Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore วันรพี

วันรพี

Published by “Chalermrajakumari” Public library Bangkhonthi, 2020-08-18 03:16:02

Description: วันรพี

Search

Read the Text Version

วันรพี 7 สงิ หาคม ของทกุ ปี เปน็ วันน้อมราลึกพระบดิ าแหง่ กฎหมายไทย พระองค์เจ้ารพีพฒั นศักดิ์

ประวตั ิพระองค์เจา้ รพพี ัฒนศกั ดิ์ ประสตู ิ พระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้ารพีพัฒนศักด์ิ กรมหลวงราชบุรีดิเรก ฤทธ์ิ มีพระนามเดิมว่า พระเจ้าลูกยาเธอ พระองค์เจ้ารพีพัฒนศักด์ิ เป็นพระราช โอรส พระองค์ที่ 14 ในพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาจุฬาลงกรณ์ พระ จุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว รัชกาลที่ 5 แห่งพระบรมราชจักรีวงศ์ ประสูติแต่เจ้าจอม มารดาตลับ ณ วันพธุ ขึ้น 11 ค่า ปีจอ ฉศก จุลศักราช 1236 ตรงกับวาระทางสุ ริยคติ 21 ตุลาคม พทุ ธศักราช 2417

ประวตั พิ ระองคเ์ จ้ารพีพฒั นศกั ด์ิ การศึกษา พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวรัชกาลที่ 5 ทรงมีพระราช ปณิธานแน่วแน่ท่ีจะส่งพระราชโอรสทุกพระองค์ไปศึกษาต่อท่ีต่างประเทศ เน่ืองจากขณะน้ันประเทศไทยก่าลังประสบปัญหาการแผ่อ่านาจแสวงหาอาณา นิคมของชาติตะวันตก จึงทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้พระองค์เจ้ารพีพัฒน ศักด์ิ ทรงศกึ ษาตอ่ ณ ประเทศอังกฤษ เหตุท่ีพระองค์ทรงเลือกศึกษาวิชากฎหมาย ก็เนื่องจากช่วงเวลานั้น เมืองไทยมีศาลกงสุลฝร่ัง ชาวยุโรปและอเมริกันมีอ่านาจในประเทศไทยอย่าง มาก ซ่ึงยากแก่การปกครอง จึงมีพระทัยตั้งมั่นที่จะพยายามขอยกเลิกอ่านาจ ศาลกงสุลต่าง ๆ ท่ีมาต้ังพิจารณาพิพากษาคดีชนชาติของตนเสีย เพ่ือท่ีประเทศ ไทยของเราจะได้มีเอกราชทางการศาลอยา่ งแท้จริง พระองค์ท่านจึงทรงเลือกศึกษาวิชากฎหมาย เพ่ือจะได้กลับมาพัฒนา กฎหมายบ้านเมืองกับพัฒนาผู้พิพากษาและราชการศาลยุติธรรมให้ดีขึ้น และที่ ส่าคัญเพื่อให้ต่างชาติยอมรับนับถือกฎหมายไทย และยอมอยู่ภายใต้อ่านาจศาล ไทย พระองค์เจ้ารพีพัฒนศักดิ์ ทรงมีพระสติปัญญาฉลาดเฉลียวเป็นอย่างย่ิง ใน ต้นปี 2434 พระองค์ทรงสามารถสอบผ่านเข้าศึกษาวิชากฎหมายที่วิทยาลัยไค

รสต์เชิร์ช มหาวิทยาลัยออกซฟอร์ด (Christchurch College Oxford University) ขณะทีพ่ ระองคท์ รงมพี ระชนมายุเพยี ง 17 พรรษา ซ่ึงทีแรกมหาวิทยาลัยไม่ยอมรับเข้าศึกษา โดยอ้างว่าพระชนมายุยังไม่ถึง 18 พรรษา ตามเกณฑ์ของมหาวิทยาลัย พระองค์จึงต้องเสด็จไปขอความกรุณา โดยพระองค์ดา่ รัสว่า \"คนไทยเกิดงา่ ยตายเร็ว\" ทางมหาวทิ ยาลัยจงึ ยอมผ่อนผัน โดยใหท้ รงสอบไลอ่ กี ครั้งหน่งึ พระองคก์ ็ทรงสอบได้อีก

และด้วยความที่พระองค์ทรงพระวิริยอุตสาหะเอาพระทัยใส่ในการเรียน เปน็ อย่างมาก ทรงสอบไล่ผา่ นทุกวชิ าและได้รับปรญิ ญาเกียรตินิยมทางกฎหมาย Bachelor of Arts.Hons (B.A. (Oxon)) เม่ือพระชนมายุ 20 พรรษา โดยใช้ เวลาศึกษาเพยี ง 3 ปี ด้วยพระปรีชาญาณดังกล่าวเป็นที่พอพระราชหฤทัยของพระบาทสมเด็จ พระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวย่ิงนัก ถึงกับทรงเรียกพระองค์เจ้ารพีพัฒนศักดิ์ วา่ \"เฉลยี วฉลาดรพ\"ี หลังจากส่าเร็จการศึกษาดังกล่าวแล้ว พระองค์ก็ทรงตั้งพระทัยว่า จะทรง เรียนเนติบัณฑิตอังกฤษ (Barrister at law) ท่ีกรุงลอนดอน แล้วจะเสด็จไป ศึกษาต่อที่ประเทศเยอรมนี แต่พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวทรง พระกรุณาโปรดเกล้าฯให้เสด็จกลับมารบั ราชการท่ีประเทศไทยเสียกอ่ น

งานราชการและพระกรณยี กิจ ปี 2437เมื่อ พระองค์เจ้ารพีพัฒนศักดิ์ เสด็จกลับมาพระองค์ก็ทรงเป็น อธิบดีผู้จัดการโรงเรียมหาดเล็กหลวงเพ่ือสอนความรู้เบื้องต้นส่าหรับผู้เข้ ารับ ราชการพลเรือนในกระทรวงตา่ ง ๆ และต่อมาพระองค์ทรงสมัครรับราชการทาง ฝ่ายตุลาการ แล้วทรงฝึกหัดราชการในกรมราชเลขานุการ และทรงศึกษา กฎหมายไทยอย่างจริงจัง

ด้วยพระปรีชาสามารถและพระอุตสาหะ ไม่นานพระองค์สามารถท่างาน ในกรม ราชเ ลขานุ การได้ ทุกต่า แหน่ง โดยเฉ พาะก ารร่า ง พระร าชหัต ถเลข า พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวทรงโปรดเกล้าฯ แต่งตั้งพระองค์เจ้า รพพี ัฒนศกั ด์ิ เปน็ องคมนตรีในปีเดียวกันนนั้ ปี 2439 รัชกาลที่ 5 ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ใหพ้ ระองคเ์ ปน็ สภานายก พิเศษจัดการตัง้ ศาลในมณฑลอยธุ ยา พระองค์ทรงทา่ การในหน้าท่ีด้วยพระปรีชา สามารถ เปน็ ที่นยิ มยินดขี องหมูช่ นในมณฑลนัน้ ปี 2440 รัชกาลท่ี 5 ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้พระองค์เป็นประธาน พร้อมด้วยกรรมการไทยและฝรั่ง ช่วยกันตรวจช่าระพระราชก่าหนดบทพระ อัยการเก่าใหม่และปรึกษาลักษณะการที่จะจัดระเบียบแล้วเรียบเรียงกฎหมาย ข้ึนใหม่เพื่อเป็นบรรทัดฐาน และในปีเดียวกันน้ันก็ได้รับพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้เป็นเสนาบดีกระทรวงยุติธรรม และคงอยู่ในต่าแหน่งสภานายกพิเศษจัดการ ศาลตามเดมิ ดว้ ย

ในการปรับปรุงกฎหมาย เบ้ืองต้นมีการน่ากฎหมายอังกฤษมาใช้ โดยใช้ กฎหมายวิธีสบัญญัติก่อน ทีแรกมีข้อถกเถียงกันว่าจะใช้ระบบกฎหมายแบบ องั กฤษ หรือจะใชร้ ะบบกฎหมายซีวิลลอว์ แบบประเทศยโุ รปแลว้ รัชกาลที่ 5 ก็ทรงตดั สินพระราชหฤทัยปฏิรูประบบกฎหมายไทยให้เป็นไป ตามแบบประเทศภาคพ้ืนยุโรป คือ ใช้ระบบ \"ประมวลธรรม\" แต่อย่างไรก็ดี ก็ ยงั น่าแนวคดิ หลักกฎหมายองั กฤษบางเรอ่ื งมาใชด้ ว้ ย ประมวลกฎหมายของไทยฉบับแรก คือ ประมวลกฎหมายลักษณะอาญา ร.ศ. 127 ใช้เวลารา่ งท้ังสน้ิ 11 ปี โดยสา่ เร็จลงในปี 2451 พระองค์เจ้ารพีฯ ทรง ช่วยแปลต้นร่างท่ีเขียนเป็นภาษาฝร่ังเศสและอังกฤษมาเป็นภาษาไทย ส่วน ประมวลกฎหมายฉบับต่อ ๆ มา ไม่ว่าจะเป็นประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความ แพ่ง วิธีพิจารณาความอาญา และประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์บรรพต่าง ๆ พระองคก์ ็ทรงมีบทบาทส่าคญั ในการยกรา่ งด้วย

ในปีเดียวกันน้ี พระองค์เจ้ารพีฯ มีพระด่าริว่า \"การท่ีจะยังราชการศาล ยุติธรรมให้เป็นไปด้วยดีน้ัน มีความจ่าเป็นท่ีจะต้องจัดให้มีผู้รู้กฎหมายมากขึ้น กว่าแต่ก่อน โดยการเปิดให้มีการสอนกฎหมายขึ้นเป็นที่แพร่หลาย\" จึงทรง สถาปนาโรงเรียนสอนกฎหมายขึ้น สังกัดกระทรวงยุติธรรม เพื่อให้โอกาสแก่ ประชาชนท้ังหลายมีโอกาสรับการศึกษากฎหมาย และพระองค์ทรงแนะน่าสั่ง สอนดว้ ยพระองค์เองด้วย และแลว้ ปลายปี 2440 พระองค์ทรงเปิดใหม้ กี ารสอบไล่เนตบิ ณั ฑิต โดยใช้ ศาลาการเปรียญใหญ่ วัดมหาธาตุ เป็นสถานที่สอบ ใช้เวลาสอบทั้งส้ิน 6 วัน วัน ละ 4 ชั่วโมง ให้คะแนนเป็นเกรด ผู้สอบไล่ได้เป็นเนติบัณฑิตรุ่นแรกมีทั้งส้ิน 9 คน ผูส้ อบได้ลา่ ดับที่ 1 ในคร้งั น้ัน คือ เจ้าพระยามหิธร (ลออ ไกรฤกษ์) ซ่ึงได้รับ การยกยอ่ งว่าเปน็ เนตบิ ณั ฑิตไทยคนแรก

ปี 2441 พระองค์เจ้ารพีฯ ทรงเป็นกรรมการตรวจตัดสินความฎีกาใน คณะกรรมการ มชี ื่อวา่ \"ศาลกรรมการฎกี า\" ท่าหนา้ ทีเ่ ป็นศาลสูงสุดของประเทศ แต่ไมส่ งั กดั กระทรวงยตุ ธิ รรม และตอ่ มาไดก้ ลายมาเป็นศาลฎกี าในปัจจุบนั ปี 2442 ได้รับพระราชทานพระสุพรรณบัฏเป็น \"กรมหมื่นราชบุรีดิเรก ฤทธ์\"ิ

ปี 2443 ทรงด่าริจัดต้ังกองพิมพ์ลายมือข้ึน ทรงสอนวิธีตรวจเส้นลายมือ และวิธีเก็บพิมพ์ลายมือ ส่าหรับตรวจพิมพ์ผู้ต้องหาในคดีอาญา เพ่ือใช้เป็น หลักฐานเพิ่มโทษผู้กระท่าความผิดหลายคร้ัง ปี 2453 ในสมัยรัชกาลท่ี 6 ทรง พระกรณุ าโปรดเกล้าฯ ใหเ้ ปน็ องคมนตรี ปี 2455 ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้เป็นเสนาบดีกระทรวงเกษตราธิ การ และในปีเดียวกัน ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ สถาปนาข้ึนเป็นกรมหลวง มี พระนามจารึกในพระสุพรรณบัฏว่า \"พระเจ้าพี่ยาเธอ กรมหลวงราชบุรีดิเรก ฤทธคิ์ ชนาม\" ปี 2462 พระองค์เจ้ารพีฯ ทรงประชวรด้วยพระวัณโรค ท่ีพระวักกะ (ไต) และได้ขอพระราชทานกราบถวายบังคมลาพักราชการรักษาพระองค์ และได้ เสด็จไปรักษาพระองค์ที่กรุงปารีส ประเทศฝร่ังเศส แพทย์ได้จัดการรักษาและ ถวายพระโอสถ อย่างเตม็ ความสามารถแตพ่ ระอาการหาทเุ ลาลงไม่ จนกระท่ังวันเสาร์ที่ 7 สิงหาคม 2463 พระเจ้าพ่ียาเธอ กรมหลวงราชบุรี ดเิ รกฤทธิ์ กส็ ้ินพระชนม์ สริ พิ ระชนมายุ 47 พรรษา

ทรงปฏิรูประบบกฎหมาย และเป็นหว่ งผู้พพิ ากษา ในสมัยพระองค์ การปฏิรูปงานศาล เป็นสิ่งจ่าเป็นต่อสยามประเทศเป็น อย่างมาก มูลเหตุเน่ืองจากศาลในตอนน้ันกระจายอยู่ตามกระทรวงต่าง ๆ อัน ส่งผลให้การพิจารณาอรรถคดีเป็นไปด้วยความล่าช้ามาก อ่านาจตุลาการขาด อิสระถูกแทรกแซงโดยอ่านาจบริหาร รวมทั้งมีการทุจริตเนื่องจากขาดระบบ ตรวจสอบ การตัดสินคดี ตลอดจนเกิดวิกฤตการณ์เรื่องเอกราชทางการศาล ท่ี

ต่างชาติไม่ยอมขึ้นศาลไทย แต่กลับต้ังศาลกงสุลพิจารณาตัดสินคดีคนในชาติ ของตนเอง ดังนนั้ เพ่อื ทา่ ให้การยุตธิ รรมสามารถทดั เทยี มกับนานาอารยประเทศ และ เป็นท่ยี อมรบั ของต่างประเทศ พระองค์จงึ ทรงพัฒนาระบบงานยุติธรรมท้ังระบบ และมีการจัดท่าประมวลกฎหมายเป็นลายลักษณ์อักษรดังกล่าวมาแล้ว เพื่อให้ ศาลสามารถตัดสินคดีได้รวดเร็วยิ่งขึ้นและมีฝ่ายธุรการคอยให้ความสะดวกและ ทรงไดว้ างนโยบายให้ศาลสามารถตัดสินคดีโดยปราศจากการแทรกแซงของฝ่าย ปกครอง ซึง่ เปน็ ไปในแนวทางเดยี วกันกบั อารยประเทศ

ในเรอื่ งน้ี ทรงเคยรับสงั่ ไวว้ ่า \"อ่านาจการพิจารณาพิพากษาคดีอยู่ใต้อุ้งมือ ฝา่ ยธรุ การนั้นใช้ไม่ได้ มีแต่จะเกิดภัยข้ึนเสมอ ดังท่ีรัฐบาลเองก็ได้ประกาศแสดง ความอนั นั้นหลายครั้ง...\" ซ่ึงการท่ีศาลสามารถตัดสินคดีความได้อย่างอิสระนั้น ถือได้ว่าเป็น หลักประกันความยุติธรรมในศาลอันเป็นที่พ่ึงของประชาชน และน่าไปสู่การ ยอมรับของประเทศอ่นื ๆ ความประสงค์ของพระองค์เก่ยี วกบั เรือ่ งนี้ กว่าจะแยก ศาลออกจากกระทรวงยุติธรรมฝ่ายบริหารได้ ก็ต้องใช้เวลาประมาณ 100 ปีเลย ทีเดียว ซ่ึงศาลเพ่ิงแยกเป็นอิสระจากกระทรวงยุติธรรม เมื่อประมาณปี 2543 เอง พระองค์เจ้ารพีฯ ทรงเอาพระทัยใส่คุณสมบัติของบุคคลผู้ที่จะมาเป็นผู้ พิพากษาเป็นพิเศษ พระองค์ทรงยึดมั่นว่าความซื่อสัตย์สุจริตเป็นอุดมคติส่าคัญ ยิ่งกวา่ กจิ ส่วนตัวใด ๆ พระองค์เจ้ารพีฯ ก็ได้ทรงตักเตือนผู้พิพากษาเสมอมาว่า \"อย่ากิน สินบน\" นอกจากนี้ พระองคเ์ จ้ารพีฯ ทรงขอพระราชทานพระมหากรุณาธิคุณเรื่อง เงินเดือนผู้พิพากษาให้เหมาะสมกับศักดิ์และหน้าท่ี การที่จะให้ผู้พิพากษาคง ความดีเอาไว้น้ัน ต้องระลึกถึงเงินเดือนท่ีจะให้แก่ผู้พิพากษาด้วย เพราะกว่าจะ เป็นผู้พิพากษาได้นั้น ต้องใช้เวลาศึกษานานเป็นพิเศษกว่าจะส่าเร็จ ต่าแหน่งท่ี

จะเล่อื นข้ึนก็มีนอ้ ย และอีกข้อหน่งึ ในราชการอย่างอื่น ตามภาษาไพร่เรียกว่า \"มี กาลังในราชการ\" แตฝ่ ่ายตลุ าการไม่มีเลย

ทรงไดร้ ับการถวายพระสมญั ญาว่า \"พระบดิ าแห่งกฎหมายไทย\" ด้วยคุณาณุปการอันล้นพ้นดังกล่าวข้างต้น เนติบัณฑิตยสภาจึงได้ถวาย การยกย่องพระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมหลวงราชบุรีดิเรกฤทธิ์ เป็น \"พระบิดาแห่ง กฎหมายไทย\" เมื่อปี 2497 ทั้งเริ่มต้นเรียก วันท่ี 7 สิงหาคม ของทุกปี เป็น \"วัน รพี\" เพ่ือเป็นการน้อมร่าลึกถึงวันคล้ายวันส้ินพระชนม์ พร้อมท้ังมีการจัดงาน บ่าเพ็ญกศุ ลอทุ ศิ ถวายเป็นประจา่ ทกุ ปี

คตพิ จน์เตอื นใจนักกฎหมาย สมัยพระองค์เป็นเสนาบดีกระทรวงยุติธรรม พระองค์ทรงทุ่มเทให้ กับงานราชการอย่างเต็มความสามารถ มิได้ทรงเห็นแก่ความเหน็ดเหนื่อย พระยามานวราชเสวีจึงทูลว่า \"ไม่เคยเห็นใครท่างานมากอย่างใต้ฝ่าพระบาท ใต้ ฝ่าพระบาทมพี ระประสงคอ์ ย่างไร\" ทรงตอบวา่ \"รู้ไหมว่า My life is service\" ซ่ึงหมายความว่า ชีวิตของฉันเกิดมา เพือ่ รับใช้ประเทศชาติ\"



บรรณานกุ รม Sanook. วนั รพี. สบื ค้นเมอื่ 8 สิงหาคม 2563. จาก https://guru.sanook.com/4240/ สถาบนั วิจยั และพัฒนารพีพัฒนศกั ด์ิ. วันรพี ประวตั ิวันรพี 7 ส.ค. วันราลึกพระบิดาแห่งกฎหมายไทย. สืบค้นเม่ือ 8 สิงหาคม 2563. จาก https://rabi.coj.go.th/th/content/category/detail/id/39/iid/154426 เรียบเรียงโดย : ห้องสมดุ ประชาชน \"เฉลมิ ราชกุมารี\" อ่าเภอบางคนที จังหวัดสมุทรสงคราม กศน.อ่าเภอบางคนที อ่าเภอบางคนที จังหวดั สมุทรสงคราม


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook