลดลงในวสั ดุคงคลัง 2,405.86 12,117.90 การเพม่ิ ขน้ึ ในรายได้จากเงินบรจิ าครอการรับรู้ 997,661.26 0.00 การเพม่ิ ขึ้นในรายไดเ้ งินรบั ฝาก 0.00 10,855,868.80 การเพม่ิ ขึน้ ในรายได้เงินรบั ฝากรอการรบั รู้ 13,941,291.78 0.00 การเพมิ่ ข้ึนในใบสำ� คัญค้างจา่ ย 668,488.73 2,430.03 การเพิ่มข้นึ ในเจา้ หนคี้ า่ สินค้าและบรกิ าร 81,627.52 184,501.73 การเพ่ิมขนึ้ ในภาษีหกั ณ ทจ่ี า่ ยรอน�ำส่ง 0.00 8,035.02 รวมเงินสดรบั 45,004,636.75 28,415,722.52 67

รายงานประจำป 2553 0.00 36,160.00 สถาบันวท� ยาศาสตรท างทะเล มหาว�ทยาลยั บูรพา 2,888.85 0.00 เงินสดจ่าย : 0.00 518,961.00 การเพม่ิ ข้ีนในลกู หน้เี งินยืมนอกงบประมาณ 5,491,890.42 4,226,607.21 การลดลงในภาษีหัก ณ ทจ่ี ่ายรอนำ� ส่ง 11,343,982.63 9,611,533.08 การลดลงในคา่ ใช้จ่ายค้างจ่าย 4,148,225.00 คา่ ใช้จา่ ยดา้ นบุคลากร 908,590.08 คา่ ใชจ้ า่ ยในการดำ� เนินงาน 222,114.98 318,564.95 ค่าใช้จ่ายเงนิ อุดหนุน 4,105,237.89 1,062,920.23 ค่าใชจ้ า่ ยอื่น 289,575.00 คา่ ใช้จ่ายระหวา่ งหน่วยงาน 136,775.00 การลดลงในเงินรายไดโ้ ครงการบริการวิชาการ 10,817,444.73 0.00 การลดลงในรายไดจ้ ากเงินรับฝาก 282,626.74 การลดลงในรายได้จากบรจิ าครอการรับรู้ 0.00 17,255,538.29 รวมเงนิ สดจา่ ย 36,268,559.50 11,160,184.23 8,736,077.25 กระแสเงินสดสทุ ธิจากกิจกรรมดำ� เนนิ งาน กระแสเงินสดจากกจิ กรรมลงทุน 534,000.00 1,068,000.00 เงนิ สดรบั : 17,000.00 0.00 6,000.00 0.00 รายได้เงนิ ปันผล จากเงนิ ลงทนุ กอ่ สร้างหอพักนิสติ 557,000.00 รายรบั จากการขายครุภัณฑ์ 1,068,000.00 รายรบั จาการขายสนิ ทรัพย์ถาวรอื่น รวมเงนิ สดรบั 14,563,103.00 4,762,125.00 เงินสดจ่าย : 1,430,858.04 314,492.00 งานระหวา่ งก่อสรา้ ง 15,993,961.04 5,076,617 จากการซิ้อสนิ ทรัพยถ์ าวร (15,436,961.04) รวมเงินสดจ่าย (4,008,617.00) กระแสเงนิ สดจากกจิ กรรมลงทุน กระแสเงินสดจากกจิ กรรมจดั หาเงนิ 685,457.74 599,571.14 เงินสดรบั : เงินเพมิ่ จากทุนจากการบรจิ าคคงยอดเงนิ ต้น 685,457.74 1,285,028.88 กระแสเงินสดจากกิจกรรมจัดหาเงนิ (6,015,426.05) 7,751,138.37 เงินสดเพ่มิ ขน้ึ / (ลดลงสุทธิ) 26,402,475.81 18,651,337.44 เงนิ สดและรายการเทียบเท่าเงนิ สดคงเหลอื ณ วันตน้ งวด 20,387,049.76 26,402,475.81 เงินสดและรายการเทียบเท่าเงนิ สดคงเหลือ ณ วันปลายงวด 68

Annual Report 2010 Institute of Marine Science, Burapha University สถาบนั วทิ ยาศาสตร์ทางทะเล (หนว่ ย : บาท) งบก�ำไรสะสม (3,222,849.98) ณ วันท่ี 30 กันยายน 2553 กำ� ไรสะสมยกมา บวก รายการปรับปรงุ กำ� ไรสะสม ตามใบส�ำคัญทว่ั ไป เลขท่ี 30004-2/53 494,143.80 ตามใบสำ� คัญท่วั ไป เลขท่ี 30004-6/53 0.21 494,144.01 หัก รายการปรบั ปรุงกำ� ไรสะสม 2,058.93 2,073.77 ตามใบสำ� คัญท่ัวไป เลขท่ี 30004-3/53 0.36 1,558,057.36 ตามใบส�ำคญั ทั่วไป เลขที่ 30004-5/53 0.52 (1,172,722.38) ตามใบส�ำคญั ทวั่ ไป เลขท่ี 30004-7/53 13.96 ตามใบส�ำคัญทว่ั ไป เลขท่ี 30648/53 บวก กำ� ไรสุทธิ กำ� ไรสะสมยกไป การเข้าชมสถาบนั วิทยาศาสตรท์ างทะเล สถาบันวิทยาศาสตร์ทางทะเล ได้เปิดให้เข้าชมในส่วนของสถานเลี้ยงสัตว์น�้ำเค็ม และพิพิธภัณฑ์ วิทยาศาสตรท์ างทะเล สำ� หรบั ในปงี บประมาณ พ.ศ.2553 มีผเู้ ขา้ ชมดังตารางตอ่ ไปนี้ 69

รายงานประจำป 2553 สถาบนั ว�ทยาศาสตรท างทะเล มหาวท� ยาลยั บูรพา ตารางที่ 31 สถิติผเู้ ข้าชมในปงี บประมาณ พ.ศ. 2553 เดอื น จากการจ�ำหน่ายบตั ร กรณีพเิ ศษ รวม คดิ เปน็ เดก็ ผู้ใหญ่ ตา่ งชาติ เดก็ ผใู้ หญ่ เณร พระ ตลุ าคม 2552 รอ้ ยละ พฤศจิกายน 41,667 43,139 687 1,481 7 90 11 87,082 11.43 ธนั วาคม 6.10 มกราคม 2553 26,731 18,026 1,173 327 136 103 7 46,503 8.91 กุมภาพันธ์ 9.73 มีนาคม 45,506 21,528 767 68 27 - 3 67,899 9.12 เมษายน 14.24 พฤษภาคม 36,172 31,194 1,197 5,473 130 - - 74,166 7.01 มิถนุ ายน 5.97 กรกฎาคม 43,774 23,340 1,019 847 527 - - 69,507 3.76 สิงหาคม 7.65 กันยายน 66,596 38,857 1,041 187 1,747 52 10 108,490 8.74 รวม 7.34 16,879 32,475 798 305 1,224 1,481 244 53,406 100.00 13,025 30,222 381 - 1,445 338 39 45,450 11,831 14,407 334 31 2,062 - 3 28,668 32,160 23,834 495 283 1,497 20 2 58,291 39,081 23,898 711 2,620 283 - - 66,593 34,730 17,559 569 268 2,819 - - 55,945 408,152 318,479 9,172 11,890 11,904 2,084 319 762,000 ภาพที ่ 2 แสดงจ�ำนวนผเู้ ขา้ ชมสถาบนั วทิ ยาศาสตร์ทางทะเลตงั้ แต่ ปงี บประมาณ พ.ศ.2540 – 2553 70

เพอ่ื ใหก้ ารบริการเขา้ ชมสถาบนั วทิ ยาศาสตร์ทางทะเลเป็นไปอยา่ งมีประสิทธิภาพ และ สามารถตอบสนองความตอ้ งการของผเู้ ขา้ ชมท้งั ทางดา้ นวชิ าการและความสนุกสนานเพลิดเพลิน จชึงมไมดาท้ปาํรกับาปรสรุงาํ แรวกจไ้ คขวแาลมะพพึงฒั พนอาใงจาแนลใะนคดวา้านมตค่าิดงเๆห็นขขอองสงผถมู้าบารนัIับnวsบทิ tรiยtิกาuาศtรeาสoเพตfร่ือM์ทนาaาํ งrขทinอ้ ะเeสเลSนอcอยieแตู่ nนลcะอeขด,AอเBวnงลuผnาrเู้uaขapา้ lhRaeUpnoirvte2r0si1t0y ซ่ึงผลสรเุปพกอื่ าใหรสก้ าาํ รรบวจรปกิ ารระเจขาา้ํ ปชีมงบสถปารบะนัมวาทิณยพาศ.ศา.ส2ต5ร5ท์ 3างมทีดะงั เนล้ีเปน็ ไปอยา่ งมปี ระสทิ ธภิ าพ และสามารถตอบสนอง ความต้องการของผู้เข้าชมท้ังทางด้านวิชาการและความสนุกสนานเพลิดเพลิน จึงได้ทำ� การส�ำรวจความพึงพอใจและ ความคิดเห็นของผู้มารับบริการ เพ่ือน�ำข้อเสนอแนะของผู้เข้าชมมาปรับปรุงแก้ไขและพัฒนางานในด้านต่างๆ ของ สถาบนั วทิ ยาศาสตร์ทางทะเลอยูต่ ลอดเวลา ซึง่ ผลสรปุ การส�ำรวจประจำ� ปีงบประมาณ พ.ศ. 2553 มีดังน้ี 85 80.36 81.29 81.29 80 77.01 75 73.71 75.03 74.95 ความพงึ พอใจด้านการให้บริการ 69.68 ความพงึ พอใจดา้ นเจา้ หนา้ ท่ผี ูใ้ หบ้ ริการ ความพงึ พอใจด้านสิง่ อาํ นวยความสะดวก 70 ความพงึ พอใจในภาพรวม 65 เมษายน – กนั ยายน 2553 60 ตุลาคม 2552 – มีนาคม 2553 ภาพภทา่ี พ3ทแี่ 3สดแงสรดอ้ งยรล้อะยกลาะรกสา�ำรรสวาํ จรคววจาคมวพามงึ พพงึ อพใจอขใจอขงอผงรู้ ผบั รู้บับรบกิ ราิกรปารรปะรจะำ� จปาํีงปบี งปบรปะรมะามณาณพ.ศ 2553 พ.ศ 2553 การประชาสมั พันธ์และการตลาด สถาบันวิทยาศาสตร์ทางทะเล มีการด�ำเนินงานด้านประชาสัมพันธ์และการตลาดเพื่อเผยแพร่ผลงาน ข้อมูล ข่าวสารและกิจกรรมต่าง ๆ อย่างต่อเน่ือง ส�ำหรับในปีงบประมาณ พ.ศ. 2553 หน่วยประชาสัมพันธ์และ หนว่ ยการตลาดไดด้ ำ� เนนิ การสง่ ขอ้ มลู และขา่ วสารการจดั กจิ กรรมของสถาบนั วทิ ยาศาสตรท์ างทะเล เพอ่ื เผยแพรแ่ ละ ประชาสมั พนั ธใ์ นสอ่ื ตา่ งๆทง้ั หนงั สอื พมิ พ์ นติ ยสาร รายการวทิ ยแุ ละโทรทศั น์ ตดิ ตอ่ มาเพอื่ ขอเขา้ มาถา่ ยท�ำสารคดหี รอื สมั ภาษณเ์ จา้ ของผลงานเพอื่ นำ� ไปเผยแพรส่ สู่ าธารณชนจำ� นวนมาก เพอ่ื ใหส้ ถาบนั วทิ ยาศาสตรท์ างทะเล มหาวทิ ยาลยั บูรพา เป็นท่ียอมรับและรู้จักอย่างกว้างขวาง ท้ังในด้านการเป็นแหล่งเรียนรู้ทางวิชาการด้านวิทยาศาสตร์ทางทะเล และการเปน็ แหลง่ ทอ่ งเทย่ี วทน่ี า่ สนใจของนกั ทอ่ งเทย่ี วทกุ คน ดว้ ยการนำ� เสนอขอ้ มลู ทเ่ี ปน็ จดุ เดน่ นวตั กรรม และองค์ ความร้ตู า่ งๆ ใหก้ ับเยาวชน นกั ท่องเท่ยี ว และประชาชนทวั่ ไป โดยมรี ายงานผลการปฏิบัติงาน ดงั ตอ่ ไปน้ี 71

รายงานประจำป 2553 สถาบนั วท� ยาศาสตรท างทะเล มหาวท� ยาลยั บรู พา การประชาสมั พันธ์ ปงี บประมาณ พ.ศ 2553 (สือ่ วทิ ยุโทรทศั น์ และเคเบิลทีวี) ตารางที่ 32 การประชาสมั พนั ธ์ ปีงบประมาณ พ.ศ 2553 (ส่ือวิทยโุ ทรทศั น์ และเคเบลิ ทวี )ี วันเดอื นปี ทเี่ ผยแพร่ ขา่ ว-สารคดี ทเ่ี ผยแพร่ สอ่ื ที่เผยแพร่ 29 ตุลาคม 2552 ข่าว : สัมภาษณ์สด ดร.แววตา ทองระอา ข่าวเท่ยี งวัน TV3 , ASTV ข่าวทอ้ งถิน่ ชลบุรี ขา่ วตอนบ่าย ผ้ชู ว่ ยผู้อำ� นวยการสถาบนั วทิ ยาศาสตรท์ าง รายการ 180 วนิ าที ,รายการเรื่องเดน่ เยน็ นี้ และข่าวภาคคำ�่ ทะเลการเกดิ ปรากฏการณ์“แพลงตอน TV3, รายการข่าวภมู ภิ าค TV 7 รายการข่าวทางเคเบิลทวี ี บมู ” แสนสุข CTV ชลบรุ ี/ศรีราชา 30 ตุลาคม 2552 ขา่ ว : สัมภาษณ์ ดร.แววตา ทองระอา ขา่ วภาคภาษาอังกฤษ ของ ASTV รายการข่าวเรื่องเล่าเชา้ ภาคภาษาอังกฤษ เรื่อง ปรากฏการณน์ ำ�้ นี้ / เทีย่ งวันทันข่าว /180 วนิ าทขี ่าว /เร่ืองเด่นเย็นน้ี TV ทะเลแถบภาคตะวนั ออก และ เรอ่ื ง “น้ำ� 3. รายการเปดิ ขา่ วเชา้ / สยามเช้าน้ี ในช่วง “สนามเปา้ เล่า เสียทช่ี ายหาดบางแสน และชายหาด ข่าว”/ขา่ วภมู ภิ าคเย็น TV 5. รายการเช้าน้ีท่ีหมอชดิ TV ศรรี าชา พทั ยา จงั หวดั ใกลเ้ คียง” กรณี 7. รายการเชา้ ข่าวขน้ คนขา่ วเชา้ TV 9. รายการ ข่าวภาค ปรากฏการณ์ ปลาลอยคอข้ึนมาหายใจที่ เช้า NBT ทาง TV 11. รายการ ข่าวเช้ากบั ทีวไี ทย ช่อง ผิวนำ้� และมีปลาตาย TV Thai 7 พฤศจกิ ายน 2552 รายการสด: สมั ภาษณ์สด ดร.แววตา ASTV แสนสุขวิช่นั เคเบิลทวี ที อ้ งถิ่น (แสนสขุ ศรีราชา เวลา 10.30 น ทองระอา ชลบุรี และพัทยา) ออกรายการสด และออกรายการซำ้� รายการ “รอบรัว้ ชลบุร”ี เร่ือง งานการ ในวนั อาทติ ย์ ท่ี 8 พฤศจิกายน 2552 ชา่ วบา่ ย และ ตรวจสอบคุณภาพน�้ำหาดบางแสน-อา่ งศิลา เย็น เทปบันทกึ 2 ตอน ออกอากาศในสัปดาห์ต่อไป อกี 2 และบนั ทึกเทปในตอนต่อไป อกี 2 เทป คอื สปั ดาห์ รวมทัง้ สน้ิ 9 ครง้ั ฟาร์มหอยแครงชายหาดอ่างศิลา และ ผลกระทบทเ่ี กิดเหตุการณ์นำ�้ เปล่ียนสี ท่ีหาดบางแสน 17 พฤศจกิ ายน 2552 ข่าว : น�ำเสนอขา่ วการย้ายปลาเลก็ ไปบา้ น รายการข่าวทอ้ งถนิ่ ชลบุรี PTV เคเบิลทวี ที ้องถ่นิ (แสนสุข ใหม่ ตูป้ ลา 1,000 ตัน ในตอน บ้านใหม่ ศรีราชา ชลบุรี และพัทยา) รายการขา่ ว CTV ชลบรุ ี ปลาหมอทะเล สมั ภาษณ์ ดร.วรเทพ รายการข่าว ASTV. แสนสุขวชิ นั่ ชลบรุ ี รายการสดทวั่ ไทย มุธวุ รรณ ผู้อ�ำนวยการสถาบนั วิทยาศาสตร์ TV 3. รายการขา่ วส่วนภูมิภาค TV 7. ขา่ วสดออนไลน์ มติ ทางทะเล ชน ผู้จัดการ 18 พฤศจิกายน 2552 ข่าว : น�ำเสนอขา่ วการยา้ ยปลาขนาดกลาง รายการข่าวทอ้ งถ่ินชลบรุ ี PTV เคเบิลทีวที ้องถ่นิ (แสนสุข เชน่ ปลาฉลามเสอื ดาว ปลาไหลลาย ฯลฯ ศรรี าชา ชลบรุ ี และพัทยา) รายการขา่ ว CTV ชลบุรี ไปบ้านใหม่ ตปู้ ลา 1,000 ตนั ในตอน บา้ น รายการข่าว ASTV. แสนสขุ วชิ ่นั ชลบุรี รายการสดทั่วไทย ใหม่ปลาหมอทะเล สัมภาษณ์ ดร.วรเทพ TV 3. รายการข่าวส่วนภมู ภิ าค TV 7. ขา่ วสดออนไลน์ มุธวุ รรณ มตชิ น ผู้จัดการ 72

Annual Report 2010 Institute of Marine Science, Burapha University วันเดอื นปี ท่ีเผยแพร่ ข่าว-สารคดี ทเี่ ผยแพร่ สือ่ ท่เี ผยแพร่ 19-20 พฤศจกิ ายน ขา่ ว : น�ำเสนอข่าวการยา้ ยปลาขนาดใหญ่ รายการขา่ วท้องถิ่นชลบุรี PTV เคเบิลทีวีทอ้ งถน่ิ (แสนสุข 2552 เช่นปลาฉลาม ปลาหมอทะเล ฯลฯ ไปบา้ น ศรรี าชา ชลบุรี และพทั ยา) รายการขา่ ว CTV ชลบรุ ี ใหม่ ตปู้ ลา 1,000 ตนั ในตอน บ้านใหม่ รายการข่าว ASTV. แสนสขุ วิช่นั ชลบุรี รายการสดท่ัวไทย ปลาหมอทะเล สัมภาษณ์ TV 3. รายการขา่ วส่วนภมู ภิ าค TV 7. ข่าวสดออนไลน์ ดร.วรเทพ มุธุวรรณ และทมี งาน มติชน ผูจ้ ดั การ 12 ธนั วาคม 2552 บริษัท ปา่ ใหญ่ครีเอช่นั จำ� กัด ถา่ ยทำ� สถานีโทรทศั น์ ทวี ไี ทย 19 ธนั วาคม 2552 รายการ สารคดี “ความรู้คอื ประทีป” ตอนท่ี 1 ความยาว 24.30 นาที ตอน “เคล่อื นยกั ษ์ใตส้ มทุ ร” ตอนท่ี 1 ตอนที่ 2 ความยาว 25 .00 นาที และตอนที่ 2 23 ธนั วาคม 2552 สมั ภาษณส์ ด : ดร.วรเทพ มุธุวรรณ เคเบิลทีวี ชลบุรี ออกอากาศทางชอ่ ง 20 CTV. รายการ “วันน้ี 4 โมง เชา้ ” ปญั หาเรือ่ ง หอยตายในเขตน่านน�้ำบางแสน 12 มกราคม 2553 บริษัท ปรดี า โปรดกั ชั่น ผูผ้ ลิตรายการ แพร่ภาพในวันที่ 18 -20 มกราคม 2553 เวลา 11.40 - “ไทยแลนด์ สเปเชี่ยล” คุณเมย์ เฟอื่ ง 11.50 น. ทาง TV5. คุณจริ ศักดิ์ แชม่ ช่ืน เป็นวิทยากรพูด อารมณ์ พิธกี ร แนะน�ำสถาบันฯ เปน็ คยุ กับพธิ กี รในรายการภาคสนาม สถานทท่ี อ่ งเที่ยวส�ำคญั ของประเทศไทย 15 มกราคม 2553 รายการวิทยุ (สด) : ประชาสมั พนั ธ์ ทางสถานีวิทยุ จฬุ า คล่ืน FM.101.5 MHz ข่าวภาคเทยี่ ง ในโครงการ Summer Surprise ของ เวลา 12.05 น. ถ่ายทอดทุกเครือขา่ ย สถาบันฯ นกั เรยี น 30 คน ครฟู รี 1 คน 4 กมุ ภาพันธ์ 2553 บันทกึ เทปการแข่งขนั รายการ : “วจิ ยั ไทย สถานีโทรทศั น์ ทวี ีไทย ทกุ วันอาทติ ย์ เวลา 16.00-16.30 น. คิด” ของ สกว. กระทรวงวิทยาศาสตร์และ ตอนท่ี 1 ออกอากาศ วนั อาทติ ย์ ท่ี 21 กมุ ภาพนั ธ์ 2553 เทคโนโลยี โดย คุณบณั ฑิต ปลงั่ ดี และ ตอนท่ี 2 ออกอากาศ วันอาทิตย์ ท่ี 28 กุมภาพนั ธ์ 2553 คณุ วลี ยา แกน่ จันทร์ เขา้ รว่ มแข่งขันตอบ ตอนที่ 3 ออกอากาศ วันอาทิตย์ ท่ี 7 มนี าคม 2553 ปญั หา และได้รับรางวลั ที่ 1 16 มีนาคม 2553 บริษัท พาโนรามา เวิลดไ์ วด์ จ�ำกดั รายการ สถานโี ทรทศั น์ NBT (ช่อง 11 กรมประชาสัมพันธ)์ สารคดี ชุด โลกมหศั จรรย์ ในตอน “ความ รักใตท้ ้องทะเล” 17 มีนาคม 2553 รายการ “ชา่ งคดิ ช่างสังเกต” ขององคก์ าร สถานโี ทรทศั น์ กองทัพบกชอ่ ง 5 ทกุ วนั พุธ เวลา 16.30- 20 มีนาคม 2553 พพิ ิธภณั ฑว์ ิทยาศาสตร์แหง่ ชาตถิ ่ายทำ� 17.00 น และออกอากาศซ้ำ� ทางสถานโี ทรทัศนท์ วี ีไทย ทุก รายการแนะนำ� แหล่งเรยี นร้ใู นภาคตะวัน วันศกุ ร์ เวลา 16.30-17.00 น. ออก 29 มีนาคม 2553 ขา่ วสด : สัมภาษณ์ ดร.เสาวภา PTV เคเบิลทีวที อ้ งถิน่ ชลบรุ ี (แสนสขุ ศรรี าชา ชลบรุ ี และ 30 มีนาคม 2553 สวสั ดิ์พรี ะ ประธานโครงการคา่ ย พทั ยา) วทิ ยาศาสตร์ทางทะเลครง้ั ท่ี 25 และ สมั ภาษณ์นกั เรยี นท่เี ข้าร่วมค่าย 73

รายงานประจำป 2553 สถาบนั ว�ทยาศาสตรทางทะเล มหาว�ทยาลยั บรู พา วนั เดือนปี ที่เผยแพร่ ข่าว-สารคดี ทีเ่ ผยแพร่ สื่อท่เี ผยแพร่ 30 มนี าคม 2553 ขา่ วสด : สมั ภาษณ์ ดร.วรเทพ มุธวุ รรณ PTV เคเบิลทวี ที อ้ งถนิ่ (แสนสุข ศรีราชา ชลบุรีและพทั ยา) ในรายการ “ทันขา่ วภาคเท่ยี ง” เรื่องการ เปิด บา้ นใหมป่ ลาหมอทะเล และการเปดิ ให้บรกิ ารทกุ วัน 5 เมษายน 2553 บันทกึ เทปรายการข่าว : สัมภาษณ์ PTV เคเบิลทีวที อ้ งถิ่นแหลมฉบงั ดร.วรเทพ มธุ ุวรรณ รายการ “คนดังหลัง ออกอากาศ 2 ครง้ั 2 เร่อื ง รวม 4 คร้งั และเผยแพรท่ าง ขา่ ว” เร่อื ง โครงการ โลกใตท้ ะเล และการ เครอื ข่ายเคเบลิ ทอ้ งถ่นิ แสนสุข ศรีราชา ชลบรุ ี และพทั ยา จดั ท�ำสัตว์สตัฟฟ์ เพ่ือจัดแสดงของสถาบนั ฯ 8 เมษายน 2553 บันทึกเทปรายการขา่ ว : สมั ภาษณ์ PTV เคเบิลทีวที อ้ งถน่ิ แหลมฉบงั ดร.วรเทพ มุธวุ รรณ รายการ “คนดงั หลัง ออกอากาศ 2 ครัง้ 2 เรื่อง รวม 4 ครัง้ และเผยแพรท่ าง ข่าว” ในเร่ือง ประวตั ิความเป็นมาของ เครือข่ายเคเบิลท้องถ่นิ แสนสุข ศรรี าชา ชลบุรี และพทั ยา สถาบนั ฯ การปรับปรงุ ก่อสร้างเพม่ิ เตมิ ใน สว่ นตู้ 1,000 ตนั และเรื่องที่ 2 การเปดิ ให้ บรกิ ารเข้าชม 9 เมษายน 2553 รายการ Happy Morning ตอน แนะน�ำ สถานโี ทรทัศน์กองทัพบก ช่อง 5 ออกอากาศทุกวนั เสาร์ สถานท่ที อ่ งเทย่ี วทนี่ า่ สนใจและเป็นที่นยิ ม เวลา 08.05-08.30 น. ของจังหวดั ชลบุรี 23 พฤษภาคม 2553 รายการ “เท่ยี วตามตะวัน” แนะน�ำ PTV เคเบิลทวี ที อ้ งถนิ่ แหลมฉบงั /ศรีราชา/ชลบุรี/บอ่ วนิ สถาบันฯ ในมุมมอง เปิดโลกใต้ทะเล ได้ ออกอากาศทกุ วันเสาร์ เวลา20.30 น และวนั อาทติ ย์ เวลา ความรู้ ดเู พลดิ เพลนิ 10.00น. 10 มถิ ุนายน 2553 รายการสารคดี : รายการกระจกหกดา้ น สถานโี ทรทัศน์สกี ิองทพั บกชอ่ ง 7 ออกอากาศทุกวนั จันทร์ ในตอน “ชีวิตมหศั จรรย์” โดยน�ำเสนอ และวนั องั คาร เวลา 16.00-16.15 สารคดสี ั้น ออกอากาศ ชวี ิตมหศั จรรย์ของมา้ นำ้� 4 สายพนั ธุ์ ทุกวันพฤหสั บดี เวลา 17.59-18.00 น. และวนั เสาร์ - อาทิตย์ เวลา 08.10-08.15 น 11 มิถนุ ายน 2553 สารคดีเทดิ พระเกยี รติ : รายการ “เพราะ ทุกสถานคี ือ 3 5 7 9 11 และ TPBS พอ่ เหน่ือยหนักหนามามากแลว้ ” สมั ภาษณ์ ดร.เสาวภา สวสั ดพ์ิ ีระ 24 มถิ ุนายน 2553 สารคดี “โครงการพทิ กั ษท์ ะเล” วดี ที ศั น์ สือ่ โทรทัศน์ กองทัพเรอื เพอื่ เผยแพรท่ าง ดร.เสาวภา สวัสด์ิพีระ ดร.จติ รา ตีระเมธี ประชาสัมพนั ธง์ านของกองทัพทางสถานโี ทรทศั น์ คณุ ณัฐวุฒิ เหลืองอ่อน เปน็ วทิ ยากร 29 กรกฏาคม 2553 ขา่ วสด : สมั ภาษณ์ ดร.วรเทพ มธุ วุ รรณ PTV เคเบลิ ทีวที ้องถน่ิ แหลมฉบัง/ศรีราชา/ชลบุรี ASTV ในเร่ือง ความคบื หนา้ โครงการโลกใต้ทะเล เคเบิลทีวที ้องถิ่น (แสนสขุ วิชั่น) TV3. ขา่ วภมู ภิ าค TV7. ท่ีต้องเล่ือนการเปดิ ใหเ้ ข้าชม จากปลายปี ข่าวทอ้ งถิน่ ภาคตะวนั ออก นสพ.บางแสนโพส นสพ.ท้อง 2553 เปน็ เปดิ ในกลางปี 2554 ถน่ิ ชล 74

Annual Report 2010 Institute of Marine Science, Burapha University วนั เดอื นปี ที่เผยแพร่ ขา่ ว-สารคดี ท่ีเผยแพร่ สอ่ื ท่ีเผยแพร่ 24 สิงหาคม 2553 รายการ “กบนอกกะลา” น�ำเสนอในตอน สถานโี ทรทศั น์ โมเดริ น์ ไนนท์ ีวี (TV9.) ออกอากาศทุกวนั “ปะการงั แท้ ปะการังเทียม” โดยมี ศกุ ร์ เวลา 20.40-21.40 น. ดร.วรเทพ มธุ ุวรรณ และทมี งานเพาะเล้ียง (ตอนท่ี 1. วนั ศกุ ร์ที่ 3 กันยายน 2553) สัตวน์ �้ำของสถาบันฯ (ตอนที่ 2. วันศุกร์ที่ 10 กันยายน 2553) 9 กนั ยายน 2553 บนั ทึกเทปสัมภาษณ์สด : รายการ ASEAN TV ดาวเทียม ทาง Thaicom-5 ชอ่ ง C-Band และ True TALK ดร.เสาวภา สวสั ดิพ์ รี ะ เปน็ วทิ ยากร Vision ช่อง 99 เวลา 20.20 น.ในรายการ ASEAN TALK เร่อื ง “ความผิดปกติของปะการงั ในหม่เู กาะ ฮาวาย” การตลาด ปีงบประมาณ พ.ศ 2553 ตารางที ่ 33 การตลาด ปงี บประมาณ พ.ศ. 2553 วันท่ี กจิ กรรม สถานที่ 2 – 4 ตุลาคม 2552 รว่ มงานส่งเสรมิ การขาย นำ� เสนอขอ้ มูลทอ่ งเทย่ี วสถาบนั ฯ ให้กบั ผู้ โรงแรมเดอะซายน์ พทั ยา ประกอบธรุ กิจน�ำเทย่ี วจากกลมุ่ ประเทศ อนิ โดจนี ชลบรุ ี 16-18 ตุลาคม 2552 รว่ มออก Booth ในงาน International Chinese Tourist As- โรงแรม พินนาเคิล้ sociation เพือ่ นำ� เสนอข้อมลู ของสถาบันฯ ใหก้ บั สมาชิกสมาคมผู้ จอมเทียนพัทยา ชลบุรี ประกอบธรุ กจิ นำ� เท่ียวจากสาธารณรัฐประชาชนจนี 28 พฤศจกิ ายน 2552 รว่ มงานส่งเสรมิ การขายนำ� เสนอขอ้ มูลท่องเทย่ี วสถาบนั ฯ ใหก้ บั ผู้ - โรงแรมรอยลั คลฟิ บีช ประกอบธรุ กจิ น�ำเท่ยี วจากประเทศเกาหลี และชาวญีป่ ุ่น ท่พี ำ� นัก รีสอรท์ พทั ยา ชลบุรี ในเขตเทศบาลเมืองศรรี าชา จงั หวดั ชลบุรี - เกาะลอย ศรีราชา 30 ธันวาคม 2553 ร่วมกับงานวิจยั เพาะเล้ียงสัตว์และพืชทะเล ฝ่ายวจิ ัย ออกเยีย่ ม ฟารม์ ก้งุ ในเขตต�ำบล ผู้ประกอบธรุ กิจเพาะเลย้ี งกุ้งวัยอ่อน ในการใหข้ ้อมลู การบรกิ าร แสนสุข บางพระ จำ� หนา่ ยแพลงก์ตอน และ ใหค้ ำ� ปรึกษาการเพาะเล้ียง ชลบุรี มกราคม - มนี าคม 2553 รว่ มกับศนู ยว์ ทิ ยาศาสตรด์ าราศาสตร์ (ท้องฟา้ จ�ำลอง ) และสวน สถาบนั วทิ ยาศาสตร์ทางทะเล เสอื ศรรี าชา จดั โครงการส่งเสริมการขาย มหาวทิ ยาลยั บูรพา เสน้ ทางท่องเทยี่ วผืนฟ้า...ป่าใหญ่..และโลกใตท้ ะเล 27 มกราคม 2553 ร่วมกิจกรรมสง่ เสรมิ การขายต่างประเทศ ในงาน Asean Travel ประเทศ Brunei Fare (ATF 2010 Brunei) ณ Hua Ho Department Store Hall กรงุ Bandar Seri Begawan ประเทศ Brunei Darussalam 20 – 22 มนี าคม 2553 รว่ มกิจกรรมสง่ เสริมการขายในงาน Amazing Pattaya Hot Central World Summer Boom Boom sale จัดโดย ททท.ส�ำนักงานพัทยา กรุงเทพฯ เมอื งพัทยา และสมาคมนักธุรกิจและการท่องเทยี่ วเมืองพทั ยา 75

รายงานประจำป 2553 สถาบันวท� ยาศาสตรท างทะเล มหาวท� ยาลยั บูรพา วนั ที่ กิจกรรม สถานที่ 24 – 25 มีนาคม 2553 ร่วมกิจกรรมส่งเสรมิ การขายในงาน Amazing Pattaya Hot Central Rattanatibet Summer Boom Boom sale กรงุ เทพ ฯ 29 – 30 มีนาคม 2553 ร่วมกจิ กรรมสง่ เสรมิ การขายในงาน Amazing Pattaya Hot Central Rama 2 Summer Boom Boom sale 14 เมษายน 2553 น�ำนักวิทยาศาสตร์ และ วิทยากร เข้าพบคณะทำ� งานของศนู ย์ ศูนยว์ ิทยาศาสตรด์ าราศาสตร์ วิทยาศาสตร์ดาราศาสตร์ ทอ้ งฟ้าจำ� ลอง อบจ.ชลบรุ ี เพื่อประสาน ท้องฟา้ จ�ำลอง อบจ.ชลบุรี งานการจัดทำ� โครงการเส้นทางท่องเทีย่ วรว่ มกนั 15 พฤษภาคม 2553 ร่วมงานส่งเสริมการขาย Table Top Sale กับ สมาชกิ สมาคมไทย Hotel J. Pattaya ธรุ กิจการทอ่ งเท่ยี ว ATTA. พัทยา ชลบุรี 17 - 21 พฤษภาคม 2553 รว่ มกจิ กรรม สง่ เสริมการขาย Road Show “เชิญแดนใต้ เที่ยว จงั หวดั นครศรธี รรมราช สบาย ๆ สไตล์ ชลบรุ ”ี สรุ าษฎร์ธานี และชมุ พร 25 – 27 พฤษภาคม 2553 รว่ มออก Booth แนะนำ� ข้อมลู ท่องเทย่ี วใหก้ ับผูเ้ ขา้ รว่ มงานสัมมนา โรงแรมพทั ยาปารค์ ชลบรุ ี ทางวิชาการบุคลากรดา้ นสาธารณสุขและสิ่งแวดล้อมองค์กร ปกครองส่วนทอ้ งถิน่ ประจ�ำปี 2553 1 – 2 พฤษภาคม ร่วมกบั ททท.สำ� นกั งานจังหวัดพระนครศรอี ยธุ ยา ออก Booth โรบนิ สนั ภายในงาน Robison Travel in Holiday “On The Beach” พระนครศรีอยธุ ยา 7 – 11 กรกฎาคม 2553 รว่ มออก Booth ในงาน ร่วมงานโลกแห่งสัตวเล้ียง Pet Planet ห้องโถงชั้น 1 ห้างแหลมทอง 2010 ซงึ่ จัดโดยบรษิ ัท แอลทรี เี ทล จ�ำกัด บางแสน จังหวดั ชลบุรี 12 – 1 6 กรกฎาคม 2553 เขา้ รว่ มโครงการส่งเสรมิ การขายเชื่อมโยงภาคตะวนั ออก อุดรธานี นครราชสมี า ภาคอสี าน และ หลวงพระบาง สปป.ลาว 9 สิงหาคม 2553 ร่วมงานครบรอบวันสถาปนาคณะการจัดการและการท่อง เที่ยว หอประชมุ ธำ� รง บัวศรี มหาวิทยาลัยบรู พาและร่วมสมั นาเรือ่ งการจดั การท่องเที่ยวให้ยั่งยนื มหาวิทยาลยั บูรพา 1 – 2 กันยายน 2553 รว่ มประชาสมั พันธ์ขอ้ มูลท่องเท่ยี วในงานสปั ดาหค์ วามปลอดภัยใน หอประชมุ ธ�ำรง บัวศรี การทำ� งานภาคตะวันออก มหาวทิ ยาลยั บรู พา 31 สงิ หาคม 2553 เขา้ ร่วมงานส่งเสรมิ การขาย สรา้ งเครือข่ายทอ่ งเที่ยว Hotel J. Pattaya ภาคตะวันออก สู่ภาคตะวันตก พทั ยา ชลบุรี 76

Annual Report 2010 Institute of Marine Science, Burapha University การประกนั คุณภาพ สถาบนั วทิ ยาศาสตรท์ างทะเล มหาวทิ ยาลยั บรู พา ไดด้ ำ� เนนิ งานดา้ นการประกนั คณุ ภาพมาตงั้ แตป่ ี พ.ศ. 2543 การประกนั คณุ ภาพมคี วามจ�ำเปน็ ตอ่ การดำ� เนนิ และพฒั นางานของสถาบนั ฯ ซงึ่ เพอ่ื เปน็ การยนื ยนั วา่ สถาบนั ฯ ไดด้ ำ� เนนิ การทจี่ ะสง่ เสรมิ คณุ ภาพการใหบ้ รกิ าร ตลอดจนสง่ เสรมิ การวจิ ยั ของสถาบนั ฯอยา่ งตอ่ เนอ่ื ง ท�ำใหเ้ กดิ ความ ม่ันใจต่อสาธารณชนวา่ ผลผลติ ทางวิชาการจะมคี ุณภาพที่พงึ ประสงคแ์ ละเพือ่ เปน็ การเสริมสร้างมาตรฐานการบรกิ าร เปน็ ทย่ี อมรบั ในระดบั ประเทศและระดบั สากล ทงั้ นส้ี ถาบันวทิ ยาศาสตร์ทางทะเล จึงได้น�ำระบบคณุ ภาพต่างๆ มาใช้ กบั การดำ� เนนิ งานของสถาบนั ฯ ดงั นี้ 1. การประกันคุณภาพการศึกษา สถาบนั วทิ ยาศาสตรท์ างทะเล ไดด้ ำ� เนนิ การประกนั คณุ ภาพการศกึ ษา ซงึ่ กจิ กรรมดงั กลา่ วเปน็ การประกนั วา่ หนว่ ยงานมกี ารพฒั นาและสง่ เสรมิ คณุ ภาพการศกึ ษาการใหบ้ รกิ ารวชิ าการ ตลอดจนสง่ เสรมิ การวจิ ยั อยา่ งตอ่ เนอ่ื ง สำ� หรับปกี ารศกึ ษา พ.ศ. 2552 สถาบนั วิทยาศาสตรท์ างทะเลรบั การตรวจประเมนิ คุณภาพการศกึ ษา ดงั นี้ การประเมนิ คณุ ภาพการศึกษาภายใน สถาบนั วทิ ยาศาสตร์ทางทะเล รบั การตรวจประเมินคุณภาพภายในเมือ่ วันท่ี 6 สงิ หาคม พ.ศ. 2553 โดย คณะกรรมการทแ่ี ต่งต้ังโดยมหาวิทยาลยั บรู พา จำ� นวน 4 ทา่ น ไดแ้ ก่ 1. ศาสตราจารย์ พล.ต. รังษติ บญุ แตม้ ประธานกรรมการประเมนิ คุณภาพการศกึ ษาภายใน 2. ผู้ชว่ ยศาสตราจารย์ ดร.วจิ ติ รพ์ ร หลอ่ สวุ รรณกุล กรรมการประเมินคณุ ภาพการศึกษาภายใน 3. อาจารยว์ ัลลภ ศัพท์พันธุ์ กรรมการประเมนิ คุณภาพการศึกษาภายใน 4. นางสาวเบญจวรรณ ทับพร เลขานุการการประเมนิ คุณภาพการศกึ ษาภายใน 77

รายงานประจำป 2553 สถาบนั วท� ยาศาสตรท างทะเล มหาวท� ยาลยั บูรพา ตารางท ่ี 34 ผลการประเมนิ คุณภาพภายในตามองค์ประกอบ องคป์ ระกอบ ผลการประเมนิ โดยสถาบัน ผลการประเมินโดยคณะ วิทยาศาสตรท์ างทะเล กรรมการประเมนิ ฯ องคป์ ระกอบที่ 1 ปรชั ญา ปณธิ าน วตั ถุประสงค์ และ 3.00 คะแนน 3.00 คะแนน แผนการดำ� เนนิ การ องค์ประกอบที่ 4 การวิจยั 2.67 คะแนน 2.67 คะแนน องค์ประกอบที่ 5 การบรกิ ารวิชาการแก่สังคม 2.75 คะแนน 2.50 คะแนน องค์ประกอบที่ 7 การบริหารและการจัดการ 2.56 คะแนน 2.44 คะแนน องค์ประกอบท่ี 8 การเงินและงบประมาณ 3.00 คะแนน 3.00 คะแนน องคป์ ระกอบที่ 9 ระบบและกลไกการประกนั คุณภาพ 3.00 คะแนน 3.00 คะแนน 2.73 ระดบั ดมี าก 2.65 ระดบั ดีมาก สรุปผล นอกจากนีส้ ถาบนั วิทยาศาสตรท์ างทะเล ได้เข้าร่วมกจิ กรรม “วันประกนั คุณภาพการศึกษา” ระหวา่ ง วันที่ 7-8 กรกฎาคม 2553 ซึง่ มีกิจกรรมในรปู แบบการจดั นิทรรศการโดยหนว่ ยงานต่างๆ ใหค้ วามรว่ มมือในการ รว่ มจดั นทิ รรศการ ในการนม้ี หาวทิ ยาลยั ไดม้ คี ณะกรรมการใหค้ ะแนนในความโดดเดน่ ของนทิ รรศการ ส�ำหรบั ปกี าร ศกึ ษา 2552 นสี้ ถาบันวทิ ยาศาสตรท์ างทะเลไดร้ บั การตัดสินใหไ้ ด้รบั รางดเี ดน่ ล�ำดบั ที่ 1 ประเภทส่วนงานสนับสนนุ ซงึ่ การรบั รางวลั ดีเดน่ ในครง้ั นีน้ บั เป็นคร้ังท่ี 2 (คร้ังแรกปีการศกึ ษา 2551) 2. การประกนั คุณภาพมาตรฐานระบบการจดั การด้านสิ่งแวดลอ้ ม ISO 14001: 2004 สถาบันวิทยาศาสตร์ทางทะเล เป็นหน่วยงานท่ีมีหน้าท่ีความรับผิดชอบในการด�ำเนินงานด้านวิจัย การ ใหบ้ รกิ ารวชิ าการดา้ นวิทยาศาสตร์ทางทะเล และสาขาวิชาที่เกีย่ วข้องได้แก่ นักเรียน นิสิต นกั ศกึ ษา และประชาชน ท่วั ไป นอกจากนย้ี ังสนบั สนุนการเรยี นการสอนของมหาวทิ ยาลยั บรู พาในการใหค้ �ำปรึกษา การสนบั สนนุ ด้านสถาน ท่ี เครื่องมืออปุ กรณส์ ำ� หรบั ทำ� วทิ ยานิพนธแ์ ละการฝกึ งานของนสิ ิต สถาบันฯได้ตระหนกั ถึงความส�ำคัญของปญั หาสิ่ง แวดล้อมจากการด�ำเนินงานเพ่ือเป็นการสร้างคุณภาพชีวิตที่ดีในการท�ำงานของบุคลากร จึงมีนโยบายที่จะปรับปรุง การท�ำงานในทุกๆ ด้านที่มีผลกระทบต่อสงิ่ แวดลอ้ มอยา่ งต่อเนอ่ื ง 78

Annual Report 2010 Institute of Marine Science, Burapha University การด�ำเนินงานในปงี บประมาณ พ.ศ. 2553 สถาบนั ฯ ไดร้ บั การรบั รองมาตรฐานระบบการจดั การสง่ิ แวดลอ้ ม ISO 14001:2004 ตง้ั แตป่ งี บประมาณ พ.ศ. 2548 สำ� หรบั ในปงี บประมาณ พ.ศ. 2553 สถาบนั ฯ ไดด้ ำ� เนนิ การตามแผนการประกนั คณุ ภาพสรปุ พอสงั เขปดงั น้ี 1. การปรับปรุงเอกสาร โดยกำ� หนดให้เอกสารทกุ ฉบบั มีรหสั EP 2. การตรวจตดิ ตามคณุ ภาพภายใน จำ� นวน 2 ครงั้ - ครัง้ ท่ี 1 เมือ่ วนั ที่ 23-24 กมุ ภาพนั ธ์ พ.ศ. 2553 - ครงั้ ท่ี 2 เม่อื วนั ท่ี 8-9 กันยายน พ.ศ. 2553 3. การตรวจประเมินคณุ ภาพเพอ่ื รบั รองระบบการจดั การด้านสิง่ แวดลอ้ ม ISO 14001:2004 3.1 การตรวจประเมนิ คณุ ภาพโดยบริษทั TÜV Rheinland Group สถาบันฯ รับการตรวจประเมินคุณภาพระบบการจัดการด้านส่ิงแวดล้อม ISO14001:2004 ประจ�ำ ปีงบประมาณ พ.ศ. 2553 เม่ือวนั ที่ 19 ตลุ าคม พ.ศ. 2553 ผลการตรวจพบสิ่งไมเ่ ปน็ ไปตามขอ้ กำ� หนดเพียงเล็กน้อย โดยสถาบนั ฯ ได้ด�ำเนินการแก้ไขและได้รับการรับรองจากบริษทั TÜV Rheinland Group เรยี บร้อยแล้ว 79

รายงานประจำป 2553 สถาบนั วท� ยาศาสตรท างทะเล มหาว�ทยาลัยบรู พา โครงการเดน่ ในรอบปี โครงการอบรมเชิงปฏิบตั กิ ารนานาชาตเิ รื่อง ความหลากหลายทางชวี ภาพของแพลงกต์ อนสตั ว์ใน เอเชยี ตะวันออกเฉียงใต้ (International Workshop on Zooplankton Biodiversity in Southeast Asia) 1.ความเป็นมาของโครงการ คณะนกั วจิ ยั ในกลมุ่ แพลงกต์ อนสตั วภ์ ายใตโ้ ครงการ Japan Society for the Promotion of Science (JSPS) ได้ตกลงทำ� ความรว่ มมือในการแลกเปลยี่ นความรู้ โดยจดั ใหม้ ีการอบรมเชิงปฏิบตั ิการ และรายงานสถานภาพ งานวจิ ยั ของแตล่ ะประเทศ เกยี่ วกบั สาขาวทิ ยาศาสตรท์ างทะเลชายฝง่ั ในการศกึ ษาความหลากหลายทางชวี ภาพโดยมี ประเทศ ในภูมิภาคเอเชยี ตะวนั ออกเฉียงใต้เขา้ ร่วม 5 ประเทศ ได้แก่ ประเทศไทย ฟลิ ิปปนิ ส์ เวยี ดนาม มาเลเซีย และ อินโดนีเซีย ประกอบดว้ ยสมาชกิ ประเทศละ 2 คน ซึง่ แตล่ ะประเทศจะจดั อบรมเชิงปฏบิ ตั ิการหมนุ เวยี นกันไป ครง้ั ที่ ผา่ นมาได้มกี ารจดั อบรมฯ ขนึ้ ในประเทศไทย ณ จุฬาลงกรณม์ หาวทิ ยาลัย เมื่อเดอื นธันวาคม พ.ศ. 2546 ปรากฏว่า ประสบความสำ� เรจ็ เป็นอยา่ งดใี นเรอ่ื งของเทคนิคการปฏบิ ตั ิการในการจำ� แนกชนดิ ของแพลงกต์ อนสตั ว์ ส�ำหรับในปี งบประมาณ 2553 นี้ ไดม้ ีการตกลงกันท่ีจะจัดโครงการอบรมทปี่ ระเทศไทยอีกครัง้ ภายใต้ การสนับสนนุ งบประมาณ ผูเ้ ช่ยี วชาญจากประเทศญ่ีปุน่ (Japan Society for the Promotion of Science, JSPS) และสภาวิจัยแห่งชาติรว่ มสนับสนนุ งบประมาณสมทบอกี ดว้ ย (National Research council of Thailand, NRCT) จงึ นบั เปน็ โอกาสดที สี่ ถาบนั วทิ ยาศาสตรท์ างทะเล มหาวทิ ยาลยั บรู พา ซงึ่ มคี วามพรอ้ มของสถานทแ่ี ละอปุ กรณ์ จงึ รบั เป็นเจ้าภาพหลักในการจัดอบรมดังกล่าว โดยได้รับความร่วมมือจากหน่วยงานอื่นด้วย ได้แก่ สถาบันวิจัยทรัพยากร ทางน้ำ� คณะวทิ ยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย และคณะวทิ ยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา เปน็ ต้น การอบรม เชิงปฏิบัติการคร้ังนี้จึงเป็นการเพิ่มพูนทักษะอีกทั้งยังเป็นการให้ความรู้แก่นิสิต และนักวิจัยของไทยท่ีสนใจงานวิจัย ด้านน้ีให้เป็นที่รู้จักและเห็นถึงความสำ� คัญของสิ่งมีชีวิตขนาดเล็กในระบบห่วงโซ่อาหารซึ่งเป็นองค์ประกอบชีวภาพ ในระบบนเิ วศวทิ ยาทางทะเล 2. ผู้รบั ผดิ ชอบโครงการ 2.1 เจา้ ภาพหลกั สถาบนั วทิ ยาศาสตร์ทางทะเล มหาวิทยาลัยบรู พา 2.2 หนว่ ยงานสนบั สนุน - National Research Council of Thailand (NRCT) - Japan Society for the Promotion of Science (JSPS) - Faculty of Science, Chulalongkorn University (CU) - Aquatic Resources Research Institute, Chulalongkorn University (ARRI) 3. กจิ กรรมของโครงการ ประกอบด้วย การอบรมเชิงปฏิบัติการนานาชาตเิ รอื่ ง ความหลากหลายทางชวี ภาพของแพลงกต์ อนสัตวใ์ นเอเชยี ตะวัน ออกเฉยี งใต้จดั ขึน้ ที่สถาบนั วทิ ยาศาสตรท์ างทะเลในระหวา่ งวนั ที่ 5-14 ตุลาคม 2552 มนี ักวจิ ัยไทยเขา้ รับการอบรม รวม 5 มหาวทิ ยาลยั ไดแ้ ก่ มหาวทิ ยาลยั รามค�ำแหง จฬุ าลงกรณม์ หาวทิ ยาลยั มหาวทิ ยาลยั เกษตรศาสตร์ มหาวทิ ยาลยั 80

Annual Report 2010 Institute of Marine Science, Burapha University บูรพา และมหาวิทยาลัยเทคโนโลยรี าชมงคลตรงั มหาวิทยาลยั ละ 1 คนและมสี มาชกิ ประเทศในภูมภิ าคเอเชียตะวนั ออกเฉยี งใต้เข้าร่วม 5 ประเทศ ไดแ้ ก่ ประเทศไทย ฟิลิปปนิ ส์ เวียดนาม มาเลเซีย และอนิ โดนเี ซยี ประเทศละ 2 คน ยกเว้นสมาชิกจากประเทศมาเลเซีย และอินโดนีเซีย ประเทศละ 1 คน รวมผู้เข้ารับการอบรมทั้งส้ิน 15 คน และผู้ เช่ียวชาญจากประเทศญ่ปี นุ่ 7 คน กจิ กรรมทส่ี ำ� คญั ของโครงการประกอบด้วย 3.1 การเก็บตัวอย่างแพลงก์ตอนสัตว์บริเวณแนวปะการังและหาดทรายของเกาะสีชัง จังหวัดชลบุรี ใน เวลากลางวนั และกลางคนื โดยใชเ้ รอื ของสถาบนั วจิ ยั ทรพั ยากรทางน้�ำ ดำ� เนนิ การเกบ็ ตวั อยา่ งดว้ ยถงุ ลากแพลงกต์ อน สตั ว์ รวม 4 สถานี แต่ละสถานีมีการบันทึกคุณภาพน้�ำทะเล ไดแ้ ก่ ความเค็ม อุณหภมู ิ ความลึก ปริมาณออกซเิ จนท่ี ละลายน�้ำ ฯลฯ 3.2 นกั วจิ ยั ทำ� การคดั แยกตวั อยา่ งและศกึ ษาเชงิ คณุ ภาพในหอ้ งปฏบิ ตั กิ าร การจำ� แนกชนดิ ของตวั อยา่ ง จะทำ� การจ�ำแนกชนดิ โดยผเู้ ชีย่ วชาญของแตล่ ะกลมุ่ สัตว์ ไดแ้ ก่ โคพพี อด ไมซิด เดคาพอด และหนอนธนู จากตวั อยา่ ง ทที่ ำ� การเกบ็ มาจากแนวปะการงั และหาดทราย พรอ้ มทง้ั ถา่ ยทอดหลกั การจำ� แนกชนดิ ของแพลงกต์ อนสตั วแ์ ตล่ ะกลมุ่ ใหก้ ับนกั วิจัยรว่ มท่ีสนใจในกลุ่มสัตวน์ น้ั ๆ รวมถึงจดั ทำ� บัญชีรายชื่อแพลงกต์ อนสัตว์ในประเทศไทยดว้ ย 3.3 นักวิจัยร่วมนำ� ตัวอย่างมาจำ� แนกชนิดในห้องปฏิบัติการร่วมกับผู้เช่ียวชาญ โดยนักวิจัยร่วมจะเป็น ผู้น�ำตัวอย่างของตนเองที่ได้ศึกษาไว้แล้วหรือท่ียังไม่ได้รับการจ�ำแนกมาท�ำการจ�ำแนกชนิดโดยผู้เช่ียวชาญจะเป็นนัก วจิ ยั พเี่ ลย้ี งใหก้ บั นกั วจิ ยั รว่ มของแตล่ ะมหาวทิ ยาลยั เพอื่ ฝกึ สอนวธิ กี ารจ�ำแนกชนดิ ในระดบั สกลุ และชนดิ รวมถงึ ยนื ยนั ผลการจ�ำแนกชนดิ ที่ได้บนั ทกึ หรอื ตีพิมพไ์ ปแลว้ กลบั มาแก้ไขใหม่ให้ถูกตอ้ ง 3.4 การบรรยายพิเศษโดยผู้เชี่ยวชาญญ่ีปุ่นจ�ำนวน 3 คน ในหัวข้อเรื่อง การใช้แพลงก์ตอนสัตว์เป็นตัว บง่ ชก้ี ารเปล่ียนแปลงส่งิ แวดล้อมทางทะเล เทคนคิ การถ่ายภาพแพลงก์ตอน และการวิเคราะหข์ อ้ มูลแพลงก์ตอนสตั ว์ 3.5 การวเิ คราะห์ข้อมลู จากการอบรมเชิงปฏบิ ตั ิการในประเทศมาเลเซีย (Sibu- and Tinggi Islands) ปี พ.ศ 2551 โดยผู้เช่ียวชาญจากประเทศมาเลเซีย เพื่อตีพิมพผ์ ลงานร่วมกันของกลมุ่ สมาชกิ 3.6 รายงานสถานภาพการปฏิบัติงานปัจจุบัน และการด�ำเนินงานต่อไปของแต่ละประเทศในภูมิภาค เอเชียตะวันออกเฉยี งใต้ 4. ผลท่เี กดิ จากความส�ำเร็จของโครงการ จากการท่ีสถาบันวิทยาศาสตร์ทางทะเลเป็นเจ้าภาพหลักในการจัดอบรมเชิงปฏิบัติการนานาชาติ คร้ังนี้ นบั เปน็ การเผยแพรช่ อื่ เสยี งใหก้ บั สถาบนั วทิ ยาศาสตรท์ างทะเล และมหาวทิ ยาลยั บรู พา ในการศกึ ษาดา้ นวทิ ยาศาสตร์ ทางทะเลใหเ้ ปน็ ทร่ี จู้ กั กนั ดใี นประเทศแถบภมู ภิ าคเอเชยี ตะวนั ออกเฉยี งใต้ อกี ทงั้ ทำ� ใหไ้ ดน้ กั วจิ ยั ทม่ี คี วามเชยี่ วชาญทาง ดา้ นอนกุ รมวธิ านของแพลงกต์ อนสตั วร์ นุ่ ใหมเ่ พมิ่ ขน้ึ และไดม้ กี ารจดั ทำ� บญั ชรี ายชอื่ ของแพลงกต์ อนสตั วใ์ นประเทศไทย อีกดว้ ย 81

รายงานประจำป 2553 สถาบนั ว�ทยาศาสตรทางทะเล มหาวท� ยาลัยบูรพา ภาพประกอบของโครงการ กจิ กรรม การเก็บตวั อยา่ งแพลงก์ตอนสัตว์ ดว้ ยถุงลากแพลงก์ตอน ผดู้ ำ�เนนิ การ นกั วิจยั จากประเทศฟลิ ปิ ปนิ ส์ สถานท่ี บรเิ วณแนวปะการังเกาะสีชงั จังหวดั ชลบุรี กจิ กรรม บรรยายพิเศษในเร่อื ง เทคนคิ การถ่ายภาพแพลงก์ตอนสตั ว์ ผู้ดำ� เนินการ ผ้เู ช่ียวชาญญี่ปนุ่ สถานท ี่ หอ้ งประชุมสถาบันวจิ ัย ทรัพยากรทางน�้ำ กิจกรรม การออกเกบ็ ตัวอยา่ งในเวลากลางคืน ผดู้ ำ�เนนิ การ ผูเ้ ชี่ยวชาญรว่ มกับนักวจิ ัยไทย สถานที่ แนวปะการงั เกาะสีชัง จงั หวัดชลบรุ ี กิจกรรม ปิดการประชมุ อบรมเชิงปฏบิ ตั ิการ ผู้ดำ�เนินการ ผู้เช่ยี วชาญญป่ี ุ่นและสมาชกิ กลมุ่ แพลงกต์ อนสตั ว์ในประเทศเอเชยี ตะวันออกเฉยี งใต้ สถานท ่ี หอ้ งประชมุ สถาบันวทิ ยาศาสตร์ ทางทะเล มหาวิทยาลัยบูรพา 82

www.BIMS.buu.ac.th

รายงานประจำป 2553 สถาบนั วท� ยาศาสตรทางทะเล มหาว�ทยาลยั บูรพา สรปุ ภาพกิจกรรมในรอบปีงบประมาณ 2553 (ตลุ าคม 2552 – กันยายน 2553) 84

Annual Report 2010 Institute of Marine Science, Burapha University วนั ที่ 14 ธันวาคม พ.ศ. 2552 สถาบันวิทยาศาสตรท์ างทะเล จดั กจิ กรรมโครงการอบรม อันตรายจากสารเคมีและการซอ้ มแผนฉกุ เฉินในห้องปฏิบัตกิ าร วันท่ี 9 มกราคม พ.ศ. 2553 สถาบันวิทยาศาสตร์ทางทะเล จดั กิจกรรมวันเดก็ แห่งชาติ วันที่ 29 มนี าคม- 2 เมษายน 2553 สถาบันวทิ ยาศาสตร์ทางทะเล จดั กจิ กรรมโครงการคา่ ยวทิ ยาศาสตร์ทางทะเลส�ำหรับเยาวชน ครงั้ ที่ 25 85

รายงานประจำป 2554 สถาบนั ว�ทยาศาสตรท างทะเล มหาวท� ยาลยั บูรพา วันท่ี 10-11 มถิ ุนายน พ.ศ. 2553 สถาบนั วิทยาศาสตรท์ างทะเล จดั กจิ กรรมโครงการตรวจสุขภาพประจ�ำปีบุคลากรสถาบันวิทยาศาสตร์ทางทะเล วนั ที่ 28 กรกฎาคม พ.ศ. 2553 สถาบนั วทิ ยาศาสตร์ทางทะเล รับการประเมินคุณภาพการศึกษาภายในโดยคณะกรรมการที่แต่งตง้ั โดยมหาวิทยาลัยบรู พา วนั ที่ 19 ตุลาคม พ.ศ. 2553 สถาบันวิทยาศาสตร์ทางทะเล รับการตรวจประเมิน ISO 14001 : 2004 จากบริษทั TÜV Rheinland Group 86

Annual Report 2010 Institute of Marine Science, Burapha University ภาคผนวก

รายงานประจำป 2553 ต่างๆ ระบุความเช่ียวชาญของนักวิจัย/นักวิชาการ สถาบนั วท� ยาศาสตรทางทะเล มหาวท� ยาลัยบรู พา และรวบรวมผลงานศึกษาวิจัยของความปลอดภัยด้าน อาหารของสนิ คา้ ในกลุ่มสตั วน์ ้ำ� และผลติ ภัณฑ์ การวเิ คราะหส์ ถานการณแ์ ละผลงานศึกษา วจิ ัยทางความปลอดภัยด้านอาหารในกลุม่ การนำ� เสนอผลการศกึ ษาวเิ คราะหส์ ถานการณ์ ผลติ ภณั ฑอ์ าหารสตั วน์ ำ�้ เปน็ การนำ� เสนอขอ้ มลู ปรมิ าณ สัตว์น้�ำและผลิตภัณฑ์ และมูลค่าการส่งออกของอาหารในกลุ่มสัตว์น�้ำและ ผลติ ภัณฑต์ ัง้ แต่ปี พ.ศ. 2547-2552 โดยภาพรวมการ รววิ รรณ วัฒนดิลก วรรณภา กสิฤกษ์ ส่งออกสินค้าประมงของไทยในรอบ 9 เดือน ของปี แววตา ทองระอา และชตุ ินนั ท์ ศรสี ัมพนั ธ์ 2552 ปริมาณการส่งออกรวม 1,360,719 ตัน มูลค่า 162,842 ลา้ นบาท ลดลงรอ้ ยละ 6 โดยปรมิ าณ มูลคา่ สถาบันวทิ ยาศาสตร์ทางทะเล ลดลงรอ้ ยละ 2 เมอ่ื เปรยี บเทยี บกบั ชว่ งเดยี วกนั กบั ปที ่ี มหาวิทยาลัยบรู พา จ.ชลบุรี 20131 ผา่ นมา สว่ นสถานการณใ์ นรอบ 5 ปี (2547-2551) นน้ั ในปี 2550 ปรมิ าณการส่งออกสินค้าประมงสงู ท่ีสุดใน บทสรปุ สำ� หรับผบู้ รหิ าร รอบ 5 ปี แต่มีมูลค่าการส่งออกตำ่� กว่าปี 2549 และ ประเทศไทยเป็นประเทศผู้ผลิตอาหารเพื่อ 2551 ซ่ึงส่งออกปริมาณน้อยกว่า ท้ังนี้มาจากภาวะ เศรษฐกิจโลกชะลอตัว โดยเฉพาะภาวะเศรษฐกิจของ บริโภคในประเทศ และผลิตเพื่อส่งออกเป็นสินค้า สหรัฐฯซึ่งเป็นตลาดส่งออกส�ำคัญ รวมท้ังราคาน้�ำมัน สำ� คญั ๆหลายชนดิ แตป่ ระเทศไทยยงั ประสบกบั ปญั หา ท่ียังทรงตัวอยู่ในระดับสูง และข้อกีดกันทางการค้าที่ ดา้ นความไมป่ ลอดภยั ของอาหารทผี่ ลติ ในเรอื่ งการปน ไมใ่ ชภ่ าษที ปี่ ระเทศคคู่ า้ จะนำ� มาใชม้ ากขนึ้ การสง่ ออก เปอ้ื นของจุลินทรีย์ก่อโรค การตกค้างของสารเคมี สาร สินค้าประมงยังขยายตัวอย่างต่อเนื่อง ปริมาณความ ปฏชิ ีวนะ และสารพิษ ซง่ึ เปน็ อันตรายท่อี าจสง่ ผลกระ ต้องการในตลาดโลกเพิ่มข้ึน และประเทศผู้น�ำเข้าหัน ทบตอ่ สขุ ภาพของประชาชนในประเทศและกระทบตอ่ มาน�ำเข้าจากไทยทดแทนประเทศผู้ผลิตสินค้าอ่ืนที่ เศรษฐกจิ ของประเทศ รฐั บาลจงึ ไดก้ �ำหนดใหน้ โยบาย มีปริมาณการผลิตลดลงและมีปัญหาในเรื่องสารเคมี ความปลอดภยั ดา้ นอาหารเปน็ นโยบายแหง่ ชาติ ตง้ั แตป่ ี ตกค้างในผลิตภัณฑ์ แนวโน้มการส่งออกสินค้าประมง พ.ศ. 2547 เปน็ ตน้ มา เพอ่ื รณรงคแ์ ละเผยแพรค่ ณุ ภาพ แต่ละชนดิ (ตั้งแต่ปี 2547-2552) มีดังนี้ มาตรฐานอาหารของไทยให้เป็นท่ีรู้จักแพร่หลายกว้าง ขวางออกไปทั้งในและต่างประเทศ และเพ่ือให้อาหาร กุ้ง : ส�ำหรับกุ้งขาวมีแนวโน้มในการส่งออก ที่ผลิตและบริโภคในประเทศมีมาตรฐานทัดเทียม ท้ังปริมาณและมูลค่าเพิ่มขึ้น ส่วนกุ้งกุลาด�ำและกุ้ง มาตรฐานสากล รวมถึงต้องการกระตุ้นให้ประชาชนมี ก้ามกราม มีแนวโน้มในการส่งออกท้ังปริมาณและ ความตระหนักถึงความส�ำคัญของการบริโภคอาหารที่ มูลคา่ ลดลง ปลอดภัย และมีพฤติกรรมการบริโภคอาหารที่ถูกต้อง รัฐบาลได้จดั สรรงบประมาณให้การสนบั สนุนโครงการ ปลา : แนวโนม้ การสง่ ออกลดลงมาก เนอ่ื งจาก หลาก หลายรปู แบบ เพอ่ื ใชใ้ นการศกึ ษาวจิ ยั และพฒั นา การขาดแคลนวัตถุดิบ มีทูน่าเป็นสินค้าที่อัตราการ เก่ยี วกบั ความปลอดภัยด้านอาหาร ต้ังแตก่ ระบวนการ ขยายตวั เพ่มิ ขน้ึ เกษตรกรรม การผลิตในโรงงาน การแปรรปู และการ ตรวจสอบคณุ ภาพโดยผา่ นหนว่ ยงานทใี่ หท้ นุ สนบั สนนุ หมกึ : แนวโนม้ การสง่ ออกลดลง เนอ่ื งจากการ ตา่ งๆมาอยา่ งตอ่ เนอ่ื ง ทำ� ใหผ้ ลติ ภณั ฑอ์ าหารจากทะเล ขาดแคลนวัตถุดิบ มีการพัฒนาคุณภาพมากขึ้น ส่งผลท�ำให้มูลค่าทาง เศรษฐกิจของสินคา้ กลุ่มน้เี พิ่มขึ้น อาหารแปรรูป : แนวโนม้ การส่งออกลดลง ผลการศึกษาสถานการณ์ความปลอดภัยด้าน วัตถุประสงค์ของโครงการเพ่ือรวบรวมข้อมูล และวิเคราะห์สถานการณ์การส่งออกและความ ปลอดภัยด้านอาหาร ศักยภาพของห้องปฏิบัติการ

อาหารในกลุ่มสัตว์น้�ำและผลิตภัณฑ์บริโภคภายใน Annual Report 2010 ประเทศ เป็นการน�ำเสนอข้อมูลการปนเปื้อน การ Institute of Marine Science, Burapha University ตกคา้ งของสารปฏชิ วี นะ สารเคมี เชอื้ จลุ นิ ทรยี ์ ในแตล่ ะ ภูมิภาคของประเทศไทย ในชว่ งปี 2547-2552 ดงั นี้ และเพอ่ื เพม่ิ มลู คา่ การสง่ ออกขอ้ มลู หอ้ งปฏบิ ตั กิ ารทไี่ ด้ รับการรับรองมาตรฐาน ISO 17025 ท่เี ปน็ ของหนว่ ย ภาคกลาง : พบฟอรม์ าลีน ในหมกึ กรอบ; พบ งานของรัฐที่รับวิเคราะห์ จำ� นวน 16 แห่ง หน่วยงาน ยาฆา่ แมลง ในกงุ้ แห้ง ปลาหมกึ แหง้ ปลาเค็ม ปลารา้ ; ของเอกชนท่ีรับวิเคราะห์จ�ำนวน 18 แห่ง และบริษัท พบเชื้อ V. parahaemolyticus ในหอยนางรม เอกชนทไ่ี มไ่ ดใ้ ห้บริการภายนอกจ�ำนวน 26 แหง่ รวม ท้งั สิ้น 60 แห่ง ภาคเหนือ : พบฟอรม์ าลีน ในหมึกกรอบ หมกึ และกุ้ง; พบยาฆ่าแมลง ในกงุ้ แห้ง ปลาหมึกแหง้ ปลา การทบทวนงานวจิ ยั ทเ่ี กย่ี วขอ้ งกบั สตั วน์ ำ�้ และ เค็ม ปลาร้า; พบสีสังเคราะห์ ในกุ้งแห้ง กุ้งฝอย ปลา ผลติ ภณั ฑ์ แบง่ ออกเปน็ กลมุ่ ตา่ งๆ ไดแ้ ก่ การเพาะเลย้ี ง หวาน; พบเชอื้ V. parahaemolyticus ในกงุ้ กา้ มกราม การพัฒนาอาหารส�ำหรับการเพาะเล้ียง สารตกค้าง หอยแครง ปลาหมึก ปลากะพงขาว หอยนางรม สารปนเปื้อน การวินิจฉัยและการรักษาโรค ของสัตว์ น�้ำแต่ละชนิด โดยในส่วนการตรวจวินิจฉัยโรคในสัตว์ ภาคตะวนั ออก : พบฟอร์มาลนี ในหมึกกรอบ; น�้ำจะค้นหาและพัฒนาวิธีที่แม่นย�ำและรวดเร็ว และ พบยาฆ่าแมลง ในปลาแห้ง กุ้งแห้ง ปลาเค็ม; พบ ในงานวจิ ยั และพฒั นาทผี่ า่ นมาจะมงุ่ เนน้ ในการลดการ บอแรกซ์ ในปลาบด; พบสีสงั เคราะห์ ในกงุ้ แห้ง ปลา ปนเปื้อนของสารเคมี ยาปฏิชีวนะและเชื้อจุลินทรีย์ใน เค็ม เคย; พบเชื้อ V. parahaemolyticus ในหอย แต่ละขั้นตอน ซ่ึงนำ� ไปสู่การพัฒนาการเพาะเล้ียงสัตว์ นางรม; พบโลหะหนัก ในหอยนางรม; พบเช้ือราและ น้�ำอนิ ทรยี ์ หรอื สัตว์น้�ำชวี ภาพในปจั จุบัน ยสี ต์ ในปลาแหง้ ปลาเสน้ หมกึ ปรุงรส กะป;ิ พบสาร tetrodotoxin ในสนิ ค้าแปรรูปปลาปกั เป้า ผลของความเค็มตอ การพัฒนา เซลลสบื พันธุเปน ตนแกมีโตไฟตข องสาหราย ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ: พบฟอร์มาลีน ใน ไสไก (Ulva intestinalis Linnaeus, 1753) หมึกกรอบ; พบสารปฏชิ ีวนะตกค้าง ในเนอ้ื เยื่อสตั ว์ เพ็ญแข คณุ าวงคเดช1 นพดล คา ขาย1 น�้ำ (สด); พบฮสี ตามีน ในปลาทูน่า; พบเชื้อ V. และ ธิดารตั น นอ ยรกั ษา2 parahaemolyticus ในปู หอยแครง 1ศูนยศึกษาการพัฒนาอา วคงุ กระเบน ภาคใต้ : พบฟอร์มาลนี ในหมึกกรอบ และกงุ้ ; อันเน่ืองมาจากพระราชดาํ ริ พบยาฆา่ แมลง ในปลาหมกึ แหง้ ปลาหวาน กงุ้ แหง้ ปลา 2สถาบันวทิ ยาศาสตรทางทะเล เคม็ กะปิ ปลาทเู คม็ ปลาแหง้ ; พบบอแรกซ์ ในปลา บด ลูกชน้ิ ปลา มหาวทิ ยาลัยบรู พา จงั หวดั ชลบรุ ี บทคัดย่อ ส่วนสถานการณ์การปนเปื้อนในอาหารและ ผลิตภณั ฑ์แปรรปู สตั วน์ �้ำส่งออก พบความไม่ปลอดภัย การศึกษาผลของความเค็มตอการพัฒนา และคณุ ภาพของอาหารกลมุ่ สตั วน์ �้ำและผลติ ภณั ฑท์ ส่ี ง่ เซลลสืบพันธุเปนตนแกมีโตไฟตของสาหรายไสไก ออกและบริโภคภายในประเทศยังคงมีปัญหาอยู่บ้าง (Ulva intestinalis) ดําเนินการท่ีหองปฏิบัติการ โดยที่ปัญหาส�ำคัญ ได้แก่ การตกค้างของสารเคมี ยา ศูนยศึกษาการพัฒนาอาวคุงกระเบน อันเนื่องมาจาก ปฏิชวี นะ และการปนเปือ้ นของเชอ้ื จุลินทรีย์ พระราชดาํ ริ ระหวา งเดอื น ตลุ าคม 2549 ถงึ กนั ยายน 2551 การรับรองมาตรฐานห้องปฏิบัติการทั้งที่เป็น ของหน่วยงานภาครัฐและเอกชนมีเพิ่มมากข้ึน เพื่อ แก้ปัญหาการขาดแคลนห้องปฏิบัติการที่ได้มาตรฐาน

รายงานประจำป 2553 ความหลากหลายของสาหรา ยทะเลและ สถาบันวท� ยาศาสตรท างทะเล มหาว�ทยาลยั บรู พา หญาทะเล บรเิ วณอทุ ยานแหง ชาติ หมูเกาะตะรเุ ตา จงั หวดั สตลู เบ้ืองตนไดทําการศึกษาเซลล การสรางเซล ลสืบพันธุ และการพัฒนาของซูโอสปอรเปนตนแกมี กาญจนภาชน ล่วิ มโนมนต1 ธิดารตั น นอ ยรักษา2 โตไฟตของสาหรายไสไก ภายใตกลองจุลทรรศนกํา สพุ ัตรา ตะเหลบ2 จุฑารัตน วริ ยิ ะดาํ รกิ ลุ 3 ลังขยายสูง ผลการศึกษาพบวา เซลลปกติทุกเซลลท่ี และ อลงกรณ พุดหอม4 เจริญเติบโตเต็มท่ีสามารถสรางเซลลสืบพันธุได เซล ลส บื พนั ธทุ พ่ี ฒั นาเตม็ ทใี่ นเซลลแ ม สามารถ เคลอื่ นทไี่ ด 1ภาควชิ าชวี วิทยาประมง คณะประมง มหาวิทยาลัย ตนแกมีโตไฟตสรางแกมีตเปนเซลลสืบพันธุขนาดเล็ก เกษตรศาสตร จตจุ ักร กรุงเทพฯ 10900, ตนสปอโรไฟตสรางซูโอสปอรเปน เซลลสืบพันธุขนาด ใหญ 2สถาบนั วิทยาศาสตรทางทะเล มหาวิทยาลยั บูรพา บางแสน ชลบุรี 20131, หลังจากนั้นศึกษาการเปลี่ยนแปลงเซลลของ สาหรายไสไกตนออนและตนแกที่เลี้ยงในน�้ำทะเล 3ภาควิชาวิทยาศาสตรท างทะเล คณะประมง ท่ีมีความเค็ม 6 ระดับ คือ 0, 10, 20, 30, 40 และ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร จตจุ กั ร กรงุ เทพฯ 50 สวนในพัน ภายใตกลองจุลทรรศนกําลังขยายสูง พบวา สาหรายตนแกสรางเซลลสืบพันธุไดเร็วกวา 10900, สาหรายตนออน สวนความเค็มไมมีผลตอการสราง 4ภาควิชาวาริชศาสตร คณะวทิ ยาศาสตร เซลลสืบพันธุ ของสาหรายตนแก แตมีผลตอสา มหาวิทยาลยั บรู พา บางแสน ชลบรุ ี 20131 หรา ยตน ออ นคอื ทค่ี วามเค็ม 0, 10 และ 20 สวนในพนั บทคดั ย่อ สาหรายตนออนสราง เซลลสืบพันธุไดเร็วกวาที่ความ การสาํ รวจความหลากหลายของสาหรา ยทะเล เคม็ 30 สวนในพนั และที่ความเคม็ 40 และ 50 สวน และหญา ทะเล บรเิ วณอทุ ยานแหง ชาตหิ มเู กาะตะรเุ ตา ในพนั สาหรา ยมีการสรา งเซลลส บื พันธไุ ดชา ท่ีสดุ สว น จงั หวดั สตูล ระหวาง วนั ที่ 6-10 เมษายน 2551 โดย การแตกออกของผนังเซลลแมทั้งสาหรายตนออนและ การดาํ ผิวน�ำ้ และดาํ นำ�้ โดยใชเ คร่อื งชว ยหายใจ เพ่อื ตน แก พบวา ท่คี วามเคม็ 0, 10 และ 20 สว นในพนั เก็บตัวอยางต้ังแต ชายฝง จนถึงแนวปะการัง พบ ผนังเซลลแมแตกออกไดเร็วกวาที่ความเค็ม 30 และ สาหรา ยทั้งสิ้น 39 วงศ 68 สกลุ 97 ชนิด จัดเปน 40 สวนในพัน และ ท่ีความเค็ม 50 สวนในพัน ผนัง สาหรายสีเขียวแกมน�้ำเงิน (Division Cyanophyta) เซลลแ มแ ตกออกไดชา ที่สดุ 12 ชนิด สาหรายสีเขียว (Division Chlorophyta) 25 ชนิด สาหรา ยสีนำ�้ ตาล (Division Phaeophyta) การศึกษาผลของความเค็มตอจํานวนตนแกมี 14 ชนดิ และสาหร ายสแี ดง (Division Rhodophy- โตไฟตท พ่ี ฒั นาจากซโู อสปอรข องสาหรา ยไสไ ก ทคี่ วาม ta) 46 ชนิด บริเวณท่มี ีความหลากหลายของสาหรา ย เคม็ 6 ระดับ คือ 5, 10, 20, 30, 40 และ 50 สว นใน ทะเลมากท่ีสุด คือ อาวตะโละโตะโปะ (ทิศเหนือและ พนั พบวา ท่คี วามเค็ม 30 สวนในพัน มีจาํ นวนตน แกมี ทิศใต) รวม 48 ชนิด บริเวณที่มีความหลากหลาย โตไฟตพ ฒั นาสงู สุด รองลงมาคอื ท่ีความเค็ม 40, 20, นอย ไดแก บริเวณเกาะแลน และอาวสน สาหรายที่ 10 และ 5 สว นในพนั ตามลาํ ดบั สว นทค่ี วามเคม็ 50 มีการแพรกระจายเปนบริเวณกวางในพ้ืนท่ีหมูตะรุเตา สวนในพนั มีจํานวนตน แกมีโตไฟตพ ฒั นาต�ำ่ สดุ ไดแ กส าหรา ยสนี ำ�้ ตาลสกลุ Lobophora และ Padina โดยพบเกือบทุกพื้นท่ีท่ีทําการสํารวจ สวนหญาทะเล พบเฉพาะทอ่ี า วตะโละ วาว 4 ชนดิ ได แก Halophila beccarii, Halophila ovalis, Holodule pinifolia

และ Halodule uninervis พบรอยพะยูนกินหญา Annual Report 2010 ทะเลกระจายอยู ทวั่ ไปในบรเิ วณน้ี จากการรายงานครงั้ Institute of Marine Science, Burapha University นม้ี สี าหรา ย 14 ชนดิ ทเ่ี ปน รายงานการพบครงั้ แรกของ ประเทศไทย อันดับ 29 วงศ์ และ 41 สกุล บริเวณหมู่เกาะตะรุ เตาพบฟองน้�ำ 60 ชนิดและบริเวณหมูเ่ กาะอาดัง-ราวี ความหลากหลายของชนิดฟองน�ำ้ ทะเล พบ 22 ชนดิ ในจ�ำนวนนี้พบฟองนำ�้ ทพี่ บเปน็ ครง้ั แรก บริเวณหม่เู กาะตะรุเตาและหมู่เกาะอาดัง–ราวี ในน่านน้�ำไทยจ�ำนวน 9 ชนิดคือ Holoxea valida Thiele, 1900; Cliona albimarginata Calcinai, จงั หวัดสตูล Bavestrello & Cerrano, 2005; Desmanthus rhab- วรรณวิภา ชอบรมั ย์ 1 , วาสนา พุม่ บัว1, dophorus (Hentschel, 1912); Echinodictyum สุเมตต์ ปจุ ฉาการ 2, คมสัน หงภัทรคีรี 3 clathratum Dendy 1905; Stylissa conulosa (Dendy, 1922); Axinyssa mertoni (Hentschel, และ สรุ ินทร์ มจั ฉาชีพ 1 1912); Axinyssa oinops (de Laubenfels, 1954); 1ภาควชิ าชวี วิทยา มหาวทิ ยาลัยบรู พา ต�ำบลแสนสุข Agelas ceylonica Dendy, 1905 และ Gelliodes fibulata Carter, 1881 กลุ่มฟองน้�ำทพ่ี บเปน็ กลมุ่ เด่ อ�ำเภอเมือง จังหวดั ชลบุรี 20131, นคือ อันดับ Haplosclerida พบ 26 ชนิด รองลงมา 2 สถาบนั วทิ ยาศาสตรท์ างทะเล มหาวทิ ยาลัยบรู พา คือ อันดับ Poecilosclerida พบ 18 ชนิด ฟองนำ�้ ต�ำบลแสนสขุ อำ� เภอเมือง จังหวดั ชลบรุ ี 20131, แตล่ ะชนดิ สว่ นมากมกี ารกระจายตวั อยเู่ ฉพาะตามพนื้ ท่ี มสี ว่ นนอ้ ยทสี่ ามารถกระจายตวั อยทู่ ว่ั ไป และสว่ นมาก 3 สำ� นักงานพฒั นาเศรษฐกิจจากฐานชวี ภาพ เป็นชนิดท่มี ีการแพรก่ ระจายอย่ใู นเขตอนิ โดแปซิฟิค (องคก์ ารมหาชน) ศูนยร์ าชการเฉลิมพระเกยี รติ 80 พรรษา 5 ธันวาคม 2550 อาคารรวมหนว่ ยงาน ความหลากหลายของชนดิ ฟองนำ้� ทะเล ราชการ (อาคารB) ชัน้ 9 เลขท่ี 120 หมทู่ ี่ 3 บรเิ วณหาดนางรอง เกาะจระเข้ และกล่มุ เกาะ ถนนแจ้งวฒั นะ แขวงทุ่งสองหอ้ ง เขตหลักส่ี จวง อ�ำเภอสัตหีบ จังหวดั ชลบรุ ี กรงุ เทพ 10210 วาสนา พมุ่ บวั 1, วรรณวภิ า ชอบรมั ย1์ , บทคัดยอ่ สเุ มตต์ ปุจฉาการ2, สรุ ินทร์ มจั ฉาชพี 1, กติ ิธร สรรพานิช2 และวิภูษติ มัณฑะจติ ร3 การศกึ ษาฟองนำ้� ทะเลไดท้ ำ� การสำ� รวจบรเิ วณ 1ภาควชิ าชวี วทิ ยา คณะวทิ ยาศาสตร์ หมูเ่ กาะตะรเุ ตาและหมเู่ กาะอาดงั – ราวี จงั หวัดสตูล มหาวทิ ยาลยั บรู พา ต�ำบลแสนสขุ อำ� เภอเมอื ง ซ่ึงอยู่ใต้สุดของน่านน�้ำไทยฝั่งทะเลอันดามัน เพื่อ ศึกษาความหลากหลายทางชีวภาพของฟองน้�ำทะเล จงั หวดั ชลบรุ ี 20131, โดยเฉพาะระบบนิเวศแนวปะการงั โดยทำ� การสำ� รวจ 2 สถาบนั วทิ ยาศาสตรท์ างทะเล มหาวิทยาลัยบรู พา และเกบ็ ตัวอยา่ งทั้งหมด 2 ครั้ง ครง้ั ที่ 1 ระหวา่ งวนั ที่ ตำ� บลแสนสุข อ�ำเภอเมือง จังหวัดชลบรุ ี 20131, 5 – 11 เดอื นเมษายน 2551 ครงั้ ท่ี 2 ระหวา่ งวนั ท่ี 19 – 26 เดอื นตุลาคม 2551 รวมทั้งส้นิ 15 จดุ สำ� รวจ 3 ภาควิชาวารชิ ศาสตร์ คณะวิทยาศสาตร์ โดยท�ำการด�ำน�้ำแบบเครื่องช่วยหายใจใต้นำ�้ (SCUBA มหาวทิ ยาลยั บรู พา ต�ำบลแสนสุข อ�ำเภอเมือง diving) สุ่มส�ำรวจและเก็บตัวอย่างตลอดพื้นที่การ ศึกษา ในเวลากลางวนั พบฟองนำ้� ท้ังสิน้ 72 ชนิด 13 จังหวดั ชลบรุ ี 20131,


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook